SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
หน่วยที่ 9 เรื่อง
หน่วยที่ 9
ส่วนประกอบของรายได้ประชาชาติ
รายได้ประชาชาติของประเทศ จะมีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นหรือลดลง
ปัจจัยที่สาคัญมาจากเส้นอุปสงค์รวม (AggregateDemand:AD)
และผลรวมของค่าใช้จ่ายทั้งหมดภายในประเทศ ประกอบด้วย
C – การใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภคของประชาชาติ
I – ค่าใช้จ่ายเพื่อการลงทุน
G – ค่าใช้จ่ายของรัฐบาล
X – M – ผลสุทธิจากการค้าต่างประเทศ(ผลต่างมูลค่าสินค้าส่งออก-มูลค่าสินค้า
นาเข้า)
1.การใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภคของประชาชาติ
1.1ความโน้มเอียงเพื่อที่จะใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภค
1.2ความโน้มเอียงในการบริโภคเฉลี่ย
1.3ความโน้มเอียงในการการบริโภคหน่วยที่เพิ่ม
ตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่างรายได้และค่าใช้จ่าย
รายได้(y) ค่าใช้จ่าย
เพื่อการ
อุปโภค
บริโภค(c)
การเปลี่ยน
ของรายได้
การ
เปลี่ยนแปลง
ของ
ค่าใช้จ่าย
APC C/Y MPC C/Y MPS
1000 600 _ _ 0.6 _ _
2000 1200 1000 600 0.6 0.6 0.4
3000 1750 1000 550 0.58 0.55 0.45
4000 2000 1000 400 0.5 0.4 0.6
5000 2400 1000 300 0.48 0.3 0.7
2.การออม
การออม หมายถึง การนารายได้ที่เหลือจากการอุปโภคบริโภคมาเก็บไว้ใช้ในอนาคต
ผู้ทาการออม
2.1ประชาชนทั่วไป ทาการออมโดยการลดการบริโภค
2.2หน่วยผลิต ทาการออมโดยตั้งเป็นค่าเสื่อมและเว้นที่กันไว้จากกาไรไม่ปันผลให้ผู้ถือเงิน
2.3รัฐบาล ทาการออมโดยการค้างบประมาณรายรับสูงกว่ารายจ่าย
แทนค่า Y = รายได้
C = ค่าใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภคของประชาสัมพันธ์
S = การออม
ดังนั้น Y = C+S
S = Y-C
3.การใช้จ่ายเพื่อการลงทุน
การใช้จ่ายเพื่อการลงทุน หมายถึง การใช้จ่ายที่เกิดการเพิ่มของรายได้ การลงทุน
ประเภทนี้เรียกว่า การลงทุนที่แท้จริง
3.1การลงทุนโดยอิสระ เป็นการลงทุนที่ไม่ขึ้นกับรายได้ ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงของ
รายได้ประชาชาติจะไม่มีผลกับการลงทุน
3.2การลงทุนโดยจงใจ เป็นการลงทุนที่มีความสัมพันธ์กับรายได้ประชาชาติได้
โดยตรง คือ เมื่อรายได้ประชาชาติสูงขึ้น จูงใจให้มีการลงทุนเพิ่มขึ้น
4.การใช้จ่ายของรัฐบาล
ในระบบเศรษฐกิจปิด หรือ เศรษฐกิจที่ไม่มีการค้าระหว่างประเทศดังนั้น
การใช้จ่ายของรัฐบาลจะมีผลต่อรายได้ประชาชาติ เหมือนการใช้จ่ายเพื่อ
การบริโภค (C) และใช้จ่ายเพื่อการลงทุน (I) การใช้จ่ายของรัฐบาลถือ
เป็นเครื่องอย่างนึ่งในการดาเนินนโยบายการคลังของรัฐบาล เพื่อแก้ไข
ปัญหาเงินเพ้อ เงินฝืด ดังนั้นเส้นการจ่ายของรัฐบาล (G) จะขนานกับแกน
รายได้ประชาชาติเหมือนกับเส้นการลงทุนโดยอิสระ และจะเปลี่ยนแปลง
เพิ่มขึ้นหรือลดลงในลักษณะที่ขนานกับเส้น G เดิม
แบบทดสอบหน่อยที่ 9
1.การใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภคของประชาชาติ พิจารณาค่าใช้จ่ายอะไร
ก.การบริโภคเฉลี่ย ข.การใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภค
ค.การบริโภคหน่วยที่เพิ่ม ง.ถูกทุกข้อ
2.ความโน้มเอียงในการบริโภคเฉลี่ย คือ
ก. APC = C/Y ข. MPC =
ค. Y = C+S ง. S = -a + (1-b) y
3.Y หมายถึงอะไร
ก.การเปลี่ยนแปลงของรายได้ ข.การเปลี่ยนแปลงของค่าใช้จ่าย
ค.การเปลี่ยนแปลงของการออม ง.ผิดทุกข้อ
4.ผู้ที่ทาการออม ได้แก่ใคร
ก.ประชาชนทั่วไป ข.รัฐบาล
ค.หน่วยผลิต ง.ถูกทุกข้อ
5.การออม หมายถึง
ก.การนารายได้พิเศษที่รับออม ข.การนารายได้ที่เหลือจากการจ่ายออม
ค.การคืนกาไรจากส่วนปันผลออม ง.ถูกทุกข้อ
6.การลงทุนโดยอิสระ มีลักษณะอย่างไร
ก.เป็นการลงทุนที่ไม่ขึ้นกับรายได้ ข.เป็นการลงทุนที่เกี่ยวกับรายได้
ค.เป็นการลงทุนที่เกี่ยวกับปัยจัยภายนอก ง.การลงทุนที่เกี่ยวกับคู่แข่งขัน
7.ระบบเศรษฐกิจปิด มีลักษณะอย่างไร
ก.ไม่มีการค้ากับคู่ค้าในประเทศ ข.การค้าเฉพาะกับต่างประเทศ
ค.ไม่มีการค้ากับต่ายประเทศ ง.การค้าที่เลือกค้าบางประเทศ
7.ระบบเศรษฐกิจปิด มีลักษณะอย่างไร
ก.ไม่มีการค้ากับคู่ค้าในประเทศ ข.การค้าเฉพาะกับต่างประเทศ
ค.ไม่มีการค้ากับต่างประเทศ ง.การค้าที่เลือกค้าบางประเทศ
8.ฟังก์ชั่นการบริโภค อธิบายเกี่ยวกับเรื่องใด
ก.การบริโภคกับรายได้ ข.การบริโภคสินค้า
ค.การบริโภคชั้นสูง ง.ผิดทุกข้อ
9.สมการการออมเป็นอย่างไร
ก.Y=C+S ข.S=Y-C
ค.S=Y-(a+bY) ง.ถูกทุกข้อ
10.ความโน้มเอียงในการบริโภคหน่วยที่เพิ่ม คือ
ก.MPC= ข.
ค.Y=C+S ง.ผิดทุกข้อ

