ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร

A
ศาสนาสากล                 โดย ครูอัมพร

  ศาสนา ( Religion ) หมายถึง ความผูกพันระหวางมนุษยกับสิ่งสูงสุดหรือพระเจา หรือคือลัทธิความเชื่ออันนําไปสู
การปฏิบัติเพื่อพนทุกข และพบสุขนิรันดร

องคประกอบของศาสนา มีดังตอไปนี้
    1. คําสอนทั้งระดับศีลธรรม และระดับปรมัตถ
    2. พธกรรม
         ิี
    3. สถาบันและคัมภีร
    4. ความศักดิ์สิทธิ์
    5. ศาสดา

มูลเหตุของการเกิดศาสนา
   ศาสนาเกิดขึ้นจากอวิชชา ตลอดจนความกลัว และความตองการศูนยรวมที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ รวมถึงตองการให
สังคมสงบสุข ประโยชนของศาสนา คือ ทําใหสังคมและตัวเองสงบสุข

ประเภทของศาสนา
   1. ศาสนาระดับทองถิ่น เชน ศาสนาชินโต ศาสนายูดาห
   2. ศาสนาระดับสากล เชน ศาสนาพุทธ คริสต อิสลาม ฮินด

ศาสนาแบงเปน 3 กลุม
          
   1. เอกเทวนิยม เปนศาสนาที่นับถือพระเจาองคเดียว เชน คริสต อิสลาม
   2. พหุเทวนิยม เปนศาสนาที่นับถือพระเจาหลายองค เชน ฮินดู
   3. อเทวนยม เปนศาสนาที่ไมมีพระเจา เชน พุทธ
             ิ

ศาสนาพราหมณ - ฮนดู
                ิ

    - ที่มาไมปรากฏนามของศาสนา กอตั้งโดยชาวอารยัน
    - ศาสนาพราหมณมีคัมภีรพระเวท พราหมณ และวรรณะทั้ง 4
    - ศาสนาฮินดู เริ่มนับถือพระเจา คือ ตรีมูรติ และมีความคิดเรื่องปรัชญา กรรม และโมกษะ ( ยุคอวตาร
      เปนยุคที่เนนองคพระนารายณ )
ความเชื่อของพราหมณ - ฮนดู  ิ
   1. ตรีมูรติ คือ พระเจาสูงสุดองคเดียว แตประกอบดวย 3 สภาวะ คือ พรหม ศิวะ วิษณุ
   2. ปรมาตมัน คือ วิญญาณที่เกิดเองเปนที่มาของอาตมัน
   3. อาตมัน หมายถึง วิญญาณยอยที่เกิดจากปรมาตมัน
   4. การเวยนวายตายเกด ( สังสาระ ) ยอมเปนไปตามกรรมจนกวาจะพนกรรมและเขาสูโมกษะ
              ี          ิ
   5. โมกษะ เปนจุดมุงหมายสูงสุดของศาสนา หมายถึง ภาวะที่อาตมันเขาไปรวมกบ         ั
      ปรมาตมันทําใหไมตองเวียนวายตายเกิดอีกตอไป วิธีการเขาสูโมกษะ ไดแก
         - กรรมโยคะ           คือ วิธีที่ใชการกระทํา เชน บูชายัญ
         - ชญานโยคะ           คือ วิธีที่ใชสมาธิและปญญา
         - ภักติโยคะ          คือ วิธีที่ใชความจงรักภักดีตอพระเจา
   6. อาศรม 4 คือ ขั้นตอนของชีวิตในชวงตางๆ แบงเปน
         - พรหมจารี           ไดแก วัยเลาเรียน
         - คฤหัสถ            ไดแก วัยครองเรือน หาทรัพยสิน เลี้ยงดูบุตรและภรรยา
         - วนปรสถ
                 ั            ไดแก วัยชรา วัยเขาหาธรรมะ
         - สันยาสี            ไดแก วัยที่มุงเขาหาโมกษะ

คัมภีรของศาสนาพราหมณ - ฮินดู แบงไดดังนี้
    1. คัมภีรพระเวท แบงเปน
         - ฤคเวท             คอ บทสรรเสริญออนวอนพระเจา
                               ื                            
         - ยชรเวท
               ุ             คือ คูมือประกอบพิธีกรรม
         - สามเวท            คือ คัมภีรถวายน้ําโสมขับกลอมเทพเจา
         - อาถรรพเวท         คือ คัมภีรเวทยมนตคาถา
    2. ภควคตา เปนยอดปรชญาฮินดู
             ี             ั

