การปกครองคณะสงฆ์

พระอภิชัช ธมฺมโชโต
Free Powerpoint Templates
Page 1
การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์
• จัดทำาโดยจัดทำาโดย
 พระครูเกษมปัญญาพิสุทธิ์ รหัส ๕๖๕๑๒๐๔๐๐๑พระครูเกษมปัญญาพิสุทธิ์ รหัส ๕๖๕๑๒๐๔๐๐๑
 พระอธิการจิตตวี ธีรปัญโญ รหัส ๕๖๕๑๒๐๔๐๐๙พระอธิการจิตตวี ธีรปัญโญ รหัส ๕๖๕๑๒๐๔๐๐๙
 พระอธิการชาตรี ชาตวโร รหัส ๕๖๕๑๒๐๔๐๑๖พระอธิการชาตรี ชาตวโร รหัส ๕๖๕๑๒๐๔๐๑๖
 พระอภิชัช ธมฺมโชโตพระอภิชัช ธมฺมโชโต รหัสรหัส
๕๖๕๑๒๐๔๐๒๑๕๖๕๑๒๐๔๐๒๑
 พระมาโนช มหิสฺสโรพระมาโนช มหิสฺสโร รหัสรหัส
๕๖๕๑๒๐๔๐๒๓๕๖๕๑๒๐๔๐๒๓
 พระวงศกร วงฺสกาโร รหัส ๕๖๕๑๒๐๔๐๓๑พระวงศกร วงฺสกาโร รหัส ๕๖๕๑๒๐๔๐๓๑
Free Powerpoint Templates
Page 2
การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์ เป็นรูป
แบบ
การบริหารกิจการคณะสงฆ์
เป็นองค์กรหนึ่งที่เกิดขึ้นใน
สังคมมนุษย์ โดยเฉพาะชาว
พุทธที่มีรูปแบบประวัติยาวนาน
Free Powerpoint Templates
Page 3
การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์
ได้มีมาตั้งแต่สมัยพุทธกาลได้มีมาตั้งแต่สมัยพุทธกาล
หลักที่ใช้ในการปกครองในครั้งหลักที่ใช้ในการปกครองในครั้ง
นั้นนั้น
คือคือ พระธรรมวินัยพระธรรมวินัย พระพุทธเจ้าพระพุทธเจ้า
ทรงปกครองคณะสงฆ์โดยทรงปกครองคณะสงฆ์โดย ธรรมธรรม
มาธิปไตยมาธิปไตย
Free Powerpoint Templates
Page 4
จุดประสงค์ในการบัญญัติพระ
วินัยก็เพื่อให้สงฆ์อยู่ร่วมกันด้วยดี พ้น
จากมลทินและกิเลสต่างๆ ทำาให้
ประชาชนเกิดความเลื่อมใสและเป็น
เครื่องส่งเสริมการปฏิบัติธรรม ดัง
ข้อความว่า
“ ภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัต
สิกขาบททั้งหลาย
อาศัยอำานาจประโยชน์ ๑๐ ประการคือ
๑. เพื่อความดีแห่งสงฆ์
๒. เพื่อความสำาราญแห่งสงฆ์
๓. เพื่อข่มผู้เก้ออยาก
๔. เพื่อความอยู่สำาราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็น
ที่รัก
๕. เพื่อป้องกันอาสวะอันจักบังเกิดในปัจจุบัน
๖. เพื่อกำาจัดอาสวะอันจักบังเกิด
ในอนาคต
๗. เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่
ยังไม่เลื่อมใส
๘. เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่
เลื่อมใสแล้ว
Free Powerpoint Templates
Page 5
การปกครองคณะสงฆ์สมัยพุทธกาล
ในการปกครองคณะสงฆ์ในการปกครองคณะสงฆ์
ระยะแรก พระพุทธเจ้าทรงระยะแรก พระพุทธเจ้าทรง
ปกครองโดยพระองค์เองปกครองโดยพระองค์เอง
ต่อมาพระองค์ทรงบัญญัติพระต่อมาพระองค์ทรงบัญญัติพระ
วินัย และใช้วินัย และใช้
พระวินัยเป็นระเบียบ เครื่องมือพระวินัยเป็นระเบียบ เครื่องมือ
ในการปกครองในการปกครอง
พระภิกษุต้องอยู่ภายใต้พระธรรมวินัยพระภิกษุต้องอยู่ภายใต้พระธรรมวินัย
และต้องปฏิบัติตาม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อและต้องปฏิบัติตาม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ
ออกจากทุกข์และทำาพระนิพพานให้แจ้ง เป็นออกจากทุกข์และทำาพระนิพพานให้แจ้ง เป็น
จุดหมายสูงสุดของพระศาสนาจุดหมายสูงสุดของพระศาสนา
Free Powerpoint Templates
Page 6
การบัญญัติพระวินัยของการบัญญัติพระวินัยของ
พระพุทธเจ้า มิได้ทรงบัญญัติไว้พระพุทธเจ้า มิได้ทรงบัญญัติไว้
ก่อน แต่ทรงบัญญัติขึ้นต่อเมื่อมีก่อน แต่ทรงบัญญัติขึ้นต่อเมื่อมี
เหตุการณ์เกิดขึ้น พระองค์จึงตรัสเหตุการณ์เกิดขึ้น พระองค์จึงตรัส
เรียกภิกษุสงฆ์มาประชุมเรียกภิกษุสงฆ์มาประชุม
ตรัสสอบถามในเรื่องที่เกิดขึ้น ทรงตรัสสอบถามในเรื่องที่เกิดขึ้น ทรง
ตำาหนิติเตียนตำาหนิติเตียน
แล้วจึงบัญญัติสิกขาบทแล้วจึงบัญญัติสิกขาบท
พระพุทธองค์ทรงเป็นพระพุทธองค์ทรงเป็น
ธรรมราชาธรรมราชา
ทรงอยู่ในฐานะทรงอยู่ในฐานะ
ประมุขสงฆ์ประมุขสงฆ์ // ประธานสงฆ์ประธานสงฆ์
Free Powerpoint Templates
Page 7
เมื่อสาวกมีจำานวนมากขึ้น
พระพุทธเจ้าทรงจัดองค์กรใน
พระพุทธศาสนาออกเป็นพุทธบริษัท
๔ คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก
Free Powerpoint Templates
Page 8
ภายหลัง พระพุทธองค์ทรงมอบความเป็นใหญ่ให้
แก่พระสงฆ์ ดังจะเห็นได้จากการที่ทรงกระจาย
อำานาจให้คณะสงฆ์ ดำาเนินการให้การอุปสมบท
หรือเมื่อมีกิจจาธิกรณ์หรือกิจการที่จะต้องทำาร่วมกัน
คณะสงฆ์สามารถบริหารจัดการเองหรือเมื่อมีกรณีความ
ขัดแย้งเกิดขึ้นในคณะสงฆ์ พระพุทธเจ้าก็ทรงมอบ
อำานาจให้
คณะสงฆ์เป็นผู้จัดการแก้ปัญหาคณะสงฆ์เป็นผู้จัดการแก้ปัญหา
Free Powerpoint Templates
Page 9
พระพุทธเจ้าทรงดำารงตำาแหน่งเป็นพระพุทธเจ้าทรงดำารงตำาแหน่งเป็น พระธรรมราชาพระธรรมราชา
ทรงแต่งตั้งทรงแต่งตั้ง พระสารีบุตรพระสารีบุตร ให้เป็นพระธรรมเสนาบดีให้เป็นพระธรรมเสนาบดี
มีฐานะเป็นรองประธานบริหาร อยู่ในลำาดับถัดมาจากมีฐานะเป็นรองประธานบริหาร อยู่ในลำาดับถัดมาจาก
พระพุทธเจ้า และเป็นอัครสาวกฝ่ายขวาพระพุทธเจ้า และเป็นอัครสาวกฝ่ายขวา
รับผิดชอบงานด้านวิชาการรับผิดชอบงานด้านวิชาการ พระโมคคัลลานะพระโมคคัลลานะ
เป็นพระอัครสาวกฝ่ายซ้าย รับผิดชอบงานด้านเป็นพระอัครสาวกฝ่ายซ้าย รับผิดชอบงานด้าน
บริหารบริหาร
พระอานนท์พระอานนท์ เป็นเลขานุการส่วนพระองค์ และทรงเป็นเลขานุการส่วนพระองค์ และทรง
แต่งตั้งสาวก ทั้งฝ่ายบรรพชิตและคฤหัสถ์ผู้เป็นเอตทัคคะ รับแต่งตั้งสาวก ทั้งฝ่ายบรรพชิตและคฤหัสถ์ผู้เป็นเอตทัคคะ รับ
ภาระหน้าที่การงานในด้านต่างๆภาระหน้าที่การงานในด้านต่างๆ
Free Powerpoint Templates
Page 10
 เพื่อความเป็นปกติสุขเรียบร้อย
 เพื่อให้เป็นไปในทางเดียวกันของหมู่ภิกษุสงฆ์
 เพื่อให้เกิดความเลื่อมใสแก่ผู้พบ
 เพื่อความมีอาจาระอันงาม อันจะนำาไปสู่การประพฤติปฏิบัติชอบ
ทรงบัญญัติ พระวินัย
คือ ประมวลกฎข้อบังคับ
เกี่ยวกับความประพฤติ
ของเหล่าพระสงฆ์
ทั้งภิกษุและภิกษุณี
Free Powerpoint Templates
Page 11
การปกครองคณะสงฆ์ภายหลังพุทธกาลการปกครองคณะสงฆ์ภายหลังพุทธกาล
ลักษณะการปกครองคณะสงฆ์ลักษณะการปกครองคณะสงฆ์
เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธ์ปรินิพพานแล้วเมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธ์ปรินิพพานแล้ว
““ อานนท์ เมื่อเราล่วงลับไปแล้วอานนท์ เมื่อเราล่วงลับไปแล้ว
”พระธรรมและพระวินัยนั้นแหละจักเป็นศาสดาของเธอทั้งหลาย ”พระธรรมและพระวินัยนั้นแหละจักเป็นศาสดาของเธอทั้งหลาย
พระสงฆ์ยังต้องอยู่ภายใต้พระธรรมวินัยพระสงฆ์ยังต้องอยู่ภายใต้พระธรรมวินัย
ดังปัจฉิมโอวาทว่าดังปัจฉิมโอวาทว่า
อำานาจการปกครองขึ้นอยู่กับคณะอำานาจการปกครองขึ้นอยู่กับคณะ
สงฆ์สงฆ์
Free Powerpoint Templates
Page 12
เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธ์ปรินิพพานแล้วเมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธ์ปรินิพพานแล้ว
เกิดความไม่เรียบร้อยขึ้น จึงได้มีการทำาปฐมเกิดความไม่เรียบร้อยขึ้น จึงได้มีการทำาปฐม
สังคายนาเพื่อรวมรวมพระธรรมวินัย ณ ถำ้าสังคายนาเพื่อรวมรวมพระธรรมวินัย ณ ถำ้า
สัตตบรรณคูหาสัตตบรรณคูหา
เมืองราชคฤห์ โดยพระอรหันต์ ๕๐๐ รูปเมืองราชคฤห์ โดยพระอรหันต์ ๕๐๐ รูป
มี พระมหากัสสปะ เป็นประธานมี พระมหากัสสปะ เป็นประธาน
เพื่อรวบรวมคำาสอน และเป็นหลักในการประพฤติเพื่อรวบรวมคำาสอน และเป็นหลักในการประพฤติ
ปฏิบัติ ให้เป็นไปในรูปแบบเดียวกันปฏิบัติ ให้เป็นไปในรูปแบบเดียวกัน
Free Powerpoint Templates
Page 13
เมื่อพระพุทธศาสนาล่วงมาได้เมื่อพระพุทธศาสนาล่วงมาได้
ประมาณ ๒๐๐ ปี เศษ พระเจ้าอโศกประมาณ ๒๐๐ ปี เศษ พระเจ้าอโศก
มหาราชได้ครอบครอง อาณาจักรอินเดียมหาราชได้ครอบครอง อาณาจักรอินเดีย
อย่างกว้างขวาง พระองค์เลื่อมใสในอย่างกว้างขวาง พระองค์เลื่อมใสใน
พระพุทธศาสนา ได้ส่งสมณะทูตเผยแผ่พระพุทธศาสนา ได้ส่งสมณะทูตเผยแผ่
พระพุทธศาสนาออกไปยังประเทศต่าง ๆพระพุทธศาสนาออกไปยังประเทศต่าง ๆ
การปกครองคณะสงฆ์ยังเป็นไปตามพระธรรมวินัยการปกครองคณะสงฆ์ยังเป็นไปตามพระธรรมวินัย
การบริหารสังฆมณฑลในบางประเทศ ต้องอนุโลมไปการบริหารสังฆมณฑลในบางประเทศ ต้องอนุโลมไป
ตามแบบแผน ประเพณีของประเทศนั้น ๆ เพื่อให้ตามแบบแผน ประเพณีของประเทศนั้น ๆ เพื่อให้
พุทธจักรและอาณาจักรเป็นไปด้วยดีทั้งสองฝ่ายพุทธจักรและอาณาจักรเป็นไปด้วยดีทั้งสองฝ่าย
Free Powerpoint Templates
Page 14
พระภิกษุสงฆ์มีกฎพระภิกษุสงฆ์มีกฎ
ที่พึงปฏิบัติอยู่สามประเภทคือที่พึงปฏิบัติอยู่สามประเภทคือ
•พระวินัยพระวินัย
•จารีตจารีต
•กฎหมายแผ่นดินกฎหมายแผ่นดิน
Free Powerpoint Templates
Page 15
หลังจากพระเจ้าอโศกมหาราชหลังจากพระเจ้าอโศกมหาราช
ได้จัดการอุปภัมภ์ การทำาสังคยานาคได้จัดการอุปภัมภ์ การทำาสังคยานาค
รั้งที่ ๓ เมื่อพรั้งที่ ๓ เมื่อพ..ศศ.. ๒๓๖ แล้วพระองค์ได้๒๓๖ แล้วพระองค์ได้
ส่งพระสมณะทูตจาริกเผยแผ่พระพุทธส่งพระสมณะทูตจาริกเผยแผ่พระพุทธ
ศาสนาไป ๙ สายศาสนาไป ๙ สาย
สายที่ ๙ ซึ่งมีสายที่ ๙ ซึ่งมี
พระโสณะและพระอุตตระพระโสณะและพระอุตตระ
เป็นผู้นำาพระพุทธศาสนามาเผยแผ่ยังเป็นผู้นำาพระพุทธศาสนามาเผยแผ่ยัง
ดินแดนสุวรรณภูมิดินแดนสุวรรณภูมิ
Free Powerpoint Templates
Page 16
การปกครองคณะสงฆ์ใน
ประเทศไทย(สมัยสุโขทัย)
พระพุทธศาสนาได้มาประดิษฐานในดินแดนสุวรรณภูมิ อันเป็น
ที่ตั้งของประเทศไทย และอีกหลายประเทศในเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้ มาตั้งแต่ยุคกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี ในประมาณปี
พพ..ศศ.. ๑๘๐๐๑๘๐๐
สมัยสุโขทัย พระพุทธศาสนาเป็นนิกายมหายาน เพราะ
สืบทอดมาจากสมัยขอมเรืองอำานาจ ครั้นถึงสมัย พ่อขุนรามคำาแหงพ่อขุนรามคำาแหง
มหาราชมหาราช พระองค์ขยายอำานาจไปทางใต้ ทรงเลื่อมใสในพระเถระ
นิกายเถรวาท
ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากลังกา จึงทรงอาราธนา
พระเถระจากเมืองนครศรีธรรมราชเพื่อมา
ปรับปรุงพุทธศาสนาและพระสงฆ์ในสุโขทัย คณะ
สงฆ์สุโขทัยจึงหันกลับมาถือเถรวาทมากขึ้น
Free Powerpoint Templates
Page 17
ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำาแหงศิลาจารึกพ่อขุนรามคำาแหง
มหาราชมหาราช
มีการกล่าวถึงสิ่งที่จัดเป็นศาสนประวัติ
ด้านที่ ๒ด้านที่ ๒
“คนในเมืองสุโขทัยนี้ มักทาน มักทรงศีล มักโอย
ทาน พ่อขุนรามคำาแหงเจ้าเมืองสุโขทัยนี้ ทั้ง
ชาวแม่ชาวเจ้าท่วยปั่วท่วยนาง ลูกเจ้าลูกขุน ทั้ง
สิ้นทั้งหลาย ทั้งผู้ชายผู้ญีง ฝูงท่วยมีศรัทธาใน
”พระพุทธศาสน์ ทรงศีลเมื่อพรรษาทุกคน
“พ่อขุนรามคำาแหงกระทำาโอยทานแก่พระมหา
สังฆ-เถร สังฆราชปราชญ์เรียนจบปิฎกไตรหล
วก(รู้)กว่าปู่ครูในเมืองนี้ ทุกคนลุกแต่เมืองศรี
”ธรรมราชมา
ด้านที่ ๓ด้านที่ ๓
“วันเดือนดับเดือนโอกแปดวันวันเดือนดับเดือนโอกแปดวัน
วันเดือนเต็ม เดือนบ้างแปดวันวันเดือนเต็ม เดือนบ้างแปดวัน
ฝูงปู่ครู เถร มหาเถร ขึ้นนั่งเหนือฝูงปู่ครู เถร มหาเถร ขึ้นนั่งเหนือ
”ขดานหินสูดธรรมแก่อุบสก”ขดานหินสูดธรรมแก่อุบสก
Free Powerpoint Templates
Page 18
เข้าใจว่า "ตำาแหน่งสังฆราช" กับ "ปู่ครู"
เป็นสมณศักดิ์ในสมัยนั้น สุโขทัยมีสังฆราชหลายพระองค์
เพราะทางราชอาณาจักร มีทั้งเมืองในปกครองโดยตรง และ
เมืองประเทศราชมีเจ้าปกครอง จึงน่าจะมีสังฆราชของ
ตนเองด้วย แต่การปกครองไม่มีเอกภาพเหมือนกรุง
รัตนโกสินทร์เพราะหัวเมืองใหญ่ที่เป็นประเทศราช เจ้าเมือง
ก็ตั้งสังฆราชเป็นประมุขในแต่ละเมืองเป็นประมุข
ในสมัยหลังปรากฏเรียกตำาแหน่งพระเถระเจ้าคณะเมืองว่า "สังฆราชา"
อยู่หลายแห่ง สังฆราชจึงมิใช่มีองค์เดียว ส่วนปู่ครูนั้น เมืองใหญ่ๆ อาจมี
หลายองค์ ถ้าเมืองเล็กมีองค์เดียว ขึ้นตรงต่อสังฆราช
Free Powerpoint Templates
Page 19
พระภิกษุในสมัยพ่อขุนรามคำาแหงมหาราชแบ่งเป็น ๒ คณะพระภิกษุในสมัยพ่อขุนรามคำาแหงมหาราชแบ่งเป็น ๒ คณะ
คือคือ
๑๑.. คามวาสีคามวาสี พระภิกษุที่จำาพรรษาในวัดที่อยู่ในหมู่บ้านพระภิกษุที่จำาพรรษาในวัดที่อยู่ในหมู่บ้าน
หรือชุมชน พระภิกษุเหล่านี้เรียน คันถธุระ คือ ปริยัติธรรมหรือชุมชน พระภิกษุเหล่านี้เรียน คันถธุระ คือ ปริยัติธรรม
๒๒.. อรัญวาสีอรัญวาสี คือ พระภิกษุจำาพรรษาในวัดที่อยู่ในป่า พระคือ พระภิกษุจำาพรรษาในวัดที่อยู่ในป่า พระ
ภิกษุเหล่านี้เรียน วิปัสสนาธุระภิกษุเหล่านี้เรียน วิปัสสนาธุระ
Free Powerpoint Templates
Page 20
การปกครองคณะสงฆ์สมัยสุโขทัย
 ๑๑.. การปกครองคณะสงฆ์ มิได้แบ่งการปกครองการปกครองคณะสงฆ์ มิได้แบ่งการปกครอง
เป็นการปกครองร่วมกัน บังคับบัญชาตามลำาดับชั้นเป็นการปกครองร่วมกัน บังคับบัญชาตามลำาดับชั้น
 ๒๒.. พระสังฆราช เป็นตำาแหน่งสูงสุดของการปกครองคณะสงฆ์พระสังฆราช เป็นตำาแหน่งสูงสุดของการปกครองคณะสงฆ์
 ๓๓. ". "ปู่ครูปู่ครู"" คงจะเป็นตำาแหน่งรองจากสังฆราชคงจะเป็นตำาแหน่งรองจากสังฆราช ((ปัจจุบันเรียกว่า พระคปัจจุบันเรียกว่า พระค
 ๔๔. ". "มหาเถระมหาเถระ"" คงได้แก่ พระผู้มีพรรษา ผู้คงแก่เรียน รู้ธรรมวินัยทั่วไปคงได้แก่ พระผู้มีพรรษา ผู้คงแก่เรียน รู้ธรรมวินัยทั่วไป
แต่มิใช่ตำาแหน่งที่กษัตริย์แต่งตั้ง อาจจะมีตำาแหน่งทางการปกครองแต่มิใช่ตำาแหน่งที่กษัตริย์แต่งตั้ง อาจจะมีตำาแหน่งทางการปกครอง
เป็นเจ้าคณะหมู่ หมวด หรือสมภารวัดก็ได้เป็นเจ้าคณะหมู่ หมวด หรือสมภารวัดก็ได้
 ๕๕.. สมัยสุโขทัยตอนปลายได้มีประเพณีพระราชทานสมณศักดิ์แก่พระสงฆ์สมัยสุโขทัยตอนปลายได้มีประเพณีพระราชทานสมณศักดิ์แก่พระสงฆ์
คงรับมาจากลังกาคงรับมาจากลังกา
 ๖๖.. ในสมัยสุโทัยบางครั้งเรียกในสมัยสุโทัยบางครั้งเรียก คณะคามวาสี ว่าคณะคามวาสี ว่า ฝ่ายขวาฝ่ายขวา
เรียกคณะอรัญญวาสี ว่าเรียกคณะอรัญญวาสี ว่า ฝ่ายซ้ายฝ่ายซ้าย
ชื่อคณะคามวาสีและคณะอรัญวาสีคงมีใช้ต่อมาจนถึงสมัยอยุธยาชื่อคณะคามวาสีและคณะอรัญวาสีคงมีใช้ต่อมาจนถึงสมัยอยุธยา
Free Powerpoint Templates
Page 21
การปกครองคณะสงฆ์สมัยอยุธยาการปกครองคณะสงฆ์สมัยอยุธยา
ยังคงถือแบบอย่างสุโขทัย แต่เพิ่มขึ้นมาอีกคณะคือยังคงถือแบบอย่างสุโขทัย แต่เพิ่มขึ้นมาอีกคณะคือ
""คณะป่าแก้วคณะป่าแก้ว"" สืบเนื่องจากตามตำานานโยนกสืบเนื่องจากตามตำานานโยนก
กล่าวว่า เมื่อ พกล่าวว่า เมื่อ พ..ศศ..๑๙๖๕ พระเถระชาวเชียงใหม่ ๗ รูป๑๙๖๕ พระเถระชาวเชียงใหม่ ๗ รูป
พระเถระชาวอยุธยา ๒ รูปและพระเถระชาวเขมร ๑ รูป เดินทางไปพระเถระชาวอยุธยา ๒ รูปและพระเถระชาวเขมร ๑ รูป เดินทางไป
ลังกาและได้บวชแปลงเป็นสิงหลนิกายในสีมานำ้า แม่นำ้ากัลยาณี ในลังกาและได้บวชแปลงเป็นสิงหลนิกายในสีมานำ้า แม่นำ้ากัลยาณี ใน
สำานักพระวันรัตนมหาเถระ เมื่อบวชใหม่แล้วก็ปฏิบัติอยู่ในลังกาสำานักพระวันรัตนมหาเถระ เมื่อบวชใหม่แล้วก็ปฏิบัติอยู่ในลังกา
นานหลายปีจึงเดินทางกลับ ขากลับนิมนต์พระเถรชาวลังการมานานหลายปีจึงเดินทางกลับ ขากลับนิมนต์พระเถรชาวลังการมา
ด้วย ๒ รูป เมื่อถึงอยุธยาแล้วก็แยกย้ายกันไปเผยแผ่ ตั้งนิกายขึ้นมาด้วย ๒ รูป เมื่อถึงอยุธยาแล้วก็แยกย้ายกันไปเผยแผ่ ตั้งนิกายขึ้นมา
ใหม่เรียกว่าใหม่เรียกว่า
""ป่าแก้วป่าแก้ว" (" (วนรัตนวนรัตน == ป่าแก้วป่าแก้ว)) คณะนี้ยังปรากฏที่นครศรีธรรมราชคณะนี้ยังปรากฏที่นครศรีธรรมราช