More Related Content

What's hot

บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
Ornkapat Bualom
 
Unit 4 costs production
Unit 4 costs productionUnit 4 costs production
Unit 4 costs production
savinee
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
Ornkapat Bualom
 
1)หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
1)หน่วยที่  1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt1)หน่วยที่  1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
1)หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
apple_clubx
 
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลบทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
Ornkapat Bualom
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hours
ตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hoursตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hours
ตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hours
Nattakorn Sunkdon
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
Janova Kknd
 

What's hot (20)

บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
 
Unit 4 costs production
Unit 4 costs productionUnit 4 costs production
Unit 4 costs production
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
 
Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลังMacro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
 
1)หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
1)หน่วยที่  1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt1)หน่วยที่  1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
1)หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
 
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติMacro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
 
ศศ
ศศศศ
ศศ
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณMacro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
 
Ratchakitcha1 56 บัญชียาหลักแห่งชาติ รวม
Ratchakitcha1 56 บัญชียาหลักแห่งชาติ รวมRatchakitcha1 56 บัญชียาหลักแห่งชาติ รวม
Ratchakitcha1 56 บัญชียาหลักแห่งชาติ รวม
 
บทที่ 3 การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชี
บทที่  3   การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชีบทที่  3   การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชี
บทที่ 3 การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชี
 
เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
 เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
 
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลบทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
 
Ch12
Ch12Ch12
Ch12
 
05 ma
05 ma05 ma
05 ma
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hours
ตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hoursตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hours
ตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hours
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
case study Cp
case study Cpcase study Cp
case study Cp
 

Viewers also liked

บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติบทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
Ornkapat Bualom
 
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
Orawonya Wbac
 
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
ธนิสร ยางคำ
 
การจัดการเกี่ยวกับอาชีพ
การจัดการเกี่ยวกับอาชีพการจัดการเกี่ยวกับอาชีพ
การจัดการเกี่ยวกับอาชีพ
Arunee Muangma
 

Viewers also liked (7)

การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2
 
Ch3 and 4
Ch3 and 4Ch3 and 4
Ch3 and 4
 
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติบทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
 
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
 
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
 
การจัดการเกี่ยวกับอาชีพ
การจัดการเกี่ยวกับอาชีพการจัดการเกี่ยวกับอาชีพ
การจัดการเกี่ยวกับอาชีพ
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
 

หน่วยที่ 9รายได้ประชาชาติ