พิธีกรรมสําคัญ ไดแก ศราทธ คือ พิธีการบูชาบรรพบุรุษ

นิกายสําคัญของศาสนาพราหมณ - ฮนดู
                              ิ
     1. นกายพรหม
         ิ                   นับถือพระพรหมเปนสําคัญ
     2. นิกายไวษณพ           นับถือพระนารายณเปนสําคัญ
     3. นกายไศวะ
         ิ                   นับถือพระศิวะเปนสําคัญ
ศาสนาพุทธ

   พุทธ หมายถึง ผูตื่น ผูเบิกบาน
  องคประกอบของศาสนาพุทธ คือ พระรัตนตรัย หมายถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ

   นกายทางพระพทธศาสนา แบงไดดงน้ี
    ิ            ุ              ั
      1. นิกายหินยาน มุงใหปฏิบัติตนเพื่อเปนพระอรหันต หลุดพนจากความทุกข
      2. นิกายมหายานวิวัฒนาการจากนิกายมหาสังฆวาทโดยผสมผสานเขากับ
         หลักคําสอนของนิกายอื่น เชน นิกายเถรวาท

   คัมภีรสําคัญของศาสนาพุทธ คือ พระไตรปฎก ไดแก
       1. พระวินัยปฎก มีสาระเกี่ยวกับขอปฏิบัติของพระภิกษุสงฆ
       2. พระสุตตันตปฎก มีสาระเกี่ยวกับเทศนาของพระพุทธเจาและพระสาวก
       3. พระอภิธรรมปฎก มีสาระเกี่ยวกับหลักธรรมทางดานวิชาการ

   หลักคําสอนที่สําคัญในศาสนาพุทธ
       1.ไตรลักษณ
            - อนิจจา           คือ ความไมเที่ยงแท
            - ทุกขตา           คือ ความทนอยูไมได
            - อนัตตา           คือ ภาวะที่ไมใชตัวตน
       2.ขันธ 5 เรียกวา "เบญจขันธ" หมายถึง องคประกอบของชีวิตอันประกอบดวย
            - รูปขันธ        คือ สวนที่เปนรางกาย ประกอบดวยธาตุทั้ง 4 คือ ดิน น้ํา ลม ไฟ
                              คือ สวนที่เปนนามธรรม ไมสามารถมองเห็นหรือจับตองได ประกอบดวย
            - นามขันธ
                              4 สวน คอ เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ
                                   ื
       3.อริยสัจ 4 หมายถึง ความจริงอันประเสริฐ อริยสัจเปนหัวใจสําคัญของพุทธศาสนา ไดแก
            - ทุกข           คือ ความไมสบายกาย ไมสบายใจ
            - สมุทัย          คือ ความจริงวาดวยเหตุแหงทุกข
            - นโรธ
                ิ             คือ ความจริงวาดวยความดับทุกข
            - มรรค            คือ ความจริงวาดวยปฏิปทา หรือวิถีทางแหงความทุกข
            มรรคมีองค 8 หรอเรยกวา มรรค 8 โดยยึดหลักการเดินในทางสายกลาง หรือ
                                ื ี 
            "มัชฌิมาปฏิปทา" ไดแก   
                  - สัมมาทิฐิ         ความเหนชอบ
                                               ็
- สัมมาสังกัปปะ ความดําริชอบ
                 - สัมมาวาจา         เจรจาชอบ
                 - สัมมากัมมันตะ การทํางานชอบ
                 - สัมมาอาชีวะ เลี้ยงชีพชอบ
                 - สัมมาวายามะ พยายามชอบ
                 - สัมมาสติ          ตั้งสติชอบ
                 - สัมมาสมาธิ ตงใจชอบ  ้ั
              มรรค 8 เมื่อจัดเขาในระบบการฝกอบรม เรียกวา "ไตรสกขา"
                                                                ิ

   พิธีกรรมสําคัญทางศาสนาพุทธ
        1. พิธีบรรพชาและพิธีอุปสมบท
        2. พิธีเขาพรรษา ซึ่งกําหนดไว 2 ระยะ คือ
             - วันเขาพรรษาแรก เรียกวา ปุริมพรรษา ตรงกับ แรม 1 ค่ํา เดือน 8
             - วันเขาพรรษาหลัง เรียกวา ปจฉิมพรรษา ตรงกับ แรม 1 ค่ํา เดือน 9
        3. พิธีกฐิน
        4. พิธีปวารณา คือ การเปดโอกาสใหสงฆตักเตือนกันได
        5. พิธีแสดงอาบัติ

   วันสําคัญทางศาสนาพุทธ
       1. วันมาฆบูชา ตรงกับวันเพ็ญเดือน 3 เปนวันที่พระพุทธเจาทรงแสดงโอวาทปาติโมกข
       2. วนวสาขบชา ตรงกบวนเพ็ญเดือน 6 เปนวันคลายวันประสูติ
           ั ิ      ู       ั ั
          ตรัสรูและปรินิพพานของพระพุทธเจา
       3. วนอาสาฬหบชา ตรงกบวันเพญเดอน 8 เปนวันแรกที่มีการเกิดพระรัตนตรัย
            ั          ู        ั    ็ ื