และพัทลุง เช่น วัดเขียนคณะป่าแก้ว มีข้อวัตรปฏิบัติที่เคร่งครัดและพัทลุง เช่น วัดเขียนคณะป่าแก้ว มีข้อวัตรปฏิบัติที่เคร่งครัด
Free Powerpoint Templates
Page 22
ลักษณะการปกครองของคณะลักษณะการปกครองของคณะ
สงฆ์ สมัยอยุธยาสงฆ์ สมัยอยุธยา
เมื่อกล่าวโดยสรุป การปกครองคณะสงฆ์สมัยอยุธยาตอนปลายเมื่อกล่าวโดยสรุป การปกครองคณะสงฆ์สมัยอยุธยาตอนปลาย
แบ่งการปกครองออกเป็น ๓ คณะ ซึ่งได้แก่แบ่งการปกครองออกเป็น ๓ คณะ ซึ่งได้แก่
๑๑.. คณะคามวาสีฝ่ายซ้ายคณะคามวาสีฝ่ายซ้าย คือ พระสงฆ์สืบเนื่องมาจากนิกายเดิมที่มาตั้งแต่แรกคือ พระสงฆ์สืบเนื่องมาจากนิกายเดิมที่มาตั้งแต่แรก
สมัยกรุงสุโขทัย และทำาการศึกษาพระไตรปิฎกตลอดถึงการศึกษาจากคัมภีร์ต่างๆ จนสมัยกรุงสุโขทัย และทำาการศึกษาพระไตรปิฎกตลอดถึงการศึกษาจากคัมภีร์ต่างๆ จน
แตกฉานหรือที่รู้จักกันว่า สายคันถธุระแตกฉานหรือที่รู้จักกันว่า สายคันถธุระ
๒๒.. คณะอรัญวาสีคณะอรัญวาสี คือ พระสงฆ์ดั้งเดิมที่ได้ประพฤติปฏิบัติสืบต่อๆกันมา ตั้งแต่สมัยคือ พระสงฆ์ดั้งเดิมที่ได้ประพฤติปฏิบัติสืบต่อๆกันมา ตั้งแต่สมัย
กรุงสุโขทัย โดยมุ่งเน้นการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานเป็นหลัก อยู่จำาพรรษาตามวัดกรุงสุโขทัย โดยมุ่งเน้นการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานเป็นหลัก อยู่จำาพรรษาตามวัด
ต่างๆไกลจากชุมชน ที่รู้จักกันว่า พระป่าต่างๆไกลจากชุมชน ที่รู้จักกันว่า พระป่า
๓๓.. คณะคามวาสีฝ่ายขวาคณะคามวาสีฝ่ายขวา คือ คณะสงฆ์นิกายเดิมที่ไปบวชและแปลงนิกายที่ลังกาคือ คณะสงฆ์นิกายเดิมที่ไปบวชและแปลงนิกายที่ลังกา
ประเทศแล้วกลับมาเผยแผ่พระพุทธศาสนาจนมีผู้คนเลื่อมใสศรัทธา รู้จักกันต่อมาภายประเทศแล้วกลับมาเผยแผ่พระพุทธศาสนาจนมีผู้คนเลื่อมใสศรัทธา รู้จักกันต่อมาภาย
“ ”หลังว่า คณะป่าแก้ว“ ”หลังว่า คณะป่าแก้ว
Free Powerpoint Templates
Page 23
รูปแบบโครงสร้างการปกครองรูปแบบโครงสร้างการปกครอง
มีการแบ่งลักษณะเป็นสามส่วนมีการแบ่งลักษณะเป็นสามส่วน
โดยมีเจ้าคณะใหญ่ทั้งสามฝ่ายปกครองโดยมีเจ้าคณะใหญ่ทั้งสามฝ่ายปกครอง
ดูแลดูแล
เจ้าคณะทั้งสามขึ้นตรงต่อสมเด็จพระสังฆราชเจ้าคณะทั้งสามขึ้นตรงต่อสมเด็จพระสังฆราช
ตำาแหน่งที่รองลงมาจากเจ้าคณะใหญ่คือตำาแหน่งที่รองลงมาจากเจ้าคณะใหญ่คือ
ตำาแหน่งพระราชาคณะตำาแหน่งพระราชาคณะ ,, พระครูหัวเมือง และเจ้าอาวาสพระครูหัวเมือง และเจ้าอาวาส
ปกครองลดลั่นกันตามลำาดับปกครองลดลั่นกันตามลำาดับ
Free Powerpoint Templates
Page 24
การปกครองพระสงฆ์ในสมัยกรุงธนบุรีการปกครองพระสงฆ์ในสมัยกรุงธนบุรี
เมื่ออาณาจักรกรุงศรีอยุธยาสิ้นสุดลงเมื่อ พเมื่ออาณาจักรกรุงศรีอยุธยาสิ้นสุดลงเมื่อ พ..ศศ..๒๓๑๐๒๓๑๐
เนื่องจากแพ้สงคราม สมัยกรุงธนบุรีตกอยู่ในสภาพบ้านแตกเนื่องจากแพ้สงคราม สมัยกรุงธนบุรีตกอยู่ในสภาพบ้านแตก
สาแหรกขาด เพราะถูกพม่าทำาลาย ในส่วนของคณะสงฆ์ก็ต้องสาแหรกขาด เพราะถูกพม่าทำาลาย ในส่วนของคณะสงฆ์ก็ต้อง
ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงการประพฤติในส่วนจารีตประเพณีและกฏปรับปรุงเปลี่ยนแปลงการประพฤติในส่วนจารีตประเพณีและกฏ
หมาย เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพทางสังคมและการเมืองที่หมาย เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพทางสังคมและการเมืองที่
เปลี่ยนไปเช่นกันเปลี่ยนไปเช่นกัน
เมื่อพระเจ้าตากได้ย้ายราชธานีไปตั้งที่กรุงธนบุรี และปราบดาภิเษกขึ้นเมื่อพระเจ้าตากได้ย้ายราชธานีไปตั้งที่กรุงธนบุรี และปราบดาภิเษกขึ้น
เป็นกษัตริย์ ทรงพระนามว่า สมเด็จพระราชาธิปดีที่ ๔เป็นกษัตริย์ ทรงพระนามว่า สมเด็จพระราชาธิปดีที่ ๔ เมื่อวันที่ ๒๘ ธันวาคมเมื่อวันที่ ๒๘ ธันวาคม
๒๓๑๑ ทรงปราบชุมนุมต่างๆ สร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในระยะเวลาอัน๒๓๑๑ ทรงปราบชุมนุมต่างๆ สร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในระยะเวลาอัน
รวดเร็ว การปกครองทั้งฝ่ายอาณาจักรและศาสนจักร ในช่วงแรก พระองค์ได้ทรงรวดเร็ว การปกครองทั้งฝ่ายอาณาจักรและศาสนจักร ในช่วงแรก พระองค์ได้ทรง
อาศัยแบบอย่างมาจากสมัยอยุธยา คณะสงฆ์ยังคงเป็น ๓ คณะ คือ คามวาสีฝ่ายอาศัยแบบอย่างมาจากสมัยอยุธยา คณะสงฆ์ยังคงเป็น ๓ คณะ คือ คามวาสีฝ่าย
ซ้าย อรัญวาสี คามวาสีฝ่ายขวาซ้าย อรัญวาสี คามวาสีฝ่ายขวา
Free Powerpoint Templates
Page 25
สมัยอยุธยาและสมัยธนบุรี ได้แบ่งการปกครองคณะสงฆ์ออกเป็น ๓สมัยอยุธยาและสมัยธนบุรี ได้แบ่งการปกครองคณะสงฆ์ออกเป็น ๓
ฝ่ายฝ่าย
คือ คณะคามวาสีฝ่ายซ้าย คณะอรัญวาสี และคณะคามวาสีฝ่ายขวาคือ คณะคามวาสีฝ่ายซ้าย คณะอรัญวาสี และคณะคามวาสีฝ่ายขวา
มีรูปแบบการปกครองตามแผนภูมิต่อไปนี้มีรูปแบบการปกครองตามแผนภูมิต่อไปนี้
ที่มา : พระเมธีธรรมาภรณ์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). การปกครองคณะสงฆ์ไทย. ๒๕๓๙. หน้า
๑๔.
Free Powerpoint Templates
Page 26
ต่อมาภายหลังเมื่อฝ่ายอาณาจักรว่างจากศึกสงครามต่อมาภายหลังเมื่อฝ่ายอาณาจักรว่างจากศึกสงคราม
แล้ว ทรงจัดระเบียบคณะสงฆ์ให้เรียบร้อยขึ้น โดยมีการรวมคณะแล้ว ทรงจัดระเบียบคณะสงฆ์ให้เรียบร้อยขึ้น โดยมีการรวมคณะ
“สงฆ์อรัญวาสีไว้กับคณะสงฆ์ทั้ง ๒ ฝ่าย แล้วโปรดให้เรียก คณะ“สงฆ์อรัญวาสีไว้กับคณะสงฆ์ทั้ง ๒ ฝ่าย แล้วโปรดให้เรียก คณะ
” “ ”เหนือ และ คณะใต้” “ ”เหนือ และ คณะใต้
คณะเหนือคณะเหนือ ประกอบด้วย สมเด็จพระสังฆราชา เป็นเจ้าประกอบด้วย สมเด็จพระสังฆราชา เป็นเจ้า
คณะใหญ่ ปฏิบัติหน้าที่เป็นเจ้าปกครองดูแลภายในคณะซึ่งคณะใหญ่ ปฏิบัติหน้าที่เป็นเจ้าปกครองดูแลภายในคณะซึ่ง
ประกอบด้วยพระสงฆ์ทั้งฝ่ายคามวาสี อรัญวาสี ฝ่ายเหนือ หรือประกอบด้วยพระสงฆ์ทั้งฝ่ายคามวาสี อรัญวาสี ฝ่ายเหนือ หรือ
คณะเหนือคณะเหนือ
คณะใต้คณะใต้ ประกอบด้วย สมเด็จพระสังฆราชา เป็นประกอบด้วย สมเด็จพระสังฆราชา เป็น
เจ้าคณะใหญ่ ปฏิบัติหน้าที่เป็นเจ้าปกครองดูแลภายในเจ้าคณะใหญ่ ปฏิบัติหน้าที่เป็นเจ้าปกครองดูแลภายใน
คณะซึ่งประกอบด้วยพระสงฆ์ทั้งฝ่ายคามวาสี อรัญวาสีคณะซึ่งประกอบด้วยพระสงฆ์ทั้งฝ่ายคามวาสี อรัญวาสี
ฝ่ายใต้ หรือ คณะใต้ฝ่ายใต้ หรือ คณะใต้
Free Powerpoint Templates
Page 27
ซึ่งเจ้าคณะใหญ่ทั้ง ๒ มีสร้อยพระราชทินนามว่าซึ่งเจ้าคณะใหญ่ทั้ง ๒ มีสร้อยพระราชทินนามว่า
““ ”มหาคณฤศรบวรสังฆารามคามวาสีอรัญวาสี ”มหาคณฤศรบวรสังฆารามคามวาสีอรัญวาสี
ขึ้นตรงต่อสมเด็จพระสังฆราช จวบจนสิ้นสมัยขึ้นตรงต่อสมเด็จพระสังฆราช จวบจนสิ้นสมัย
กรุงธนบุรีกรุงธนบุรี
Free Powerpoint Templates
Page 28
การปกครองคณะสงฆ์สมัยกรุงรัตนโกสินทร์การปกครองคณะสงฆ์สมัยกรุงรัตนโกสินทร์
การปกครองคณะสงฆ์ในสมัยรัชกาลที่ ๑ ยังคงการปกครองคณะสงฆ์ในสมัยรัชกาลที่ ๑ ยังคง
ถือตามแบบอย่างการปกครองคณะสงฆ์ในสมัยอยุธยาถือตามแบบอย่างการปกครองคณะสงฆ์ในสมัยอยุธยา
และธนบุรี มีการแก้ไขเพียงเล็กน้อย ในการเปลี่ยนนามและธนบุรี มีการแก้ไขเพียงเล็กน้อย ในการเปลี่ยนนาม
พระราชาคณะเพื่อมิให้พ้องกับพระศาสดาและพระพระราชาคณะเพื่อมิให้พ้องกับพระศาสดาและพระ
อรหันต์อรหันต์
พระสังฆราชสมัยนี้มีราชทินนามว่า สมเด็จพระอริยวงศญาณพระสังฆราชสมัยนี้มีราชทินนามว่า สมเด็จพระอริยวงศญาณ
การเลือกพระสังฆราชพิจารณาจากอายุพรรษาของ สมเด็จเจ้าคณะการเลือกพระสังฆราชพิจารณาจากอายุพรรษาของ สมเด็จเจ้าคณะ
ใหญ่ ๒ องค์ องค์ใดมีอายุพรรษามากกว่าก็ทรงแต่งตั้งเป็นสมเด็จพระใหญ่ ๒ องค์ องค์ใดมีอายุพรรษามากกว่าก็ทรงแต่งตั้งเป็นสมเด็จพระ
สังฆราช ในรัชกาลนี้ทรงตั้งสมเด็จพระสังฆราช ๒ องค์ คือ สมเด็จพระสังฆราช ในรัชกาลนี้ทรงตั้งสมเด็จพระสังฆราช ๒ องค์ คือ สมเด็จพระ
สังฆราชสังฆราช ((ศรีศรี)) วัดระฆังโฆสิตาราม และสมเด็จพระสังฆราชวัดระฆังโฆสิตาราม และสมเด็จพระสังฆราช ((สุกสุก)) วัดวัด
มหาธาตุมหาธาตุ
Free Powerpoint Templates
Page 29
การปกครองคณะสงฆ์สมัยกรุงรัตนโกสินทร์การปกครองคณะสงฆ์สมัยกรุงรัตนโกสินทร์
รัชกาลที่ ๑รัชกาลที่ ๑ ทรงปรับปรุงคณะสงฆ์พอสรุปได้ดังนี้ทรงปรับปรุงคณะสงฆ์พอสรุปได้ดังนี้
((๑๑)) ให้พระภิกษุบางรูปลาสิกขา เพราะทรงปฏิบัติไม่เหมาะในสมัยให้พระภิกษุบางรูปลาสิกขา เพราะทรงปฏิบัติไม่เหมาะในสมัย
พระเจ้ากรุงธนบุรี และโปรดเกล้าให้ตั้งแต่งใหม่หมด สมเด็จพระพระเจ้ากรุงธนบุรี และโปรดเกล้าให้ตั้งแต่งใหม่หมด สมเด็จพระ
สังฆราชสังฆราช ((ศรีศรี)) วัดบางหว้าใหญ่ ซึ่งถูกถอดยศในสมัยพระเจ้าวัดบางหว้าใหญ่ ซึ่งถูกถอดยศในสมัยพระเจ้า
กรุงธนบุรี ก็ได้รับสถาปนาขึ้นเป็นสมเด็จพรสังฆราชอีก นับว่าเป็นกรุงธนบุรี ก็ได้รับสถาปนาขึ้นเป็นสมเด็จพรสังฆราชอีก นับว่าเป็น
สังฆราชองค์แรกแห่งกรุงรัตนโกสินทร์สังฆราชองค์แรกแห่งกรุงรัตนโกสินทร์
((๒๒)) ได้ออกกฏหมายสงฆ์ เพิ่มขึ้นจากวินัยสงฆ์อีกด้วย กฎหมายที่ออกมามีได้ออกกฏหมายสงฆ์ เพิ่มขึ้นจากวินัยสงฆ์อีกด้วย กฎหมายที่ออกมามี
๑๐ ฉบับ ฉบับแรกเมื่อ พ๑๐ ฉบับ ฉบับแรกเมื่อ พ..ศศ..๒๓๒๕ ฉบับสุดท้ายเมื่อ พ๒๓๒๕ ฉบับสุดท้ายเมื่อ พ..ศศ.. ๒๓๔๔ นับเป็น๒๓๔๔ นับเป็น
กษัตริย์องค์แรกที่ออกกฎหมายคณะสงฆ์ เนื่องจากอยู่ระหว่างการฟื้นฟูกษัตริย์องค์แรกที่ออกกฎหมายคณะสงฆ์ เนื่องจากอยู่ระหว่างการฟื้นฟู
บ้านเมืองและเพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมืองบ้านเมืองและเพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง
Free Powerpoint Templates
Page 30
((๓๓)) สมณศักดิ์ของพระสงฆ์ แบ่งออกเป็น ๒ อันดับ คือ พระราชาคณะผู้ใหญ่สมณศักดิ์ของพระสงฆ์ แบ่งออกเป็น ๒ อันดับ คือ พระราชาคณะผู้ใหญ่
และพระราชาคณะสามัญ พระราชาคณะผู้ใหญ่กำาหนดไว้ ๔ ชั้น คือและพระราชาคณะสามัญ พระราชาคณะผู้ใหญ่กำาหนดไว้ ๔ ชั้น คือ
๓๓..๑ สมเด็จพระสังฆราช ซ้าย๑ สมเด็จพระสังฆราช ซ้าย--ขวาได้แก่สมเด็จพระอริยวงศ์ขวาได้แก่สมเด็จพระอริยวงศ์
และสมเด็จพระวันรัตน์และสมเด็จพระวันรัตน์
๓๓..๒ พระพุฒาจารย์ เจ้าคณะใหญ่อรัญวาสี พระพุทธโฆษา๒ พระพุฒาจารย์ เจ้าคณะใหญ่อรัญวาสี พระพุทธโฆษา
จารย์ ผู้ช่วยสังฆปรินายก พระพิมลธรรม เจ้าคณะรองฝ่ายซ้าย พระจารย์ ผู้ช่วยสังฆปรินายก พระพิมลธรรม เจ้าคณะรองฝ่ายซ้าย พระ
ธรรมวโรดม เจ้าคณะรองฝ่ายขวาธรรมวโรดม เจ้าคณะรองฝ่ายขวา
๓๓..๓ พระพรหมมุนี พระธรรมเจดีย์ คณะเหนือ พระธรรม๓ พระพรหมมุนี พระธรรมเจดีย์ คณะเหนือ พระธรรม
ไตรโลก คณะใต้ไตรโลก คณะใต้
๓๓..๔ พระเทพกวี คณะเหนือ พระเทพมุนี คณะใต้ พระญาณ๔ พระเทพกวี คณะเหนือ พระเทพมุนี คณะใต้ พระญาณ
ไตรโลก เจ้าคณะรองอรัญวาสี นอกจากนี้เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญไตรโลก เจ้าคณะรองอรัญวาสี นอกจากนี้เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ
ทั้งหมดคือ พระเทพโมลี พระธรรมโกษา พระโพธิวงศ์ เป็นต้น แต่พระทั้งหมดคือ พระเทพโมลี พระธรรมโกษา พระโพธิวงศ์ เป็นต้น แต่พระ
โพธิวงศ์ ยกเป็นชั้นเทพในสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรีหรือรัชกาลที่ ๑ ส่วนโพธิวงศ์ ยกเป็นชั้นเทพในสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรีหรือรัชกาลที่ ๑ ส่วน
พระราชาคณะยังไม่มีพระราชาคณะยังไม่มี
Free Powerpoint Templates
Page 31
รัชกาลที่ ๒รัชกาลที่ ๒
คณะสงฆ์ยังไม่เปลี่ยนแปลง สมณศักดิ์ที่น่าคณะสงฆ์ยังไม่เปลี่ยนแปลง สมณศักดิ์ที่น่า
สนใจ คือ รัชกาลที่ ๒ ทรงตั้งพระเจ้าน้องยาเธอพระองค์สนใจ คือ รัชกาลที่ ๒ ทรงตั้งพระเจ้าน้องยาเธอพระองค์
เจ้าวาสุกรี ซึ่งผนวชอยู่ที่วัดพระเชตุพนเป็นเจ้าวาสุกรี ซึ่งผนวชอยู่ที่วัดพระเชตุพนเป็น ""พระองค์เจ้าพระองค์เจ้า
พระราชาคณะ กรมหมื่นนุชิตชิโนรสศรีสุคตขัตติยวงศ์พระราชาคณะ กรมหมื่นนุชิตชิโนรสศรีสุคตขัตติยวงศ์""
แต่มีสมณศักดิ์เสมอพระราชาคณะชั้นสามัญแต่มีสมณศักดิ์เสมอพระราชาคณะชั้นสามัญ
รัชกาลที่ ๓รัชกาลที่ ๓
ทรงปฏิรูปคณะสงฆ์ขึ้น เหตุการณ์ที่สำาคัญเกี่ยวกับคณะสงฆ์มีดังนี้ทรงปฏิรูปคณะสงฆ์ขึ้น เหตุการณ์ที่สำาคัญเกี่ยวกับคณะสงฆ์มีดังนี้
((๑๑)) โปรดให้รวมพระอารามหลวงและอารามราษฎร์ในกรุงเข้าโปรดให้รวมพระอารามหลวงและอารามราษฎร์ในกรุงเข้า
เป็นคณะหนึ่งต่างหาก เรียกว่าเป็นคณะหนึ่งต่างหาก เรียกว่า ""คณะกลางคณะกลาง"" ขึ้นในกรมหมื่นนุชิตขึ้นในกรมหมื่นนุชิต
ชิโนรสชิโนรส
((๒๒)) คณะสงฆ์เพิ่มขึ้นเป็น ๔ คณะ คือคณะสงฆ์เพิ่มขึ้นเป็น ๔ คณะ คือ
คณะเหนือคณะเหนือ((คามวาสีฝ่ายซ้ายคามวาสีฝ่ายซ้าย) ,) , คณะใต้คณะใต้((คามวาสีฝ่ายขวาคามวาสีฝ่ายขวา))
คณะกลางคณะกลาง ,, คณะอรัญวาสีคณะอรัญวาสี
Free Powerpoint Templates
Page 32
รัชกาลที่ ๔รัชกาลที่ ๔
คณะสงฆ์เริ่มดีขึ้น จำานวนพระสงฆ์เริ่มมากขึ้นคณะสงฆ์เริ่มดีขึ้น จำานวนพระสงฆ์เริ่มมากขึ้น
ตั้งแต่ครั้งรัชกาลที่ ๓ ทั้งยังมีคณะใหม่เพิ่มขึ้นอย่างเป็นตั้งแต่ครั้งรัชกาลที่ ๓ ทั้งยังมีคณะใหม่เพิ่มขึ้นอย่างเป็น
ทางการคือทางการคือ คณะธรรมยุติคณะธรรมยุติ เป็นคณะสงฆ์ที่พระวชิรญาณเป็นคณะสงฆ์ที่พระวชิรญาณ
เถระทรงตั้งขึ้นเพื่อฟื้นฟูศาสนาพุทธในสยาม และแก้ไขวัตรเถระทรงตั้งขึ้นเพื่อฟื้นฟูศาสนาพุทธในสยาม และแก้ไขวัตร
ปฏิบัติให้ถูกต้องตามพระธรรมวินัยแต่คณะอรัญวาสีเดิมกลับปฏิบัติให้ถูกต้องตามพระธรรมวินัยแต่คณะอรัญวาสีเดิมกลับ
หายไปไม่ทราบชัดว่าหายไปไหน ตอนเริ่มรัชกาลยังมีอยู่ คือหายไปไม่ทราบชัดว่าหายไปไหน ตอนเริ่มรัชกาลยังมีอยู่ คือ
สมเด็จพระพุฒาจารย์ วัดสระเกศเป็นเจ้าคณะ แต่ชื่ออรัญวาสมเด็จพระพุฒาจารย์ วัดสระเกศเป็นเจ้าคณะ แต่ชื่ออรัญวา
สีค่อยๆ หายไปในภายหลังสีค่อยๆ หายไปในภายหลัง
ด้านสมณศักดิ์รัชกาลนี้เพิ่มมากขึ้น และทรงเห็นว่า กรมหมื่นนุด้านสมณศักดิ์รัชกาลนี้เพิ่มมากขึ้น และทรงเห็นว่า กรมหมื่นนุ
ชิตชิโนรส ทรงคุณธรรมยิ่งกว่าสังฆนายกอื่นๆ จึงโปรดตั้งพระราชพิธีมหาชิตชิโนรส ทรงคุณธรรมยิ่งกว่าสังฆนายกอื่นๆ จึงโปรดตั้งพระราชพิธีมหา
สมณุตมาภิเษก สถาปนาขึ้นเป็นสมณุตมาภิเษก สถาปนาขึ้นเป็น ""กรมสมเด็จพระปรมานุชิตชิโนรสกรมสมเด็จพระปรมานุชิตชิโนรส"" เป็นเป็น
ประธานสงฆ์ทั่วราชอาณาจักรประธานสงฆ์ทั่วราชอาณาจักร
Free Powerpoint Templates
Page 33
และทรงสถาปนาพระพิมลธรรมและทรงสถาปนาพระพิมลธรรม ((อู่อู่)) วัดสุทัศน์ ขึ้นเป็นสมเด็จวัดสุทัศน์ ขึ้นเป็นสมเด็จ
พระอริยวงศาคตญาณอนุโลมตามพระราชประสงค์ของรัชกาลที่ ๓ ที่จะพระอริยวงศาคตญาณอนุโลมตามพระราชประสงค์ของรัชกาลที่ ๓ ที่จะ
ให้เป็นสังฆราช แต่ตอนนี้ยังไม่ได้เป็นสังฆราช เป็นเพียงเจ้าคณะใหญ่ให้เป็นสังฆราช แต่ตอนนี้ยังไม่ได้เป็นสังฆราช เป็นเพียงเจ้าคณะใหญ่
ฝ่ายเหนือเท่านั้น และทรงยกพระพุทธโฆษาจารย์ฝ่ายเหนือเท่านั้น และทรงยกพระพุทธโฆษาจารย์ ((ฉิมฉิม)) เป็นสมเด็จพระเป็นสมเด็จพระ
พุทธโฆษาจารย์ด้วย ส่วนการปกครองหัวเมืองแต่เดิมตำาแหน่งเป็นพระพุทธโฆษาจารย์ด้วย ส่วนการปกครองหัวเมืองแต่เดิมตำาแหน่งเป็นพระ
สังฆราชา รัชกาลที่ ๔ โปรดให้เปลี่ยนเป็นสังฆราชา รัชกาลที่ ๔ โปรดให้เปลี่ยนเป็น สังฆปาโมกข์สังฆปาโมกข์ มียศเทียบเท่ามียศเทียบเท่า
พระครู แต่บางเมืองก็มียศเท่าพระราชาคณะ ใช้ราชทินนามเหมือนพระครู แต่บางเมืองก็มียศเท่าพระราชาคณะ ใช้ราชทินนามเหมือน
กรุงเทพฯกรุงเทพฯ
รัชกาลที่ ๕รัชกาลที่ ๕
เป็นระยะที่กิจการทุกส่วนของประเทศได้รับการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่เป็นระยะที่กิจการทุกส่วนของประเทศได้รับการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่
จากระบบเก่าสู่ระบบใหม่ ด้านศาสนาก็เช่นเดียวกัน มีการปฏิรูปขึ้นในทุกๆด้าน เวลาจากระบบเก่าสู่ระบบใหม่ ด้านศาสนาก็เช่นเดียวกัน มีการปฏิรูปขึ้นในทุกๆด้าน เวลา
นั้น พระเจ้าน้องยาเธอกรมหมื่นวชิรญาณวโรรส ได้ทรงช่วยในด้านการคณะสงฆ์นั้น พระเจ้าน้องยาเธอกรมหมื่นวชิรญาณวโรรส ได้ทรงช่วยในด้านการคณะสงฆ์
เป็นอย่างดีเป็นอย่างดี
ด้านสมณศักดิ์ มีที่น่าสนใจคือ ในรัชกาลนี้ได้เพิ่มสมณศักดิ์ชั้นด้านสมณศักดิ์ มีที่น่าสนใจคือ ในรัชกาลนี้ได้เพิ่มสมณศักดิ์ชั้น ""ราชราช"" ขึ้นใหม่ ครั้นขึ้นใหม่ ครั้น
ก่อนพระราชาคณะมี ๔ ชั้น เมื่อเพิ่มชั้นราชขึ้น จึงมี ๕ ชั้น ส่วนชั้นสามัญกลายเป็นก่อนพระราชาคณะมี ๔ ชั้น เมื่อเพิ่มชั้นราชขึ้น จึงมี ๕ ชั้น ส่วนชั้นสามัญกลายเป็น
ชั้นที่ ๖ จึงเรียงตามลำาดับใหม่ได้ดังนี้ชั้นที่ ๖ จึงเรียงตามลำาดับใหม่ได้ดังนี้
๑๑.. ชั้นสมเด็จ ๒ชั้นสมเด็จ ๒.. ชั้นรองสมเด็จ ๓ชั้นรองสมเด็จ ๓.. ชั้นธรรมชั้นธรรม
๔๔.. ชั้นเทพ ๕ชั้นเทพ ๕.. ชั้นราช ๖ชั้นราช ๖.. ชั้นสามัญชั้นสามัญ
Free Powerpoint Templates
Page 34
ในสมัยนี้ ยังคงมี การปกครอง ๔ คณะเหมือนรัชกาลที่ ๓ในสมัยนี้ ยังคงมี การปกครอง ๔ คณะเหมือนรัชกาลที่ ๓,,๔ ต่อ๔ ต่อ
มาคณะอรัญวาสีค่อยๆหายไปรวมกับคณะคามวาสี จึงเหลือเพียง ๓ คณะมาคณะอรัญวาสีค่อยๆหายไปรวมกับคณะคามวาสี จึงเหลือเพียง ๓ คณะ
แล้วจึงมีคณะธรรมยุติเกิดขึ้น จึงมี ๔ คณะอีกคือ คณะเหนือแล้วจึงมีคณะธรรมยุติเกิดขึ้น จึงมี ๔ คณะอีกคือ คณะเหนือ((คามวาสีฝ่ายคามวาสีฝ่าย
ซ้ายซ้าย) ,) , คณะใต้คณะใต้((คามวาสีฝ่ายขวาคามวาสีฝ่ายขวา) ,) , คณะกลางคณะกลาง ,, คณะธรรมยุติคณะธรรมยุติ
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชการที่ ๕พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชการที่ ๕
มีพระบรมราชโองการ ให้ประกาศใช้พระราชบัญญัติลักษณะการมีพระบรมราชโองการ ให้ประกาศใช้พระราชบัญญัติลักษณะการ
ปกครองคณะสงฆ์ขึ้น เป็นครั้งแรกในประเทศไทย พระราชบัญญัติปกครองคณะสงฆ์ขึ้น เป็นครั้งแรกในประเทศไทย พระราชบัญญัติ
ฉบับนี้มีชื่อว่าฉบับนี้มีชื่อว่า พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ รพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ ร..ศศ.. ๑๒๑๑๒๑ มีสาระมีสาระ
สำาคัญคือได้ยกสถานะคณะธรรมยุติ ให้เป็นนิกายอย่างถูกต้องสำาคัญคือได้ยกสถานะคณะธรรมยุติ ให้เป็นนิกายอย่างถูกต้อง
ตามกฎหมายตามกฎหมาย
พระราชบัญญัติลักษณะปกครองคณะสงฆ์ขึ้น เพื่อส่งเสริมพระราชบัญญัติลักษณะปกครองคณะสงฆ์ขึ้น เพื่อส่งเสริม
สนับสนุนการปฏิบัติธรรมวินัย ให้สอดคล้องกับการปกครองบ้านเมืองสนับสนุนการปฏิบัติธรรมวินัย ให้สอดคล้องกับการปกครองบ้านเมือง
พพ..รร..บบ..ฉบับนี้กำาหนดให้มีเจ้าคณะใหญ่อีก ๔ คณะ รวมเป็น ๘ รูป ทั้ง ๘ รูปฉบับนี้กำาหนดให้มีเจ้าคณะใหญ่อีก ๔ คณะ รวมเป็น ๘ รูป ทั้ง ๘ รูป
นี้เป็นนี้เป็น
""กรรมการมหาเถรสมาคมกรรมการมหาเถรสมาคม"" ทำาหน้าที่เป็นศูนย์กลางการปกครองคณะทำาหน้าที่เป็นศูนย์กลางการปกครองคณะ
สงฆ์ทั่วราชอาณาจักร และกำาหนดให้มีสมเด็จพระสังฆราชองค์เดียวเป็นผู้สงฆ์ทั่วราชอาณาจักร และกำาหนดให้มีสมเด็จพระสังฆราชองค์เดียวเป็นผู้
บัญชาเด็ดขาด เป็นประธานของมหาเถรสมาคมบัญชาเด็ดขาด เป็นประธานของมหาเถรสมาคม
Free Powerpoint Templates
Page 35
การปกครองแบ่งออกเป็นมณฑล เมือง แขวง และวัดการปกครองแบ่งออกเป็นมณฑล เมือง แขวง และวัด
ทั้งหมดนี้แบ่งกันขึ้นตามคณะใหญ่ทั้งหมดนี้แบ่งกันขึ้นตามคณะใหญ่
สำาหรับคณะธรรมยุตินั้น เดิมรวมอยู่กับคณะกลางและได้สำาหรับคณะธรรมยุตินั้น เดิมรวมอยู่กับคณะกลางและได้
แยกเป็นคณะต่างหาก ครั้งแรกนั้นไม่มีเจ้าคณะใหญ่ พแยกเป็นคณะต่างหาก ครั้งแรกนั้นไม่มีเจ้าคณะใหญ่ พ..ศศ.. ๒๓๙๓๒๓๙๓
กรมพระปวเรศวริยาลงกรณ์ จึงได้ทรงเป็นเจ้าคณะใหญ่ ต่อมาก็คือกรมพระปวเรศวริยาลงกรณ์ จึงได้ทรงเป็นเจ้าคณะใหญ่ ต่อมาก็คือ
กรมหมื่นวชิรญาณวโรรส พกรมหมื่นวชิรญาณวโรรส พ..รร..บบ..นี้ มีทั้งหมด ๔๕ มาตรานี้ มีทั้งหมด ๔๕ มาตรา
สมัยรัชกาลที่ ๖สมัยรัชกาลที่ ๖--๗๗
การคณะสงฆ์ยังคงดำาเนินตาม พการคณะสงฆ์ยังคงดำาเนินตาม พ..รร..บบ..ฉบับนี้ตลอดฉบับนี้ตลอด
แต่ตอนปลายรัชกาลที่ ๗ คณะสงฆ์กลุ่มหนึ่ง แสดงสังฆมติจะแต่ตอนปลายรัชกาลที่ ๗ คณะสงฆ์กลุ่มหนึ่ง แสดงสังฆมติจะ
ให้มีการแก้ไข พให้มีการแก้ไข พ..รร..บบ..ฉบับนี้ การเคลื่อนไหวขยายวงกว้างฉบับนี้ การเคลื่อนไหวขยายวงกว้าง
ออกไป จนมีเปลี่ยนแปลงในครั้งสมัย รัชกาลที่ ๘ออกไป จนมีเปลี่ยนแปลงในครั้งสมัย รัชกาลที่ ๘
Free Powerpoint Templates
Page 36
สมัยรัชกาลที่ ๘สมัยรัชกาลที่ ๘
คณะรัฐบาลปฏิวัติ ซึ่งมีคณะรัฐบาลปฏิวัติ ซึ่งมี พลเอก พระยาพหลพลพลเอก พระยาพหลพล
พยุหเสนาพยุหเสนา นายกรัฐมนตรีคนที่ ๒ ของไทย พยายามแก้ไขนายกรัฐมนตรีคนที่ ๒ ของไทย พยายามแก้ไข
พพ..รร..บบ..เก่าเพื่อต้องการจะรวมนิกายทั้ง ๒ คือมหานิกายกับธรรมเก่าเพื่อต้องการจะรวมนิกายทั้ง ๒ คือมหานิกายกับธรรม
ยุตินิกายเข้าด้วยกันยุตินิกายเข้าด้วยกัน
เมื่อวันที่ ๖ กรกฎาคม ๒๔๘๔ พระยาเมื่อวันที่ ๖ กรกฎาคม ๒๔๘๔ พระยา
พหลฯ ได้อุปสมบท ณ วัดพระพหลฯ ได้อุปสมบท ณ วัดพระ
ศรีมหาธาตุ บางเขน ซึ่งสร้างขึ้นเพื่อรวมศรีมหาธาตุ บางเขน ซึ่งสร้างขึ้นเพื่อรวม
นิกายนิกาย
การอุปสมบทครั้งนี้นิมนต์พระนั่งอันดับ ๕๐ รูปการอุปสมบทครั้งนี้นิมนต์พระนั่งอันดับ ๕๐ รูป
มีพระมหานิกาย ๓๔ รูป พระธรรมยุติ ๑๕ พระรามัญ ๑มีพระมหานิกาย ๓๔ รูป พระธรรมยุติ ๑๕ พระรามัญ ๑
เมื่อพระยาพหลฯ ลาสิกขาบทไปแล้วเมื่อพระยาพหลฯ ลาสิกขาบทไปแล้ว
คณะสงฆ์ฝ่ายธรรมยุติก็ครองวัดมหาธาตุเสีย การรวมนิกายจึงไม่คณะสงฆ์ฝ่ายธรรมยุติก็ครองวัดมหาธาตุเสีย การรวมนิกายจึงไม่
สำาเร็จสำาเร็จ
Free Powerpoint Templates
Page 37
อย่างไรก็ตาม ความพยายามรวมนิกายก็มีผลบ้าง คือ สภาผู้อย่างไรก็ตาม ความพยายามรวมนิกายก็มีผลบ้าง คือ สภาผู้
แทนราษฎรไทย ได้ออกกฎหมายสงฆ์เมื่อวันที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๔๘๔แทนราษฎรไทย ได้ออกกฎหมายสงฆ์เมื่อวันที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๔๘๔
นั่นคือนั่นคือ "" พพ..รร..บบ..คณะสงฆ์ พคณะสงฆ์ พ..ศศ..๒๔๘๔๒๔๘๔"" มี ๖๐ มาตรา ไม่มีมาตราใดมี ๖๐ มาตรา ไม่มีมาตราใด
แบ่งแยกการปกครองแบ่งแยกการปกครอง
พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พุทธศักราช ๒๔๘๔ เป็นแนวคิดพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พุทธศักราช ๒๔๘๔ เป็นแนวคิด
ของของ จอมพลแปลก พิบูลสงครามจอมพลแปลก พิบูลสงคราม ที่จะเลียนการปกครองฝ่ายที่จะเลียนการปกครองฝ่าย
อาณาจักรมาใช้แก่ฝ่ายศาสนจักรอาณาจักรมาใช้แก่ฝ่ายศาสนจักร
โดยเรียกโดยเรียก ""สังฆสภาสังฆสภา"" ให้เป็นทำานองเดียวกับให้เป็นทำานองเดียวกับ ""รัฐสภารัฐสภา"" พพ..รร..บบ..ฉบับนี้ประกอบด้วยฉบับนี้ประกอบด้วย
คณะสังฆมนตรี สังฆสภา พระธรรมธรคณะสังฆมนตรี สังฆสภา พระธรรมธร((อัยการอัยการ)) พระวินัยธรพระวินัยธร((ผู้พิพากษาผู้พิพากษา)) เจ้าคณะภาค เจ้าคณะเจ้าคณะภาค เจ้าคณะ
จังหวัด เจ้าคณะอำาเภอ เจ้าคณะตำาบล และเจ้าอาวาส อำานาจสูงสุดอยู่ที่ สมเด็จพระสังฆราชจังหวัด เจ้าคณะอำาเภอ เจ้าคณะตำาบล และเจ้าอาวาส อำานาจสูงสุดอยู่ที่ สมเด็จพระสังฆราช
นอกนี้ยังแบ่งส่วนในคณะสังฆมนตรีออกเป็นองค์การใหญ่ๆ ๔ องค์การ คือนอกนี้ยังแบ่งส่วนในคณะสังฆมนตรีออกเป็นองค์การใหญ่ๆ ๔ องค์การ คือ
๑๑.. องค์การปกครอง ทำาหน้าที่ฝ่ายปกครององค์การปกครอง ทำาหน้าที่ฝ่ายปกครอง
๒๒.. องค์การศึกษา ทำาหน้าที่ฝ่ายการศึกษาองค์การศึกษา ทำาหน้าที่ฝ่ายการศึกษา
๓๓.. องค์การเผยแผ่ ทำาหน้าที่เผยแผ่อบรมองค์การเผยแผ่ ทำาหน้าที่เผยแผ่อบรม
๔๔.. องค์การสาธารณูปการ ทำาหน้าที่เกี่ยวกับการก่อสร้างบูรณะองค์การสาธารณูปการ ทำาหน้าที่เกี่ยวกับการก่อสร้างบูรณะ
Free Powerpoint Templates
Page 38
พพ..รร..บบ..ฉบับนี้เป็นฉบับประชาธิปไตย การคณะสงฆ์ฉบับนี้เป็นฉบับประชาธิปไตย การคณะสงฆ์
สอดคล้องกับบ้านเมืองทุกประการ ด้านการศึกษาสมัยนี้เจริญสอดคล้องกับบ้านเมืองทุกประการ ด้านการศึกษาสมัยนี้เจริญ
มาก เพราะองค์การศึกษาดูแลควบคุมตั้งแต่ส่วนกลางไปถึงส่วนมาก เพราะองค์การศึกษาดูแลควบคุมตั้งแต่ส่วนกลางไปถึงส่วน
ภูมิภาค ด้านอื่นๆ ก็ได้รับการเอาใจใส่เช่นเดียวกันภูมิภาค ด้านอื่นๆ ก็ได้รับการเอาใจใส่เช่นเดียวกัน
ต่อมาเมื่อ พต่อมาเมื่อ พ..ศศ..๒๕๐๕ สมัยฯพณฯ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์๒๕๐๕ สมัยฯพณฯ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์
เป็นนายกรัฐมนตรีเป็นนายกรัฐมนตรี ((รัฐบาลปฏิวัติรัฐบาลปฏิวัติ)) ต้องการให้ พต้องการให้ พ..รร..บบ..คณะสงฆ์เป็นคณะสงฆ์เป็น
ไปอย่างรวดเร็วทันการ รัฐบาลจึงยกเลิก พไปอย่างรวดเร็วทันการ รัฐบาลจึงยกเลิก พ..รร..บบ..คณะสงฆ์ ๒๔๘๔คณะสงฆ์ ๒๔๘๔
เสีย และให้ออก พเสีย และให้ออก พ..รร..บบ..คณะสงฆ์ ๒๕๐๕ แทนโดยให้อำานาจเด็ดคณะสงฆ์ ๒๕๐๕ แทนโดยให้อำานาจเด็ด
ขาดกับฝ่ายปกครองขาดกับฝ่ายปกครอง((เจ้าหน้าที่บ้านเมืองเจ้าหน้าที่บ้านเมือง)) และพระปกครองมากขึ้นและพระปกครองมากขึ้น
ด้านการศึกษา และการเผยแผ่ศาสนธรรมนั้นด้อยลง จึงปรากฏด้านการศึกษา และการเผยแผ่ศาสนธรรมนั้นด้อยลง จึงปรากฏ
ว่าการศึกษาในระยะหลังนี้ไม่ก้าวหน้าเหมือนสมัย พว่าการศึกษาในระยะหลังนี้ไม่ก้าวหน้าเหมือนสมัย พ..รร..บบ..คณะสงฆ์คณะสงฆ์
๒๔๘๔๒๔๘๔
Free Powerpoint Templates
Page 39
สมัยรัชกาลที่ ๙สมัยรัชกาลที่ ๙
สมเด็จพระสังฆราช เป็นประมุข มหาเถรสมาคมสมเด็จพระสังฆราช เป็นประมุข มหาเถรสมาคม
แบ่งการปกครองออกเป็น ๕ คือแบ่งการปกครองออกเป็น ๕ คือ
เรารักในหลวงเรารักในหลวง
ขอพระองค์ทรงพระเจริญขอพระองค์ทรงพระเจริญ
หนเหนือ หนใต้ หนกลาง หนตะวันออก และคณะธรรมหนเหนือ หนใต้ หนกลาง หนตะวันออก และคณะธรรม
ยุติยุติ
และแยกการปกครองออกเป็น ภาค จังหวัด อำาเภอ ตำาบล เจ้าและแยกการปกครองออกเป็น ภาค จังหวัด อำาเภอ ตำาบล เจ้า
อาวาส และใช้ พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พอาวาส และใช้ พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ..ศศ.. ๒๕๐๕ แก้ไขเพิ่ม๒๕๐๕ แก้ไขเพิ่ม
เติมโดย พระราชบัญญัติคณะสงฆ์เติมโดย พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ ((ฉบับที่ ๒ฉบับที่ ๒)) พพ..ศศ.. ๒๕๓๕๒๕๓๕
Free Powerpoint Templates
Page 40
ตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ..ศศ..๒๕๐๕ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราช๒๕๐๕ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราช
บัญญัติคณะสงฆ์บัญญัติคณะสงฆ์ ((ฉบับที่ ๒ฉบับที่ ๒)) พพ..ศศ..๒๕๓๕ มาตรา ๑๕ ตรี๒๕๓๕ มาตรา ๑๕ ตรี ((๑๑)) และและ ((๓๓))
และข้อ ๕ แห่งกฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ ๒๓และข้อ ๕ แห่งกฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ ๒๓ ((พพ..ศศ..๒๕๔๑๒๕๔๑)) ว่าด้วยระเบียบการว่าด้วยระเบียบการ
ปกครองคณะสงฆ์ปกครองคณะสงฆ์ กล่าวถึงกล่าวถึง ““การการ”” ไว้โดยชัดเจนเป็น ๖ คือไว้โดยชัดเจนเป็น ๖ คือ
๑๑)) การรักษาความเรียบร้อยดีงามการรักษาความเรียบร้อยดีงาม ((ด้านด้าน
ปกครองปกครอง))
๒๒)) การศาสนศึกษาการศาสนศึกษา
๓๓)) การศึกษาสงเคราะห์การศึกษาสงเคราะห์
๔๔)) การเผยแผ่พระพุทธศาสนาการเผยแผ่พระพุทธศาสนา
๕๕)) การการ
สาธารณูปการสาธารณูปการ
๖๖)) การสาธารณสงเคราะห์การสาธารณสงเคราะห์
กล่าวโดยสรุปแล้วกล่าวโดยสรุปแล้ว ““การการ”” ที่กล่าวมานี้ที่กล่าวมานี้ ย่อมอยู่ในอำานาจย่อมอยู่ในอำานาจ
หน้าที่ของเจ้าอาวาส เจ้าคณะ และ มหาเถรสมาคมหน้าที่ของเจ้าอาวาส เจ้าคณะ และ มหาเถรสมาคม ตลอดจนพระตลอดจนพระ
ภิกษุภิกษุ คณะบุคคล ที่มหาเถรสมาคมมอบให้เป็นผู้ใช้อำานาจหน้าที่ทั้งคณะบุคคล ที่มหาเถรสมาคมมอบให้เป็นผู้ใช้อำานาจหน้าที่ทั้ง
สิ้นสิ้น
Free Powerpoint Templates
Page 41
การปกครองคณะสงฆ์ตามรูปแบบที่จัดอยู่ในปัจจุบัน ยึดพระราชการปกครองคณะสงฆ์ตามรูปแบบที่จัดอยู่ในปัจจุบัน ยึดพระราช
บัญญัติคณะสงฆ์ พบัญญัติคณะสงฆ์ พ..ศศ..๒๕๐๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคณะสงฆ์๒๕๐๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคณะสงฆ์
((ฉบับที่ ๒ฉบับที่ ๒)) พพ..ศศ..๒๕๓๕ จัดรูปแบบการปกครองคณะสงฆ์ มี ๒ ส่วน คือ๒๕๓๕ จัดรูปแบบการปกครองคณะสงฆ์ มี ๒ ส่วน คือ
๑๑)) การปกครองคณะสงฆ์ส่วนกลางการปกครองคณะสงฆ์ส่วนกลาง
๒๒)) การปกครองคณะสงฆ์ส่วนภูมิภาคการปกครองคณะสงฆ์ส่วนภูมิภาค
เขตปกครองคณะสงฆ์ส่วนกลางเขตปกครองคณะสงฆ์ส่วนกลาง
การปกครองคณะสงฆ์ส่วนกลาง ได้แก่ การดำาเนินกิจการคณะสงฆ์และการพระการปกครองคณะสงฆ์ส่วนกลาง ได้แก่ การดำาเนินกิจการคณะสงฆ์และการพระ
ศาสนาในส่วนกลาง กล่าวคือศูนย์กลางบริหารงานนั้น เป็นหน่วยควบคุมนโยบายหลักของศาสนาในส่วนกลาง กล่าวคือศูนย์กลางบริหารงานนั้น เป็นหน่วยควบคุมนโยบายหลักของ
มหาเถรสมาคมมหาเถรสมาคม
ซึ่งการคณะสงฆ์ตามพระราชบัญญัติฉบับนี้ เรียกว่าซึ่งการคณะสงฆ์ตามพระราชบัญญัติฉบับนี้ เรียกว่า ""การการ"" คือ การรักษาความเรียบร้อยดีงามคือ การรักษาความเรียบร้อยดีงาม
((การปกครองการปกครอง)) กรุงเทพมหานคร มิใช่เป็นส่วนกลาง แท้จริงกรุงเทพมหานคร เป็นการปกครองกรุงเทพมหานคร มิใช่เป็นส่วนกลาง แท้จริงกรุงเทพมหานคร เป็นการปกครอง
คณะสงฆ์ส่วนภูมิภาคชั้นจังหวัด เมื่อว่าเฉพาะการปกครองและเขตปกครองแล้ว เขตปกครองคณะสงฆ์ส่วนภูมิภาคชั้นจังหวัด เมื่อว่าเฉพาะการปกครองและเขตปกครองแล้ว เขตปกครอง
คณะสงฆ์ส่วนกลาง หมายถึง หน และ คณะ แยกตามส่วนแห่งนิกายสงฆ์ คือคณะสงฆ์ส่วนกลาง หมายถึง หน และ คณะ แยกตามส่วนแห่งนิกายสงฆ์ คือ
((๑๑)) คณะมหานิกาย มี ๔ หน คือคณะมหานิกาย มี ๔ หน คือ
หนกลาง หนเหนือ หนตะวันออก และหนใต้ มีเจ้าคณะใหญ่เป็นผู้ปกครองหนกลาง หนเหนือ หนตะวันออก และหนใต้ มีเจ้าคณะใหญ่เป็นผู้ปกครอง
((๒๒)) คณะธรรมยุต มี ๑ คณะ เพราะรวมทั้งหมดเข้าเป็นคณะเดียว มีเจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุต มี ๑ คณะ เพราะรวมทั้งหมดเข้าเป็นคณะเดียว มีเจ้าคณะใหญ่
ฝ่ายธรรมยุตเป็นผู้ปกครอง การกำาหนดเขตปกครองเป็นไปตามกฎมหาเถรสมาคมฝ่ายธรรมยุตเป็นผู้ปกครอง การกำาหนดเขตปกครองเป็นไปตามกฎมหาเถรสมาคม
การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์
1 sur 48

Recommandé

พุทธศาสนานิกายมหายาน par
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานChainarong Maharak
19.7K vues37 diapositives
ศาสนาเชน par
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชนPadvee Academy
23.8K vues48 diapositives
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ par
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์Padvee Academy
9.1K vues28 diapositives
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา par
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
7.2K vues103 diapositives
กรรมฐาน (เอกสาร ๑) par
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
6.8K vues42 diapositives
ศาสนาซิกข์ par
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Padvee Academy
36.2K vues34 diapositives

Contenu connexe

Tendances

โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก par
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกAnchalee BuddhaBucha
29.2K vues57 diapositives
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู par
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูPadvee Academy
22.7K vues134 diapositives
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา par
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาPadvee Academy
26.1K vues56 diapositives
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา par
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาPadvee Academy
8.2K vues44 diapositives
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน par
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานAnchalee BuddhaBucha
15.6K vues37 diapositives
พระพุทธศาสนา par
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาPadvee Academy
20.6K vues104 diapositives

Tendances(20)

โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก par Anchalee BuddhaBucha
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู par Padvee Academy
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
Padvee Academy22.7K vues
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา par Padvee Academy
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
Padvee Academy26.1K vues
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา par Padvee Academy
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
Padvee Academy8.2K vues
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน par Anchalee BuddhaBucha
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
พระพุทธศาสนา par Padvee Academy
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
Padvee Academy20.6K vues
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่ par Theeraphisith Candasaro
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism par Padvee Academy
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
Padvee Academy11.6K vues
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน par Padvee Academy
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
Padvee Academy19.2K vues
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ par Padvee Academy
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
Padvee Academy5.4K vues
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน par pop Jaturong
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
pop Jaturong15.2K vues
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา par Padvee Academy
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
Padvee Academy7.4K vues
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล par Chavalit Deeudomwongsa
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลรวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย par Padvee Academy
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
Padvee Academy11.6K vues
ศาสนาเปรียบเทียบ par thnaporn999
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
thnaporn99954.5K vues
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ par Padvee Academy
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
Padvee Academy2.2K vues
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก par Padvee Academy
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
Padvee Academy98.3K vues

Similaire à การปกครองคณะสงฆ์

สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t... par
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช   พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช   พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...Tongsamut vorasan
2.5K vues40 diapositives
หนังสือระเบียบ รายนามวัด-พระธรรมทูตในอเมริกา par
หนังสือระเบียบ รายนามวัด-พระธรรมทูตในอเมริกาหนังสือระเบียบ รายนามวัด-พระธรรมทูตในอเมริกา
หนังสือระเบียบ รายนามวัด-พระธรรมทูตในอเมริกาTongsamut Vorasarn
1.9K vues108 diapositives
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓ par
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
652 vues8 diapositives
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร par
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวรพระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวรSarod Paichayonrittha
791 vues40 diapositives
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555 par
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555Carzanova
743 vues22 diapositives
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒ par
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
1.2K vues9 diapositives

Similaire à การปกครองคณะสงฆ์(8)

สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t... par Tongsamut vorasan
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช   พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช   พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
Tongsamut vorasan2.5K vues
หนังสือระเบียบ รายนามวัด-พระธรรมทูตในอเมริกา par Tongsamut Vorasarn
หนังสือระเบียบ รายนามวัด-พระธรรมทูตในอเมริกาหนังสือระเบียบ รายนามวัด-พระธรรมทูตในอเมริกา
หนังสือระเบียบ รายนามวัด-พระธรรมทูตในอเมริกา
Tongsamut Vorasarn1.9K vues
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร par Sarod Paichayonrittha
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวรพระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555 par Carzanova
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
Carzanova743 vues

Plus de พระอภิชัช ธมฺมโชโต

มูลนิธิพันธกิจเด็กและชุมชน par
มูลนิธิพันธกิจเด็กและชุมชนมูลนิธิพันธกิจเด็กและชุมชน
มูลนิธิพันธกิจเด็กและชุมชนพระอภิชัช ธมฺมโชโต
1.4K vues33 diapositives
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา par
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษาบทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษาพระอภิชัช ธมฺมโชโต
5.9K vues32 diapositives
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย par
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยพระอภิชัช ธมฺมโชโต
10.4K vues22 diapositives
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา par
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาพระอภิชัช ธมฺมโชโต
14.9K vues43 diapositives
เทศกาลชักพระ - ลากพระ par
เทศกาลชักพระ - ลากพระเทศกาลชักพระ - ลากพระ
เทศกาลชักพระ - ลากพระพระอภิชัช ธมฺมโชโต
2.5K vues26 diapositives
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี par
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีพระอภิชัช ธมฺมโชโต
14.4K vues37 diapositives

Plus de พระอภิชัช ธมฺมโชโต(10)

การปกครองคณะสงฆ์

  • 1. Free Powerpoint Templates Page 1 การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์ • จัดทำาโดยจัดทำาโดย  พระครูเกษมปัญญาพิสุทธิ์ รหัส ๕๖๕๑๒๐๔๐๐๑พระครูเกษมปัญญาพิสุทธิ์ รหัส ๕๖๕๑๒๐๔๐๐๑  พระอธิการจิตตวี ธีรปัญโญ รหัส ๕๖๕๑๒๐๔๐๐๙พระอธิการจิตตวี ธีรปัญโญ รหัส ๕๖๕๑๒๐๔๐๐๙  พระอธิการชาตรี ชาตวโร รหัส ๕๖๕๑๒๐๔๐๑๖พระอธิการชาตรี ชาตวโร รหัส ๕๖๕๑๒๐๔๐๑๖  พระอภิชัช ธมฺมโชโตพระอภิชัช ธมฺมโชโต รหัสรหัส ๕๖๕๑๒๐๔๐๒๑๕๖๕๑๒๐๔๐๒๑  พระมาโนช มหิสฺสโรพระมาโนช มหิสฺสโร รหัสรหัส ๕๖๕๑๒๐๔๐๒๓๕๖๕๑๒๐๔๐๒๓  พระวงศกร วงฺสกาโร รหัส ๕๖๕๑๒๐๔๐๓๑พระวงศกร วงฺสกาโร รหัส ๕๖๕๑๒๐๔๐๓๑
  • 2. Free Powerpoint Templates Page 2 การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์ การปกครองคณะสงฆ์ เป็นรูป แบบ การบริหารกิจการคณะสงฆ์ เป็นองค์กรหนึ่งที่เกิดขึ้นใน สังคมมนุษย์ โดยเฉพาะชาว พุทธที่มีรูปแบบประวัติยาวนาน
  • 3. Free Powerpoint Templates Page 3 การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์ ได้มีมาตั้งแต่สมัยพุทธกาลได้มีมาตั้งแต่สมัยพุทธกาล หลักที่ใช้ในการปกครองในครั้งหลักที่ใช้ในการปกครองในครั้ง นั้นนั้น คือคือ พระธรรมวินัยพระธรรมวินัย พระพุทธเจ้าพระพุทธเจ้า ทรงปกครองคณะสงฆ์โดยทรงปกครองคณะสงฆ์โดย ธรรมธรรม มาธิปไตยมาธิปไตย
  • 4. Free Powerpoint Templates Page 4 จุดประสงค์ในการบัญญัติพระ วินัยก็เพื่อให้สงฆ์อยู่ร่วมกันด้วยดี พ้น จากมลทินและกิเลสต่างๆ ทำาให้ ประชาชนเกิดความเลื่อมใสและเป็น เครื่องส่งเสริมการปฏิบัติธรรม ดัง ข้อความว่า “ ภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัต สิกขาบททั้งหลาย อาศัยอำานาจประโยชน์ ๑๐ ประการคือ ๑. เพื่อความดีแห่งสงฆ์ ๒. เพื่อความสำาราญแห่งสงฆ์ ๓. เพื่อข่มผู้เก้ออยาก ๔. เพื่อความอยู่สำาราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็น ที่รัก ๕. เพื่อป้องกันอาสวะอันจักบังเกิดในปัจจุบัน ๖. เพื่อกำาจัดอาสวะอันจักบังเกิด ในอนาคต ๗. เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ ยังไม่เลื่อมใส ๘. เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ เลื่อมใสแล้ว
  • 5. Free Powerpoint Templates Page 5 การปกครองคณะสงฆ์สมัยพุทธกาล ในการปกครองคณะสงฆ์ในการปกครองคณะสงฆ์ ระยะแรก พระพุทธเจ้าทรงระยะแรก พระพุทธเจ้าทรง ปกครองโดยพระองค์เองปกครองโดยพระองค์เอง ต่อมาพระองค์ทรงบัญญัติพระต่อมาพระองค์ทรงบัญญัติพระ วินัย และใช้วินัย และใช้ พระวินัยเป็นระเบียบ เครื่องมือพระวินัยเป็นระเบียบ เครื่องมือ ในการปกครองในการปกครอง พระภิกษุต้องอยู่ภายใต้พระธรรมวินัยพระภิกษุต้องอยู่ภายใต้พระธรรมวินัย และต้องปฏิบัติตาม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อและต้องปฏิบัติตาม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ออกจากทุกข์และทำาพระนิพพานให้แจ้ง เป็นออกจากทุกข์และทำาพระนิพพานให้แจ้ง เป็น จุดหมายสูงสุดของพระศาสนาจุดหมายสูงสุดของพระศาสนา
  • 6. Free Powerpoint Templates Page 6 การบัญญัติพระวินัยของการบัญญัติพระวินัยของ พระพุทธเจ้า มิได้ทรงบัญญัติไว้พระพุทธเจ้า มิได้ทรงบัญญัติไว้ ก่อน แต่ทรงบัญญัติขึ้นต่อเมื่อมีก่อน แต่ทรงบัญญัติขึ้นต่อเมื่อมี เหตุการณ์เกิดขึ้น พระองค์จึงตรัสเหตุการณ์เกิดขึ้น พระองค์จึงตรัส เรียกภิกษุสงฆ์มาประชุมเรียกภิกษุสงฆ์มาประชุม ตรัสสอบถามในเรื่องที่เกิดขึ้น ทรงตรัสสอบถามในเรื่องที่เกิดขึ้น ทรง ตำาหนิติเตียนตำาหนิติเตียน แล้วจึงบัญญัติสิกขาบทแล้วจึงบัญญัติสิกขาบท พระพุทธองค์ทรงเป็นพระพุทธองค์ทรงเป็น ธรรมราชาธรรมราชา ทรงอยู่ในฐานะทรงอยู่ในฐานะ ประมุขสงฆ์ประมุขสงฆ์ // ประธานสงฆ์ประธานสงฆ์
  • 7. Free Powerpoint Templates Page 7 เมื่อสาวกมีจำานวนมากขึ้น พระพุทธเจ้าทรงจัดองค์กรใน พระพุทธศาสนาออกเป็นพุทธบริษัท ๔ คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก
  • 8. Free Powerpoint Templates Page 8 ภายหลัง พระพุทธองค์ทรงมอบความเป็นใหญ่ให้ แก่พระสงฆ์ ดังจะเห็นได้จากการที่ทรงกระจาย อำานาจให้คณะสงฆ์ ดำาเนินการให้การอุปสมบท หรือเมื่อมีกิจจาธิกรณ์หรือกิจการที่จะต้องทำาร่วมกัน คณะสงฆ์สามารถบริหารจัดการเองหรือเมื่อมีกรณีความ ขัดแย้งเกิดขึ้นในคณะสงฆ์ พระพุทธเจ้าก็ทรงมอบ อำานาจให้ คณะสงฆ์เป็นผู้จัดการแก้ปัญหาคณะสงฆ์เป็นผู้จัดการแก้ปัญหา
  • 9. Free Powerpoint Templates Page 9 พระพุทธเจ้าทรงดำารงตำาแหน่งเป็นพระพุทธเจ้าทรงดำารงตำาแหน่งเป็น พระธรรมราชาพระธรรมราชา ทรงแต่งตั้งทรงแต่งตั้ง พระสารีบุตรพระสารีบุตร ให้เป็นพระธรรมเสนาบดีให้เป็นพระธรรมเสนาบดี มีฐานะเป็นรองประธานบริหาร อยู่ในลำาดับถัดมาจากมีฐานะเป็นรองประธานบริหาร อยู่ในลำาดับถัดมาจาก พระพุทธเจ้า และเป็นอัครสาวกฝ่ายขวาพระพุทธเจ้า และเป็นอัครสาวกฝ่ายขวา รับผิดชอบงานด้านวิชาการรับผิดชอบงานด้านวิชาการ พระโมคคัลลานะพระโมคคัลลานะ เป็นพระอัครสาวกฝ่ายซ้าย รับผิดชอบงานด้านเป็นพระอัครสาวกฝ่ายซ้าย รับผิดชอบงานด้าน บริหารบริหาร พระอานนท์พระอานนท์ เป็นเลขานุการส่วนพระองค์ และทรงเป็นเลขานุการส่วนพระองค์ และทรง แต่งตั้งสาวก ทั้งฝ่ายบรรพชิตและคฤหัสถ์ผู้เป็นเอตทัคคะ รับแต่งตั้งสาวก ทั้งฝ่ายบรรพชิตและคฤหัสถ์ผู้เป็นเอตทัคคะ รับ ภาระหน้าที่การงานในด้านต่างๆภาระหน้าที่การงานในด้านต่างๆ
  • 10. Free Powerpoint Templates Page 10  เพื่อความเป็นปกติสุขเรียบร้อย  เพื่อให้เป็นไปในทางเดียวกันของหมู่ภิกษุสงฆ์  เพื่อให้เกิดความเลื่อมใสแก่ผู้พบ  เพื่อความมีอาจาระอันงาม อันจะนำาไปสู่การประพฤติปฏิบัติชอบ ทรงบัญญัติ พระวินัย คือ ประมวลกฎข้อบังคับ เกี่ยวกับความประพฤติ ของเหล่าพระสงฆ์ ทั้งภิกษุและภิกษุณี
  • 11. Free Powerpoint Templates Page 11 การปกครองคณะสงฆ์ภายหลังพุทธกาลการปกครองคณะสงฆ์ภายหลังพุทธกาล ลักษณะการปกครองคณะสงฆ์ลักษณะการปกครองคณะสงฆ์ เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธ์ปรินิพพานแล้วเมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธ์ปรินิพพานแล้ว ““ อานนท์ เมื่อเราล่วงลับไปแล้วอานนท์ เมื่อเราล่วงลับไปแล้ว ”พระธรรมและพระวินัยนั้นแหละจักเป็นศาสดาของเธอทั้งหลาย ”พระธรรมและพระวินัยนั้นแหละจักเป็นศาสดาของเธอทั้งหลาย พระสงฆ์ยังต้องอยู่ภายใต้พระธรรมวินัยพระสงฆ์ยังต้องอยู่ภายใต้พระธรรมวินัย ดังปัจฉิมโอวาทว่าดังปัจฉิมโอวาทว่า อำานาจการปกครองขึ้นอยู่กับคณะอำานาจการปกครองขึ้นอยู่กับคณะ สงฆ์สงฆ์
  • 12. Free Powerpoint Templates Page 12 เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธ์ปรินิพพานแล้วเมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธ์ปรินิพพานแล้ว เกิดความไม่เรียบร้อยขึ้น จึงได้มีการทำาปฐมเกิดความไม่เรียบร้อยขึ้น จึงได้มีการทำาปฐม สังคายนาเพื่อรวมรวมพระธรรมวินัย ณ ถำ้าสังคายนาเพื่อรวมรวมพระธรรมวินัย ณ ถำ้า สัตตบรรณคูหาสัตตบรรณคูหา เมืองราชคฤห์ โดยพระอรหันต์ ๕๐๐ รูปเมืองราชคฤห์ โดยพระอรหันต์ ๕๐๐ รูป มี พระมหากัสสปะ เป็นประธานมี พระมหากัสสปะ เป็นประธาน เพื่อรวบรวมคำาสอน และเป็นหลักในการประพฤติเพื่อรวบรวมคำาสอน และเป็นหลักในการประพฤติ ปฏิบัติ ให้เป็นไปในรูปแบบเดียวกันปฏิบัติ ให้เป็นไปในรูปแบบเดียวกัน
  • 13. Free Powerpoint Templates Page 13 เมื่อพระพุทธศาสนาล่วงมาได้เมื่อพระพุทธศาสนาล่วงมาได้ ประมาณ ๒๐๐ ปี เศษ พระเจ้าอโศกประมาณ ๒๐๐ ปี เศษ พระเจ้าอโศก มหาราชได้ครอบครอง อาณาจักรอินเดียมหาราชได้ครอบครอง อาณาจักรอินเดีย อย่างกว้างขวาง พระองค์เลื่อมใสในอย่างกว้างขวาง พระองค์เลื่อมใสใน พระพุทธศาสนา ได้ส่งสมณะทูตเผยแผ่พระพุทธศาสนา ได้ส่งสมณะทูตเผยแผ่ พระพุทธศาสนาออกไปยังประเทศต่าง ๆพระพุทธศาสนาออกไปยังประเทศต่าง ๆ การปกครองคณะสงฆ์ยังเป็นไปตามพระธรรมวินัยการปกครองคณะสงฆ์ยังเป็นไปตามพระธรรมวินัย การบริหารสังฆมณฑลในบางประเทศ ต้องอนุโลมไปการบริหารสังฆมณฑลในบางประเทศ ต้องอนุโลมไป ตามแบบแผน ประเพณีของประเทศนั้น ๆ เพื่อให้ตามแบบแผน ประเพณีของประเทศนั้น ๆ เพื่อให้ พุทธจักรและอาณาจักรเป็นไปด้วยดีทั้งสองฝ่ายพุทธจักรและอาณาจักรเป็นไปด้วยดีทั้งสองฝ่าย
  • 14. Free Powerpoint Templates Page 14 พระภิกษุสงฆ์มีกฎพระภิกษุสงฆ์มีกฎ ที่พึงปฏิบัติอยู่สามประเภทคือที่พึงปฏิบัติอยู่สามประเภทคือ •พระวินัยพระวินัย •จารีตจารีต •กฎหมายแผ่นดินกฎหมายแผ่นดิน
  • 15. Free Powerpoint Templates Page 15 หลังจากพระเจ้าอโศกมหาราชหลังจากพระเจ้าอโศกมหาราช ได้จัดการอุปภัมภ์ การทำาสังคยานาคได้จัดการอุปภัมภ์ การทำาสังคยานาค รั้งที่ ๓ เมื่อพรั้งที่ ๓ เมื่อพ..ศศ.. ๒๓๖ แล้วพระองค์ได้๒๓๖ แล้วพระองค์ได้ ส่งพระสมณะทูตจาริกเผยแผ่พระพุทธส่งพระสมณะทูตจาริกเผยแผ่พระพุทธ ศาสนาไป ๙ สายศาสนาไป ๙ สาย สายที่ ๙ ซึ่งมีสายที่ ๙ ซึ่งมี พระโสณะและพระอุตตระพระโสณะและพระอุตตระ เป็นผู้นำาพระพุทธศาสนามาเผยแผ่ยังเป็นผู้นำาพระพุทธศาสนามาเผยแผ่ยัง ดินแดนสุวรรณภูมิดินแดนสุวรรณภูมิ
  • 16. Free Powerpoint Templates Page 16 การปกครองคณะสงฆ์ใน ประเทศไทย(สมัยสุโขทัย) พระพุทธศาสนาได้มาประดิษฐานในดินแดนสุวรรณภูมิ อันเป็น ที่ตั้งของประเทศไทย และอีกหลายประเทศในเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ มาตั้งแต่ยุคกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี ในประมาณปี พพ..ศศ.. ๑๘๐๐๑๘๐๐ สมัยสุโขทัย พระพุทธศาสนาเป็นนิกายมหายาน เพราะ สืบทอดมาจากสมัยขอมเรืองอำานาจ ครั้นถึงสมัย พ่อขุนรามคำาแหงพ่อขุนรามคำาแหง มหาราชมหาราช พระองค์ขยายอำานาจไปทางใต้ ทรงเลื่อมใสในพระเถระ นิกายเถรวาท ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากลังกา จึงทรงอาราธนา พระเถระจากเมืองนครศรีธรรมราชเพื่อมา ปรับปรุงพุทธศาสนาและพระสงฆ์ในสุโขทัย คณะ สงฆ์สุโขทัยจึงหันกลับมาถือเถรวาทมากขึ้น
  • 17. Free Powerpoint Templates Page 17 ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำาแหงศิลาจารึกพ่อขุนรามคำาแหง มหาราชมหาราช มีการกล่าวถึงสิ่งที่จัดเป็นศาสนประวัติ ด้านที่ ๒ด้านที่ ๒ “คนในเมืองสุโขทัยนี้ มักทาน มักทรงศีล มักโอย ทาน พ่อขุนรามคำาแหงเจ้าเมืองสุโขทัยนี้ ทั้ง ชาวแม่ชาวเจ้าท่วยปั่วท่วยนาง ลูกเจ้าลูกขุน ทั้ง สิ้นทั้งหลาย ทั้งผู้ชายผู้ญีง ฝูงท่วยมีศรัทธาใน ”พระพุทธศาสน์ ทรงศีลเมื่อพรรษาทุกคน “พ่อขุนรามคำาแหงกระทำาโอยทานแก่พระมหา สังฆ-เถร สังฆราชปราชญ์เรียนจบปิฎกไตรหล วก(รู้)กว่าปู่ครูในเมืองนี้ ทุกคนลุกแต่เมืองศรี ”ธรรมราชมา ด้านที่ ๓ด้านที่ ๓ “วันเดือนดับเดือนโอกแปดวันวันเดือนดับเดือนโอกแปดวัน วันเดือนเต็ม เดือนบ้างแปดวันวันเดือนเต็ม เดือนบ้างแปดวัน ฝูงปู่ครู เถร มหาเถร ขึ้นนั่งเหนือฝูงปู่ครู เถร มหาเถร ขึ้นนั่งเหนือ ”ขดานหินสูดธรรมแก่อุบสก”ขดานหินสูดธรรมแก่อุบสก
  • 18. Free Powerpoint Templates Page 18 เข้าใจว่า "ตำาแหน่งสังฆราช" กับ "ปู่ครู" เป็นสมณศักดิ์ในสมัยนั้น สุโขทัยมีสังฆราชหลายพระองค์ เพราะทางราชอาณาจักร มีทั้งเมืองในปกครองโดยตรง และ เมืองประเทศราชมีเจ้าปกครอง จึงน่าจะมีสังฆราชของ ตนเองด้วย แต่การปกครองไม่มีเอกภาพเหมือนกรุง รัตนโกสินทร์เพราะหัวเมืองใหญ่ที่เป็นประเทศราช เจ้าเมือง ก็ตั้งสังฆราชเป็นประมุขในแต่ละเมืองเป็นประมุข ในสมัยหลังปรากฏเรียกตำาแหน่งพระเถระเจ้าคณะเมืองว่า "สังฆราชา" อยู่หลายแห่ง สังฆราชจึงมิใช่มีองค์เดียว ส่วนปู่ครูนั้น เมืองใหญ่ๆ อาจมี หลายองค์ ถ้าเมืองเล็กมีองค์เดียว ขึ้นตรงต่อสังฆราช
  • 19. Free Powerpoint Templates Page 19 พระภิกษุในสมัยพ่อขุนรามคำาแหงมหาราชแบ่งเป็น ๒ คณะพระภิกษุในสมัยพ่อขุนรามคำาแหงมหาราชแบ่งเป็น ๒ คณะ คือคือ ๑๑.. คามวาสีคามวาสี พระภิกษุที่จำาพรรษาในวัดที่อยู่ในหมู่บ้านพระภิกษุที่จำาพรรษาในวัดที่อยู่ในหมู่บ้าน หรือชุมชน พระภิกษุเหล่านี้เรียน คันถธุระ คือ ปริยัติธรรมหรือชุมชน พระภิกษุเหล่านี้เรียน คันถธุระ คือ ปริยัติธรรม ๒๒.. อรัญวาสีอรัญวาสี คือ พระภิกษุจำาพรรษาในวัดที่อยู่ในป่า พระคือ พระภิกษุจำาพรรษาในวัดที่อยู่ในป่า พระ ภิกษุเหล่านี้เรียน วิปัสสนาธุระภิกษุเหล่านี้เรียน วิปัสสนาธุระ
  • 20. Free Powerpoint Templates Page 20 การปกครองคณะสงฆ์สมัยสุโขทัย  ๑๑.. การปกครองคณะสงฆ์ มิได้แบ่งการปกครองการปกครองคณะสงฆ์ มิได้แบ่งการปกครอง เป็นการปกครองร่วมกัน บังคับบัญชาตามลำาดับชั้นเป็นการปกครองร่วมกัน บังคับบัญชาตามลำาดับชั้น  ๒๒.. พระสังฆราช เป็นตำาแหน่งสูงสุดของการปกครองคณะสงฆ์พระสังฆราช เป็นตำาแหน่งสูงสุดของการปกครองคณะสงฆ์  ๓๓. ". "ปู่ครูปู่ครู"" คงจะเป็นตำาแหน่งรองจากสังฆราชคงจะเป็นตำาแหน่งรองจากสังฆราช ((ปัจจุบันเรียกว่า พระคปัจจุบันเรียกว่า พระค  ๔๔. ". "มหาเถระมหาเถระ"" คงได้แก่ พระผู้มีพรรษา ผู้คงแก่เรียน รู้ธรรมวินัยทั่วไปคงได้แก่ พระผู้มีพรรษา ผู้คงแก่เรียน รู้ธรรมวินัยทั่วไป แต่มิใช่ตำาแหน่งที่กษัตริย์แต่งตั้ง อาจจะมีตำาแหน่งทางการปกครองแต่มิใช่ตำาแหน่งที่กษัตริย์แต่งตั้ง อาจจะมีตำาแหน่งทางการปกครอง เป็นเจ้าคณะหมู่ หมวด หรือสมภารวัดก็ได้เป็นเจ้าคณะหมู่ หมวด หรือสมภารวัดก็ได้  ๕๕.. สมัยสุโขทัยตอนปลายได้มีประเพณีพระราชทานสมณศักดิ์แก่พระสงฆ์สมัยสุโขทัยตอนปลายได้มีประเพณีพระราชทานสมณศักดิ์แก่พระสงฆ์ คงรับมาจากลังกาคงรับมาจากลังกา  ๖๖.. ในสมัยสุโทัยบางครั้งเรียกในสมัยสุโทัยบางครั้งเรียก คณะคามวาสี ว่าคณะคามวาสี ว่า ฝ่ายขวาฝ่ายขวา เรียกคณะอรัญญวาสี ว่าเรียกคณะอรัญญวาสี ว่า ฝ่ายซ้ายฝ่ายซ้าย ชื่อคณะคามวาสีและคณะอรัญวาสีคงมีใช้ต่อมาจนถึงสมัยอยุธยาชื่อคณะคามวาสีและคณะอรัญวาสีคงมีใช้ต่อมาจนถึงสมัยอยุธยา
  • 21. Free Powerpoint Templates Page 21 การปกครองคณะสงฆ์สมัยอยุธยาการปกครองคณะสงฆ์สมัยอยุธยา ยังคงถือแบบอย่างสุโขทัย แต่เพิ่มขึ้นมาอีกคณะคือยังคงถือแบบอย่างสุโขทัย แต่เพิ่มขึ้นมาอีกคณะคือ ""คณะป่าแก้วคณะป่าแก้ว"" สืบเนื่องจากตามตำานานโยนกสืบเนื่องจากตามตำานานโยนก กล่าวว่า เมื่อ พกล่าวว่า เมื่อ พ..ศศ..๑๙๖๕ พระเถระชาวเชียงใหม่ ๗ รูป๑๙๖๕ พระเถระชาวเชียงใหม่ ๗ รูป พระเถระชาวอยุธยา ๒ รูปและพระเถระชาวเขมร ๑ รูป เดินทางไปพระเถระชาวอยุธยา ๒ รูปและพระเถระชาวเขมร ๑ รูป เดินทางไป ลังกาและได้บวชแปลงเป็นสิงหลนิกายในสีมานำ้า แม่นำ้ากัลยาณี ในลังกาและได้บวชแปลงเป็นสิงหลนิกายในสีมานำ้า แม่นำ้ากัลยาณี ใน สำานักพระวันรัตนมหาเถระ เมื่อบวชใหม่แล้วก็ปฏิบัติอยู่ในลังกาสำานักพระวันรัตนมหาเถระ เมื่อบวชใหม่แล้วก็ปฏิบัติอยู่ในลังกา นานหลายปีจึงเดินทางกลับ ขากลับนิมนต์พระเถรชาวลังการมานานหลายปีจึงเดินทางกลับ ขากลับนิมนต์พระเถรชาวลังการมา ด้วย ๒ รูป เมื่อถึงอยุธยาแล้วก็แยกย้ายกันไปเผยแผ่ ตั้งนิกายขึ้นมาด้วย ๒ รูป เมื่อถึงอยุธยาแล้วก็แยกย้ายกันไปเผยแผ่ ตั้งนิกายขึ้นมา ใหม่เรียกว่าใหม่เรียกว่า ""ป่าแก้วป่าแก้ว" (" (วนรัตนวนรัตน == ป่าแก้วป่าแก้ว)) คณะนี้ยังปรากฏที่นครศรีธรรมราชคณะนี้ยังปรากฏที่นครศรีธรรมราช และพัทลุง เช่น วัดเขียนคณะป่าแก้ว มีข้อวัตรปฏิบัติที่เคร่งครัดและพัทลุง เช่น วัดเขียนคณะป่าแก้ว มีข้อวัตรปฏิบัติที่เคร่งครัด
  • 22. Free Powerpoint Templates Page 22 ลักษณะการปกครองของคณะลักษณะการปกครองของคณะ สงฆ์ สมัยอยุธยาสงฆ์ สมัยอยุธยา เมื่อกล่าวโดยสรุป การปกครองคณะสงฆ์สมัยอยุธยาตอนปลายเมื่อกล่าวโดยสรุป การปกครองคณะสงฆ์สมัยอยุธยาตอนปลาย แบ่งการปกครองออกเป็น ๓ คณะ ซึ่งได้แก่แบ่งการปกครองออกเป็น ๓ คณะ ซึ่งได้แก่ ๑๑.. คณะคามวาสีฝ่ายซ้ายคณะคามวาสีฝ่ายซ้าย คือ พระสงฆ์สืบเนื่องมาจากนิกายเดิมที่มาตั้งแต่แรกคือ พระสงฆ์สืบเนื่องมาจากนิกายเดิมที่มาตั้งแต่แรก สมัยกรุงสุโขทัย และทำาการศึกษาพระไตรปิฎกตลอดถึงการศึกษาจากคัมภีร์ต่างๆ จนสมัยกรุงสุโขทัย และทำาการศึกษาพระไตรปิฎกตลอดถึงการศึกษาจากคัมภีร์ต่างๆ จน แตกฉานหรือที่รู้จักกันว่า สายคันถธุระแตกฉานหรือที่รู้จักกันว่า สายคันถธุระ ๒๒.. คณะอรัญวาสีคณะอรัญวาสี คือ พระสงฆ์ดั้งเดิมที่ได้ประพฤติปฏิบัติสืบต่อๆกันมา ตั้งแต่สมัยคือ พระสงฆ์ดั้งเดิมที่ได้ประพฤติปฏิบัติสืบต่อๆกันมา ตั้งแต่สมัย กรุงสุโขทัย โดยมุ่งเน้นการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานเป็นหลัก อยู่จำาพรรษาตามวัดกรุงสุโขทัย โดยมุ่งเน้นการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานเป็นหลัก อยู่จำาพรรษาตามวัด ต่างๆไกลจากชุมชน ที่รู้จักกันว่า พระป่าต่างๆไกลจากชุมชน ที่รู้จักกันว่า พระป่า ๓๓.. คณะคามวาสีฝ่ายขวาคณะคามวาสีฝ่ายขวา คือ คณะสงฆ์นิกายเดิมที่ไปบวชและแปลงนิกายที่ลังกาคือ คณะสงฆ์นิกายเดิมที่ไปบวชและแปลงนิกายที่ลังกา ประเทศแล้วกลับมาเผยแผ่พระพุทธศาสนาจนมีผู้คนเลื่อมใสศรัทธา รู้จักกันต่อมาภายประเทศแล้วกลับมาเผยแผ่พระพุทธศาสนาจนมีผู้คนเลื่อมใสศรัทธา รู้จักกันต่อมาภาย “ ”หลังว่า คณะป่าแก้ว“ ”หลังว่า คณะป่าแก้ว
  • 23. Free Powerpoint Templates Page 23 รูปแบบโครงสร้างการปกครองรูปแบบโครงสร้างการปกครอง มีการแบ่งลักษณะเป็นสามส่วนมีการแบ่งลักษณะเป็นสามส่วน โดยมีเจ้าคณะใหญ่ทั้งสามฝ่ายปกครองโดยมีเจ้าคณะใหญ่ทั้งสามฝ่ายปกครอง ดูแลดูแล เจ้าคณะทั้งสามขึ้นตรงต่อสมเด็จพระสังฆราชเจ้าคณะทั้งสามขึ้นตรงต่อสมเด็จพระสังฆราช ตำาแหน่งที่รองลงมาจากเจ้าคณะใหญ่คือตำาแหน่งที่รองลงมาจากเจ้าคณะใหญ่คือ ตำาแหน่งพระราชาคณะตำาแหน่งพระราชาคณะ ,, พระครูหัวเมือง และเจ้าอาวาสพระครูหัวเมือง และเจ้าอาวาส ปกครองลดลั่นกันตามลำาดับปกครองลดลั่นกันตามลำาดับ
  • 24. Free Powerpoint Templates Page 24 การปกครองพระสงฆ์ในสมัยกรุงธนบุรีการปกครองพระสงฆ์ในสมัยกรุงธนบุรี เมื่ออาณาจักรกรุงศรีอยุธยาสิ้นสุดลงเมื่อ พเมื่ออาณาจักรกรุงศรีอยุธยาสิ้นสุดลงเมื่อ พ..ศศ..๒๓๑๐๒๓๑๐ เนื่องจากแพ้สงคราม สมัยกรุงธนบุรีตกอยู่ในสภาพบ้านแตกเนื่องจากแพ้สงคราม สมัยกรุงธนบุรีตกอยู่ในสภาพบ้านแตก สาแหรกขาด เพราะถูกพม่าทำาลาย ในส่วนของคณะสงฆ์ก็ต้องสาแหรกขาด เพราะถูกพม่าทำาลาย ในส่วนของคณะสงฆ์ก็ต้อง ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงการประพฤติในส่วนจารีตประเพณีและกฏปรับปรุงเปลี่ยนแปลงการประพฤติในส่วนจารีตประเพณีและกฏ หมาย เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพทางสังคมและการเมืองที่หมาย เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพทางสังคมและการเมืองที่ เปลี่ยนไปเช่นกันเปลี่ยนไปเช่นกัน เมื่อพระเจ้าตากได้ย้ายราชธานีไปตั้งที่กรุงธนบุรี และปราบดาภิเษกขึ้นเมื่อพระเจ้าตากได้ย้ายราชธานีไปตั้งที่กรุงธนบุรี และปราบดาภิเษกขึ้น เป็นกษัตริย์ ทรงพระนามว่า สมเด็จพระราชาธิปดีที่ ๔เป็นกษัตริย์ ทรงพระนามว่า สมเด็จพระราชาธิปดีที่ ๔ เมื่อวันที่ ๒๘ ธันวาคมเมื่อวันที่ ๒๘ ธันวาคม ๒๓๑๑ ทรงปราบชุมนุมต่างๆ สร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในระยะเวลาอัน๒๓๑๑ ทรงปราบชุมนุมต่างๆ สร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในระยะเวลาอัน รวดเร็ว การปกครองทั้งฝ่ายอาณาจักรและศาสนจักร ในช่วงแรก พระองค์ได้ทรงรวดเร็ว การปกครองทั้งฝ่ายอาณาจักรและศาสนจักร ในช่วงแรก พระองค์ได้ทรง อาศัยแบบอย่างมาจากสมัยอยุธยา คณะสงฆ์ยังคงเป็น ๓ คณะ คือ คามวาสีฝ่ายอาศัยแบบอย่างมาจากสมัยอยุธยา คณะสงฆ์ยังคงเป็น ๓ คณะ คือ คามวาสีฝ่าย ซ้าย อรัญวาสี คามวาสีฝ่ายขวาซ้าย อรัญวาสี คามวาสีฝ่ายขวา
  • 25. Free Powerpoint Templates Page 25 สมัยอยุธยาและสมัยธนบุรี ได้แบ่งการปกครองคณะสงฆ์ออกเป็น ๓สมัยอยุธยาและสมัยธนบุรี ได้แบ่งการปกครองคณะสงฆ์ออกเป็น ๓ ฝ่ายฝ่าย คือ คณะคามวาสีฝ่ายซ้าย คณะอรัญวาสี และคณะคามวาสีฝ่ายขวาคือ คณะคามวาสีฝ่ายซ้าย คณะอรัญวาสี และคณะคามวาสีฝ่ายขวา มีรูปแบบการปกครองตามแผนภูมิต่อไปนี้มีรูปแบบการปกครองตามแผนภูมิต่อไปนี้ ที่มา : พระเมธีธรรมาภรณ์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). การปกครองคณะสงฆ์ไทย. ๒๕๓๙. หน้า ๑๔.
  • 26. Free Powerpoint Templates Page 26 ต่อมาภายหลังเมื่อฝ่ายอาณาจักรว่างจากศึกสงครามต่อมาภายหลังเมื่อฝ่ายอาณาจักรว่างจากศึกสงคราม แล้ว ทรงจัดระเบียบคณะสงฆ์ให้เรียบร้อยขึ้น โดยมีการรวมคณะแล้ว ทรงจัดระเบียบคณะสงฆ์ให้เรียบร้อยขึ้น โดยมีการรวมคณะ “สงฆ์อรัญวาสีไว้กับคณะสงฆ์ทั้ง ๒ ฝ่าย แล้วโปรดให้เรียก คณะ“สงฆ์อรัญวาสีไว้กับคณะสงฆ์ทั้ง ๒ ฝ่าย แล้วโปรดให้เรียก คณะ ” “ ”เหนือ และ คณะใต้” “ ”เหนือ และ คณะใต้ คณะเหนือคณะเหนือ ประกอบด้วย สมเด็จพระสังฆราชา เป็นเจ้าประกอบด้วย สมเด็จพระสังฆราชา เป็นเจ้า คณะใหญ่ ปฏิบัติหน้าที่เป็นเจ้าปกครองดูแลภายในคณะซึ่งคณะใหญ่ ปฏิบัติหน้าที่เป็นเจ้าปกครองดูแลภายในคณะซึ่ง ประกอบด้วยพระสงฆ์ทั้งฝ่ายคามวาสี อรัญวาสี ฝ่ายเหนือ หรือประกอบด้วยพระสงฆ์ทั้งฝ่ายคามวาสี อรัญวาสี ฝ่ายเหนือ หรือ คณะเหนือคณะเหนือ คณะใต้คณะใต้ ประกอบด้วย สมเด็จพระสังฆราชา เป็นประกอบด้วย สมเด็จพระสังฆราชา เป็น เจ้าคณะใหญ่ ปฏิบัติหน้าที่เป็นเจ้าปกครองดูแลภายในเจ้าคณะใหญ่ ปฏิบัติหน้าที่เป็นเจ้าปกครองดูแลภายใน คณะซึ่งประกอบด้วยพระสงฆ์ทั้งฝ่ายคามวาสี อรัญวาสีคณะซึ่งประกอบด้วยพระสงฆ์ทั้งฝ่ายคามวาสี อรัญวาสี ฝ่ายใต้ หรือ คณะใต้ฝ่ายใต้ หรือ คณะใต้
  • 27. Free Powerpoint Templates Page 27 ซึ่งเจ้าคณะใหญ่ทั้ง ๒ มีสร้อยพระราชทินนามว่าซึ่งเจ้าคณะใหญ่ทั้ง ๒ มีสร้อยพระราชทินนามว่า ““ ”มหาคณฤศรบวรสังฆารามคามวาสีอรัญวาสี ”มหาคณฤศรบวรสังฆารามคามวาสีอรัญวาสี ขึ้นตรงต่อสมเด็จพระสังฆราช จวบจนสิ้นสมัยขึ้นตรงต่อสมเด็จพระสังฆราช จวบจนสิ้นสมัย กรุงธนบุรีกรุงธนบุรี
  • 28. Free Powerpoint Templates Page 28 การปกครองคณะสงฆ์สมัยกรุงรัตนโกสินทร์การปกครองคณะสงฆ์สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ การปกครองคณะสงฆ์ในสมัยรัชกาลที่ ๑ ยังคงการปกครองคณะสงฆ์ในสมัยรัชกาลที่ ๑ ยังคง ถือตามแบบอย่างการปกครองคณะสงฆ์ในสมัยอยุธยาถือตามแบบอย่างการปกครองคณะสงฆ์ในสมัยอยุธยา และธนบุรี มีการแก้ไขเพียงเล็กน้อย ในการเปลี่ยนนามและธนบุรี มีการแก้ไขเพียงเล็กน้อย ในการเปลี่ยนนาม พระราชาคณะเพื่อมิให้พ้องกับพระศาสดาและพระพระราชาคณะเพื่อมิให้พ้องกับพระศาสดาและพระ อรหันต์อรหันต์ พระสังฆราชสมัยนี้มีราชทินนามว่า สมเด็จพระอริยวงศญาณพระสังฆราชสมัยนี้มีราชทินนามว่า สมเด็จพระอริยวงศญาณ การเลือกพระสังฆราชพิจารณาจากอายุพรรษาของ สมเด็จเจ้าคณะการเลือกพระสังฆราชพิจารณาจากอายุพรรษาของ สมเด็จเจ้าคณะ ใหญ่ ๒ องค์ องค์ใดมีอายุพรรษามากกว่าก็ทรงแต่งตั้งเป็นสมเด็จพระใหญ่ ๒ องค์ องค์ใดมีอายุพรรษามากกว่าก็ทรงแต่งตั้งเป็นสมเด็จพระ สังฆราช ในรัชกาลนี้ทรงตั้งสมเด็จพระสังฆราช ๒ องค์ คือ สมเด็จพระสังฆราช ในรัชกาลนี้ทรงตั้งสมเด็จพระสังฆราช ๒ องค์ คือ สมเด็จพระ สังฆราชสังฆราช ((ศรีศรี)) วัดระฆังโฆสิตาราม และสมเด็จพระสังฆราชวัดระฆังโฆสิตาราม และสมเด็จพระสังฆราช ((สุกสุก)) วัดวัด มหาธาตุมหาธาตุ
  • 29. Free Powerpoint Templates Page 29 การปกครองคณะสงฆ์สมัยกรุงรัตนโกสินทร์การปกครองคณะสงฆ์สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๑รัชกาลที่ ๑ ทรงปรับปรุงคณะสงฆ์พอสรุปได้ดังนี้ทรงปรับปรุงคณะสงฆ์พอสรุปได้ดังนี้ ((๑๑)) ให้พระภิกษุบางรูปลาสิกขา เพราะทรงปฏิบัติไม่เหมาะในสมัยให้พระภิกษุบางรูปลาสิกขา เพราะทรงปฏิบัติไม่เหมาะในสมัย พระเจ้ากรุงธนบุรี และโปรดเกล้าให้ตั้งแต่งใหม่หมด สมเด็จพระพระเจ้ากรุงธนบุรี และโปรดเกล้าให้ตั้งแต่งใหม่หมด สมเด็จพระ สังฆราชสังฆราช ((ศรีศรี)) วัดบางหว้าใหญ่ ซึ่งถูกถอดยศในสมัยพระเจ้าวัดบางหว้าใหญ่ ซึ่งถูกถอดยศในสมัยพระเจ้า กรุงธนบุรี ก็ได้รับสถาปนาขึ้นเป็นสมเด็จพรสังฆราชอีก นับว่าเป็นกรุงธนบุรี ก็ได้รับสถาปนาขึ้นเป็นสมเด็จพรสังฆราชอีก นับว่าเป็น สังฆราชองค์แรกแห่งกรุงรัตนโกสินทร์สังฆราชองค์แรกแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ((๒๒)) ได้ออกกฏหมายสงฆ์ เพิ่มขึ้นจากวินัยสงฆ์อีกด้วย กฎหมายที่ออกมามีได้ออกกฏหมายสงฆ์ เพิ่มขึ้นจากวินัยสงฆ์อีกด้วย กฎหมายที่ออกมามี ๑๐ ฉบับ ฉบับแรกเมื่อ พ๑๐ ฉบับ ฉบับแรกเมื่อ พ..ศศ..๒๓๒๕ ฉบับสุดท้ายเมื่อ พ๒๓๒๕ ฉบับสุดท้ายเมื่อ พ..ศศ.. ๒๓๔๔ นับเป็น๒๓๔๔ นับเป็น กษัตริย์องค์แรกที่ออกกฎหมายคณะสงฆ์ เนื่องจากอยู่ระหว่างการฟื้นฟูกษัตริย์องค์แรกที่ออกกฎหมายคณะสงฆ์ เนื่องจากอยู่ระหว่างการฟื้นฟู บ้านเมืองและเพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมืองบ้านเมืองและเพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง
  • 30. Free Powerpoint Templates Page 30 ((๓๓)) สมณศักดิ์ของพระสงฆ์ แบ่งออกเป็น ๒ อันดับ คือ พระราชาคณะผู้ใหญ่สมณศักดิ์ของพระสงฆ์ แบ่งออกเป็น ๒ อันดับ คือ พระราชาคณะผู้ใหญ่ และพระราชาคณะสามัญ พระราชาคณะผู้ใหญ่กำาหนดไว้ ๔ ชั้น คือและพระราชาคณะสามัญ พระราชาคณะผู้ใหญ่กำาหนดไว้ ๔ ชั้น คือ ๓๓..๑ สมเด็จพระสังฆราช ซ้าย๑ สมเด็จพระสังฆราช ซ้าย--ขวาได้แก่สมเด็จพระอริยวงศ์ขวาได้แก่สมเด็จพระอริยวงศ์ และสมเด็จพระวันรัตน์และสมเด็จพระวันรัตน์ ๓๓..๒ พระพุฒาจารย์ เจ้าคณะใหญ่อรัญวาสี พระพุทธโฆษา๒ พระพุฒาจารย์ เจ้าคณะใหญ่อรัญวาสี พระพุทธโฆษา จารย์ ผู้ช่วยสังฆปรินายก พระพิมลธรรม เจ้าคณะรองฝ่ายซ้าย พระจารย์ ผู้ช่วยสังฆปรินายก พระพิมลธรรม เจ้าคณะรองฝ่ายซ้าย พระ ธรรมวโรดม เจ้าคณะรองฝ่ายขวาธรรมวโรดม เจ้าคณะรองฝ่ายขวา ๓๓..๓ พระพรหมมุนี พระธรรมเจดีย์ คณะเหนือ พระธรรม๓ พระพรหมมุนี พระธรรมเจดีย์ คณะเหนือ พระธรรม ไตรโลก คณะใต้ไตรโลก คณะใต้ ๓๓..๔ พระเทพกวี คณะเหนือ พระเทพมุนี คณะใต้ พระญาณ๔ พระเทพกวี คณะเหนือ พระเทพมุนี คณะใต้ พระญาณ ไตรโลก เจ้าคณะรองอรัญวาสี นอกจากนี้เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญไตรโลก เจ้าคณะรองอรัญวาสี นอกจากนี้เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ ทั้งหมดคือ พระเทพโมลี พระธรรมโกษา พระโพธิวงศ์ เป็นต้น แต่พระทั้งหมดคือ พระเทพโมลี พระธรรมโกษา พระโพธิวงศ์ เป็นต้น แต่พระ โพธิวงศ์ ยกเป็นชั้นเทพในสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรีหรือรัชกาลที่ ๑ ส่วนโพธิวงศ์ ยกเป็นชั้นเทพในสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรีหรือรัชกาลที่ ๑ ส่วน พระราชาคณะยังไม่มีพระราชาคณะยังไม่มี
  • 31. Free Powerpoint Templates Page 31 รัชกาลที่ ๒รัชกาลที่ ๒ คณะสงฆ์ยังไม่เปลี่ยนแปลง สมณศักดิ์ที่น่าคณะสงฆ์ยังไม่เปลี่ยนแปลง สมณศักดิ์ที่น่า สนใจ คือ รัชกาลที่ ๒ ทรงตั้งพระเจ้าน้องยาเธอพระองค์สนใจ คือ รัชกาลที่ ๒ ทรงตั้งพระเจ้าน้องยาเธอพระองค์ เจ้าวาสุกรี ซึ่งผนวชอยู่ที่วัดพระเชตุพนเป็นเจ้าวาสุกรี ซึ่งผนวชอยู่ที่วัดพระเชตุพนเป็น ""พระองค์เจ้าพระองค์เจ้า พระราชาคณะ กรมหมื่นนุชิตชิโนรสศรีสุคตขัตติยวงศ์พระราชาคณะ กรมหมื่นนุชิตชิโนรสศรีสุคตขัตติยวงศ์"" แต่มีสมณศักดิ์เสมอพระราชาคณะชั้นสามัญแต่มีสมณศักดิ์เสมอพระราชาคณะชั้นสามัญ รัชกาลที่ ๓รัชกาลที่ ๓ ทรงปฏิรูปคณะสงฆ์ขึ้น เหตุการณ์ที่สำาคัญเกี่ยวกับคณะสงฆ์มีดังนี้ทรงปฏิรูปคณะสงฆ์ขึ้น เหตุการณ์ที่สำาคัญเกี่ยวกับคณะสงฆ์มีดังนี้ ((๑๑)) โปรดให้รวมพระอารามหลวงและอารามราษฎร์ในกรุงเข้าโปรดให้รวมพระอารามหลวงและอารามราษฎร์ในกรุงเข้า เป็นคณะหนึ่งต่างหาก เรียกว่าเป็นคณะหนึ่งต่างหาก เรียกว่า ""คณะกลางคณะกลาง"" ขึ้นในกรมหมื่นนุชิตขึ้นในกรมหมื่นนุชิต ชิโนรสชิโนรส ((๒๒)) คณะสงฆ์เพิ่มขึ้นเป็น ๔ คณะ คือคณะสงฆ์เพิ่มขึ้นเป็น ๔ คณะ คือ คณะเหนือคณะเหนือ((คามวาสีฝ่ายซ้ายคามวาสีฝ่ายซ้าย) ,) , คณะใต้คณะใต้((คามวาสีฝ่ายขวาคามวาสีฝ่ายขวา)) คณะกลางคณะกลาง ,, คณะอรัญวาสีคณะอรัญวาสี
  • 32. Free Powerpoint Templates Page 32 รัชกาลที่ ๔รัชกาลที่ ๔ คณะสงฆ์เริ่มดีขึ้น จำานวนพระสงฆ์เริ่มมากขึ้นคณะสงฆ์เริ่มดีขึ้น จำานวนพระสงฆ์เริ่มมากขึ้น ตั้งแต่ครั้งรัชกาลที่ ๓ ทั้งยังมีคณะใหม่เพิ่มขึ้นอย่างเป็นตั้งแต่ครั้งรัชกาลที่ ๓ ทั้งยังมีคณะใหม่เพิ่มขึ้นอย่างเป็น ทางการคือทางการคือ คณะธรรมยุติคณะธรรมยุติ เป็นคณะสงฆ์ที่พระวชิรญาณเป็นคณะสงฆ์ที่พระวชิรญาณ เถระทรงตั้งขึ้นเพื่อฟื้นฟูศาสนาพุทธในสยาม และแก้ไขวัตรเถระทรงตั้งขึ้นเพื่อฟื้นฟูศาสนาพุทธในสยาม และแก้ไขวัตร ปฏิบัติให้ถูกต้องตามพระธรรมวินัยแต่คณะอรัญวาสีเดิมกลับปฏิบัติให้ถูกต้องตามพระธรรมวินัยแต่คณะอรัญวาสีเดิมกลับ หายไปไม่ทราบชัดว่าหายไปไหน ตอนเริ่มรัชกาลยังมีอยู่ คือหายไปไม่ทราบชัดว่าหายไปไหน ตอนเริ่มรัชกาลยังมีอยู่ คือ สมเด็จพระพุฒาจารย์ วัดสระเกศเป็นเจ้าคณะ แต่ชื่ออรัญวาสมเด็จพระพุฒาจารย์ วัดสระเกศเป็นเจ้าคณะ แต่ชื่ออรัญวา สีค่อยๆ หายไปในภายหลังสีค่อยๆ หายไปในภายหลัง ด้านสมณศักดิ์รัชกาลนี้เพิ่มมากขึ้น และทรงเห็นว่า กรมหมื่นนุด้านสมณศักดิ์รัชกาลนี้เพิ่มมากขึ้น และทรงเห็นว่า กรมหมื่นนุ ชิตชิโนรส ทรงคุณธรรมยิ่งกว่าสังฆนายกอื่นๆ จึงโปรดตั้งพระราชพิธีมหาชิตชิโนรส ทรงคุณธรรมยิ่งกว่าสังฆนายกอื่นๆ จึงโปรดตั้งพระราชพิธีมหา สมณุตมาภิเษก สถาปนาขึ้นเป็นสมณุตมาภิเษก สถาปนาขึ้นเป็น ""กรมสมเด็จพระปรมานุชิตชิโนรสกรมสมเด็จพระปรมานุชิตชิโนรส"" เป็นเป็น ประธานสงฆ์ทั่วราชอาณาจักรประธานสงฆ์ทั่วราชอาณาจักร
  • 33. Free Powerpoint Templates Page 33 และทรงสถาปนาพระพิมลธรรมและทรงสถาปนาพระพิมลธรรม ((อู่อู่)) วัดสุทัศน์ ขึ้นเป็นสมเด็จวัดสุทัศน์ ขึ้นเป็นสมเด็จ พระอริยวงศาคตญาณอนุโลมตามพระราชประสงค์ของรัชกาลที่ ๓ ที่จะพระอริยวงศาคตญาณอนุโลมตามพระราชประสงค์ของรัชกาลที่ ๓ ที่จะ ให้เป็นสังฆราช แต่ตอนนี้ยังไม่ได้เป็นสังฆราช เป็นเพียงเจ้าคณะใหญ่ให้เป็นสังฆราช แต่ตอนนี้ยังไม่ได้เป็นสังฆราช เป็นเพียงเจ้าคณะใหญ่ ฝ่ายเหนือเท่านั้น และทรงยกพระพุทธโฆษาจารย์ฝ่ายเหนือเท่านั้น และทรงยกพระพุทธโฆษาจารย์ ((ฉิมฉิม)) เป็นสมเด็จพระเป็นสมเด็จพระ พุทธโฆษาจารย์ด้วย ส่วนการปกครองหัวเมืองแต่เดิมตำาแหน่งเป็นพระพุทธโฆษาจารย์ด้วย ส่วนการปกครองหัวเมืองแต่เดิมตำาแหน่งเป็นพระ สังฆราชา รัชกาลที่ ๔ โปรดให้เปลี่ยนเป็นสังฆราชา รัชกาลที่ ๔ โปรดให้เปลี่ยนเป็น สังฆปาโมกข์สังฆปาโมกข์ มียศเทียบเท่ามียศเทียบเท่า พระครู แต่บางเมืองก็มียศเท่าพระราชาคณะ ใช้ราชทินนามเหมือนพระครู แต่บางเมืองก็มียศเท่าพระราชาคณะ ใช้ราชทินนามเหมือน กรุงเทพฯกรุงเทพฯ รัชกาลที่ ๕รัชกาลที่ ๕ เป็นระยะที่กิจการทุกส่วนของประเทศได้รับการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่เป็นระยะที่กิจการทุกส่วนของประเทศได้รับการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ จากระบบเก่าสู่ระบบใหม่ ด้านศาสนาก็เช่นเดียวกัน มีการปฏิรูปขึ้นในทุกๆด้าน เวลาจากระบบเก่าสู่ระบบใหม่ ด้านศาสนาก็เช่นเดียวกัน มีการปฏิรูปขึ้นในทุกๆด้าน เวลา นั้น พระเจ้าน้องยาเธอกรมหมื่นวชิรญาณวโรรส ได้ทรงช่วยในด้านการคณะสงฆ์นั้น พระเจ้าน้องยาเธอกรมหมื่นวชิรญาณวโรรส ได้ทรงช่วยในด้านการคณะสงฆ์ เป็นอย่างดีเป็นอย่างดี ด้านสมณศักดิ์ มีที่น่าสนใจคือ ในรัชกาลนี้ได้เพิ่มสมณศักดิ์ชั้นด้านสมณศักดิ์ มีที่น่าสนใจคือ ในรัชกาลนี้ได้เพิ่มสมณศักดิ์ชั้น ""ราชราช"" ขึ้นใหม่ ครั้นขึ้นใหม่ ครั้น ก่อนพระราชาคณะมี ๔ ชั้น เมื่อเพิ่มชั้นราชขึ้น จึงมี ๕ ชั้น ส่วนชั้นสามัญกลายเป็นก่อนพระราชาคณะมี ๔ ชั้น เมื่อเพิ่มชั้นราชขึ้น จึงมี ๕ ชั้น ส่วนชั้นสามัญกลายเป็น ชั้นที่ ๖ จึงเรียงตามลำาดับใหม่ได้ดังนี้ชั้นที่ ๖ จึงเรียงตามลำาดับใหม่ได้ดังนี้ ๑๑.. ชั้นสมเด็จ ๒ชั้นสมเด็จ ๒.. ชั้นรองสมเด็จ ๓ชั้นรองสมเด็จ ๓.. ชั้นธรรมชั้นธรรม ๔๔.. ชั้นเทพ ๕ชั้นเทพ ๕.. ชั้นราช ๖ชั้นราช ๖.. ชั้นสามัญชั้นสามัญ
  • 34. Free Powerpoint Templates Page 34 ในสมัยนี้ ยังคงมี การปกครอง ๔ คณะเหมือนรัชกาลที่ ๓ในสมัยนี้ ยังคงมี การปกครอง ๔ คณะเหมือนรัชกาลที่ ๓,,๔ ต่อ๔ ต่อ มาคณะอรัญวาสีค่อยๆหายไปรวมกับคณะคามวาสี จึงเหลือเพียง ๓ คณะมาคณะอรัญวาสีค่อยๆหายไปรวมกับคณะคามวาสี จึงเหลือเพียง ๓ คณะ แล้วจึงมีคณะธรรมยุติเกิดขึ้น จึงมี ๔ คณะอีกคือ คณะเหนือแล้วจึงมีคณะธรรมยุติเกิดขึ้น จึงมี ๔ คณะอีกคือ คณะเหนือ((คามวาสีฝ่ายคามวาสีฝ่าย ซ้ายซ้าย) ,) , คณะใต้คณะใต้((คามวาสีฝ่ายขวาคามวาสีฝ่ายขวา) ,) , คณะกลางคณะกลาง ,, คณะธรรมยุติคณะธรรมยุติ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชการที่ ๕พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชการที่ ๕ มีพระบรมราชโองการ ให้ประกาศใช้พระราชบัญญัติลักษณะการมีพระบรมราชโองการ ให้ประกาศใช้พระราชบัญญัติลักษณะการ ปกครองคณะสงฆ์ขึ้น เป็นครั้งแรกในประเทศไทย พระราชบัญญัติปกครองคณะสงฆ์ขึ้น เป็นครั้งแรกในประเทศไทย พระราชบัญญัติ ฉบับนี้มีชื่อว่าฉบับนี้มีชื่อว่า พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ รพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ ร..ศศ.. ๑๒๑๑๒๑ มีสาระมีสาระ สำาคัญคือได้ยกสถานะคณะธรรมยุติ ให้เป็นนิกายอย่างถูกต้องสำาคัญคือได้ยกสถานะคณะธรรมยุติ ให้เป็นนิกายอย่างถูกต้อง ตามกฎหมายตามกฎหมาย พระราชบัญญัติลักษณะปกครองคณะสงฆ์ขึ้น เพื่อส่งเสริมพระราชบัญญัติลักษณะปกครองคณะสงฆ์ขึ้น เพื่อส่งเสริม สนับสนุนการปฏิบัติธรรมวินัย ให้สอดคล้องกับการปกครองบ้านเมืองสนับสนุนการปฏิบัติธรรมวินัย ให้สอดคล้องกับการปกครองบ้านเมือง พพ..รร..บบ..ฉบับนี้กำาหนดให้มีเจ้าคณะใหญ่อีก ๔ คณะ รวมเป็น ๘ รูป ทั้ง ๘ รูปฉบับนี้กำาหนดให้มีเจ้าคณะใหญ่อีก ๔ คณะ รวมเป็น ๘ รูป ทั้ง ๘ รูป นี้เป็นนี้เป็น ""กรรมการมหาเถรสมาคมกรรมการมหาเถรสมาคม"" ทำาหน้าที่เป็นศูนย์กลางการปกครองคณะทำาหน้าที่เป็นศูนย์กลางการปกครองคณะ สงฆ์ทั่วราชอาณาจักร และกำาหนดให้มีสมเด็จพระสังฆราชองค์เดียวเป็นผู้สงฆ์ทั่วราชอาณาจักร และกำาหนดให้มีสมเด็จพระสังฆราชองค์เดียวเป็นผู้ บัญชาเด็ดขาด เป็นประธานของมหาเถรสมาคมบัญชาเด็ดขาด เป็นประธานของมหาเถรสมาคม
  • 35. Free Powerpoint Templates Page 35 การปกครองแบ่งออกเป็นมณฑล เมือง แขวง และวัดการปกครองแบ่งออกเป็นมณฑล เมือง แขวง และวัด ทั้งหมดนี้แบ่งกันขึ้นตามคณะใหญ่ทั้งหมดนี้แบ่งกันขึ้นตามคณะใหญ่ สำาหรับคณะธรรมยุตินั้น เดิมรวมอยู่กับคณะกลางและได้สำาหรับคณะธรรมยุตินั้น เดิมรวมอยู่กับคณะกลางและได้ แยกเป็นคณะต่างหาก ครั้งแรกนั้นไม่มีเจ้าคณะใหญ่ พแยกเป็นคณะต่างหาก ครั้งแรกนั้นไม่มีเจ้าคณะใหญ่ พ..ศศ.. ๒๓๙๓๒๓๙๓ กรมพระปวเรศวริยาลงกรณ์ จึงได้ทรงเป็นเจ้าคณะใหญ่ ต่อมาก็คือกรมพระปวเรศวริยาลงกรณ์ จึงได้ทรงเป็นเจ้าคณะใหญ่ ต่อมาก็คือ กรมหมื่นวชิรญาณวโรรส พกรมหมื่นวชิรญาณวโรรส พ..รร..บบ..นี้ มีทั้งหมด ๔๕ มาตรานี้ มีทั้งหมด ๔๕ มาตรา สมัยรัชกาลที่ ๖สมัยรัชกาลที่ ๖--๗๗ การคณะสงฆ์ยังคงดำาเนินตาม พการคณะสงฆ์ยังคงดำาเนินตาม พ..รร..บบ..ฉบับนี้ตลอดฉบับนี้ตลอด แต่ตอนปลายรัชกาลที่ ๗ คณะสงฆ์กลุ่มหนึ่ง แสดงสังฆมติจะแต่ตอนปลายรัชกาลที่ ๗ คณะสงฆ์กลุ่มหนึ่ง แสดงสังฆมติจะ ให้มีการแก้ไข พให้มีการแก้ไข พ..รร..บบ..ฉบับนี้ การเคลื่อนไหวขยายวงกว้างฉบับนี้ การเคลื่อนไหวขยายวงกว้าง ออกไป จนมีเปลี่ยนแปลงในครั้งสมัย รัชกาลที่ ๘ออกไป จนมีเปลี่ยนแปลงในครั้งสมัย รัชกาลที่ ๘
  • 36. Free Powerpoint Templates Page 36 สมัยรัชกาลที่ ๘สมัยรัชกาลที่ ๘ คณะรัฐบาลปฏิวัติ ซึ่งมีคณะรัฐบาลปฏิวัติ ซึ่งมี พลเอก พระยาพหลพลพลเอก พระยาพหลพล พยุหเสนาพยุหเสนา นายกรัฐมนตรีคนที่ ๒ ของไทย พยายามแก้ไขนายกรัฐมนตรีคนที่ ๒ ของไทย พยายามแก้ไข พพ..รร..บบ..เก่าเพื่อต้องการจะรวมนิกายทั้ง ๒ คือมหานิกายกับธรรมเก่าเพื่อต้องการจะรวมนิกายทั้ง ๒ คือมหานิกายกับธรรม ยุตินิกายเข้าด้วยกันยุตินิกายเข้าด้วยกัน เมื่อวันที่ ๖ กรกฎาคม ๒๔๘๔ พระยาเมื่อวันที่ ๖ กรกฎาคม ๒๔๘๔ พระยา พหลฯ ได้อุปสมบท ณ วัดพระพหลฯ ได้อุปสมบท ณ วัดพระ ศรีมหาธาตุ บางเขน ซึ่งสร้างขึ้นเพื่อรวมศรีมหาธาตุ บางเขน ซึ่งสร้างขึ้นเพื่อรวม นิกายนิกาย การอุปสมบทครั้งนี้นิมนต์พระนั่งอันดับ ๕๐ รูปการอุปสมบทครั้งนี้นิมนต์พระนั่งอันดับ ๕๐ รูป มีพระมหานิกาย ๓๔ รูป พระธรรมยุติ ๑๕ พระรามัญ ๑มีพระมหานิกาย ๓๔ รูป พระธรรมยุติ ๑๕ พระรามัญ ๑ เมื่อพระยาพหลฯ ลาสิกขาบทไปแล้วเมื่อพระยาพหลฯ ลาสิกขาบทไปแล้ว คณะสงฆ์ฝ่ายธรรมยุติก็ครองวัดมหาธาตุเสีย การรวมนิกายจึงไม่คณะสงฆ์ฝ่ายธรรมยุติก็ครองวัดมหาธาตุเสีย การรวมนิกายจึงไม่ สำาเร็จสำาเร็จ
  • 37. Free Powerpoint Templates Page 37 อย่างไรก็ตาม ความพยายามรวมนิกายก็มีผลบ้าง คือ สภาผู้อย่างไรก็ตาม ความพยายามรวมนิกายก็มีผลบ้าง คือ สภาผู้ แทนราษฎรไทย ได้ออกกฎหมายสงฆ์เมื่อวันที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๔๘๔แทนราษฎรไทย ได้ออกกฎหมายสงฆ์เมื่อวันที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๔๘๔ นั่นคือนั่นคือ "" พพ..รร..บบ..คณะสงฆ์ พคณะสงฆ์ พ..ศศ..๒๔๘๔๒๔๘๔"" มี ๖๐ มาตรา ไม่มีมาตราใดมี ๖๐ มาตรา ไม่มีมาตราใด แบ่งแยกการปกครองแบ่งแยกการปกครอง พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พุทธศักราช ๒๔๘๔ เป็นแนวคิดพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พุทธศักราช ๒๔๘๔ เป็นแนวคิด ของของ จอมพลแปลก พิบูลสงครามจอมพลแปลก พิบูลสงคราม ที่จะเลียนการปกครองฝ่ายที่จะเลียนการปกครองฝ่าย อาณาจักรมาใช้แก่ฝ่ายศาสนจักรอาณาจักรมาใช้แก่ฝ่ายศาสนจักร โดยเรียกโดยเรียก ""สังฆสภาสังฆสภา"" ให้เป็นทำานองเดียวกับให้เป็นทำานองเดียวกับ ""รัฐสภารัฐสภา"" พพ..รร..บบ..ฉบับนี้ประกอบด้วยฉบับนี้ประกอบด้วย คณะสังฆมนตรี สังฆสภา พระธรรมธรคณะสังฆมนตรี สังฆสภา พระธรรมธร((อัยการอัยการ)) พระวินัยธรพระวินัยธร((ผู้พิพากษาผู้พิพากษา)) เจ้าคณะภาค เจ้าคณะเจ้าคณะภาค เจ้าคณะ จังหวัด เจ้าคณะอำาเภอ เจ้าคณะตำาบล และเจ้าอาวาส อำานาจสูงสุดอยู่ที่ สมเด็จพระสังฆราชจังหวัด เจ้าคณะอำาเภอ เจ้าคณะตำาบล และเจ้าอาวาส อำานาจสูงสุดอยู่ที่ สมเด็จพระสังฆราช นอกนี้ยังแบ่งส่วนในคณะสังฆมนตรีออกเป็นองค์การใหญ่ๆ ๔ องค์การ คือนอกนี้ยังแบ่งส่วนในคณะสังฆมนตรีออกเป็นองค์การใหญ่ๆ ๔ องค์การ คือ ๑๑.. องค์การปกครอง ทำาหน้าที่ฝ่ายปกครององค์การปกครอง ทำาหน้าที่ฝ่ายปกครอง ๒๒.. องค์การศึกษา ทำาหน้าที่ฝ่ายการศึกษาองค์การศึกษา ทำาหน้าที่ฝ่ายการศึกษา ๓๓.. องค์การเผยแผ่ ทำาหน้าที่เผยแผ่อบรมองค์การเผยแผ่ ทำาหน้าที่เผยแผ่อบรม ๔๔.. องค์การสาธารณูปการ ทำาหน้าที่เกี่ยวกับการก่อสร้างบูรณะองค์การสาธารณูปการ ทำาหน้าที่เกี่ยวกับการก่อสร้างบูรณะ
  • 38. Free Powerpoint Templates Page 38 พพ..รร..บบ..ฉบับนี้เป็นฉบับประชาธิปไตย การคณะสงฆ์ฉบับนี้เป็นฉบับประชาธิปไตย การคณะสงฆ์ สอดคล้องกับบ้านเมืองทุกประการ ด้านการศึกษาสมัยนี้เจริญสอดคล้องกับบ้านเมืองทุกประการ ด้านการศึกษาสมัยนี้เจริญ มาก เพราะองค์การศึกษาดูแลควบคุมตั้งแต่ส่วนกลางไปถึงส่วนมาก เพราะองค์การศึกษาดูแลควบคุมตั้งแต่ส่วนกลางไปถึงส่วน ภูมิภาค ด้านอื่นๆ ก็ได้รับการเอาใจใส่เช่นเดียวกันภูมิภาค ด้านอื่นๆ ก็ได้รับการเอาใจใส่เช่นเดียวกัน ต่อมาเมื่อ พต่อมาเมื่อ พ..ศศ..๒๕๐๕ สมัยฯพณฯ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์๒๕๐๕ สมัยฯพณฯ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นนายกรัฐมนตรีเป็นนายกรัฐมนตรี ((รัฐบาลปฏิวัติรัฐบาลปฏิวัติ)) ต้องการให้ พต้องการให้ พ..รร..บบ..คณะสงฆ์เป็นคณะสงฆ์เป็น ไปอย่างรวดเร็วทันการ รัฐบาลจึงยกเลิก พไปอย่างรวดเร็วทันการ รัฐบาลจึงยกเลิก พ..รร..บบ..คณะสงฆ์ ๒๔๘๔คณะสงฆ์ ๒๔๘๔ เสีย และให้ออก พเสีย และให้ออก พ..รร..บบ..คณะสงฆ์ ๒๕๐๕ แทนโดยให้อำานาจเด็ดคณะสงฆ์ ๒๕๐๕ แทนโดยให้อำานาจเด็ด ขาดกับฝ่ายปกครองขาดกับฝ่ายปกครอง((เจ้าหน้าที่บ้านเมืองเจ้าหน้าที่บ้านเมือง)) และพระปกครองมากขึ้นและพระปกครองมากขึ้น ด้านการศึกษา และการเผยแผ่ศาสนธรรมนั้นด้อยลง จึงปรากฏด้านการศึกษา และการเผยแผ่ศาสนธรรมนั้นด้อยลง จึงปรากฏ ว่าการศึกษาในระยะหลังนี้ไม่ก้าวหน้าเหมือนสมัย พว่าการศึกษาในระยะหลังนี้ไม่ก้าวหน้าเหมือนสมัย พ..รร..บบ..คณะสงฆ์คณะสงฆ์ ๒๔๘๔๒๔๘๔
  • 39. Free Powerpoint Templates Page 39 สมัยรัชกาลที่ ๙สมัยรัชกาลที่ ๙ สมเด็จพระสังฆราช เป็นประมุข มหาเถรสมาคมสมเด็จพระสังฆราช เป็นประมุข มหาเถรสมาคม แบ่งการปกครองออกเป็น ๕ คือแบ่งการปกครองออกเป็น ๕ คือ เรารักในหลวงเรารักในหลวง ขอพระองค์ทรงพระเจริญขอพระองค์ทรงพระเจริญ หนเหนือ หนใต้ หนกลาง หนตะวันออก และคณะธรรมหนเหนือ หนใต้ หนกลาง หนตะวันออก และคณะธรรม ยุติยุติ และแยกการปกครองออกเป็น ภาค จังหวัด อำาเภอ ตำาบล เจ้าและแยกการปกครองออกเป็น ภาค จังหวัด อำาเภอ ตำาบล เจ้า อาวาส และใช้ พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พอาวาส และใช้ พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ..ศศ.. ๒๕๐๕ แก้ไขเพิ่ม๒๕๐๕ แก้ไขเพิ่ม เติมโดย พระราชบัญญัติคณะสงฆ์เติมโดย พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ ((ฉบับที่ ๒ฉบับที่ ๒)) พพ..ศศ.. ๒๕๓๕๒๕๓๕
  • 40. Free Powerpoint Templates Page 40 ตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ..ศศ..๒๕๐๕ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราช๒๕๐๕ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราช บัญญัติคณะสงฆ์บัญญัติคณะสงฆ์ ((ฉบับที่ ๒ฉบับที่ ๒)) พพ..ศศ..๒๕๓๕ มาตรา ๑๕ ตรี๒๕๓๕ มาตรา ๑๕ ตรี ((๑๑)) และและ ((๓๓)) และข้อ ๕ แห่งกฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ ๒๓และข้อ ๕ แห่งกฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ ๒๓ ((พพ..ศศ..๒๕๔๑๒๕๔๑)) ว่าด้วยระเบียบการว่าด้วยระเบียบการ ปกครองคณะสงฆ์ปกครองคณะสงฆ์ กล่าวถึงกล่าวถึง ““การการ”” ไว้โดยชัดเจนเป็น ๖ คือไว้โดยชัดเจนเป็น ๖ คือ ๑๑)) การรักษาความเรียบร้อยดีงามการรักษาความเรียบร้อยดีงาม ((ด้านด้าน ปกครองปกครอง)) ๒๒)) การศาสนศึกษาการศาสนศึกษา ๓๓)) การศึกษาสงเคราะห์การศึกษาสงเคราะห์ ๔๔)) การเผยแผ่พระพุทธศาสนาการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ๕๕)) การการ สาธารณูปการสาธารณูปการ ๖๖)) การสาธารณสงเคราะห์การสาธารณสงเคราะห์ กล่าวโดยสรุปแล้วกล่าวโดยสรุปแล้ว ““การการ”” ที่กล่าวมานี้ที่กล่าวมานี้ ย่อมอยู่ในอำานาจย่อมอยู่ในอำานาจ หน้าที่ของเจ้าอาวาส เจ้าคณะ และ มหาเถรสมาคมหน้าที่ของเจ้าอาวาส เจ้าคณะ และ มหาเถรสมาคม ตลอดจนพระตลอดจนพระ ภิกษุภิกษุ คณะบุคคล ที่มหาเถรสมาคมมอบให้เป็นผู้ใช้อำานาจหน้าที่ทั้งคณะบุคคล ที่มหาเถรสมาคมมอบให้เป็นผู้ใช้อำานาจหน้าที่ทั้ง สิ้นสิ้น
  • 41. Free Powerpoint Templates Page 41 การปกครองคณะสงฆ์ตามรูปแบบที่จัดอยู่ในปัจจุบัน ยึดพระราชการปกครองคณะสงฆ์ตามรูปแบบที่จัดอยู่ในปัจจุบัน ยึดพระราช บัญญัติคณะสงฆ์ พบัญญัติคณะสงฆ์ พ..ศศ..๒๕๐๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคณะสงฆ์๒๕๐๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ ((ฉบับที่ ๒ฉบับที่ ๒)) พพ..ศศ..๒๕๓๕ จัดรูปแบบการปกครองคณะสงฆ์ มี ๒ ส่วน คือ๒๕๓๕ จัดรูปแบบการปกครองคณะสงฆ์ มี ๒ ส่วน คือ ๑๑)) การปกครองคณะสงฆ์ส่วนกลางการปกครองคณะสงฆ์ส่วนกลาง ๒๒)) การปกครองคณะสงฆ์ส่วนภูมิภาคการปกครองคณะสงฆ์ส่วนภูมิภาค เขตปกครองคณะสงฆ์ส่วนกลางเขตปกครองคณะสงฆ์ส่วนกลาง การปกครองคณะสงฆ์ส่วนกลาง ได้แก่ การดำาเนินกิจการคณะสงฆ์และการพระการปกครองคณะสงฆ์ส่วนกลาง ได้แก่ การดำาเนินกิจการคณะสงฆ์และการพระ ศาสนาในส่วนกลาง กล่าวคือศูนย์กลางบริหารงานนั้น เป็นหน่วยควบคุมนโยบายหลักของศาสนาในส่วนกลาง กล่าวคือศูนย์กลางบริหารงานนั้น เป็นหน่วยควบคุมนโยบายหลักของ มหาเถรสมาคมมหาเถรสมาคม ซึ่งการคณะสงฆ์ตามพระราชบัญญัติฉบับนี้ เรียกว่าซึ่งการคณะสงฆ์ตามพระราชบัญญัติฉบับนี้ เรียกว่า ""การการ"" คือ การรักษาความเรียบร้อยดีงามคือ การรักษาความเรียบร้อยดีงาม ((การปกครองการปกครอง)) กรุงเทพมหานคร มิใช่เป็นส่วนกลาง แท้จริงกรุงเทพมหานคร เป็นการปกครองกรุงเทพมหานคร มิใช่เป็นส่วนกลาง แท้จริงกรุงเทพมหานคร เป็นการปกครอง คณะสงฆ์ส่วนภูมิภาคชั้นจังหวัด เมื่อว่าเฉพาะการปกครองและเขตปกครองแล้ว เขตปกครองคณะสงฆ์ส่วนภูมิภาคชั้นจังหวัด เมื่อว่าเฉพาะการปกครองและเขตปกครองแล้ว เขตปกครอง คณะสงฆ์ส่วนกลาง หมายถึง หน และ คณะ แยกตามส่วนแห่งนิกายสงฆ์ คือคณะสงฆ์ส่วนกลาง หมายถึง หน และ คณะ แยกตามส่วนแห่งนิกายสงฆ์ คือ ((๑๑)) คณะมหานิกาย มี ๔ หน คือคณะมหานิกาย มี ๔ หน คือ หนกลาง หนเหนือ หนตะวันออก และหนใต้ มีเจ้าคณะใหญ่เป็นผู้ปกครองหนกลาง หนเหนือ หนตะวันออก และหนใต้ มีเจ้าคณะใหญ่เป็นผู้ปกครอง ((๒๒)) คณะธรรมยุต มี ๑ คณะ เพราะรวมทั้งหมดเข้าเป็นคณะเดียว มีเจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุต มี ๑ คณะ เพราะรวมทั้งหมดเข้าเป็นคณะเดียว มีเจ้าคณะใหญ่ ฝ่ายธรรมยุตเป็นผู้ปกครอง การกำาหนดเขตปกครองเป็นไปตามกฎมหาเถรสมาคมฝ่ายธรรมยุตเป็นผู้ปกครอง การกำาหนดเขตปกครองเป็นไปตามกฎมหาเถรสมาคม