SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  11
Télécharger pour lire hors ligne
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง30206 
ใบความรู้ที่ 4 .2 
เรื่อง การสร้างตารางฐานข้อมูล 
สร้างตารางฐานข้อมูล (Table) 
รายละเอียดของแท็บคำสั่งสร้าง (Create) ในแถบเครื่องมือ Ribbon มีส่วนประกอบของ 
คำสั่งหลัก 4 กลุ่มคำสั่ง ดังนี้ 
1. กลุ่มคำสั่งตาราง (Tables) ใช้ในการสร้างฐานข้อมูลในรูปแบบตาราง 
2. กลุ่มคำสั่งฟอร์ม (Forms) ใช้ในการสร้างฐานข้อมูลในรูปแบบฟอร์ม 
3. กลุ่มคำสั่งรายงาน (Reports) ใช้ในการสร้างรายงาน 
4. กลุ่มคำสั่งอื่น ๆ (Other) ใช้ในการคิวรีข้อมูล และการสร้างแมโคร (Macros) 
รูปที่ 4-1 กลุ่มคำสั่ง 4 กลุ่มของแท็บสร้าง 
กลุ่มคำสั่งตาราง (Tables) มีคำสั่งอยู่ 4 คำสั่ง ดังนี้ 
1. ตาราง (Table) ใช้ในการสร้างตารางใหม่ 
2. ชุดคำสั่งแม่แบบตาราง (Table Templates) ใช้ในการสร้างตารางใหม่จากแม่แบบ 
3. ชุดคำสั่งรายการ SharePoint (SharePoint Lists) เมื่อต้องการใช้ข้อมูลร่วมกับผู้ใช้ คน 
การสร้างฐานข้อมูล และสร้างตาราง (Table) ด้วยโปรแกรม Microsoft Access -1- 
อื่น 
4. ออกแบบตาราง (Table Design) ใช้ในการสร้างตารางจากมุมมองการออกแบบ 
รูปที่ 4-2 กลุ่มคำสั่งสร้างตารางฐานข้อมูล 4 คำสั่งในแท็บสร้าง 
1 การสร้างตาราง (Table) 
1.1 เริ่มสร้างตารางใหม่ 
ที่แท็บสร้างกลุ่มคำสั่งตาราง คลิกปุ่มตาราง จะได้ตารางชื่อ Table1 ที่มา 
พร้อมกับฟิลด์ ID
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง30206 
รูปที่ 4-3 หน้าต่างของตารางข้อมูลใหม่ 
1.2 การเปลี่ยนชื่อฟิลด์หรือชื่อเขตข้อมูลหรือคอลัมน์ 
คลิกขวาที่ชื่อคอลัมน์ จะเปิดเมนูลัด ให้เลือกรายการเปลี่ยนชื่อคอลัมน์ โดย มีหลักการตั้งชื่อ 
การสร้างฐานข้อมูล และสร้างตาราง (Table) ด้วยโปรแกรม Microsoft Access -2- 
ดังนี้ 
1. สามารถใช้ชื่อยาวได้ถึง 64 ตัวอักษร 
2. ชื่อต้องไม่ขึ้นต้นด้วยช่องว่าง และไม่ควรมีช่องว่างระหว่างชื่อ 
3. ควรใช้ชื่อที่เข้าใจได้ง่าย ชัดเจน และบ่งบอกถึงวัตถุประสงค์ของเขตข้อมูล 
4. อาจเป็นตัวเลขและอักขระพิเศษประกอบด้วยก็ได้ ยกเว้นมหัพภาค (,) อัศเจรีย์ (!) 
อัญประกาศคู่ (“ ”) และวงเล็บ [ ] 
5. ชื่อเขตข้อมูลต้องไม่ซ้ำกันในตารางเดียวกัน 
6. ต้องไม่ซ้ำกับชื่อของคุณสมบัติหรือองค์ประกอบอื่น ๆ (คำสงวน) ที่ใช้ ในโปรแกรม 
รูปที่ 4-4 ส่วนประกอบของฐานข้อมูลในโปรแกรม Microsoft Access 2007 
1.3 การพิมพ์ข้อมูล เพิ่มเขตข้อมูลใหม่ และการกำหนดชนิดข้อมูล 
ให้ดับเบิลคลิกที่ฟิลด์เพื่อเพิ่มเขตข้อมูลใหม่ แล้วตั้งชื่อฟิลด์ และให้คลิกที่ เซลล์แล้วพิมพ์ 
ข้อมูลลงไปในเซลล์ แต่ต้องกำหนดชนิดและรูปแบบให้กับข้อมูลเสียก่อน โดยใช้ แท็บคำสั่งตามบริบท 
คือ แถบเครื่องมือตาราง แท็บแผ่นข้อมูล (สีเหลือง) 
รูปที่ 4-5 แถบเครื่องมือตาราง แท็บแผ่นข้อมูล (สีเหลือง)
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง30206 
รูปที่ 4-6 การกำหนดชนิดและรูปแบบให้กับข้อมูล 
1.4 การบันทึกและปิดตาราง 
เมื่อต้องการบันทึกตารางใหม่ให้คลิกปุ่มบันทึกที่แถบเครื่องมือด่วน จะมี กรอบสนทนาชื่อ 
บันทึกเป็นถูกเปิดขึ้นมา ให้ตั้งชื่อตารางข้อมูล แล้วคลิกปุ่มตกลง 
รูปที่ 4-7 ข้อมูลเมื่อได้ป้อนเสร็จสิ้นแล้ว ต้องบันทึกเก็บไว้ในตารางวิชา 
หรือถ้าบังเอิญไปคลิกที่ปุ่มปิดตาราง โดยไม่ได้บันทึกก่อน จะปรากฏแผ่น เตือนว่าต้องการจะ 
บันทึกตารางข้อมูลนี้หรือไม่ ให้คลิกปุ่มใช่ จะมีกรอบสนทนาชื่อบันทึกเป็นถูก เปิดขึ้นมา ให้ตั้งชื่อ 
ตารางข้อมูล แล้วคลิกปุ่มตกลง 
รูปที่ 4-8 แผ่นคำเตือนเมื่อปิดตารางโดยไม่ได้บันทึกตารางก่อน 
2 การสร้างตารางจากแม่แบบตาราง (Table Templates) 
2.1 เริ่มสร้างตารางจากแม่แบบตาราง 
เมื่อคลิกปุ่มแม่แบบตารางแล้ว จะมีรายการย่อยให้เลือก คือ ที่ติดต่อ งาน ประเด็น 
เหตุการณ์ และสินทรัพย์ ให้เลือกรายการที่ติดต่อ จะได้ตารางใหม่ที่มีฟิลด์และกำหนด ชนิดและ 
รูปแบบข้อมูลมาให้เรียบร้อยแล้ว 
การสร้างฐานข้อมูล และสร้างตาราง (Table) ด้วยโปรแกรม Microsoft Access -3-
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง30206 
รูปที่ 4-9 การสร้างตารางข้อมูลจากแม่แบบตาราง 
2.2 การแก้ไขฟิลด์หรือคอลัมน์ 
ในกรณีที่แม่แบบตารางมีคอลัมน์ที่เราไม่ต้องการ สามารถลบคอลัมน์นั้นทิ้ง ได้ หรือสามารถ 
ที่จะเพิ่มเติมคอลัมน์ใหม่ได้ และสามารถแก้ไข แทรก เปลี่ยนชื่อ ตั้งความกว้าง ย้าย ซ่อน ตรึงคอลัมน์ 
ได้ 
รูปที่ 4-10 การแก้ไขคอลัมน์ ในที่นี้จะลบคอลัมน์บริษัท 
3 การสร้างตารางจากคำสั่งออกแบบตาราง (Table Design) 
3.1 การสร้างตารางจากมุมมองออกแบบ ตั้งชื่อเขตข้อมูล และกำหนดชนิด ข้อมูล 
เมื่อคลิกปุ่มออกแบบตารางแล้ว จะได้ตารางใหม่ในมุมมองออกแบบที่มีหัว ตารางเป็นชื่อเขต 
ข้อมูล (ฟิลด์)ชนิดข้อมูล และคำอธิบาย ส่วนด้านล่างเป็นคุณสมบัติของข้อมูลมี 2 แท็บ คือ ทั่วไปและ 
ค้นหา ซึ่งมุมมองออกแบบนี้ เราต้องตั้งชื่อเขตข้อมูลหรือฟิลด์เป็นแถวลงมา และต้องกำหนด 
คุณสมบัติของข้อมูลทางด้านล่างไปด้วยเลย 
ขนาดเขตข้อมูล (Field Size) ถ้าชนิดข้อมูลเป็นข้อความ (Text) ขนาดที่ตั้ง ไว้จะเป็น 50 แต่ 
ถ้าชนิดข้อมูลเป็นตัวเลข (Number) ขนาดที่ตั้งไว้จะเป็น Long Integer 
การสร้างฐานข้อมูล และสร้างตาราง (Table) ด้วยโปรแกรม Microsoft Access -4-
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง30206 
ตารางที่ 4-2 ขนาดและค่าของข้อมูลแบบตัวเลขขึ้นอยู่กับแบบตัวเลขต่าง ๆ 
แบบตัวเลข ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ขนาด (ไบต์) 
Byte 0 255 1 
Integer -32,768 32,767 2 
Long Integer -2,147,483,648 2,147,483,648 4 
Single -3.4 x 10 38 3.4 x 10 38 4 
Double -1.797 x 10 308 1.797 x 10 308 8 
Replication ID ทุกค่าของทุกแบบ ทุกค่าของทุกแบบ 16 
นอกจากนี้ยังมีแบบ Decimal ซึ่งเก็บค่าทศนิยมได้ถูกต้องสูงสุด 18 ตำแหน่ง (รวมตัวเลขทั้ง 
การสร้างฐานข้อมูล และสร้างตาราง (Table) ด้วยโปรแกรม Microsoft Access -5- 
หน้าและหลังจุด) 
รูปที่ 4-11 การสร้างตารางด้วยคำสั่งออกแบบตารางและการตั้งชื่อและกำหนดชนิดข้อมูล 
รูปที่ 4-12 โปรแกรมไม่อนุญาตให้ใช้ชื่อคำสงวน Date
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง30206 
รูปที่ 4-13 รูปแบบการป้อนข้อมูลวันที่/เวลา 
รูปที่ 4-14 คำเตือนในการลบแถวหรือเขตข้อมูล 
รูปที่ 4-15 การกำหนดคีย์หลักให้กับเขตข้อมูล 
รูปที่ 4-16 ถ้าไม่ได้กำหนดคีย์หลักให้กับเขตข้อมูล Access จะดำเนินการให้เมื่อคลิกใช่ 
การสร้างฐานข้อมูล และสร้างตาราง (Table) ด้วยโปรแกรม Microsoft Access -6-
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง30206 
รูปที่ 4-17 การบันทึกและตั้งชื่อตาราง 
3.3 การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างตาราง 
1.1 การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างตารางแบบหนึ่งต่อหนึ่ง 
ตารางที่มีเขตข้อมูลสัมพันธ์กันหนึ่งเขตข้อมูล ซึ่งก่อนสร้างความสัมพันธ์ต้องปิด ตาราง 
ทั้งหมดลงเสียก่อน แล้วไปที่แท็บเครื่องมือฐานข้อมูล คลิกปุ่มคำสั่งความสัมพันธ์ จะเปิดแท็ บบริบท 
เครื่องมือการทำความสัมพันธ์ ที่แท็บออกแบบให้คลิกแสดงตารางที่ต้องการสร้าง ความสัมพันธ์ 
ออกมา แล้วดับเบิลคลิกเพิ่มชื่อตารางที่ต้องการสร้างความสัมพันธ์ จากนั้นจึงลากชื่อ เขตข้อมูลที่ 
ตรงกันของทั้งสองตาราง เมื่อแผ่นงานแก้ไขความสัมพันธ์ปรากฏขึ้นมาให้คลิกเลือก บังคับให้มี 
Referential Integrity ซึ่งหมายความว่า ระบบของกฎต่าง ๆ ที่ Access 2007 ใช้เพื่อให้ มั่นใจได้ว่า 
ความสัมพันธ์ระหว่างระเบียนในตารางที่สัมพันธ์กันนั้นถูกต้อง และจะต้องไม่ลบหรือ เปลี่ยนแปลง 
ข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันโดยบังเอิญ 
รูปที่ 4-21 เริ่มต้นสร้างความสัมพันธ์จากการคลิกปุ่มคำสั่งความสัมพันธ์ บนแท็บเครื่องมือฐานข้อมูล 
รูปที่ 4-22 คำสั่งแสดงตารางในแท็บออกแบบของแท็บเครื่องมือการทำความสัมพันธ์ 
การสร้างฐานข้อมูล และสร้างตาราง (Table) ด้วยโปรแกรม Microsoft Access -7-
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง30206 
รูปที่ 4-23 คำสั่งเพิ่มแสดงตารางข้อมูลนักศึกษาและบัตรลงทะเบียน 
รูปที่ 4-24 เมื่อลากชื่อเขตข้อมูล studentID ข้ามตารางแล้ว ให้คลิกเลือกบังคับให้มี Referential 
Integrity 
การสร้างฐานข้อมูล และสร้างตาราง (Table) ด้วยโปรแกรม Microsoft Access -8-
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง30206 
รูปที่ 4-25 เส้นความสัมพันธ์เป็นแบบหนึ่งต่อหนึ่งและการรายงานความสัมพันธ์ในมุมมองแสดงตัวอย่าง 
ก่อนพิมพ์ 
รูปที่ 4-26 เส้นความสัมพันธ์เป็นแบบหนึ่งต่อหนึ่ง ในมุมมองออกแบบ 
รูปที่ 4-27 คำสั่งเพิ่มแสดงตารางรายการลงทะเบียน 
การสร้างฐานข้อมูล และสร้างตาราง (Table) ด้วยโปรแกรม Microsoft Access -9-
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง30206 
รูปที่ 4-28 เมื่อลากชื่อเขตข้อมูล registerID ข้ามตารางแล้ว ให้คลิกเลือกบังคับให้มี Referential 
Integrity 
รูปที่ 4-29 เส้นความสัมพันธ์เป็นแบบหนึ่งต่อหนึ่งของเขตข้อมูล registerID 
การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างตารางแบบหนึ่งต่อกลุ่มและกลุ่มต่อกลุ่ม 
ตารางที่มีเขตข้อมูลสัมพันธ์กันหนึ่งเขตข้อมูล ซึ่งก่อนสร้างความสัมพันธ์ต้องปิด ตาราง 
ทั้งหมดลงเสียก่อน แล้วไปที่แท็บเครื่องมือฐานข้อมูล คลิกปุ่มคำสั่งความสัมพันธ์ จะเปิด แท็บบริบท 
เครื่องมือการทำความสัมพันธ์ ที่แท็บออกแบบให้คลิกแสดงตารางที่ต้องการสร้าง ความสัมพันธ์ 
ออกมา แล้วดับเบิลคลิกเพิ่มชื่อตารางที่ต้องการสร้างความสัมพันธ์ จากนั้นจึงลากชื่อ เขตข้อมูลที่ 
ตรงกันของทั้งสองตาราง เมื่อแผ่นงานแก้ไขความสัมพันธ์ปรากฏขึ้นมาให้คลิกเลือก บังคับให้มี 
Referential Integrity 
รูปที่ 4-30 คำสั่งแสดงตารางทั้งหมด 6 ตาราง 
การสร้างฐานข้อมูล และสร้างตาราง (Table) ด้วยโปรแกรม Microsoft Access -10-
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง30206 
รูปที่ 4-31 เส้นความสัมพันธ์เป็นแบบหนึ่งต่อหนึ่ง แบบหนึ่งต่อกลุ่ม และแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (ตาราง 
รายการลงทะเบียน) 
การสร้างฐานข้อมูล และสร้างตาราง (Table) ด้วยโปรแกรม Microsoft Access -11-

Contenu connexe

Tendances (11)

Dbchapter4-1
Dbchapter4-1Dbchapter4-1
Dbchapter4-1
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจ
 
53011213099
5301121309953011213099
53011213099
 
53011213054
5301121305453011213054
53011213054
 
บท3
บท3บท3
บท3
 
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010 เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
 
บท4
บท4บท4
บท4
 
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Wordข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
 
Advanced excel 2010
Advanced excel 2010Advanced excel 2010
Advanced excel 2010
 
ใบงาน1ประมวลผลคำ
ใบงาน1ประมวลผลคำใบงาน1ประมวลผลคำ
ใบงาน1ประมวลผลคำ
 

Similaire à Dbchapter4-2

Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007Wee Jay
 
งานคอมกลุ่ม6
งานคอมกลุ่ม6งานคอมกลุ่ม6
งานคอมกลุ่ม6Aum Forfang
 
บทที่4การสร้างความสัมพันธ์และการสร้างแบบสอบถาม
บทที่4การสร้างความสัมพันธ์และการสร้างแบบสอบถามบทที่4การสร้างความสัมพันธ์และการสร้างแบบสอบถาม
บทที่4การสร้างความสัมพันธ์และการสร้างแบบสอบถามniwat50
 
ใบความรู้ Spreadsheets googledocs
ใบความรู้ Spreadsheets googledocsใบความรู้ Spreadsheets googledocs
ใบความรู้ Spreadsheets googledocsAiice Pimsupuk
 
2. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 42. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 4Chainarong Ngaosri
 
Lesson 5 การสร้าง form
Lesson 5 การสร้าง formLesson 5 การสร้าง form
Lesson 5 การสร้าง formErrorrrrr
 
การสร้างฟอร์ม
การสร้างฟอร์มการสร้างฟอร์ม
การสร้างฟอร์มkruthanyaporn
 
บทที่3การสร้างตารางฐานข้อมูล
บทที่3การสร้างตารางฐานข้อมูลบทที่3การสร้างตารางฐานข้อมูล
บทที่3การสร้างตารางฐานข้อมูลniwat50
 
Lesson 4 การสร้าง query
Lesson 4 การสร้าง queryLesson 4 การสร้าง query
Lesson 4 การสร้าง queryErrorrrrr
 
คู่มือการใช้โปรแกรมฐานข้อมูล
คู่มือการใช้โปรแกรมฐานข้อมูลคู่มือการใช้โปรแกรมฐานข้อมูล
คู่มือการใช้โปรแกรมฐานข้อมูลBuraparThailand
 
การสร้างตาราง
การสร้างตารางการสร้างตาราง
การสร้างตารางkruthanyaporn
 

Similaire à Dbchapter4-2 (20)

Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007
 
งานคอมกลุ่ม6
งานคอมกลุ่ม6งานคอมกลุ่ม6
งานคอมกลุ่ม6
 
บทที่4การสร้างความสัมพันธ์และการสร้างแบบสอบถาม
บทที่4การสร้างความสัมพันธ์และการสร้างแบบสอบถามบทที่4การสร้างความสัมพันธ์และการสร้างแบบสอบถาม
บทที่4การสร้างความสัมพันธ์และการสร้างแบบสอบถาม
 
บท4
บท4บท4
บท4
 
ใบความรู้ Spreadsheets googledocs
ใบความรู้ Spreadsheets googledocsใบความรู้ Spreadsheets googledocs
ใบความรู้ Spreadsheets googledocs
 
Microsoft office-excel-2010-บทที่-2
Microsoft office-excel-2010-บทที่-2Microsoft office-excel-2010-บทที่-2
Microsoft office-excel-2010-บทที่-2
 
2. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 42. ใบความรู้ที่ 4
2. ใบความรู้ที่ 4
 
Lesson 5 การสร้าง form
Lesson 5 การสร้าง formLesson 5 การสร้าง form
Lesson 5 การสร้าง form
 
การสร้างฟอร์ม
การสร้างฟอร์มการสร้างฟอร์ม
การสร้างฟอร์ม
 
บท3
บท3บท3
บท3
 
บทที่3การสร้างตารางฐานข้อมูล
บทที่3การสร้างตารางฐานข้อมูลบทที่3การสร้างตารางฐานข้อมูล
บทที่3การสร้างตารางฐานข้อมูล
 
Lesson 4 การสร้าง query
Lesson 4 การสร้าง queryLesson 4 การสร้าง query
Lesson 4 การสร้าง query
 
Query
QueryQuery
Query
 
คู่มือการใช้โปรแกรมฐานข้อมูล
คู่มือการใช้โปรแกรมฐานข้อมูลคู่มือการใช้โปรแกรมฐานข้อมูล
คู่มือการใช้โปรแกรมฐานข้อมูล
 
การสร้างตาราง
การสร้างตารางการสร้างตาราง
การสร้างตาราง
 
Table
TableTable
Table
 
Form
FormForm
Form
 
MS Access 2010 - Query
MS Access 2010 - QueryMS Access 2010 - Query
MS Access 2010 - Query
 
Vsd2013 06 db
Vsd2013 06 dbVsd2013 06 db
Vsd2013 06 db
 
Unit 15
Unit 15Unit 15
Unit 15
 

Dbchapter4-2

  • 1. เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง30206 ใบความรู้ที่ 4 .2 เรื่อง การสร้างตารางฐานข้อมูล สร้างตารางฐานข้อมูล (Table) รายละเอียดของแท็บคำสั่งสร้าง (Create) ในแถบเครื่องมือ Ribbon มีส่วนประกอบของ คำสั่งหลัก 4 กลุ่มคำสั่ง ดังนี้ 1. กลุ่มคำสั่งตาราง (Tables) ใช้ในการสร้างฐานข้อมูลในรูปแบบตาราง 2. กลุ่มคำสั่งฟอร์ม (Forms) ใช้ในการสร้างฐานข้อมูลในรูปแบบฟอร์ม 3. กลุ่มคำสั่งรายงาน (Reports) ใช้ในการสร้างรายงาน 4. กลุ่มคำสั่งอื่น ๆ (Other) ใช้ในการคิวรีข้อมูล และการสร้างแมโคร (Macros) รูปที่ 4-1 กลุ่มคำสั่ง 4 กลุ่มของแท็บสร้าง กลุ่มคำสั่งตาราง (Tables) มีคำสั่งอยู่ 4 คำสั่ง ดังนี้ 1. ตาราง (Table) ใช้ในการสร้างตารางใหม่ 2. ชุดคำสั่งแม่แบบตาราง (Table Templates) ใช้ในการสร้างตารางใหม่จากแม่แบบ 3. ชุดคำสั่งรายการ SharePoint (SharePoint Lists) เมื่อต้องการใช้ข้อมูลร่วมกับผู้ใช้ คน การสร้างฐานข้อมูล และสร้างตาราง (Table) ด้วยโปรแกรม Microsoft Access -1- อื่น 4. ออกแบบตาราง (Table Design) ใช้ในการสร้างตารางจากมุมมองการออกแบบ รูปที่ 4-2 กลุ่มคำสั่งสร้างตารางฐานข้อมูล 4 คำสั่งในแท็บสร้าง 1 การสร้างตาราง (Table) 1.1 เริ่มสร้างตารางใหม่ ที่แท็บสร้างกลุ่มคำสั่งตาราง คลิกปุ่มตาราง จะได้ตารางชื่อ Table1 ที่มา พร้อมกับฟิลด์ ID
  • 2. เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง30206 รูปที่ 4-3 หน้าต่างของตารางข้อมูลใหม่ 1.2 การเปลี่ยนชื่อฟิลด์หรือชื่อเขตข้อมูลหรือคอลัมน์ คลิกขวาที่ชื่อคอลัมน์ จะเปิดเมนูลัด ให้เลือกรายการเปลี่ยนชื่อคอลัมน์ โดย มีหลักการตั้งชื่อ การสร้างฐานข้อมูล และสร้างตาราง (Table) ด้วยโปรแกรม Microsoft Access -2- ดังนี้ 1. สามารถใช้ชื่อยาวได้ถึง 64 ตัวอักษร 2. ชื่อต้องไม่ขึ้นต้นด้วยช่องว่าง และไม่ควรมีช่องว่างระหว่างชื่อ 3. ควรใช้ชื่อที่เข้าใจได้ง่าย ชัดเจน และบ่งบอกถึงวัตถุประสงค์ของเขตข้อมูล 4. อาจเป็นตัวเลขและอักขระพิเศษประกอบด้วยก็ได้ ยกเว้นมหัพภาค (,) อัศเจรีย์ (!) อัญประกาศคู่ (“ ”) และวงเล็บ [ ] 5. ชื่อเขตข้อมูลต้องไม่ซ้ำกันในตารางเดียวกัน 6. ต้องไม่ซ้ำกับชื่อของคุณสมบัติหรือองค์ประกอบอื่น ๆ (คำสงวน) ที่ใช้ ในโปรแกรม รูปที่ 4-4 ส่วนประกอบของฐานข้อมูลในโปรแกรม Microsoft Access 2007 1.3 การพิมพ์ข้อมูล เพิ่มเขตข้อมูลใหม่ และการกำหนดชนิดข้อมูล ให้ดับเบิลคลิกที่ฟิลด์เพื่อเพิ่มเขตข้อมูลใหม่ แล้วตั้งชื่อฟิลด์ และให้คลิกที่ เซลล์แล้วพิมพ์ ข้อมูลลงไปในเซลล์ แต่ต้องกำหนดชนิดและรูปแบบให้กับข้อมูลเสียก่อน โดยใช้ แท็บคำสั่งตามบริบท คือ แถบเครื่องมือตาราง แท็บแผ่นข้อมูล (สีเหลือง) รูปที่ 4-5 แถบเครื่องมือตาราง แท็บแผ่นข้อมูล (สีเหลือง)
  • 3. เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง30206 รูปที่ 4-6 การกำหนดชนิดและรูปแบบให้กับข้อมูล 1.4 การบันทึกและปิดตาราง เมื่อต้องการบันทึกตารางใหม่ให้คลิกปุ่มบันทึกที่แถบเครื่องมือด่วน จะมี กรอบสนทนาชื่อ บันทึกเป็นถูกเปิดขึ้นมา ให้ตั้งชื่อตารางข้อมูล แล้วคลิกปุ่มตกลง รูปที่ 4-7 ข้อมูลเมื่อได้ป้อนเสร็จสิ้นแล้ว ต้องบันทึกเก็บไว้ในตารางวิชา หรือถ้าบังเอิญไปคลิกที่ปุ่มปิดตาราง โดยไม่ได้บันทึกก่อน จะปรากฏแผ่น เตือนว่าต้องการจะ บันทึกตารางข้อมูลนี้หรือไม่ ให้คลิกปุ่มใช่ จะมีกรอบสนทนาชื่อบันทึกเป็นถูก เปิดขึ้นมา ให้ตั้งชื่อ ตารางข้อมูล แล้วคลิกปุ่มตกลง รูปที่ 4-8 แผ่นคำเตือนเมื่อปิดตารางโดยไม่ได้บันทึกตารางก่อน 2 การสร้างตารางจากแม่แบบตาราง (Table Templates) 2.1 เริ่มสร้างตารางจากแม่แบบตาราง เมื่อคลิกปุ่มแม่แบบตารางแล้ว จะมีรายการย่อยให้เลือก คือ ที่ติดต่อ งาน ประเด็น เหตุการณ์ และสินทรัพย์ ให้เลือกรายการที่ติดต่อ จะได้ตารางใหม่ที่มีฟิลด์และกำหนด ชนิดและ รูปแบบข้อมูลมาให้เรียบร้อยแล้ว การสร้างฐานข้อมูล และสร้างตาราง (Table) ด้วยโปรแกรม Microsoft Access -3-
  • 4. เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง30206 รูปที่ 4-9 การสร้างตารางข้อมูลจากแม่แบบตาราง 2.2 การแก้ไขฟิลด์หรือคอลัมน์ ในกรณีที่แม่แบบตารางมีคอลัมน์ที่เราไม่ต้องการ สามารถลบคอลัมน์นั้นทิ้ง ได้ หรือสามารถ ที่จะเพิ่มเติมคอลัมน์ใหม่ได้ และสามารถแก้ไข แทรก เปลี่ยนชื่อ ตั้งความกว้าง ย้าย ซ่อน ตรึงคอลัมน์ ได้ รูปที่ 4-10 การแก้ไขคอลัมน์ ในที่นี้จะลบคอลัมน์บริษัท 3 การสร้างตารางจากคำสั่งออกแบบตาราง (Table Design) 3.1 การสร้างตารางจากมุมมองออกแบบ ตั้งชื่อเขตข้อมูล และกำหนดชนิด ข้อมูล เมื่อคลิกปุ่มออกแบบตารางแล้ว จะได้ตารางใหม่ในมุมมองออกแบบที่มีหัว ตารางเป็นชื่อเขต ข้อมูล (ฟิลด์)ชนิดข้อมูล และคำอธิบาย ส่วนด้านล่างเป็นคุณสมบัติของข้อมูลมี 2 แท็บ คือ ทั่วไปและ ค้นหา ซึ่งมุมมองออกแบบนี้ เราต้องตั้งชื่อเขตข้อมูลหรือฟิลด์เป็นแถวลงมา และต้องกำหนด คุณสมบัติของข้อมูลทางด้านล่างไปด้วยเลย ขนาดเขตข้อมูล (Field Size) ถ้าชนิดข้อมูลเป็นข้อความ (Text) ขนาดที่ตั้ง ไว้จะเป็น 50 แต่ ถ้าชนิดข้อมูลเป็นตัวเลข (Number) ขนาดที่ตั้งไว้จะเป็น Long Integer การสร้างฐานข้อมูล และสร้างตาราง (Table) ด้วยโปรแกรม Microsoft Access -4-
  • 5. เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง30206 ตารางที่ 4-2 ขนาดและค่าของข้อมูลแบบตัวเลขขึ้นอยู่กับแบบตัวเลขต่าง ๆ แบบตัวเลข ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ขนาด (ไบต์) Byte 0 255 1 Integer -32,768 32,767 2 Long Integer -2,147,483,648 2,147,483,648 4 Single -3.4 x 10 38 3.4 x 10 38 4 Double -1.797 x 10 308 1.797 x 10 308 8 Replication ID ทุกค่าของทุกแบบ ทุกค่าของทุกแบบ 16 นอกจากนี้ยังมีแบบ Decimal ซึ่งเก็บค่าทศนิยมได้ถูกต้องสูงสุด 18 ตำแหน่ง (รวมตัวเลขทั้ง การสร้างฐานข้อมูล และสร้างตาราง (Table) ด้วยโปรแกรม Microsoft Access -5- หน้าและหลังจุด) รูปที่ 4-11 การสร้างตารางด้วยคำสั่งออกแบบตารางและการตั้งชื่อและกำหนดชนิดข้อมูล รูปที่ 4-12 โปรแกรมไม่อนุญาตให้ใช้ชื่อคำสงวน Date
  • 6. เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง30206 รูปที่ 4-13 รูปแบบการป้อนข้อมูลวันที่/เวลา รูปที่ 4-14 คำเตือนในการลบแถวหรือเขตข้อมูล รูปที่ 4-15 การกำหนดคีย์หลักให้กับเขตข้อมูล รูปที่ 4-16 ถ้าไม่ได้กำหนดคีย์หลักให้กับเขตข้อมูล Access จะดำเนินการให้เมื่อคลิกใช่ การสร้างฐานข้อมูล และสร้างตาราง (Table) ด้วยโปรแกรม Microsoft Access -6-
  • 7. เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง30206 รูปที่ 4-17 การบันทึกและตั้งชื่อตาราง 3.3 การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างตาราง 1.1 การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างตารางแบบหนึ่งต่อหนึ่ง ตารางที่มีเขตข้อมูลสัมพันธ์กันหนึ่งเขตข้อมูล ซึ่งก่อนสร้างความสัมพันธ์ต้องปิด ตาราง ทั้งหมดลงเสียก่อน แล้วไปที่แท็บเครื่องมือฐานข้อมูล คลิกปุ่มคำสั่งความสัมพันธ์ จะเปิดแท็ บบริบท เครื่องมือการทำความสัมพันธ์ ที่แท็บออกแบบให้คลิกแสดงตารางที่ต้องการสร้าง ความสัมพันธ์ ออกมา แล้วดับเบิลคลิกเพิ่มชื่อตารางที่ต้องการสร้างความสัมพันธ์ จากนั้นจึงลากชื่อ เขตข้อมูลที่ ตรงกันของทั้งสองตาราง เมื่อแผ่นงานแก้ไขความสัมพันธ์ปรากฏขึ้นมาให้คลิกเลือก บังคับให้มี Referential Integrity ซึ่งหมายความว่า ระบบของกฎต่าง ๆ ที่ Access 2007 ใช้เพื่อให้ มั่นใจได้ว่า ความสัมพันธ์ระหว่างระเบียนในตารางที่สัมพันธ์กันนั้นถูกต้อง และจะต้องไม่ลบหรือ เปลี่ยนแปลง ข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันโดยบังเอิญ รูปที่ 4-21 เริ่มต้นสร้างความสัมพันธ์จากการคลิกปุ่มคำสั่งความสัมพันธ์ บนแท็บเครื่องมือฐานข้อมูล รูปที่ 4-22 คำสั่งแสดงตารางในแท็บออกแบบของแท็บเครื่องมือการทำความสัมพันธ์ การสร้างฐานข้อมูล และสร้างตาราง (Table) ด้วยโปรแกรม Microsoft Access -7-
  • 8. เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง30206 รูปที่ 4-23 คำสั่งเพิ่มแสดงตารางข้อมูลนักศึกษาและบัตรลงทะเบียน รูปที่ 4-24 เมื่อลากชื่อเขตข้อมูล studentID ข้ามตารางแล้ว ให้คลิกเลือกบังคับให้มี Referential Integrity การสร้างฐานข้อมูล และสร้างตาราง (Table) ด้วยโปรแกรม Microsoft Access -8-
  • 9. เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง30206 รูปที่ 4-25 เส้นความสัมพันธ์เป็นแบบหนึ่งต่อหนึ่งและการรายงานความสัมพันธ์ในมุมมองแสดงตัวอย่าง ก่อนพิมพ์ รูปที่ 4-26 เส้นความสัมพันธ์เป็นแบบหนึ่งต่อหนึ่ง ในมุมมองออกแบบ รูปที่ 4-27 คำสั่งเพิ่มแสดงตารางรายการลงทะเบียน การสร้างฐานข้อมูล และสร้างตาราง (Table) ด้วยโปรแกรม Microsoft Access -9-
  • 10. เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง30206 รูปที่ 4-28 เมื่อลากชื่อเขตข้อมูล registerID ข้ามตารางแล้ว ให้คลิกเลือกบังคับให้มี Referential Integrity รูปที่ 4-29 เส้นความสัมพันธ์เป็นแบบหนึ่งต่อหนึ่งของเขตข้อมูล registerID การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างตารางแบบหนึ่งต่อกลุ่มและกลุ่มต่อกลุ่ม ตารางที่มีเขตข้อมูลสัมพันธ์กันหนึ่งเขตข้อมูล ซึ่งก่อนสร้างความสัมพันธ์ต้องปิด ตาราง ทั้งหมดลงเสียก่อน แล้วไปที่แท็บเครื่องมือฐานข้อมูล คลิกปุ่มคำสั่งความสัมพันธ์ จะเปิด แท็บบริบท เครื่องมือการทำความสัมพันธ์ ที่แท็บออกแบบให้คลิกแสดงตารางที่ต้องการสร้าง ความสัมพันธ์ ออกมา แล้วดับเบิลคลิกเพิ่มชื่อตารางที่ต้องการสร้างความสัมพันธ์ จากนั้นจึงลากชื่อ เขตข้อมูลที่ ตรงกันของทั้งสองตาราง เมื่อแผ่นงานแก้ไขความสัมพันธ์ปรากฏขึ้นมาให้คลิกเลือก บังคับให้มี Referential Integrity รูปที่ 4-30 คำสั่งแสดงตารางทั้งหมด 6 ตาราง การสร้างฐานข้อมูล และสร้างตาราง (Table) ด้วยโปรแกรม Microsoft Access -10-
  • 11. เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง30206 รูปที่ 4-31 เส้นความสัมพันธ์เป็นแบบหนึ่งต่อหนึ่ง แบบหนึ่งต่อกลุ่ม และแบบกลุ่มต่อกลุ่ม (ตาราง รายการลงทะเบียน) การสร้างฐานข้อมูล และสร้างตาราง (Table) ด้วยโปรแกรม Microsoft Access -11-