ศาสนาคริสต

  คริสต หมายถึง ผูที่ไดรับการคัดเลือกใหเปนตัวแทนของพระเจา

   ความเปนมา
      ศาสนาคริสตและศาสนายิวมีความสัมพันธกันอยางใกลชดโดยศาสนาคริสตมีรากฐานมาจาก
                                                         ิ
      ศาสนายว ซงศาสนายวสอนใหชาวยวยดมนในพระเจาองคเดยว คอ พระยะโฮวาหและทรง
              ิ ่ึ      ิ       ิ ึ ่ั                   ี ื                
      ประทานบัญญัติ 10 ประการ ใหแกโมเสส เพื่อนําไปสั่งสอนชาวยิว ศาสนาคริสตกําเนิดในดินแดน
ปาเลสไตน

สมณศักดิ์ทางศาสนาคริสต
   1. พระสันตะปาปา เปนประมุขสูงสุด ผูสืบตําแหนงตอจากนักบุญเปโต
   2. บาทหลวง
   3. นักบวชชายและหญิง ในเมืองไทยเรียก ซิสเตอรและบราเตอร

นิกายของศาสนาคริสต
    1. นิกายคาทอลิค
           - เนนวาตองเปนผูสืบทอดคําสอนจากพระเยซู
           - ประมุข คือ สันตะปาปา และมีพระที่เรียกวา บาทหลวง
           - เปนนิกายเดียวที่เชื่อเรื่องนักบุญ และแดนชําระวิญญาณผูตาย
           - รูปเคารพ คือ ไมกางเขนที่พระเยซูถูกตรึงอยู
    2. นกายออรทอดอกซ
         ิ          
           - แยกจากคาทอลิคเพราะเหตุผลทางการเมือง
           - รูปเคารพ คือ ภาพ 2 มติ    ิ
    3. นิกายโปรเตสแตนท เชน ลัทธิลูเธอรน และแอกลิแคน
           - ไมพอใจการกระทําคําสอนบางประการของสันตะปาปา
           - เนนคัมภีร ไมมีนักบวช
           - รับศีลศักดิ์สิทธิ์เพียง 2 ศีล คือ ศีลลางบาป และศีลมหาสนิท

คัมภีรทางศาสนาคริสต มี 2 สวน คือ
    1. คัมภีรเกา ( Old Testament ) หรือพนธสญญาเดมเปนบันทกเร่ืองราวกอนพระเยซู
                                          ั ั     ิ        ึ
       ประสติ ู
    2. คัมภีรใหม ( New Testament ) หรือพันธสัญญาใหมเปนบันทึกเรื่องราวหลังจาก
       ที่พระเยซูประสูติ

หลักคําสอนสําคัญของศาสนาคริสต
    1. บาปกําเนิด คือ บาปที่ติดตัวมนุษยมาตั้งแตเกิด
    2. ตรีเอกภาพ คือ พระเจาสูงสุดพระองคเดียว แตมี 3 สถานะ คือ พระบิดา พระบุตร
       และพระจิต
    3. ความรัก เปนกฎทองคําของศาสนาคริสต กลาววา "จงรักพระเจาสุดใจ สุดความคิด
สุดกําลัง" และ "จงรักเพื่อนบานเหมือนเจารักตัวเอง"
        4. อาณาจักรพระเจา คือ สภาวะจิตใจที่บริสุทธิ์

    พิธีกรรมสําคัญทางศาสนาคริสต
         1. ศีลลางบาป กระทําเพียงครั้งเดียวเมื่อเขาเปนคริสตศาสนิกชน เพื่อลางบาปกําเนิด
         2. ศีลกําลัง ทําเพื่อตัวเองและยึดมั่นความเปนคริสต
         3. ศีลมหาสนิท ทําเพื่อระลึกถึงชีวิตและคําสอนของพระเยซู
         4. ศีลแกบาป ทําเพื่อสารภาพบาปดวยความสํานึกผิด
         5. ศีลเจิมคนไข ทําเพื่อใหสติและกําลังใจแกผูปวยหนัก
         6. ศีลบวช สําหรับชายที่มีคุณสมบัติจะบวช และตองการอุทิศตนบวชเพื่อศาสนา
         7. ศีลสมรส คือ พิธีแตงงานตอหนาพระเจา    

ศาสนาอิสลาม

    อิสลาม หมายถึง การยินยอมตอพระผูเปนเจา
ศาสนาอิสลามเกิดในดินแดนอาหรับโดยมี พระอัลเลาะหเปนพระผูเปนเจาซึ่งเชื่อวาเปนผูสราง ผูค้ําจุน ผูฟนฟูโลก
มนุษย มีศาสดา คือ มูฮัมหมัด

