SlideShare a Scribd company logo
1 of 1
ความหมาย 
เทคโนโลยีนวัตกรรม 
และ 
สื่อการศึกษา 
“เทคโนโลยี” 
หมายถึง การนาแนวคิดหลักการ เทคนิค วิธีการ 
กระบวนการ 
ตลอดจนผลิตผลทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ 
ในระบบงานต่างๆ เพื่อพัฒนา 
ปรับปรุงระบบงานนั้นๆ ให้ดีขึ้น 
และมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 
ตลอดจนเพื่อแก้ปัญหาในการปฏิบัติงานดังนี้ 
ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ประหยัด 
และปลอดภัย 
“เทคโนโลยีการศึกษา” 
(EducationalTechnology) 
เป็นกระบวนการที่มีการบูรณ า ก า ร อ ย่า ง ซั บ 
ซ้ อ น เ กี่ ย ว กั บ บุ ค ค ล กรรมวิธี แนวคิด 
เครื่องมือ และองค์กร 
เพื่อนาไปใช้ในการวิเคราะห์ปัญหา สร้าง ประยุกต์ 
ใ ช้ประเมินผลและจัดการแก้ปัญหาต่างๆ 
นางสาวพรพิมล จันทร์สว่าง 
563050111-3 sec 3 ED - Math 
“นวัตกรรมการศึกษา” คือ การทาสิ่งใหม่ๆ 
ซึ่งอาจจะเป็นความคิดหรือการกระทา หรือสิ่งประดิษฐ์ขึ้น 
โดยอาศัยหลักการ ทฤษฎี 
ที่ได้ผ่านการทดลองวิจัยจนเชื่อถือได้ เข้ามาใช้ในการศึกษา 
เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพของการเรียนการสอนการศึกษ 
า 
เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพของการเรียน 
การสอน 
ความเป็นมาและพัฒนาการข 
องเทคโนโลยี 
ขอบข่ายของเทคโนโลยี 
การศึกษา 
- การออกแบบ : 
ระบบการสอน,สาร,กลยุทธ์การสื่อสาร,คุณลักษณะของผู้ 
เรียน 
- การพัฒนา : 
เทคโนโลยีสิ่งพิมพ์,เทคโนโลยีด้านโสตทัศนูปกรณ์,เทคโ 
นโลยีคอมพิวเตอร์,เทคโนโลยีบูรณาการ 
- การใช้ : 
สื่อ,การเผยแพร่นวัตกรรม,การนาไปใช้สาหรับตนเองแล 
ะในสถานศึกษา,นโยบายและกฎระเบียบ 
- การจัดการ : 
การจัดการโครงการ,การจัดการทรัพยากร,การจัดการระ 
บบขนส่ง,การจัดการสารสนเทศ 
- การประเมินผล : 
การวิเคราะห์ปัญหา,การวัดตามเกณฑ์,การประเมินระหว่ 
างกระบวนการ 
รากฐานของเทคโนโลยีการศึกษามีประวัติมายาวนานโดยเริ่มจ 
ากสมัยกรีก กลุ่มโซฟิสต์ (Sophist) เป็นกลุ่มครูผู้สอนชาวกรีก 
ได้ออกทาการสอนความรู้ต่างๆให้กับชนรุ่นเยาว์ 
ได้รับการยอมรับว่าเป็นผู้ที่มีความฉลาดปราดเปรื่อง ในการอภิปราย โต้แย้ง 
ถกปัญหา จนได้รับการขนานนามว่า 
เป็นนักเทคโนโลยีการศึกษากลุ่มแรก 
บุคคลที่สาคัญอีกท่านหนึ่ง คือ โจฮัน อะมอส คอมินิอุส (Johannes 
Amos Comenius ค.ศ. 1592-1670) เป็นผู้ที่ใช้วัสดุ 
สิ่งของที่เป็นของจริงและรูปภาพ เข้ามาช่วยในการสอนอย่างจริงจัง 
รวมทั้งแนวคิดในเรื่องวิธีการสอนใหม่ที่ให้ความสาคัญต่อการใช้วัสดุ 
ของจริงมาใช้ในการสอน 
ตลอดจนการรวบรวมหลักการสอนจากประสบการณ์ที่ทาการสอน 
มา 40 ปี นอกจากนี้ได้แต่งหนังสือที่สาคัญอีกมากมายและที่สาคัญ คือ 
Obis Sensualium Pictus หรือที่เรียกว่า โลกในรูปภาพ 
ซึ่งเป็นหนังสือที่มีภาพประกอบบทเรียนต่างๆ ผลงานของคอมินิอุส 
ได้มีอิทธิพลต่อการพัฒนาตลอดมา 
จนได้รับการขนานนามว่า เป็น 
“บิดาแห่งโสตทัศนศึกษา” 
ต่อมาได้มีการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีการศึกษาซึ่งสามารถ 
จาแนกออกเป็นด้านต่างๆ 
ในที่นี้จะกล่าวเกี่ยวกับพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา 
ในส่วนประกอบหลักที่สาคัญ ได้แก่ ด้านการออกแบบการสอน 
ด้านสื่อการสอน และด้านคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา

More Related Content

More from AomJi Math-ed

Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาAomJi Math-ed
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้AomJi Math-ed
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้AomJi Math-ed
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้AomJi Math-ed
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาAomJi Math-ed
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาAomJi Math-ed
 