    นิกายสําคัญในศาสนาอิสลาม
        1. นิกายซุนนี แปลวา จารีต ชาวมุสลิมจะเครงครัดตามแนวทางของคัมภีรอัลกุรอาน
           และเคารพตอกาหลิบ ประเทศที่นับถือนิกายนี้ เชน มาเลเซีย อินโดนีเซีย ไทย เปนตน
        2. นิกายชีอะห แปลวา พรรคพวก เปนนิกายแรกของอิสลามที่แยกตัวออกจากนิกาย
           ชีอะหจะเคารพศรัทธาในตัวอาลี
        3. นิกายวาฮาบี เนนคัมภีรอัลกุรอานและวจนะของทานศาสดา ผูใหกําเนิดนิกายนี้ คือ มูฮัมหมัด
           อิมบนอับดุล- วาฮัม ชาวอาหรับ
        4. นิกายคอวาริจ หมายถึง ผูตอตานเปนกลุมที่มีความคิดรุนแรงประกาศยอมเชื่อฟง
           เฉพาะอลเลาะหเทานั้น
                   ั
        5. นิกายอิสมาอีลลี ผูใหกําเนิดนิกายนี้ คือ อิสมาอีล นับถือในประเทศอิยิปต
        6. นิกายซูฟ แปลวา ขนสัตว ผูถือนิกายนี้จะตองแตงตัวดวยขนสัตว ประพฤติสันโดษ
           นับถือในอิรัก อินเดีย ตุรกี เปนตน

    คัมภีรของศาสนา คือ คัมภีรอัลกุรอาน ที่ชาวมุสลิมถือเปนคัมภีรอันศักดิ์สิทธิ์
ทุกอยางที่มีในคัมภีรลวนบริสุทธิ์ทั้งสิ้น

หลักคําสอนของอิสลาม แบงไดดงน้ี
                              ั
    1. หลักความศรัทธา 6 ประการ คือ ความเชื่อในเรื่องดังนี้
        - พระเจาสงสดองคเดยว คือ อลเลาะห
                   ู ุ          ี     ั
        - พระลิขิต หมายถึง พระเจาลิขิตชีวิตมนุษย
        - เทพบริวาร หมายถึง คนรับใชพระเจา
        - วันพิพากษาโลก หมายถึง วันที่พระเจาทําลายโลกและตัดสินความดี
          ความชั่วของมนุษย
        - คัมภีร หมายถึง หนังสือที่รวบรวมคําสอนคําพูดของพระเจา
        - ศาสนทูต หรือศาสดาตางๆ ชาวมุสลิมจะตองใหเกียรติยกยองบรรดาศาสดาตางๆ
          อยางเทาเทียมกัน
    2. หลักปฏิบัติ 5 ประการ ไดแก
        - ปฏิญาณตน คือ การปฏิญาณตอพระเจา
        - ละหมาด คือ การไหวพระเจาวันละ 5 หน
        - ซะกาด คือ การบริจาคทาน
        - ศีลอด ปฏิบัติในเดือนรอมาฎอน คือการอดอาหารและเครื่องดื่มเพื่อใหรูถึง
          ความทกข แลวชวยเหลอคนจนตอไป
                   ุ             ื
        - พิธีฮัจญ คือ การเดินทางไปแสดงสัตยาบันของพระเจาที่เมกกะ
          ประเทศซาอุดิอาราเบีย
**ฮิจเราะหศักราช เริ่มเมื่อมูฮัมหมัดอพยพจากเมกกะไปเมืองเมดินา

Recommandé

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา par
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาPadvee Academy
26.1K vues56 diapositives
ศาสนาสากล par
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากลThanaponSuwan
1.5K vues16 diapositives
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา par
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
7.2K vues103 diapositives
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย par
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย Bom Anuchit
11.4K vues105 diapositives
ศาสนาเชน par
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชนPadvee Academy
23.9K vues48 diapositives
ศาสนาเปรียบเทียบ par
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
16.3K vues5 diapositives

Contenu connexe

Tendances

เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา par
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาCC Nakhon Pathom Rajabhat University
13.3K vues21 diapositives
กรรมฐาน (เอกสาร ๑) par
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
6.8K vues42 diapositives
ศาสนาคริสต์ par
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์Padvee Academy
21.3K vues62 diapositives
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน par
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
3.8K vues28 diapositives
พระพุทธศาสนา par
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนานายวินิตย์ ศรีทวี
8.6K vues72 diapositives
การปกครองคณะสงฆ์ par
การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์พระอภิชัช ธมฺมโชโต
22.5K vues48 diapositives

Tendances(20)

ศาสนาคริสต์ par Padvee Academy
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
Padvee Academy21.3K vues
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน par pop Jaturong
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
pop Jaturong3.8K vues
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1page par Prachoom Rangkasikorn
สไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1pageสไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1page
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1page
ศาสนาคริสต์ par thnaporn999
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
thnaporn9996.8K vues
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา par Padvee Academy
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนาผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
Padvee Academy6.5K vues
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน par pop Jaturong
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
pop Jaturong15.2K vues
ศาสนาเปรียบเทียบ par thnaporn999
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
thnaporn99954.5K vues
พุทธศาสนานิกายมหายาน par Chainarong Maharak
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
Chainarong Maharak19.7K vues
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน par Padvee Academy
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
Padvee Academy19.2K vues
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy par Kunlaya Kamwut
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
Kunlaya Kamwut12.6K vues
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน par Anchalee BuddhaBucha
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล par Chavalit Deeudomwongsa
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลรวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ par sw110
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
sw11012K vues

Similaire à ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร

ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ par
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับniralai
5.2K vues2 diapositives
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007 par
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007Dream'Es W.c.
4K vues46 diapositives
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง par
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่งพัน พัน
776 vues15 diapositives
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู par
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูJani Kp
3.9K vues48 diapositives
ติวศาสนา55 par
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
4.1K vues71 diapositives
ติวศาสนา55 par
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
1.5K vues71 diapositives

Similaire à ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร(20)

ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ par niralai
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
niralai5.2K vues
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007 par Dream'Es W.c.
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
Dream'Es W.c.4K vues
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง par พัน พัน
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู par Jani Kp
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
Jani Kp3.9K vues
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู par Jani Kp
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
Jani Kp5.8K vues
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม par niralai
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
niralai11.3K vues
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ par Padvee Academy
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
Padvee Academy5.4K vues
Wansamkarn tippaya par tippaya6563
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippaya
tippaya65631.2K vues
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา par Tongsamut vorasan
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา par Tongsamut vorasan
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
วิจารณ์การศึกษาไทย par Tongsamut vorasan
วิจารณ์การศึกษาไทยวิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทย
Tongsamut vorasan2.2K vues

ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร

  • 1. ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร ศาสนา ( Religion ) หมายถึง ความผูกพันระหวางมนุษยกับสิ่งสูงสุดหรือพระเจา หรือคือลัทธิความเชื่ออันนําไปสู การปฏิบัติเพื่อพนทุกข และพบสุขนิรันดร องคประกอบของศาสนา มีดังตอไปนี้ 1. คําสอนทั้งระดับศีลธรรม และระดับปรมัตถ 2. พธกรรม ิี 3. สถาบันและคัมภีร 4. ความศักดิ์สิทธิ์ 5. ศาสดา มูลเหตุของการเกิดศาสนา ศาสนาเกิดขึ้นจากอวิชชา ตลอดจนความกลัว และความตองการศูนยรวมที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ รวมถึงตองการให สังคมสงบสุข ประโยชนของศาสนา คือ ทําใหสังคมและตัวเองสงบสุข ประเภทของศาสนา 1. ศาสนาระดับทองถิ่น เชน ศาสนาชินโต ศาสนายูดาห 2. ศาสนาระดับสากล เชน ศาสนาพุทธ คริสต อิสลาม ฮินด ศาสนาแบงเปน 3 กลุม   1. เอกเทวนิยม เปนศาสนาที่นับถือพระเจาองคเดียว เชน คริสต อิสลาม 2. พหุเทวนิยม เปนศาสนาที่นับถือพระเจาหลายองค เชน ฮินดู 3. อเทวนยม เปนศาสนาที่ไมมีพระเจา เชน พุทธ ิ ศาสนาพราหมณ - ฮนดู ิ - ที่มาไมปรากฏนามของศาสนา กอตั้งโดยชาวอารยัน - ศาสนาพราหมณมีคัมภีรพระเวท พราหมณ และวรรณะทั้ง 4 - ศาสนาฮินดู เริ่มนับถือพระเจา คือ ตรีมูรติ และมีความคิดเรื่องปรัชญา กรรม และโมกษะ ( ยุคอวตาร เปนยุคที่เนนองคพระนารายณ )
  • 2. ความเชื่อของพราหมณ - ฮนดู ิ 1. ตรีมูรติ คือ พระเจาสูงสุดองคเดียว แตประกอบดวย 3 สภาวะ คือ พรหม ศิวะ วิษณุ 2. ปรมาตมัน คือ วิญญาณที่เกิดเองเปนที่มาของอาตมัน 3. อาตมัน หมายถึง วิญญาณยอยที่เกิดจากปรมาตมัน 4. การเวยนวายตายเกด ( สังสาระ ) ยอมเปนไปตามกรรมจนกวาจะพนกรรมและเขาสูโมกษะ ี  ิ 5. โมกษะ เปนจุดมุงหมายสูงสุดของศาสนา หมายถึง ภาวะที่อาตมันเขาไปรวมกบ ั ปรมาตมันทําใหไมตองเวียนวายตายเกิดอีกตอไป วิธีการเขาสูโมกษะ ไดแก - กรรมโยคะ คือ วิธีที่ใชการกระทํา เชน บูชายัญ - ชญานโยคะ คือ วิธีที่ใชสมาธิและปญญา - ภักติโยคะ คือ วิธีที่ใชความจงรักภักดีตอพระเจา 6. อาศรม 4 คือ ขั้นตอนของชีวิตในชวงตางๆ แบงเปน - พรหมจารี ไดแก วัยเลาเรียน - คฤหัสถ ไดแก วัยครองเรือน หาทรัพยสิน เลี้ยงดูบุตรและภรรยา - วนปรสถ ั ไดแก วัยชรา วัยเขาหาธรรมะ - สันยาสี ไดแก วัยที่มุงเขาหาโมกษะ คัมภีรของศาสนาพราหมณ - ฮินดู แบงไดดังนี้ 1. คัมภีรพระเวท แบงเปน - ฤคเวท คอ บทสรรเสริญออนวอนพระเจา ื  - ยชรเวท ุ คือ คูมือประกอบพิธีกรรม - สามเวท คือ คัมภีรถวายน้ําโสมขับกลอมเทพเจา - อาถรรพเวท คือ คัมภีรเวทยมนตคาถา 2. ภควคตา เปนยอดปรชญาฮินดู ี ั พิธีกรรมสําคัญ ไดแก ศราทธ คือ พิธีการบูชาบรรพบุรุษ นิกายสําคัญของศาสนาพราหมณ - ฮนดู ิ 1. นกายพรหม ิ นับถือพระพรหมเปนสําคัญ 2. นิกายไวษณพ นับถือพระนารายณเปนสําคัญ 3. นกายไศวะ ิ นับถือพระศิวะเปนสําคัญ
  • 3. ศาสนาพุทธ พุทธ หมายถึง ผูตื่น ผูเบิกบาน องคประกอบของศาสนาพุทธ คือ พระรัตนตรัย หมายถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ นกายทางพระพทธศาสนา แบงไดดงน้ี ิ ุ  ั 1. นิกายหินยาน มุงใหปฏิบัติตนเพื่อเปนพระอรหันต หลุดพนจากความทุกข 2. นิกายมหายานวิวัฒนาการจากนิกายมหาสังฆวาทโดยผสมผสานเขากับ หลักคําสอนของนิกายอื่น เชน นิกายเถรวาท คัมภีรสําคัญของศาสนาพุทธ คือ พระไตรปฎก ไดแก 1. พระวินัยปฎก มีสาระเกี่ยวกับขอปฏิบัติของพระภิกษุสงฆ 2. พระสุตตันตปฎก มีสาระเกี่ยวกับเทศนาของพระพุทธเจาและพระสาวก 3. พระอภิธรรมปฎก มีสาระเกี่ยวกับหลักธรรมทางดานวิชาการ หลักคําสอนที่สําคัญในศาสนาพุทธ 1.ไตรลักษณ - อนิจจา คือ ความไมเที่ยงแท - ทุกขตา คือ ความทนอยูไมได - อนัตตา คือ ภาวะที่ไมใชตัวตน 2.ขันธ 5 เรียกวา "เบญจขันธ" หมายถึง องคประกอบของชีวิตอันประกอบดวย - รูปขันธ คือ สวนที่เปนรางกาย ประกอบดวยธาตุทั้ง 4 คือ ดิน น้ํา ลม ไฟ คือ สวนที่เปนนามธรรม ไมสามารถมองเห็นหรือจับตองได ประกอบดวย - นามขันธ 4 สวน คอ เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ  ื 3.อริยสัจ 4 หมายถึง ความจริงอันประเสริฐ อริยสัจเปนหัวใจสําคัญของพุทธศาสนา ไดแก - ทุกข คือ ความไมสบายกาย ไมสบายใจ - สมุทัย คือ ความจริงวาดวยเหตุแหงทุกข - นโรธ ิ คือ ความจริงวาดวยความดับทุกข - มรรค คือ ความจริงวาดวยปฏิปทา หรือวิถีทางแหงความทุกข มรรคมีองค 8 หรอเรยกวา มรรค 8 โดยยึดหลักการเดินในทางสายกลาง หรือ ื ี  "มัชฌิมาปฏิปทา" ไดแก  - สัมมาทิฐิ ความเหนชอบ ็
  • 4. - สัมมาสังกัปปะ ความดําริชอบ - สัมมาวาจา เจรจาชอบ - สัมมากัมมันตะ การทํางานชอบ - สัมมาอาชีวะ เลี้ยงชีพชอบ - สัมมาวายามะ พยายามชอบ - สัมมาสติ ตั้งสติชอบ - สัมมาสมาธิ ตงใจชอบ ้ั มรรค 8 เมื่อจัดเขาในระบบการฝกอบรม เรียกวา "ไตรสกขา" ิ พิธีกรรมสําคัญทางศาสนาพุทธ 1. พิธีบรรพชาและพิธีอุปสมบท 2. พิธีเขาพรรษา ซึ่งกําหนดไว 2 ระยะ คือ - วันเขาพรรษาแรก เรียกวา ปุริมพรรษา ตรงกับ แรม 1 ค่ํา เดือน 8 - วันเขาพรรษาหลัง เรียกวา ปจฉิมพรรษา ตรงกับ แรม 1 ค่ํา เดือน 9 3. พิธีกฐิน 4. พิธีปวารณา คือ การเปดโอกาสใหสงฆตักเตือนกันได 5. พิธีแสดงอาบัติ วันสําคัญทางศาสนาพุทธ 1. วันมาฆบูชา ตรงกับวันเพ็ญเดือน 3 เปนวันที่พระพุทธเจาทรงแสดงโอวาทปาติโมกข 2. วนวสาขบชา ตรงกบวนเพ็ญเดือน 6 เปนวันคลายวันประสูติ ั ิ ู ั ั ตรัสรูและปรินิพพานของพระพุทธเจา 3. วนอาสาฬหบชา ตรงกบวันเพญเดอน 8 เปนวันแรกที่มีการเกิดพระรัตนตรัย ั ู ั ็ ื ศาสนาคริสต คริสต หมายถึง ผูที่ไดรับการคัดเลือกใหเปนตัวแทนของพระเจา ความเปนมา ศาสนาคริสตและศาสนายิวมีความสัมพันธกันอยางใกลชดโดยศาสนาคริสตมีรากฐานมาจาก ิ ศาสนายว ซงศาสนายวสอนใหชาวยวยดมนในพระเจาองคเดยว คอ พระยะโฮวาหและทรง ิ ่ึ ิ  ิ ึ ่ั  ี ื  ประทานบัญญัติ 10 ประการ ใหแกโมเสส เพื่อนําไปสั่งสอนชาวยิว ศาสนาคริสตกําเนิดในดินแดน
  • 5. ปาเลสไตน สมณศักดิ์ทางศาสนาคริสต 1. พระสันตะปาปา เปนประมุขสูงสุด ผูสืบตําแหนงตอจากนักบุญเปโต 2. บาทหลวง 3. นักบวชชายและหญิง ในเมืองไทยเรียก ซิสเตอรและบราเตอร นิกายของศาสนาคริสต 1. นิกายคาทอลิค - เนนวาตองเปนผูสืบทอดคําสอนจากพระเยซู - ประมุข คือ สันตะปาปา และมีพระที่เรียกวา บาทหลวง - เปนนิกายเดียวที่เชื่อเรื่องนักบุญ และแดนชําระวิญญาณผูตาย - รูปเคารพ คือ ไมกางเขนที่พระเยซูถูกตรึงอยู 2. นกายออรทอดอกซ ิ  - แยกจากคาทอลิคเพราะเหตุผลทางการเมือง - รูปเคารพ คือ ภาพ 2 มติ ิ 3. นิกายโปรเตสแตนท เชน ลัทธิลูเธอรน และแอกลิแคน - ไมพอใจการกระทําคําสอนบางประการของสันตะปาปา - เนนคัมภีร ไมมีนักบวช - รับศีลศักดิ์สิทธิ์เพียง 2 ศีล คือ ศีลลางบาป และศีลมหาสนิท คัมภีรทางศาสนาคริสต มี 2 สวน คือ 1. คัมภีรเกา ( Old Testament ) หรือพนธสญญาเดมเปนบันทกเร่ืองราวกอนพระเยซู ั ั ิ  ึ ประสติ ู 2. คัมภีรใหม ( New Testament ) หรือพันธสัญญาใหมเปนบันทึกเรื่องราวหลังจาก ที่พระเยซูประสูติ หลักคําสอนสําคัญของศาสนาคริสต 1. บาปกําเนิด คือ บาปที่ติดตัวมนุษยมาตั้งแตเกิด 2. ตรีเอกภาพ คือ พระเจาสูงสุดพระองคเดียว แตมี 3 สถานะ คือ พระบิดา พระบุตร และพระจิต 3. ความรัก เปนกฎทองคําของศาสนาคริสต กลาววา "จงรักพระเจาสุดใจ สุดความคิด
  • 6. สุดกําลัง" และ "จงรักเพื่อนบานเหมือนเจารักตัวเอง" 4. อาณาจักรพระเจา คือ สภาวะจิตใจที่บริสุทธิ์ พิธีกรรมสําคัญทางศาสนาคริสต 1. ศีลลางบาป กระทําเพียงครั้งเดียวเมื่อเขาเปนคริสตศาสนิกชน เพื่อลางบาปกําเนิด 2. ศีลกําลัง ทําเพื่อตัวเองและยึดมั่นความเปนคริสต 3. ศีลมหาสนิท ทําเพื่อระลึกถึงชีวิตและคําสอนของพระเยซู 4. ศีลแกบาป ทําเพื่อสารภาพบาปดวยความสํานึกผิด 5. ศีลเจิมคนไข ทําเพื่อใหสติและกําลังใจแกผูปวยหนัก 6. ศีลบวช สําหรับชายที่มีคุณสมบัติจะบวช และตองการอุทิศตนบวชเพื่อศาสนา 7. ศีลสมรส คือ พิธีแตงงานตอหนาพระเจา  ศาสนาอิสลาม อิสลาม หมายถึง การยินยอมตอพระผูเปนเจา ศาสนาอิสลามเกิดในดินแดนอาหรับโดยมี พระอัลเลาะหเปนพระผูเปนเจาซึ่งเชื่อวาเปนผูสราง ผูค้ําจุน ผูฟนฟูโลก มนุษย มีศาสดา คือ มูฮัมหมัด นิกายสําคัญในศาสนาอิสลาม 1. นิกายซุนนี แปลวา จารีต ชาวมุสลิมจะเครงครัดตามแนวทางของคัมภีรอัลกุรอาน และเคารพตอกาหลิบ ประเทศที่นับถือนิกายนี้ เชน มาเลเซีย อินโดนีเซีย ไทย เปนตน 2. นิกายชีอะห แปลวา พรรคพวก เปนนิกายแรกของอิสลามที่แยกตัวออกจากนิกาย ชีอะหจะเคารพศรัทธาในตัวอาลี 3. นิกายวาฮาบี เนนคัมภีรอัลกุรอานและวจนะของทานศาสดา ผูใหกําเนิดนิกายนี้ คือ มูฮัมหมัด อิมบนอับดุล- วาฮัม ชาวอาหรับ 4. นิกายคอวาริจ หมายถึง ผูตอตานเปนกลุมที่มีความคิดรุนแรงประกาศยอมเชื่อฟง เฉพาะอลเลาะหเทานั้น ั 5. นิกายอิสมาอีลลี ผูใหกําเนิดนิกายนี้ คือ อิสมาอีล นับถือในประเทศอิยิปต 6. นิกายซูฟ แปลวา ขนสัตว ผูถือนิกายนี้จะตองแตงตัวดวยขนสัตว ประพฤติสันโดษ นับถือในอิรัก อินเดีย ตุรกี เปนตน คัมภีรของศาสนา คือ คัมภีรอัลกุรอาน ที่ชาวมุสลิมถือเปนคัมภีรอันศักดิ์สิทธิ์
  • 7. ทุกอยางที่มีในคัมภีรลวนบริสุทธิ์ทั้งสิ้น หลักคําสอนของอิสลาม แบงไดดงน้ี  ั 1. หลักความศรัทธา 6 ประการ คือ ความเชื่อในเรื่องดังนี้ - พระเจาสงสดองคเดยว คือ อลเลาะห  ู ุ ี ั - พระลิขิต หมายถึง พระเจาลิขิตชีวิตมนุษย - เทพบริวาร หมายถึง คนรับใชพระเจา - วันพิพากษาโลก หมายถึง วันที่พระเจาทําลายโลกและตัดสินความดี ความชั่วของมนุษย - คัมภีร หมายถึง หนังสือที่รวบรวมคําสอนคําพูดของพระเจา - ศาสนทูต หรือศาสดาตางๆ ชาวมุสลิมจะตองใหเกียรติยกยองบรรดาศาสดาตางๆ อยางเทาเทียมกัน 2. หลักปฏิบัติ 5 ประการ ไดแก - ปฏิญาณตน คือ การปฏิญาณตอพระเจา - ละหมาด คือ การไหวพระเจาวันละ 5 หน - ซะกาด คือ การบริจาคทาน - ศีลอด ปฏิบัติในเดือนรอมาฎอน คือการอดอาหารและเครื่องดื่มเพื่อใหรูถึง ความทกข แลวชวยเหลอคนจนตอไป ุ   ื - พิธีฮัจญ คือ การเดินทางไปแสดงสัตยาบันของพระเจาที่เมกกะ ประเทศซาอุดิอาราเบีย **ฮิจเราะหศักราช เริ่มเมื่อมูฮัมหมัดอพยพจากเมกกะไปเมืองเมดินา