สรุปความคิดเพื่อน
สรุปความคิดเพื่อนสรุปความคิดเพื่อน
สรุปความคิดเพื่อนAomJi Math-ed
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสารเทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสารAomJi Math-ed
 

More from AomJi Math-ed (9)

Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
สรุปความคิดเพื่อน
สรุปความคิดเพื่อนสรุปความคิดเพื่อน
สรุปความคิดเพื่อน
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสารเทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
 

พรพิมล จันทร์สว่าง 563050111 3

  • 1. ความหมาย เทคโนโลยีนวัตกรรม และ สื่อการศึกษา “เทคโนโลยี” หมายถึง การนาแนวคิดหลักการ เทคนิค วิธีการ กระบวนการ ตลอดจนผลิตผลทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ ในระบบงานต่างๆ เพื่อพัฒนา ปรับปรุงระบบงานนั้นๆ ให้ดีขึ้น และมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ตลอดจนเพื่อแก้ปัญหาในการปฏิบัติงานดังนี้ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ประหยัด และปลอดภัย “เทคโนโลยีการศึกษา” (EducationalTechnology) เป็นกระบวนการที่มีการบูรณ า ก า ร อ ย่า ง ซั บ ซ้ อ น เ กี่ ย ว กั บ บุ ค ค ล กรรมวิธี แนวคิด เครื่องมือ และองค์กร เพื่อนาไปใช้ในการวิเคราะห์ปัญหา สร้าง ประยุกต์ ใ ช้ประเมินผลและจัดการแก้ปัญหาต่างๆ นางสาวพรพิมล จันทร์สว่าง 563050111-3 sec 3 ED - Math “นวัตกรรมการศึกษา” คือ การทาสิ่งใหม่ๆ ซึ่งอาจจะเป็นความคิดหรือการกระทา หรือสิ่งประดิษฐ์ขึ้น โดยอาศัยหลักการ ทฤษฎี ที่ได้ผ่านการทดลองวิจัยจนเชื่อถือได้ เข้ามาใช้ในการศึกษา เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพของการเรียนการสอนการศึกษ า เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพของการเรียน การสอน ความเป็นมาและพัฒนาการข องเทคโนโลยี ขอบข่ายของเทคโนโลยี การศึกษา - การออกแบบ : ระบบการสอน,สาร,กลยุทธ์การสื่อสาร,คุณลักษณะของผู้ เรียน - การพัฒนา : เทคโนโลยีสิ่งพิมพ์,เทคโนโลยีด้านโสตทัศนูปกรณ์,เทคโ นโลยีคอมพิวเตอร์,เทคโนโลยีบูรณาการ - การใช้ : สื่อ,การเผยแพร่นวัตกรรม,การนาไปใช้สาหรับตนเองแล ะในสถานศึกษา,นโยบายและกฎระเบียบ - การจัดการ : การจัดการโครงการ,การจัดการทรัพยากร,การจัดการระ บบขนส่ง,การจัดการสารสนเทศ - การประเมินผล : การวิเคราะห์ปัญหา,การวัดตามเกณฑ์,การประเมินระหว่ างกระบวนการ รากฐานของเทคโนโลยีการศึกษามีประวัติมายาวนานโดยเริ่มจ ากสมัยกรีก กลุ่มโซฟิสต์ (Sophist) เป็นกลุ่มครูผู้สอนชาวกรีก ได้ออกทาการสอนความรู้ต่างๆให้กับชนรุ่นเยาว์ ได้รับการยอมรับว่าเป็นผู้ที่มีความฉลาดปราดเปรื่อง ในการอภิปราย โต้แย้ง ถกปัญหา จนได้รับการขนานนามว่า เป็นนักเทคโนโลยีการศึกษากลุ่มแรก บุคคลที่สาคัญอีกท่านหนึ่ง คือ โจฮัน อะมอส คอมินิอุส (Johannes Amos Comenius ค.ศ. 1592-1670) เป็นผู้ที่ใช้วัสดุ สิ่งของที่เป็นของจริงและรูปภาพ เข้ามาช่วยในการสอนอย่างจริงจัง รวมทั้งแนวคิดในเรื่องวิธีการสอนใหม่ที่ให้ความสาคัญต่อการใช้วัสดุ ของจริงมาใช้ในการสอน ตลอดจนการรวบรวมหลักการสอนจากประสบการณ์ที่ทาการสอน มา 40 ปี นอกจากนี้ได้แต่งหนังสือที่สาคัญอีกมากมายและที่สาคัญ คือ Obis Sensualium Pictus หรือที่เรียกว่า โลกในรูปภาพ ซึ่งเป็นหนังสือที่มีภาพประกอบบทเรียนต่างๆ ผลงานของคอมินิอุส ได้มีอิทธิพลต่อการพัฒนาตลอดมา จนได้รับการขนานนามว่า เป็น “บิดาแห่งโสตทัศนศึกษา” ต่อมาได้มีการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีการศึกษาซึ่งสามารถ จาแนกออกเป็นด้านต่างๆ ในที่นี้จะกล่าวเกี่ยวกับพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา ในส่วนประกอบหลักที่สาคัญ ได้แก่ ด้านการออกแบบการสอน ด้านสื่อการสอน และด้านคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา