SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  106
โครงการฝึกอบรมหลักสูตรมัคคุเทศก์อาสา 
วันที่ 1 – 4 กรกฎาคม 2557 
สังคมและวัฒนธรรมไทย
สังคม คือ บุคคลจำนวนหนึ่งที่มีควำมเกี่ยวข้อง 
สัมพันธ์กัน โดยมีวัตถุประสงค์และแบบแผน 
กฏเกณฑ์เพื่อประสำนคนเหล่ำนั้นไว้ด้วยกัน 
สังคมไทย คือ กลุ่มบุคคลที่เกิดในประเทศไทย 
ถือสัญชำติไทย หรือย้ำยมำอยู่ประเทศไทยอย่ำง 
ถำวร มีควำมเกี่ยวข้องปฏิสัมพันธ์กันภำยใต้ 
ระเบียบแบบแผนกฎเกณฑ์ทำงสังคม
ลกัษณะสงัคมไทย 
 มีการสืบทอดวัฒนธรรมต่อเน่อืงมาจนถึงปัจจุบัน แม้จะมี 
การปรับตัวให้เข้ากับกระแสวัฒนธรรมตะวันตก แต่สังคม 
ยังสืบทอดลักษณะที่สา คัญของวัฒนธรรมไทยไว้ได้ 
 ลักษณะที่สา คัญรวมถึง วัฒนธรรม ประเพณี จารีต วิถี 
ประชา มารยาทไทย ศิลปะไทย ค่านิยมของคนไทย
ลักษณะทางสังคมไทย 
เป็นสังคมเกษตรกรรม 
มีความผูกพันในระหว่างเครือญาติอย่างใกล้ชิด 
ยึดม่นัในพระพุทธศาสนา 
เทิดทูนพระมหากษัตริย์ 
ให้ความสา คัญในเรื่องอาวุโส
โครงสร้างสงัคมไทย 
 โครงสร้างทางสังคมแบบสถาบัน 
 โครงสร้างสังคมแบบสถาบันครอบครัวและระบบเครือญาติ 
 โครงสร้างสังคมแบบหลวมๆ 
 โครงสร้างสังคมแบบผ่อนปรน 
 โครงสร้างสังคมแบบสังคมเกษตร 
 โครงสร้างสังคมแบบชนชั้น
การจดัระเบยีบทางสงัคมไทย 
 วิถีประชา 
ทา กันจนเคยชินไม่ต้องมีศีลธรรมหรือกฎหมายบังคับ 
 กฎศีลธรรม 
หลักคา สอนที่ได้จากศาสนา ส่วนมากเป็นข้อห้าม 
 กฎหมาย 
บทลงโทษที่ตราไว้เป็นลายลักษณ์อักษร
เอกลักษณ์สังคมไทย 
เอกลักษณ์ คือลักษณะที่เห็นเด่นชัด และ 
มีความแตกต่างจากสังคมอื่นๆ 
เอกลักษณ์ของสังคมไทยมีอะไรบ้าง?
คา ตอบทเี่ป็นทางการ 
สังคมไทยรวมอา นาจไว้ที่ส่วนกลาง 
 สังคมไทยเป็นสังคมเจ้านาย 
มีปรัชญาชีวิตที่รักความสงบสุข 
ยึดม่นัในสถาบันพระมหากษัตริย์ 
 สังคมชาวบ้าน สนิทสนมกันเป็นส่วนตัว 
ชอบความหรูหราฟุ่มเฟือย
ค่านยิมไทย (แบบดงั้เดิม) 
 รักอิสระ 
ยกย่องให้ชายเป็นผู้นา 
 ประพฤติตนในศีลธรรม 
ยกย่องผู้มีความรู้ 
 กตัญญูกตเวที 
พึ่งพาอาศัยกัน 
นิยมเครื่องประดับ 
นิยมการทา บุญใหญ่โต 
ปลูกบ้านกว้างขวาง 
บนบานศาลกล่าว
ความเชอื่ในสงัคมไทย 
 ความเชื่อทางไสยศาสตร์ 
 ความเช่อืทางโหราศาสตร์ 
 ความเช่อืทางศาสนา 
 ความเชื่อเกี่ยวกับโชคลางและฤกษ์ยาม 
 ความเชื่อเกี่ยวกับความฝัน และการทา นายฝัน 
 ความเชื่อเกี่ยวกับพิธีกรรมต่างๆ 
 ความเชื่อเกี่ยวกับสิ่งที่ควรทา และไม่ควรทา
วฒันธรรม ประเพณีไทย 
วัฒนธรรมไทย คือ วิถีชีวิตความเป็นอยู่ของคน 
ไทยที่อยู่ร่วมกันด้วยการสื่อความหมาย ใช้ชีวิต 
ประกอบกิจกรรมและสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ ด้วย 
ลักษณะไทยๆ เป็นผลรวมของการสั่งสม 
ประสบการณ์ ความรู้ความสามารถ ภูมิธรรม 
และภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย ซ่งึถ่ายทอดต่อกัน 
มา
วฒันธรรมทางภาษา 
 ภาษาพูด ภาษาเขียน ตัวเลข 
 วรรณกรรม ร้อยแก้ว ร้อยกรอง 
 วรรณกรรมทา ให้ทราบถึงความร้สูึก อารมณ์ 
ความคิด ปรัชญา ค่านิยม สภาพเศรษฐกิจและ 
การเมือง 
 ภาษาท้องถิ่นแต่ละแห่งก็มีเอกลักษณ์ของตน 
 ควรสืบทอดและใช้ให้เหมาะสม
 วัฒนธรรมทางวัตถุ 
 งานหัตถกรรมต่างๆ ทัศนศิลป์ 
 วัฒนธรรมทางจิตใจ 
 ศาสนา และจริยธรรม 
 วัฒนธรรมทางจารีตขนบธรรมเนียมประเพณี 
 จารีตประเพณี ขนบประเพณี ธรรมเนียมประเพณี รัฐพิธีต่างๆ 
 วัฒนธรรมไทยทางสุนทรียะ 
 ประติมากรรม สถาปัตยกรรม ประณีตศิลป์ ศิลปะการแสดง
ทอี่ยู่อาศยั
การตั้งถิ่นฐาน 
 บ้านเรือนมิได้ตั้งอยู่โดดเดี่ยวชาวบ้าน 
ได้รวมตัวกันข้นึ จนเป็นหมู่บ้าน ตา บล 
และอา เภอต่างๆ 
 หมู่บ้านที่ตั้งอยู่ตามสภาพภูมศิาสตร์ มี 
ลักษณะต่างๆ กันไป ข้นึอยู่กับ 
สภาพแวดล้อมและสิ่งอา นวยความ 
สะดวกในการดารงชีวิต
หมู่บ้านริมน้า 
 ชาวบ้านที่มีอาชีพเพาะปลูก และ 
เลี้ยงสัตว์ ต้องอาศัยนา้เป็นปัจจัย 
ในการผลิต จึงสร้างบ้านเรือนเป็น 
หมู่ รวมตัวกันตามริมแม่นา้ลา 
คลอง และขยายไปตามความยาว 
ของลา นา้นั้น ชาวบ้านในภาคกลาง 
ชอบเรียกหมู่บ้านเช่นนี้ว่า "บาง"
หมู่บ้านริมทาง 
 เกิดขึ้นจากการสัญจรไปมาของผู้คน 
ที่ใช้ยานพาหนะทางบก ซึ่งจะมา 
หยุดพักตรงช่วงนั้น ชาวบ้านจะนา 
สินค้ามาแลกเปลี่ยนซื้อขายตามชุม 
ทางต่างๆ และสร้างบ้านเรือนขึ้น 
แล้วขยายไปตามความยาวของถนน 
จนเป็นแถวทั้งสองข้างทาง
หมู่บ้านดอน 
 เกิดขึ้นตามท้องไร่ท้องนา 
ที่อยู่ห่างจากลา น้า และริม 
ทาง ชาวบ้านได้สร้าง 
บ้านเรือนอยู่เป็นกลุ่มบน 
พื้นที่ที่สูงกว่านาและไร่ มี 
สภาพคล้ายเกาะ 
เรียกว่า "ดอน"
หมู่บ้านกระจัดกระจาย 
 หมู่บ้านประเภทนี้มีสร้างอยู่ห่างกัน 
อย่างโดดเดี่ยวเป็นหลังๆ ในที่นา 
สวน ไร่ และเชิงเขา มีทั้งแบบ 
กระจัดกระจายเป็นกลุ่มหลวมๆ 
และกระจัดกระจายเป็นแถว 
แล้วแต่สภาพพื้นที่
หมู่บ้านริมสันเขา 
 ท้องที่ใดมีสภาพภูมิศาสตร์เป็น 
ภูเขามากกว่าที่ราบ การทา ไร่ทา 
นาต้องทา เป็นแบบทดนา้ ระบบ 
เหมืองฝาย หมู่บ้านที่เกิดข้นึจึง 
จา เป็นต้องเกาะกลุ่ม เรียงราย 
อย่างเป็นระเบียบสอดคล้องไป 
ตามสันเขา มีทั้งแบบเป็นกลุ่ม 
และกระจัดกระจายเป็นแถว
ทอี่ยู่อาศยั 
 สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น หมายถึง 
สถาปัตยกรรมที่ถือกา เนิดมาจาก 
ภูมิปัญญาของชุมชน ที่ส่วนใหญ่ 
จะอยู่ตามภูมิภาคต่างๆ โดยขึ้นอยู่ 
กับอิทธิพลต่างๆ 
สภาพภูมิประเทศ อิทธิพลของเชื้อ 
ชาติชนเผ่า ความเชื่อและศาสนา 
สภาพทางเศรษฐกิจ วัสดุอุปกรณ์ 
ก่อสร้าง ความอยู่รอดของชีวิต
ที่อยู่อาศัยชั่วคราว 
 ถ้าเป็นการปลูกสร้างบ้านเรือน 
ชั่วคราว การตั้งบ้านเรือนแต่ละหลังก็ 
อาจทา ให้เสร็จและเข้าอาศัยได้ภายใน 
วันเดียว บ้านเรือนชนิดนี้มักทา ด้วยไม้ 
ขนาดเล็ก มีนา้หนักเบา เช่นไม้ไผ่ 
หรือไม้รวก 
 เรือนชนิดนี้เรียกว่า “เรือนเครื่อง 
ผูก”เพราะการต่อเชื่อมวัสดุก่อสร้าง 
ทุกส่วนนั้นใช้ตอก หวาย หรือปอ เป็น 
เครื่องผูกยึด
ที่อยู่อาศัยชั่วคราว 
 ใช้ตอก หวาย หรือปอ เป็นเครื่องผูกยึด 
เสาใช้ไม้ไผ่ลาใหญ่ หรือลาต้นไม้ขนาด 
เล็ก พื้นและฝาเรือนใช้ไม้ไผ่หรือต้น 
หมากผ่าซีกทุบให้เป็นแผ่นแบน 
เรียกว่า “ฟำก” หรือ“เฝือก” 
 คนไทยในอดีตปลูกเรือนประเภทน้เีป็นที่ 
อยู่อาศัย ความคงทนของอายุเรือนจึงมี 
ไม่มากและไม่เหลือหลักฐานให้ปรากฏใน 
ปัจจุบัน
เรือนไทยภาคกลาง 
 ลักษณะของเรือนไทยภาคกลางจะยก 
ใต้ถุนสูง โดยมีระเบียงและนอกชาน 
ทอดรับในลักษณะไล่ระดับ ลดหลั่น 
กันไป (ระดับละประมาณ 40 ซม.) 
 การลดระดับพื้นจะช่วยให้ลมพัดผ่าน 
จากใต้ถุนข้นึมาข้างบน อากาศไม่ร้อน 
 ตัวเรือนที่สูงทา ให้สามารถใช้พื้นที่ 
ด้านล่างเก็บเครื่องมือเครื่องใช้ในการ 
ทา กสิกรรม ป้องกันนา้ท่วม ป้องกัน 
สัตว์ร้าย หรือคนร้ายที่จะมาคุกคามคน 
ในบ้านในยามค่า คืน
เรือนไทยภาคกลาง
ลักษณะของเรือนไทยภาคกลาง (ต่อ) 
 หลังคาทรงจ่วัสูง ชายคาย่นืยาว ใช้ไม้ทา 
โครงและใช้จาก แฝกหรือกระเบ้อืงดินเผา 
เป็นวัสดุมุงหลังคา จึงต้องมุงตามระดับ 
องศาที่สูงชัน น้า ฝนจึงจะไหลได้เร็ว 
 หลังคาทรงสูงช่วยบรรเทาความร้อนที่จะ 
ถ่ายเทลงมายังตัวบ้าน ทา ให้ผู้อยู่อาศัย 
ได้รับความเย็นสบาย 
 นอกชานค่อนข้างกว้าง คิดเป็นร้อยละ 40 
ของพื้นที่ทั้งหมด ถ้ารวมพื้นที่ของระเบียง 
เข้าไปด้วย อาจถึงร้อยละ 60
ลักษณะของเรือนไทยภาคกลาง (ต่อ) 
 แบบดั้งเดิม ฝาเป็นแบบที่ 
เรียกว่า ‘ฝาปะกน’ 
 ทั่วไปเรือนไทยภาคกลางนิยม 
ปลูกเป็น 3 ห้อง และไม่นิยม 
ปลูกเรือน 4 ห้อง เพราะถือว่า 
เรือนอยู่สี่ห้องได้เดือดร้อน 
ราคาญ
แผนผงัเรือนไทยภาคกลาง
ประเภทของเรือนไทยภาคกลาง 
 เรือนเดี่ยว: เป็นเรือนสา หรับครอบครัวเดี่ยว ประกอบด้วย เรือนนอน 
1 หลัง เรือนครัว 1 หลัง ระเบียงยาว ตลอดเป็นตัวเชื่อมระหว่าง 
ห้องนอนกับชาน 
 เรือนหมู่: คือ เรือนปลูกอยู่ในที่เดียวกันมีหลายหลัง อาจมีนอกชาน 
ติดต่อกันได้ตลอด เรือนเหล่านี้หลังหนึ่งเป็นเรือนเดิมซ่งึพ่อแม่อยู่ 
นอกนั้นเป็นเรือนหลังย่อมกว่า เป็นที่อยู่ของบุตรสาวที่ออกเรือนไป 
แล้ว เรือนหลังเดิมเรียกว่า “หอกลาง” 
 ถ้าเรือนหมู่นี้เป็นของคหบดี มักมีเรือนโถงปลูกข้นึหลังหนึ่งที่ตรงกลาง 
ชาน สา หรับเอาไว้นั่งเล่นหรือใช้เป็นสถานที่เวลามีงาน เช่น สวดมนต์ 
เลี้ยงพระ
ชานเรือน
ห้องโถง หลงัคา
ซ้มุประตู
ความเชอื่ในการปลูกเรือน 
 ถ้าปลูกเรือนขวางตะวัน แต่ถ้าปลูก 
เรือนตามตะวันหรือหันข้างเรือนไป 
ทางทิศเหนือหรือทิศใต้ จะเป็น 
มงคลอยู่เย็นเป็นสุข 
 มีสาเหตุมาจากคติความเชื่อถือที่ว่า 
ทิศตะวันตกเป็นทิศที่ไม่ดีเพราะ 
เป็นทิศที่พระอาทิตย์ตกหรือลับดวง 
ไป คนไทยจึงถือว่าตะวันตกเป็นทิศ 
ของคนตาย
ความเชอื่ในการปลูกเรือน 
 ปลูกเรือนเป็นห้องคี่ ไม่นิยมห้องคู่ 
บันไดก็นิยมทา ขั้นบันไดคี่ 
 ห้ามปลูกเรือนขวางคูคลอง 
 ห้ามปลูกเรือนใกล้วัด 
 ห้ามพาดบันไดเรือนเป็นทางขึ้นลง 
ทางทิศตะวันตก และทิศตะวันออก
ฤกษ์ในการปลูกเรือน 
 นิยมปลูกเรือนในเดือนอ้าย (เงินทอง ข้าทาส บริวาร), ปลูกในเดือน 6 
(ข้าวของ ทรัพย์), ปลูกในเดือน 9 (ยศศักด์ิ ทรัพย์สิน), ปลูกในเดือน 12 
(เงินทอง บริวาร) 
 ไม่นิยมปลูกเรือนในเดือน 5 (ไม่สบาย), เดือน 7 (เสียทรัพย์สิน ของรัก), 
เดือน 8 (โจร ขโมย), เดือน 10 (ถูกหาเรื่อง อยู่ไม่เป็นสุข), เดือน 11 (ถูก 
กล่าวหา ไม่สบาย)
เรือนไทยภาคเหนือ 
 เป็นเรือนยกใต้ถุนสูง คล้ายเรือนไทย 
ภาคกลาง แต่มีลักษณะอื่นๆ แตกต่าง 
กันมาก เพราะดินฟ้าอากาศ 
ขนบธรรมเนียมประเพณี และ 
วัฒนธรรมที่ไม่เหมือนกัน 
 ฤดูหนาวหนาวกว่าภาคกลางมาก ทา 
ให้ลักษณะเฉพาะทางรูปทรงหลังคา 
และสัดส่วนของเรือนเต้ยีคลุ่มมากกว่า 
เจาะช่องหน้าต่างแคบๆ เล็กๆ กันลม 
หนาว
เรือนไทยภาคเหนอื 
 ลักษณะสภาพทางภูมิศาสตร์ ทา ให้เกิดการ 
ต้งัถิ่นฐานข้นึ 2 แบบคือ 
 ที่ดอนบนดอย หรือทิวเขา เป็นที่อยู่ของ 
กลุ่มชาติพันธ์ตุ่างๆ ทา การกสิกรรมแบบ 
ไร่เลื่อนลอย 
 บนที่ราบลุ่มเป็นบ่อเกิดของวัฒนธรรม 
ล้านนา 
 แบ่งตามประเภทออกได้หลายแบบ ตาม 
สภาพภูมิประเทศ เช่น เรือนไม้บ่วั(เรือน 
ชนบท เรือนเครื่องผูก) เรือนกาแล เรือนไม้ 
(เรือนเครื่องสับ)
เฮือนไม้บวั่(เรือนชนบท เรือนเครอื่งผูก) 
 นี้โครงสร้างของหลังคา ตง พื้น ใช้ 
ไม้ไผ่ ส่วนคานและเสานิยมใช้ไม้ 
เนื้อแข็ง 
 ฝาเป็นฝาไม้ไผ่สาน หลังคามุงแฝก 
หรือใบตองตึง นิยมใช้ตอกและ 
หวายเป็นตัวยึดส่วนต่างๆ เรือน 
เข้าด้วยกันด้วยวิธีผูกมัด 
 ถือว่าเป็นเรือนแบบด้งัเดิม เพราะ 
วิธีการก่อสร้างเป็นวิธีการที่เก่าแก่ 
ที่สุดอย่างหนึ่ง
เรือนกาแล 
 เป็นเรือนพักอำศัยของผู้มีอันจะ 
กิน ผู้นำ ชุมชนหรือบุคคลชั้นสูง 
ในสังคม ตั้งแต่ระดับชนบทจนถึง 
ระดับเมือง 
 สร้ำงด้วยไม้เนื้อแข็ง หรือไม้จริง 
ทั้งหมด เรียกตำมลักษณะของไม้ 
ป้ำนลม หลังคำส่วนปลำยยอดที่ 
ไขว้กัน ซึ่งชำวเหนอืเรียกส่วนที่ 
ไขว้กันน้วี่ำ”กำแล” 
 ส่วนใหญ่เป็นเรือนแฝด มีขนำด 
ตั้งแต่หน่งึห้องนอนขึ้นไป
เรือนกาแล 
 มีแผนผัง 2 แบบใหญ่ ๆ คือ แบบที่ 1 เอา 
บันไดขึ้นตรงติดชานนอกโดด ๆ แบบที่ 2 
เอาบันไดอิงชิดแนบฝาใต้ชายคาคลุม 
 เรือนกาแลเหลืออยู่น้อยมากในปัจจุบัน และที่ 
เหลือเก็บไว้ก็เพราะเหตุผลด้านอนุรักษ์เป็น 
ส่วนใหญ่ ส่วนเรือนกาแลที่ผู้คนใช้อยู่อาศัย 
กันจริงแทบจะหาไม่ได้แล้ว เพราะการ 
เปลี่ยนแปลงค่านิยมการปลูกสร้างบ้านเรือน
ผงัเรือนไทยภาคเหนอื
ความเป็นมาของกาแล 
 อาจจะเพี้ยนมาจากคา “กะแลง” ซึ่งมี 
ความหมายว่า ไขว้กันอยู่ 
 อาจจะรับอิทธิพลมาจากชาวพื้นเมือง 
เดิม คือ พวกลัวะ โดยแต่ละแห่งจะ 
แกะสลักลวดลายเฉพาะอย่างไป เป็น 
เครื่องหมายบอกถึงเชื้อตระกูล
องค์ประกอบสา คัญในเรือนแบบล้านนา 
 ข่วงบ้ำน เป็นลานดินกวาดเรียบกว้าง 
เป็นลานอเนกประสงค์ ใช้ทา กิจกรรม 
ต่างๆ 
 เติ๋น เป็นเนื้อที่กึ่งเปิดโล่ง ขนาด 
ใกล้เคียงกับห้องนอน ในกรณีของ 
เรือนชนบทเป็นเนื้อที่ใช้งานได้แบบ 
อเนกประสงค์ 
 ฮ้ำนน้ำ คือหิ้งสา หรับวางหม้อนา้ดื่ม 
พร้อมที่แขวนกระบวยหิ้งน้า หากหิ้ง 
น้า อยู่ที่ชานโล่งแจ้งเจ้าของบ้านจะทา 
หลังคาคลุมลักษณะคล้ายเรือนเล็กๆ
เตนิ๋
ชานเรือน
ฝาเรือนลาดเอียง (ออก)
เรือนไม้ (เรือนเครื่องสับ เรือนสมัยกลาง) 
 มีวัฒนาการมาจากเรือนกาแลผสมผสาน 
กับอิทธิพลจากภายนอกที่เริ่มเข้ามา 
 ช่างล้านนาได้รับระบบวิธีการปลูกสร้าง 
และค่านิยมจากภาคกลางในสมัยรัชกาลที่ 
5 รูปทรงภายนอกของเรือนจะผันแปรไป 
ตามสมัยนิยม โดยเฉพาะลักษณะฝา 
ระเบียบการเจาะช่องประตูหน้าต่าง การ 
ขึ้นทรงหลังคาที่มีระนาบซับซ้อน 
 เรือนที่มีความโดดเด่น คือเรือนทรงสะละ 
ไนหรือเรือนประเภทประดับลายฉลุไม้
ความเชื่อในการปลูกเรือน 
 มีหิ้งผีปู่ย่า หรือผีบรรพบุรุษใน 
ห้องนอน เชื่อว่าคอยคุ้มครอง 
บ้านเรือนอยู่ (แยกมาจาก ‘บ้านเกาะ 
ผ’ีหรือบ้านที่เป็นต้นตอผีบรรพ 
บุรุษ) ส่วนหิ้งพระอยู่ฝาเรือนฝั่ง 
ตะวันออก นอกห้องนอน 
 ห้องนอนห้ามให้คนที่ไม่ใช่เครือญาติ 
ล่วงลา้เข้าไป ถ้าล่วงลา้เข้าไปถือว่าผิด 
ผี ต้องทา พิธีเสียผี
เรือนไทยภาคใต้ 
 อากาศร้อน ฝนตกชุก 
ความชื้นสูง ในฤดูร้อน 
อากาศจะไม่ร้อนจัดเหมือน 
ภาคอื่น เน่อืงจากได้รับการ 
ถ่ายเทความร้อนจากลม 
ทะเลที่พัดผ่านอยู่ 
ตลอดเวลา
 มีอิทธิพลสา คัญต่อการกา หนด 
รูปแบบเรือนพักอาศัยของประชาชน 
ในภาคใต้ เช่น การออกแบบรูปทรง 
หลังคาให้คาให้ลาดเอียงมาก เพื่อ 
ระบายนา้ฝนจากหลังคา ชายคากว้าง 
มาก และการใช้ตอม่อหรือฐานเสา 
แทนที่จะฝังเสาเรือนลงไปในดิน เพื่อ 
ป้องกันปัญหาการผุกร่อนของเสาเม่อื 
ได้รับความชื้นจากพื้นมาก
เรือนไทยมุสลิมภาคใต้ 
 เป็นเรือนไม้ยกพื้นใต้ถุนสูง ซึ่งเป็นลักษณะร่วมทางสถาปัตยกรรมพื้นฐานของ 
ภูมิภาคศูนย์สูตรแล้ว แต่มีลักษณะรูปทรงหลังคาที่โดดเด่นเป็นพิเศษ 
 หลังคาปั้นหยา 
 หลังคามนิลา 
 หลังคาจั่ว 
 ลักษณะเด่นคือผลิตส่วนประกอบของเรือนก่อน แล้วค่อยเอามาประกอบกัน 
สามารถยกย้ายได้ เพราะไม่ได้ฝังเสาลงดิน ขยายตัวเรือนแล้วเชื่อมด้วยชานได้ 
 มีการกั้นห้องน้อย พื้นที่สาธารณะมากกว่า เพื่อประกอบพิธีทางศาสนา 
 ไม่นิยมตีฝ้าเพดาน เพราะภาคใต้มีอากาศร้อนและฝนตกชุก อากาศจึงอบอ้าว 
และมักจะเว้นช่องลมใต้หลังคาให้ลมโกรกอยู่ตลอดเวลา
เรือนไทยมุสลิมภาคใต้ 
 ชาวไทยมุสลิมจะแยกกิจกรรมของชายหญิงอย่างชัดเจน ตัวเรือนจึงนิยม 
มีบันไดไว้ทั้งทางข้นึหน้าบ้านและทางข้นึครัว โดยทั่วไปผู้ชายจะใช้บันได 
หน้า ส่วนผู้หญิงจะใช้บันไดหลังบ้าน 
 แยกส่วนที่อยู่อาศัย (แม่เรือน) ออกจากครัว โดยใช้เฉลียงเชื่อมต่อกัน 
ทั้งนี้เพราะเชื่อว่าบริเวณแม่เรือนเป็นบริเวณที่สะอาด และยังสามารถ 
ดับเพลิงได้สะดวกเม่อืเกิดเพลิงไหม้บริเวณครัว 
 ไม่นิยมสร้างรั้วกั้นบริเวณเรือน แต่จะปลูกไม้ผล เช่น มะพร้าว มะม่วง 
ขนุน กล้วย เพื่อให้ร่มเงา และเป็นการแสดงอาณาเขตของบ้านเรือน 
 การวางตัวเรือนจะหันหน้าเข้าหาเส้นทางสัญจรทั้งทางนา้และทางบก ซึ่ง 
สามารถรับลมบกและลมทะเลได้
ผังเรือนไทยภาคใต้
หลังคาปั้นหยา 
 เรียกอีกชื่อว่าหลังคาลีมะ คา ว่า “ลี 
มะ” แปลว่า “ห้า” หมายถึงหลังคา 
ที่นับสันหลังคาได้ 5 ล้น เป็น 
รูปทรงหลังคาที่ได้รับอิทธิพลจาก 
สถาปัตยกรรมแบบอาณานิคมของ 
ชาวตะวันตก 
 เป็นเอกลักษณ์ของภาคใต้ และพบ 
ได้ทั่วไปในจังหวัดภาคใต้ 
โดยเฉพาะในจังหวัดปัตตานี สงขลา
หลังคาจั่วมนิลา 
 เชื่อว่ำได้รับอิทธิพลมำจำกสถำปัตยกรรม 
ของชำวฮอลันดำ 
 หลังคำจั่วผสมหลังคำปั้นหยำ คือส่วนหน้ำ 
จั่วอยู่ข้ำงบนสุดแต่สร้ำงค่อนข้ำงเตี้ย 
ด้ำนล่ำงลำดเอียงลงมำ รับกับหลังคำด้ำน 
ยำวซึ่งลำดเอียงตลอด เป็นเรือนใต้ถุนสูง 
 ช่ำงไม้ยังแสดงฝีมือเชิงช่ำงในกำร 
ประดิษฐ์ลวดลำยด้วยกำรแกะสลักไม้ ปูน 
ปั้น เป็นลวดลำยประดับลวดลำยประดับ 
ยอดจั่ว และมีกำรเขียนลำยบนหน้ำจั่ว 
หรือตีไม้ให้มีลวดลำยเป็นแสงตะวัน
เรือนหลังคาจั่ว 
 ชุมชนที่ประกอบอาชีพกสิกรรมและ 
ประมงจะปลูกสร้างเรือนหลังคาทรง 
จ่วั ไม่มีการตกแต่งหน้าจ่วั 
 ชาวมุสลิมเรียกว่า “แมและ” เชื่อว่า 
ได้รับอิทธิพลจากเรือนไทยภาคกลาง 
ช่องลมใต้เพดานแต่งด้วยไม้ฉลุ 
สวยงาม ตัวเรือนใต้ถุนยกสูงมี 
ระเบียงและนอกชานลดหล่นักัน
ชานเชอื่มต่อกนั
ช่องลม
ความเชื่อเกี่ยวกับการปลูกเรือนในภาคใต้ 
 ความเชื่อเรื่องเสาภูมิ เสากลางด้านทิศเหนือเป็นเสาเอก ซ่งึเรียก 
ตามภาษาพื้นเมืองว่า “เตียงซือรี” 
เสาเอกของการปลูกเรือน เป็นที่อยู่ของเจ้าที่ ต้องใช้สาวพรหมจารี 
ยก ต้องดูฤกษ์ ปัจจุบันเปลี่ยนไปนิยมศาลพระภูมิแทน 
 ชาวมุสลิมเชื่อกันว่าควรหันหน้าบ้านไปทางทิศตะวันออก หลัง 
บ้านอยู่ทางทิศตะวันตก ไม่เช่นน้นัจะมีสุขพลานามัยไม่ดี 
 การสร้างเรือนของชาวมุสลิมจะไม่นิยมสร้างในข้างแรมของแต่ละ 
เดือน แต่จะนิยมสร้างข้างขึ้น
ความเชื่อเกี่ยวกับการปลูกเรือนในภาคใต้ 
 เรือนข้าวมีความสา คัญต่อครอบครัว เพราะเป็นเครื่องวัดฐานะความ 
ม่นัคงของเจ้าบ้าน การปลูกเรือนข้าวไว้ทางทิศตะวันออกหรือทิศใต้ 
ของเรือนอาศัย จะทา ให้มีข้าวอุดมสมบูรณ์ 
 เดือนที่ถือว่ามีสิริมงคลในการเริ่มก่อสร้างเรือนมีเพียง 6 เดือนเท่านั้น 
 เดือนซอฟาร์ เดือนยามาดิลอาวัล เดือนซะบัน เดือนรอมฎอน เดือน 
ซุลกีฮีเดาะห์ (นับตามจันทรคติ ฮิจญ์เราะห์ศักราช)
เรือนไทยภาคอีสาน 
 มักเลือกทา เลที่ตั้งอยู่ตามที่ราบลุ่มที่มีแม่น้า 
สา คัญไหลผ่าน เช่น แม่นา้โขง แม่นา้มูล แม่นา้ 
ชี รวมทั้งอาศัยอยู่ตามริมหนองบึง 
 ถ้าตอนใดนา้ท่วมถึงก็จะขยับไปตั้งอยู่บนโคก 
หรือเนินสูง ดังนั้นชื่อหมู่บ้านในภาคอีสานจึง 
มักข้นึต้นด้วยคา ว่า “โคก โนน หนอง” เป็น 
ส่วนใหญ่ 
 ลักษณะหมู่บ้านทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 
หรือภาคอีสานนั้น มักจะอยู่รวมกันเป็นกระจุก 
ส่วนที่ตั้งบ้านเรือนตามทางยาวของลา น้า นั้นมี 
น้อย ผิดกับทางภาคกลาง
ลักษณะโดยทั่วไป 
โดยทั่วไปเป็นเรือนลักษณะแบบ 
ครอบครัวเดี่ยว เมื่อครอบครัวขยาย 
ก็จะออกเรือนใหม่ 
 เป็นเรือนเครื่องสับหรือ 
เรือนไม้กระดานอาจจาแนก 
ได้เป็น 3 ชนิด คือ คือ 
เฮือนเกย เฮือนแฝด เฮือน 
โข่ง
เฮือนโข่ง
เฮือนเกย/ เฮือนไม่มีโข่ง
เฮือนแฝด
องค์ประกอบที่สา คัญ 
 เรือนนอนใหญ่ ส่วนมากจะมีความยาว 3 ช่วงเสา เรียกว่า “เรือนสาม 
ห้อง” ใต้ถุนโล่ง ชั้นบนแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ห้องเปิง ห้องพ่อ-แม่ 
ห้องนอนลูกสาว มีประตูเข้ามีฝากั้นมิดชิด 
 เรือนแฝด เป็นเรือนทรงจ่วัเช่นเดียวกับเรือนนอน อาจระดับเดียวกัน 
หรือลดระดับจากเรือนนอนก็ได้ 
 เรือนโข่ง มีลักษณะเป็นเรือนทรงจ่วัเช่นเดียวกับเรือนนอนใหญ่แต่ต่าง 
จากเรือนแฝดตรงที่โครงสร้างของเรือนโข่งจะแยกออกจากเรือนนอน 
โดยสิ้นเชิง 
 เกย (ชำนโล่งมีหลังคำคลุม) เป็นพื้นที่ลดระดับลงมาจากเรือนนอน 
ใหญ่ มักใช้เป็นที่รับแขก ที่รับประทานอาหาร
ผังเรือนไทยภาคอีสาน
ชานเรือน และเกย
ความเชื่อเกี่ยวกับการปลูกเรือนภาคอีสาน 
 ห้ามถมหรือปลูกเรือนทับบ่อน้า ที่ขุดไว้เช่นใช้ร่วมกันห้ามปลูกเรือนทับ 
ตอไม้หรือปลูกเรือนคร่อมจอมปลวก ทับหนองนา้เพราะจะนา ความล่ม 
จมมาสู่เจ้าของเรือน ถือเรื่องรสและกลิ่นของดินด้วย* 
 ต้องดูความสูงต่า ลาดเอียงไปทางทิศใดและจะเป็นมงคลหรือไม่พื้นดิน 
ใด สูงหนใต้ ต่า ทางเหนือ เรียกว่า “ไชยะเต ดีหลี” พื้นดินใด สูงหน 
ตะวันตก ต่า ทางตะวันออก เรียกว่า “ยสะศรีดีหลี” 
 ให้ด้านกว้างเรือนหันไปทางทิศตะวันออกและตะวันตก ให้ด้านยาวหัน 
ไปทางทิศเหนือและใต้ ซึ่งเป็นลักษณะที่เรียกว่า วางเรือนแบบ “ล่องตา 
เว็น” (ตามตะวัน)
ฤกษ์ยามในการปลูกเรือน 
 ควรปลูกเดือนอ้าย (ทา มาค้าข้นึ) เดือนยี่ (มีสิริ ป้องกันศัตร)ู เดือน 
4(มีลาภ สุขกาย สบายใจ) เดือน 6 (เงินไหลมาเทมา) เดือน 9 
(เจริญในอาชีพ) เดือน 12 (เงินทอง ข้าทาส บริวาร) 
 ไม่ควรปลูกเดือน 3(ศัตรูเบียดเบียน) 5(ทุกข์ร้อนไม่สบายใจ) 7 
(อันตรายต่อทรัพย์) 8 (เงินทองไม่เพิ่ม) 10 (ต้องโทษแผ่นดิน เจ็บ 
ไข้ได้ป่วย) 11 (ถูกหลอกให้เสียทรัพย์)
มารยาทไทย
มารยาทไทย 
 มารยาท คือ กิริยาอาการที่ควรประพฤติปฏิบัติกัน 
อย่างมีขอบเขต หรือมีระเบียบแบบแผนอันเหมาะสม 
แก่กาลเทศะของสังคม 
 Courtesy: a courteous or respectful or 
considerate act
“Courtesy is not just a social grace, but 
what separates civilised people from 
those who think only of themselves. It 
is an awareness that we share our 
world with others and as we like to be 
treated” 
Anonymous
มารยาทไทย 
 แบบแผนแห่งการประพฤติปฏิบัติแบบไทย ที่บรรพบรุุษ 
กา หนดให้เกิดขึ้น และใช้สืบทอดต่อกันมา และรวมไปถึง 
ความประพฤติด้านการควบคุมคา พูด และการกระทา ให้ 
อยู่ในกรอบที่สังคมไทยเห็นว่าเรียบร้อย ถูกต้อง 
 มารยาทไทยบ่งบอกถึงชนชั้นทางสังคมของบุคคลที่ปฏิบัติ 
ดังสุภาษิตที่ว่า “สา เนียงส่อภาษา กิริยาส่อสกุล”
การไหว้ 
วัฒนธรรมการทักทายในการพบปะ หรือลา 
จากกัน 
ระดับในการไหว้แตกต่างกันตามศักด์ิ 
ไหว้พระหัวแม่มือจรดคิ้ว ผู้ใหญ่จรดจมูก 
บุคคลทั่วไปจรดปลายคาง 
ควรรับไหว้ เพื่อไม่ให้คนไหว้ร้สูึกว่าถูก 
ละเลย
การกราบ 
 เป็นการแสดงความเคารพแก่พระรัตนตรัย บิดา มารดา ญาติ 
ผู้อาวุโส 
 กราบแบบเบญจางคประดิษฐ์อวัยวะทั้ง 5 จรดพื้น นั่งท่า 
เทพบุตร หรือเทพธิดา กราบสามครั้ง 
 กราบผู้ใหญ่ น่งัพับเพียบเก็บปลายเท้า ครั้งเดียวไม่แบมือ
การยืน 
ยืนทา ความเคารพ เมื่อ 
ผู้ใหญ่เดินเข้ามาใน 
งาน 
ยืนตรง เป็นการแสดง 
มารยาท ความสา รวม 
ประสานมือไว้ข้างหน้า 
แสดงถึงความเคารพ 
สา รวมสูงสุด
การเดิน 
 ไม่ควรเอะอะ หยอกล้อ แกว่งตัวมากเกินไป 
 ถ้าเดินเป็นหมู่คณะควรรอให้เดินไปพร้อมๆ กัน ไม่ควรเดิน 
ให้เร็วหรือช้ากว่าจนเกินไป 
 เม่อืเดินกับผู้ใหญ่ ต้องเดินอย่างสา รวม ทิ้งระยะห่าง 
พอสมควร 
 เดินผ่านคนที่นั่งอยู่ควรก้มตัวลงเล็กน้อย เว้นระยะห่างให้ 
พอเหมาะ ถ้าเป็นผู้มีอาวุโสมากๆ ควรคลานเข่าข้ามไป 
 คนไทยนิยมเดินค่อยๆ ไม่ลงส้น ลากเท้า
การนงั่ 
ถ้าต้องน่งัพื้น สตรีควรนั่งพับเพียบ บุรุษนั่งขัดสมาธิ ไม่ 
ควรเหยียดขา 
ถ้านั่งเก้าอี้ก็ไม่ควรนั่งไขว่ห้างต่อหน้าผู้ใหญ่ 
ไม่ควรเอาศอกต้งับนโต๊ะอาหาร 
ไม่ควรนั่งทับหมอน หนังสือ นั่งบนที่ไม่ควรนั่ง
การพูด 
 ประเทศไทยมีวิธีการพูดกับบุคคลระดับต่างๆ ต้องเลือกใช้ให้ถูกกาลเทศะ 
 ใช้คาศัพท์ให้ถูกต้อง 
 ไม่พูดสวน แย่งคู่สนทนาพูด พูดเสียงดัง กระโชกโฮกฮาก พูดปนหัวเราะ พูด 
ส่อเสียด 
 เป็นผู้ฟังที่ดีด้วย 
 ไม่พูดถึงสิ่งที่น่าเกลียด หรือโสโครกในที่ชุมชน 
 พูดขอบคุณ หรือขอโทษให้เป็นนิสัย แต่อย่าพูดบ่อยเกินไป 
 ไม่ควรเอ่ยชมผู้อื่นมากเกินไป และบ่อยเกินไป จะดูไม่น่าเชื่อถือ และจริงใจ 
 พูดให้ตรงประเด็น
การกิน 
กินอย่างสา รวม ไม่ควรมูมมาม กินมีเสียงดัง พูดใน 
ขณะที่มีอาหารอยู่ในปาก 
ไม่ควรใช้น้วิล้วงแคะเม่อือาหารติดฟัน ถ้าใช้ไม้จ้มิ 
ฟันก็ควรปิดปาก 
อิ่มแล้วไม่ควรเรอเสียงดัง 
ใช้ช้อนกลางในการตักอาหาร 
ในกรณีที่กินรวมกัน ไม่ควรเลือกตักแต่ของที่ตน 
ชอบ หรือเลือกของดีๆ มาไว้ในจานของตัวเอง
การถือเรอื่งศีรษะและเท้า 
 ศีรษะเป็นของสูง ไม่ควรจับ เล่น หรือทุบตี 
 เท้าเป็นของต่า ไม่ควรใช้เท้ายกช้อีะไร (ต่างจากวัฒนธรรม 
ตะวันตก) 
 ชาวตะวันตกใส่รองเท้าเข้าไปในบ้าน 
 ชาวตะวันออกไม่ใส่รองเท้าในบ้าน และถอดรองเท้าเม่อืเข้าไปใน 
สถานที่สา คัญทางศาสนา เพื่อแสดงความเคารพต่อบุคคลและ 
สถานที่ 
 ถอดรองเท้าเม่อืตักบาตร
การอวยพร 
ตามวัฒนธรรมไทย ไม่นิยมให้ผู้น้อย 
อวยพรผู้ใหญ่ เพราะถือว่าสิ่งที่ดี ที่ 
ประเสริฐ ผู้ใหญ่มีมากกว่า 
เวลาอวยพร ต้องอัญเชิญพระรัตนตรัย 
หรือสิ่งศักด์ิสิทธ์ิมาอวยพรแทนตน
การแต่งกาย
วิวัฒนาการการแต่งกายในสยามประเทศ 
สมัยทวำรำวดี 
(พุทธศตวรรษที่ 11- 
16)
เชียงแสน (พ.ศ ๑๖๖๑–๑๗๓๑)
เชียงแสน: กรมศิลปากรวาดจาลองจากผนังวัด จ. น่าน
สุโขทยั
อยุธยา
รัตนโกสินทร์ 
รัชกาลที่ 1-3
รชักาลที่4
รัชกาลที่ 5
รชักาลที่6
รัชกาลที่ 7
การแต่งกาย 
ปัจจุบันอาจจะผสมผสานกับเครื่องแต่งกายแบบ 
สากล หรือตะวันตกมากข้นึ 
 แต่ก็ต้องเลือกให้เหมาะสมแก่โอกาส เรียบร้อย 
สุภาพ 
ถือเป็นการให้เกียรติต่อสถานที่ เจ้าของงาน และ 
คนที่ไปด้วย
ชุดไทยพระราชนิยม 
ชุดไทยพระราชนิยมเป็นอีกทางเลือกหน่งึในการ 
แต่งกายของชาวไทยยุคปัจจุบันในงานพระราชพิธี 
หรือโอกาสอันเป็นพิธีการต่างๆ เพื่อแสดงออก 
ถึงความเป็นเอกลักษณ์ของชนชาติไทย
ทมี่า 
 ในโอกาสที่สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ได้โดย 
เสด็จพระบาทสมเด็จ-พระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดา เนิน 
เยือนยุโรปและสหรัฐอเมริกาอย่างเป็นทางการในปี 2503 
 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้มีการศึกษา 
ค้นคว้าเครื่องแต่งกายสมัยต่าง ๆ จากพระฉายาลักษณ์ของ 
เจ้านายฝ่ายใน และปรึกษาผู้เชี่ยวชาญทางประวัติศาสตร์ แต่ 
ให้มีการปรับปรุงพัฒนาให้เหมาะสมกับกาลสมัย
ชุดไทยพระราชนยิม 
เสื้อพระราชทานของบุรุษ
ชุดไทยเรือนต้น 
สา หรับใช้ในโอกาสที่เป็นพิธีการทั่วไป เช่น งานกฐิน งานทา บุญ 
ต่างๆ
ชุดไทยจติรลดา 
 สา หรับใช้ในพิธีกลางวัน ซิ่นใช้ 
ผ้าไหมเกลี้ยงมีเชิงหรือยกดอก 
ทั้งตัวผ้า ซิ่นยาวกรอม 
เท้า ป้ายหน้า ตัวเสื้อแขนยาว 
ผ่าอก คอกลมมีขอบตั้ง
ชุดไทยอัมรินทร์ 
 เสื้อแขนยาวคอกลม ต้งั ติดคอ นุ่ง 
กับ ผ้าซิ่นไหมยกทอง ตัดแบบซิ่น 
ป้าย 
 ชุดพิธีตอนค่า ใช้ยกไหมที่มีทอง 
แกมหรือยกทองทั้งตัว 
 ไปดูละครในตอนค่า และเฉพาะใน 
งานพระราชพิธีสวนสนามในวัน 
เฉลิมพระชนมพรรษา ต้องประดับ 
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
ชุดไทยบรมพมิาน 
 เสื้อเข้ารูปแขนกระบอก คอตั้งติดคอ ผ่า 
หลัง 
 ผ้านุ่งใช้ผ้าซิ่นไหมยกด้นิทอง ตัดแบบหน้า 
นางมีชายพก 
 สา หรับแต่งในงานราชพิธี หรือในงานเต็ม 
ยศหรือครึ่งยศ เช่น งานฉลองสมรส พิธี 
หลั่งนา้พระพุทธมนต์ 
 งานอุทยานสโมสรหรืองานพระราชทาน 
เลี้ยงอาหารอย่างเป็นทางการ
ชุดไทยจกัรี 
 ห่มสไบเฉียงแบบมีชายเดียว ปักด้นิทอง ชุด 
ไทยจักรีเดิมจะไม่ปัก นุ่งทับด้วยผ้าซิ่นไหม 
ยกด้นิทอง ตัดแบบหน้านางมีชายพก คาด 
เข็มขัด เครื่องประดับ สร้อยคอ รัดแขน 
สร้อยข้อมือ 
 สา หรับ แต่งในงาน เลี้ยงฉลองสมรส หรือ 
ราตรีสโมสรที่ไม่เป็นทางการ
ชุดไทยดุสิต 
 เสื้อคอกลมกว้างไม่มีแขน เข้ารูป 
ปักแต่งลายไทยด้วยลูกปัด ใช้กับ 
ผ้าซิ่นไหมยกด้นิทองลายดอกพิกุล 
ตัดแบบหน้านาง มีชายพก 
 ใช้ในงานกลางคืนแทนชุดราตรีแบบ 
ตะวันตก ตัวเสื้ออาจปักหรือตกแต่ง 
ให้เหมาะสมกับงานกลางคืน
ชุดไทยจกัรพรรดิ 
 ผ้าซ่นิไหมยกด้นิทอง มีเชิงสีทอง 
ตัดแบบ หน้านาง มีชายพก ห่ม 
ด้วยสไบปักลูกปัดสีทอง เป็น 
เครื่องแต่งกายสตรีสูงศักด์ิ สมัย 
โบราณ 
 ปัจจุบันใช้เป็นเครื่องแต่งกายชุด 
กลางคืนที่ หรูหรา หรือเจ้าสาวใช้ 
ในงานฉลองสมรส
ชุดไทยศิวาลยั 
 มีลักษณะเหมือนชุดไทยบรม 
พิมานแต่ว่า ห่มสไบ ปักทับ 
เสื้ออีกชั้นหนึ่งใช้ในงานพระ 
ราชพิธี หรืองานพิธีเต็มยศ 
เหมาะแก่การใช้แต่งช่วงที่มี 
อากาศเย็น

Contenu connexe

Tendances

หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม Terapong Piriyapan
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdfแผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdfssuser6a0d4f
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์koorimkhong
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
สังคมไทย
สังคมไทยสังคมไทย
สังคมไทยsiriwan
 
ชุดการเรียนรู้ เรื่อง-ทวิปอเมริกาเหนือ-ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่-3-โดยครูบุญฤท...
ชุดการเรียนรู้ เรื่อง-ทวิปอเมริกาเหนือ-ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่-3-โดยครูบุญฤท...ชุดการเรียนรู้ เรื่อง-ทวิปอเมริกาเหนือ-ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่-3-โดยครูบุญฤท...
ชุดการเรียนรู้ เรื่อง-ทวิปอเมริกาเหนือ-ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่-3-โดยครูบุญฤท...KruNistha Akkho
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงTa Lattapol
 
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทยกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทยwittawat_name
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)Pinutchaya Nakchumroon
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อKruthai Kidsdee
 
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพkrupeem
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการsupaporn2516mw
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนรากdnavaroj
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดA-NKR Ning
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548Physics Lek
 

Tendances (20)

หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdfแผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
สังคมไทย
สังคมไทยสังคมไทย
สังคมไทย
 
ชุดการเรียนรู้ เรื่อง-ทวิปอเมริกาเหนือ-ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่-3-โดยครูบุญฤท...
ชุดการเรียนรู้ เรื่อง-ทวิปอเมริกาเหนือ-ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่-3-โดยครูบุญฤท...ชุดการเรียนรู้ เรื่อง-ทวิปอเมริกาเหนือ-ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่-3-โดยครูบุญฤท...
ชุดการเรียนรู้ เรื่อง-ทวิปอเมริกาเหนือ-ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่-3-โดยครูบุญฤท...
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
ใบความรู้
ใบความรู้ใบความรู้
ใบความรู้
 
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทยกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
 
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนราก
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
 
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
 

Plus de Mint NutniCha

8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา
8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา
8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสาMint NutniCha
 
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่นMint NutniCha
 
Conference programme
Conference programme Conference programme
Conference programme Mint NutniCha
 
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการMint NutniCha
 
6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์Mint NutniCha
 
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยวMint NutniCha
 
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยวMint NutniCha
 
7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า
7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า
7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้าMint NutniCha
 
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยวMint NutniCha
 
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุนMint NutniCha
 
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชนMint NutniCha
 
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชนMint NutniCha
 
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการMint NutniCha
 
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์Mint NutniCha
 
8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา
8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา
8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสาMint NutniCha
 
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว 8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว Mint NutniCha
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวMint NutniCha
 
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยวMint NutniCha
 
4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยว
4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยว4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยว
4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยวMint NutniCha
 

Plus de Mint NutniCha (20)

Draft programme
Draft programmeDraft programme
Draft programme
 
8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา
8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา
8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา
 
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น
 
Conference programme
Conference programme Conference programme
Conference programme
 
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
 
6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
 
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
 
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
 
7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า
7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า
7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า
 
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว
 
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
 
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
 
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
 
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ
 
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
 
8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา
8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา
8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา
 
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว 8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
 
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
 
4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยว
4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยว4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยว
4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยว
 

8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทย

  • 1. โครงการฝึกอบรมหลักสูตรมัคคุเทศก์อาสา วันที่ 1 – 4 กรกฎาคม 2557 สังคมและวัฒนธรรมไทย
  • 2. สังคม คือ บุคคลจำนวนหนึ่งที่มีควำมเกี่ยวข้อง สัมพันธ์กัน โดยมีวัตถุประสงค์และแบบแผน กฏเกณฑ์เพื่อประสำนคนเหล่ำนั้นไว้ด้วยกัน สังคมไทย คือ กลุ่มบุคคลที่เกิดในประเทศไทย ถือสัญชำติไทย หรือย้ำยมำอยู่ประเทศไทยอย่ำง ถำวร มีควำมเกี่ยวข้องปฏิสัมพันธ์กันภำยใต้ ระเบียบแบบแผนกฎเกณฑ์ทำงสังคม
  • 3. ลกัษณะสงัคมไทย  มีการสืบทอดวัฒนธรรมต่อเน่อืงมาจนถึงปัจจุบัน แม้จะมี การปรับตัวให้เข้ากับกระแสวัฒนธรรมตะวันตก แต่สังคม ยังสืบทอดลักษณะที่สา คัญของวัฒนธรรมไทยไว้ได้  ลักษณะที่สา คัญรวมถึง วัฒนธรรม ประเพณี จารีต วิถี ประชา มารยาทไทย ศิลปะไทย ค่านิยมของคนไทย
  • 4. ลักษณะทางสังคมไทย เป็นสังคมเกษตรกรรม มีความผูกพันในระหว่างเครือญาติอย่างใกล้ชิด ยึดม่นัในพระพุทธศาสนา เทิดทูนพระมหากษัตริย์ ให้ความสา คัญในเรื่องอาวุโส
  • 5. โครงสร้างสงัคมไทย  โครงสร้างทางสังคมแบบสถาบัน  โครงสร้างสังคมแบบสถาบันครอบครัวและระบบเครือญาติ  โครงสร้างสังคมแบบหลวมๆ  โครงสร้างสังคมแบบผ่อนปรน  โครงสร้างสังคมแบบสังคมเกษตร  โครงสร้างสังคมแบบชนชั้น
  • 6. การจดัระเบยีบทางสงัคมไทย  วิถีประชา ทา กันจนเคยชินไม่ต้องมีศีลธรรมหรือกฎหมายบังคับ  กฎศีลธรรม หลักคา สอนที่ได้จากศาสนา ส่วนมากเป็นข้อห้าม  กฎหมาย บทลงโทษที่ตราไว้เป็นลายลักษณ์อักษร
  • 7. เอกลักษณ์สังคมไทย เอกลักษณ์ คือลักษณะที่เห็นเด่นชัด และ มีความแตกต่างจากสังคมอื่นๆ เอกลักษณ์ของสังคมไทยมีอะไรบ้าง?
  • 8. คา ตอบทเี่ป็นทางการ สังคมไทยรวมอา นาจไว้ที่ส่วนกลาง  สังคมไทยเป็นสังคมเจ้านาย มีปรัชญาชีวิตที่รักความสงบสุข ยึดม่นัในสถาบันพระมหากษัตริย์  สังคมชาวบ้าน สนิทสนมกันเป็นส่วนตัว ชอบความหรูหราฟุ่มเฟือย
  • 9. ค่านยิมไทย (แบบดงั้เดิม)  รักอิสระ ยกย่องให้ชายเป็นผู้นา  ประพฤติตนในศีลธรรม ยกย่องผู้มีความรู้  กตัญญูกตเวที พึ่งพาอาศัยกัน นิยมเครื่องประดับ นิยมการทา บุญใหญ่โต ปลูกบ้านกว้างขวาง บนบานศาลกล่าว
  • 10. ความเชอื่ในสงัคมไทย  ความเชื่อทางไสยศาสตร์  ความเช่อืทางโหราศาสตร์  ความเช่อืทางศาสนา  ความเชื่อเกี่ยวกับโชคลางและฤกษ์ยาม  ความเชื่อเกี่ยวกับความฝัน และการทา นายฝัน  ความเชื่อเกี่ยวกับพิธีกรรมต่างๆ  ความเชื่อเกี่ยวกับสิ่งที่ควรทา และไม่ควรทา
  • 11. วฒันธรรม ประเพณีไทย วัฒนธรรมไทย คือ วิถีชีวิตความเป็นอยู่ของคน ไทยที่อยู่ร่วมกันด้วยการสื่อความหมาย ใช้ชีวิต ประกอบกิจกรรมและสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ ด้วย ลักษณะไทยๆ เป็นผลรวมของการสั่งสม ประสบการณ์ ความรู้ความสามารถ ภูมิธรรม และภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย ซ่งึถ่ายทอดต่อกัน มา
  • 12. วฒันธรรมทางภาษา  ภาษาพูด ภาษาเขียน ตัวเลข  วรรณกรรม ร้อยแก้ว ร้อยกรอง  วรรณกรรมทา ให้ทราบถึงความร้สูึก อารมณ์ ความคิด ปรัชญา ค่านิยม สภาพเศรษฐกิจและ การเมือง  ภาษาท้องถิ่นแต่ละแห่งก็มีเอกลักษณ์ของตน  ควรสืบทอดและใช้ให้เหมาะสม
  • 13.  วัฒนธรรมทางวัตถุ  งานหัตถกรรมต่างๆ ทัศนศิลป์  วัฒนธรรมทางจิตใจ  ศาสนา และจริยธรรม  วัฒนธรรมทางจารีตขนบธรรมเนียมประเพณี  จารีตประเพณี ขนบประเพณี ธรรมเนียมประเพณี รัฐพิธีต่างๆ  วัฒนธรรมไทยทางสุนทรียะ  ประติมากรรม สถาปัตยกรรม ประณีตศิลป์ ศิลปะการแสดง
  • 15. การตั้งถิ่นฐาน  บ้านเรือนมิได้ตั้งอยู่โดดเดี่ยวชาวบ้าน ได้รวมตัวกันข้นึ จนเป็นหมู่บ้าน ตา บล และอา เภอต่างๆ  หมู่บ้านที่ตั้งอยู่ตามสภาพภูมศิาสตร์ มี ลักษณะต่างๆ กันไป ข้นึอยู่กับ สภาพแวดล้อมและสิ่งอา นวยความ สะดวกในการดารงชีวิต
  • 16. หมู่บ้านริมน้า  ชาวบ้านที่มีอาชีพเพาะปลูก และ เลี้ยงสัตว์ ต้องอาศัยนา้เป็นปัจจัย ในการผลิต จึงสร้างบ้านเรือนเป็น หมู่ รวมตัวกันตามริมแม่นา้ลา คลอง และขยายไปตามความยาว ของลา นา้นั้น ชาวบ้านในภาคกลาง ชอบเรียกหมู่บ้านเช่นนี้ว่า "บาง"
  • 17. หมู่บ้านริมทาง  เกิดขึ้นจากการสัญจรไปมาของผู้คน ที่ใช้ยานพาหนะทางบก ซึ่งจะมา หยุดพักตรงช่วงนั้น ชาวบ้านจะนา สินค้ามาแลกเปลี่ยนซื้อขายตามชุม ทางต่างๆ และสร้างบ้านเรือนขึ้น แล้วขยายไปตามความยาวของถนน จนเป็นแถวทั้งสองข้างทาง
  • 18. หมู่บ้านดอน  เกิดขึ้นตามท้องไร่ท้องนา ที่อยู่ห่างจากลา น้า และริม ทาง ชาวบ้านได้สร้าง บ้านเรือนอยู่เป็นกลุ่มบน พื้นที่ที่สูงกว่านาและไร่ มี สภาพคล้ายเกาะ เรียกว่า "ดอน"
  • 19. หมู่บ้านกระจัดกระจาย  หมู่บ้านประเภทนี้มีสร้างอยู่ห่างกัน อย่างโดดเดี่ยวเป็นหลังๆ ในที่นา สวน ไร่ และเชิงเขา มีทั้งแบบ กระจัดกระจายเป็นกลุ่มหลวมๆ และกระจัดกระจายเป็นแถว แล้วแต่สภาพพื้นที่
  • 20. หมู่บ้านริมสันเขา  ท้องที่ใดมีสภาพภูมิศาสตร์เป็น ภูเขามากกว่าที่ราบ การทา ไร่ทา นาต้องทา เป็นแบบทดนา้ ระบบ เหมืองฝาย หมู่บ้านที่เกิดข้นึจึง จา เป็นต้องเกาะกลุ่ม เรียงราย อย่างเป็นระเบียบสอดคล้องไป ตามสันเขา มีทั้งแบบเป็นกลุ่ม และกระจัดกระจายเป็นแถว
  • 21. ทอี่ยู่อาศยั  สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น หมายถึง สถาปัตยกรรมที่ถือกา เนิดมาจาก ภูมิปัญญาของชุมชน ที่ส่วนใหญ่ จะอยู่ตามภูมิภาคต่างๆ โดยขึ้นอยู่ กับอิทธิพลต่างๆ สภาพภูมิประเทศ อิทธิพลของเชื้อ ชาติชนเผ่า ความเชื่อและศาสนา สภาพทางเศรษฐกิจ วัสดุอุปกรณ์ ก่อสร้าง ความอยู่รอดของชีวิต
  • 22. ที่อยู่อาศัยชั่วคราว  ถ้าเป็นการปลูกสร้างบ้านเรือน ชั่วคราว การตั้งบ้านเรือนแต่ละหลังก็ อาจทา ให้เสร็จและเข้าอาศัยได้ภายใน วันเดียว บ้านเรือนชนิดนี้มักทา ด้วยไม้ ขนาดเล็ก มีนา้หนักเบา เช่นไม้ไผ่ หรือไม้รวก  เรือนชนิดนี้เรียกว่า “เรือนเครื่อง ผูก”เพราะการต่อเชื่อมวัสดุก่อสร้าง ทุกส่วนนั้นใช้ตอก หวาย หรือปอ เป็น เครื่องผูกยึด
  • 23. ที่อยู่อาศัยชั่วคราว  ใช้ตอก หวาย หรือปอ เป็นเครื่องผูกยึด เสาใช้ไม้ไผ่ลาใหญ่ หรือลาต้นไม้ขนาด เล็ก พื้นและฝาเรือนใช้ไม้ไผ่หรือต้น หมากผ่าซีกทุบให้เป็นแผ่นแบน เรียกว่า “ฟำก” หรือ“เฝือก”  คนไทยในอดีตปลูกเรือนประเภทน้เีป็นที่ อยู่อาศัย ความคงทนของอายุเรือนจึงมี ไม่มากและไม่เหลือหลักฐานให้ปรากฏใน ปัจจุบัน
  • 24. เรือนไทยภาคกลาง  ลักษณะของเรือนไทยภาคกลางจะยก ใต้ถุนสูง โดยมีระเบียงและนอกชาน ทอดรับในลักษณะไล่ระดับ ลดหลั่น กันไป (ระดับละประมาณ 40 ซม.)  การลดระดับพื้นจะช่วยให้ลมพัดผ่าน จากใต้ถุนข้นึมาข้างบน อากาศไม่ร้อน  ตัวเรือนที่สูงทา ให้สามารถใช้พื้นที่ ด้านล่างเก็บเครื่องมือเครื่องใช้ในการ ทา กสิกรรม ป้องกันนา้ท่วม ป้องกัน สัตว์ร้าย หรือคนร้ายที่จะมาคุกคามคน ในบ้านในยามค่า คืน
  • 26. ลักษณะของเรือนไทยภาคกลาง (ต่อ)  หลังคาทรงจ่วัสูง ชายคาย่นืยาว ใช้ไม้ทา โครงและใช้จาก แฝกหรือกระเบ้อืงดินเผา เป็นวัสดุมุงหลังคา จึงต้องมุงตามระดับ องศาที่สูงชัน น้า ฝนจึงจะไหลได้เร็ว  หลังคาทรงสูงช่วยบรรเทาความร้อนที่จะ ถ่ายเทลงมายังตัวบ้าน ทา ให้ผู้อยู่อาศัย ได้รับความเย็นสบาย  นอกชานค่อนข้างกว้าง คิดเป็นร้อยละ 40 ของพื้นที่ทั้งหมด ถ้ารวมพื้นที่ของระเบียง เข้าไปด้วย อาจถึงร้อยละ 60
  • 27. ลักษณะของเรือนไทยภาคกลาง (ต่อ)  แบบดั้งเดิม ฝาเป็นแบบที่ เรียกว่า ‘ฝาปะกน’  ทั่วไปเรือนไทยภาคกลางนิยม ปลูกเป็น 3 ห้อง และไม่นิยม ปลูกเรือน 4 ห้อง เพราะถือว่า เรือนอยู่สี่ห้องได้เดือดร้อน ราคาญ
  • 29. ประเภทของเรือนไทยภาคกลาง  เรือนเดี่ยว: เป็นเรือนสา หรับครอบครัวเดี่ยว ประกอบด้วย เรือนนอน 1 หลัง เรือนครัว 1 หลัง ระเบียงยาว ตลอดเป็นตัวเชื่อมระหว่าง ห้องนอนกับชาน  เรือนหมู่: คือ เรือนปลูกอยู่ในที่เดียวกันมีหลายหลัง อาจมีนอกชาน ติดต่อกันได้ตลอด เรือนเหล่านี้หลังหนึ่งเป็นเรือนเดิมซ่งึพ่อแม่อยู่ นอกนั้นเป็นเรือนหลังย่อมกว่า เป็นที่อยู่ของบุตรสาวที่ออกเรือนไป แล้ว เรือนหลังเดิมเรียกว่า “หอกลาง”  ถ้าเรือนหมู่นี้เป็นของคหบดี มักมีเรือนโถงปลูกข้นึหลังหนึ่งที่ตรงกลาง ชาน สา หรับเอาไว้นั่งเล่นหรือใช้เป็นสถานที่เวลามีงาน เช่น สวดมนต์ เลี้ยงพระ
  • 33. ความเชอื่ในการปลูกเรือน  ถ้าปลูกเรือนขวางตะวัน แต่ถ้าปลูก เรือนตามตะวันหรือหันข้างเรือนไป ทางทิศเหนือหรือทิศใต้ จะเป็น มงคลอยู่เย็นเป็นสุข  มีสาเหตุมาจากคติความเชื่อถือที่ว่า ทิศตะวันตกเป็นทิศที่ไม่ดีเพราะ เป็นทิศที่พระอาทิตย์ตกหรือลับดวง ไป คนไทยจึงถือว่าตะวันตกเป็นทิศ ของคนตาย
  • 34. ความเชอื่ในการปลูกเรือน  ปลูกเรือนเป็นห้องคี่ ไม่นิยมห้องคู่ บันไดก็นิยมทา ขั้นบันไดคี่  ห้ามปลูกเรือนขวางคูคลอง  ห้ามปลูกเรือนใกล้วัด  ห้ามพาดบันไดเรือนเป็นทางขึ้นลง ทางทิศตะวันตก และทิศตะวันออก
  • 35. ฤกษ์ในการปลูกเรือน  นิยมปลูกเรือนในเดือนอ้าย (เงินทอง ข้าทาส บริวาร), ปลูกในเดือน 6 (ข้าวของ ทรัพย์), ปลูกในเดือน 9 (ยศศักด์ิ ทรัพย์สิน), ปลูกในเดือน 12 (เงินทอง บริวาร)  ไม่นิยมปลูกเรือนในเดือน 5 (ไม่สบาย), เดือน 7 (เสียทรัพย์สิน ของรัก), เดือน 8 (โจร ขโมย), เดือน 10 (ถูกหาเรื่อง อยู่ไม่เป็นสุข), เดือน 11 (ถูก กล่าวหา ไม่สบาย)
  • 36. เรือนไทยภาคเหนือ  เป็นเรือนยกใต้ถุนสูง คล้ายเรือนไทย ภาคกลาง แต่มีลักษณะอื่นๆ แตกต่าง กันมาก เพราะดินฟ้าอากาศ ขนบธรรมเนียมประเพณี และ วัฒนธรรมที่ไม่เหมือนกัน  ฤดูหนาวหนาวกว่าภาคกลางมาก ทา ให้ลักษณะเฉพาะทางรูปทรงหลังคา และสัดส่วนของเรือนเต้ยีคลุ่มมากกว่า เจาะช่องหน้าต่างแคบๆ เล็กๆ กันลม หนาว
  • 37. เรือนไทยภาคเหนอื  ลักษณะสภาพทางภูมิศาสตร์ ทา ให้เกิดการ ต้งัถิ่นฐานข้นึ 2 แบบคือ  ที่ดอนบนดอย หรือทิวเขา เป็นที่อยู่ของ กลุ่มชาติพันธ์ตุ่างๆ ทา การกสิกรรมแบบ ไร่เลื่อนลอย  บนที่ราบลุ่มเป็นบ่อเกิดของวัฒนธรรม ล้านนา  แบ่งตามประเภทออกได้หลายแบบ ตาม สภาพภูมิประเทศ เช่น เรือนไม้บ่วั(เรือน ชนบท เรือนเครื่องผูก) เรือนกาแล เรือนไม้ (เรือนเครื่องสับ)
  • 38. เฮือนไม้บวั่(เรือนชนบท เรือนเครอื่งผูก)  นี้โครงสร้างของหลังคา ตง พื้น ใช้ ไม้ไผ่ ส่วนคานและเสานิยมใช้ไม้ เนื้อแข็ง  ฝาเป็นฝาไม้ไผ่สาน หลังคามุงแฝก หรือใบตองตึง นิยมใช้ตอกและ หวายเป็นตัวยึดส่วนต่างๆ เรือน เข้าด้วยกันด้วยวิธีผูกมัด  ถือว่าเป็นเรือนแบบด้งัเดิม เพราะ วิธีการก่อสร้างเป็นวิธีการที่เก่าแก่ ที่สุดอย่างหนึ่ง
  • 39. เรือนกาแล  เป็นเรือนพักอำศัยของผู้มีอันจะ กิน ผู้นำ ชุมชนหรือบุคคลชั้นสูง ในสังคม ตั้งแต่ระดับชนบทจนถึง ระดับเมือง  สร้ำงด้วยไม้เนื้อแข็ง หรือไม้จริง ทั้งหมด เรียกตำมลักษณะของไม้ ป้ำนลม หลังคำส่วนปลำยยอดที่ ไขว้กัน ซึ่งชำวเหนอืเรียกส่วนที่ ไขว้กันน้วี่ำ”กำแล”  ส่วนใหญ่เป็นเรือนแฝด มีขนำด ตั้งแต่หน่งึห้องนอนขึ้นไป
  • 40. เรือนกาแล  มีแผนผัง 2 แบบใหญ่ ๆ คือ แบบที่ 1 เอา บันไดขึ้นตรงติดชานนอกโดด ๆ แบบที่ 2 เอาบันไดอิงชิดแนบฝาใต้ชายคาคลุม  เรือนกาแลเหลืออยู่น้อยมากในปัจจุบัน และที่ เหลือเก็บไว้ก็เพราะเหตุผลด้านอนุรักษ์เป็น ส่วนใหญ่ ส่วนเรือนกาแลที่ผู้คนใช้อยู่อาศัย กันจริงแทบจะหาไม่ได้แล้ว เพราะการ เปลี่ยนแปลงค่านิยมการปลูกสร้างบ้านเรือน
  • 42. ความเป็นมาของกาแล  อาจจะเพี้ยนมาจากคา “กะแลง” ซึ่งมี ความหมายว่า ไขว้กันอยู่  อาจจะรับอิทธิพลมาจากชาวพื้นเมือง เดิม คือ พวกลัวะ โดยแต่ละแห่งจะ แกะสลักลวดลายเฉพาะอย่างไป เป็น เครื่องหมายบอกถึงเชื้อตระกูล
  • 43. องค์ประกอบสา คัญในเรือนแบบล้านนา  ข่วงบ้ำน เป็นลานดินกวาดเรียบกว้าง เป็นลานอเนกประสงค์ ใช้ทา กิจกรรม ต่างๆ  เติ๋น เป็นเนื้อที่กึ่งเปิดโล่ง ขนาด ใกล้เคียงกับห้องนอน ในกรณีของ เรือนชนบทเป็นเนื้อที่ใช้งานได้แบบ อเนกประสงค์  ฮ้ำนน้ำ คือหิ้งสา หรับวางหม้อนา้ดื่ม พร้อมที่แขวนกระบวยหิ้งน้า หากหิ้ง น้า อยู่ที่ชานโล่งแจ้งเจ้าของบ้านจะทา หลังคาคลุมลักษณะคล้ายเรือนเล็กๆ
  • 47. เรือนไม้ (เรือนเครื่องสับ เรือนสมัยกลาง)  มีวัฒนาการมาจากเรือนกาแลผสมผสาน กับอิทธิพลจากภายนอกที่เริ่มเข้ามา  ช่างล้านนาได้รับระบบวิธีการปลูกสร้าง และค่านิยมจากภาคกลางในสมัยรัชกาลที่ 5 รูปทรงภายนอกของเรือนจะผันแปรไป ตามสมัยนิยม โดยเฉพาะลักษณะฝา ระเบียบการเจาะช่องประตูหน้าต่าง การ ขึ้นทรงหลังคาที่มีระนาบซับซ้อน  เรือนที่มีความโดดเด่น คือเรือนทรงสะละ ไนหรือเรือนประเภทประดับลายฉลุไม้
  • 48. ความเชื่อในการปลูกเรือน  มีหิ้งผีปู่ย่า หรือผีบรรพบุรุษใน ห้องนอน เชื่อว่าคอยคุ้มครอง บ้านเรือนอยู่ (แยกมาจาก ‘บ้านเกาะ ผ’ีหรือบ้านที่เป็นต้นตอผีบรรพ บุรุษ) ส่วนหิ้งพระอยู่ฝาเรือนฝั่ง ตะวันออก นอกห้องนอน  ห้องนอนห้ามให้คนที่ไม่ใช่เครือญาติ ล่วงลา้เข้าไป ถ้าล่วงลา้เข้าไปถือว่าผิด ผี ต้องทา พิธีเสียผี
  • 49. เรือนไทยภาคใต้  อากาศร้อน ฝนตกชุก ความชื้นสูง ในฤดูร้อน อากาศจะไม่ร้อนจัดเหมือน ภาคอื่น เน่อืงจากได้รับการ ถ่ายเทความร้อนจากลม ทะเลที่พัดผ่านอยู่ ตลอดเวลา
  • 50.  มีอิทธิพลสา คัญต่อการกา หนด รูปแบบเรือนพักอาศัยของประชาชน ในภาคใต้ เช่น การออกแบบรูปทรง หลังคาให้คาให้ลาดเอียงมาก เพื่อ ระบายนา้ฝนจากหลังคา ชายคากว้าง มาก และการใช้ตอม่อหรือฐานเสา แทนที่จะฝังเสาเรือนลงไปในดิน เพื่อ ป้องกันปัญหาการผุกร่อนของเสาเม่อื ได้รับความชื้นจากพื้นมาก
  • 51. เรือนไทยมุสลิมภาคใต้  เป็นเรือนไม้ยกพื้นใต้ถุนสูง ซึ่งเป็นลักษณะร่วมทางสถาปัตยกรรมพื้นฐานของ ภูมิภาคศูนย์สูตรแล้ว แต่มีลักษณะรูปทรงหลังคาที่โดดเด่นเป็นพิเศษ  หลังคาปั้นหยา  หลังคามนิลา  หลังคาจั่ว  ลักษณะเด่นคือผลิตส่วนประกอบของเรือนก่อน แล้วค่อยเอามาประกอบกัน สามารถยกย้ายได้ เพราะไม่ได้ฝังเสาลงดิน ขยายตัวเรือนแล้วเชื่อมด้วยชานได้  มีการกั้นห้องน้อย พื้นที่สาธารณะมากกว่า เพื่อประกอบพิธีทางศาสนา  ไม่นิยมตีฝ้าเพดาน เพราะภาคใต้มีอากาศร้อนและฝนตกชุก อากาศจึงอบอ้าว และมักจะเว้นช่องลมใต้หลังคาให้ลมโกรกอยู่ตลอดเวลา
  • 52. เรือนไทยมุสลิมภาคใต้  ชาวไทยมุสลิมจะแยกกิจกรรมของชายหญิงอย่างชัดเจน ตัวเรือนจึงนิยม มีบันไดไว้ทั้งทางข้นึหน้าบ้านและทางข้นึครัว โดยทั่วไปผู้ชายจะใช้บันได หน้า ส่วนผู้หญิงจะใช้บันไดหลังบ้าน  แยกส่วนที่อยู่อาศัย (แม่เรือน) ออกจากครัว โดยใช้เฉลียงเชื่อมต่อกัน ทั้งนี้เพราะเชื่อว่าบริเวณแม่เรือนเป็นบริเวณที่สะอาด และยังสามารถ ดับเพลิงได้สะดวกเม่อืเกิดเพลิงไหม้บริเวณครัว  ไม่นิยมสร้างรั้วกั้นบริเวณเรือน แต่จะปลูกไม้ผล เช่น มะพร้าว มะม่วง ขนุน กล้วย เพื่อให้ร่มเงา และเป็นการแสดงอาณาเขตของบ้านเรือน  การวางตัวเรือนจะหันหน้าเข้าหาเส้นทางสัญจรทั้งทางนา้และทางบก ซึ่ง สามารถรับลมบกและลมทะเลได้
  • 54. หลังคาปั้นหยา  เรียกอีกชื่อว่าหลังคาลีมะ คา ว่า “ลี มะ” แปลว่า “ห้า” หมายถึงหลังคา ที่นับสันหลังคาได้ 5 ล้น เป็น รูปทรงหลังคาที่ได้รับอิทธิพลจาก สถาปัตยกรรมแบบอาณานิคมของ ชาวตะวันตก  เป็นเอกลักษณ์ของภาคใต้ และพบ ได้ทั่วไปในจังหวัดภาคใต้ โดยเฉพาะในจังหวัดปัตตานี สงขลา
  • 55. หลังคาจั่วมนิลา  เชื่อว่ำได้รับอิทธิพลมำจำกสถำปัตยกรรม ของชำวฮอลันดำ  หลังคำจั่วผสมหลังคำปั้นหยำ คือส่วนหน้ำ จั่วอยู่ข้ำงบนสุดแต่สร้ำงค่อนข้ำงเตี้ย ด้ำนล่ำงลำดเอียงลงมำ รับกับหลังคำด้ำน ยำวซึ่งลำดเอียงตลอด เป็นเรือนใต้ถุนสูง  ช่ำงไม้ยังแสดงฝีมือเชิงช่ำงในกำร ประดิษฐ์ลวดลำยด้วยกำรแกะสลักไม้ ปูน ปั้น เป็นลวดลำยประดับลวดลำยประดับ ยอดจั่ว และมีกำรเขียนลำยบนหน้ำจั่ว หรือตีไม้ให้มีลวดลำยเป็นแสงตะวัน
  • 56. เรือนหลังคาจั่ว  ชุมชนที่ประกอบอาชีพกสิกรรมและ ประมงจะปลูกสร้างเรือนหลังคาทรง จ่วั ไม่มีการตกแต่งหน้าจ่วั  ชาวมุสลิมเรียกว่า “แมและ” เชื่อว่า ได้รับอิทธิพลจากเรือนไทยภาคกลาง ช่องลมใต้เพดานแต่งด้วยไม้ฉลุ สวยงาม ตัวเรือนใต้ถุนยกสูงมี ระเบียงและนอกชานลดหล่นักัน
  • 59. ความเชื่อเกี่ยวกับการปลูกเรือนในภาคใต้  ความเชื่อเรื่องเสาภูมิ เสากลางด้านทิศเหนือเป็นเสาเอก ซ่งึเรียก ตามภาษาพื้นเมืองว่า “เตียงซือรี” เสาเอกของการปลูกเรือน เป็นที่อยู่ของเจ้าที่ ต้องใช้สาวพรหมจารี ยก ต้องดูฤกษ์ ปัจจุบันเปลี่ยนไปนิยมศาลพระภูมิแทน  ชาวมุสลิมเชื่อกันว่าควรหันหน้าบ้านไปทางทิศตะวันออก หลัง บ้านอยู่ทางทิศตะวันตก ไม่เช่นน้นัจะมีสุขพลานามัยไม่ดี  การสร้างเรือนของชาวมุสลิมจะไม่นิยมสร้างในข้างแรมของแต่ละ เดือน แต่จะนิยมสร้างข้างขึ้น
  • 60. ความเชื่อเกี่ยวกับการปลูกเรือนในภาคใต้  เรือนข้าวมีความสา คัญต่อครอบครัว เพราะเป็นเครื่องวัดฐานะความ ม่นัคงของเจ้าบ้าน การปลูกเรือนข้าวไว้ทางทิศตะวันออกหรือทิศใต้ ของเรือนอาศัย จะทา ให้มีข้าวอุดมสมบูรณ์  เดือนที่ถือว่ามีสิริมงคลในการเริ่มก่อสร้างเรือนมีเพียง 6 เดือนเท่านั้น  เดือนซอฟาร์ เดือนยามาดิลอาวัล เดือนซะบัน เดือนรอมฎอน เดือน ซุลกีฮีเดาะห์ (นับตามจันทรคติ ฮิจญ์เราะห์ศักราช)
  • 61. เรือนไทยภาคอีสาน  มักเลือกทา เลที่ตั้งอยู่ตามที่ราบลุ่มที่มีแม่น้า สา คัญไหลผ่าน เช่น แม่นา้โขง แม่นา้มูล แม่นา้ ชี รวมทั้งอาศัยอยู่ตามริมหนองบึง  ถ้าตอนใดนา้ท่วมถึงก็จะขยับไปตั้งอยู่บนโคก หรือเนินสูง ดังนั้นชื่อหมู่บ้านในภาคอีสานจึง มักข้นึต้นด้วยคา ว่า “โคก โนน หนอง” เป็น ส่วนใหญ่  ลักษณะหมู่บ้านทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือภาคอีสานนั้น มักจะอยู่รวมกันเป็นกระจุก ส่วนที่ตั้งบ้านเรือนตามทางยาวของลา น้า นั้นมี น้อย ผิดกับทางภาคกลาง
  • 62. ลักษณะโดยทั่วไป โดยทั่วไปเป็นเรือนลักษณะแบบ ครอบครัวเดี่ยว เมื่อครอบครัวขยาย ก็จะออกเรือนใหม่  เป็นเรือนเครื่องสับหรือ เรือนไม้กระดานอาจจาแนก ได้เป็น 3 ชนิด คือ คือ เฮือนเกย เฮือนแฝด เฮือน โข่ง
  • 66. องค์ประกอบที่สา คัญ  เรือนนอนใหญ่ ส่วนมากจะมีความยาว 3 ช่วงเสา เรียกว่า “เรือนสาม ห้อง” ใต้ถุนโล่ง ชั้นบนแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ห้องเปิง ห้องพ่อ-แม่ ห้องนอนลูกสาว มีประตูเข้ามีฝากั้นมิดชิด  เรือนแฝด เป็นเรือนทรงจ่วัเช่นเดียวกับเรือนนอน อาจระดับเดียวกัน หรือลดระดับจากเรือนนอนก็ได้  เรือนโข่ง มีลักษณะเป็นเรือนทรงจ่วัเช่นเดียวกับเรือนนอนใหญ่แต่ต่าง จากเรือนแฝดตรงที่โครงสร้างของเรือนโข่งจะแยกออกจากเรือนนอน โดยสิ้นเชิง  เกย (ชำนโล่งมีหลังคำคลุม) เป็นพื้นที่ลดระดับลงมาจากเรือนนอน ใหญ่ มักใช้เป็นที่รับแขก ที่รับประทานอาหาร
  • 69. ความเชื่อเกี่ยวกับการปลูกเรือนภาคอีสาน  ห้ามถมหรือปลูกเรือนทับบ่อน้า ที่ขุดไว้เช่นใช้ร่วมกันห้ามปลูกเรือนทับ ตอไม้หรือปลูกเรือนคร่อมจอมปลวก ทับหนองนา้เพราะจะนา ความล่ม จมมาสู่เจ้าของเรือน ถือเรื่องรสและกลิ่นของดินด้วย*  ต้องดูความสูงต่า ลาดเอียงไปทางทิศใดและจะเป็นมงคลหรือไม่พื้นดิน ใด สูงหนใต้ ต่า ทางเหนือ เรียกว่า “ไชยะเต ดีหลี” พื้นดินใด สูงหน ตะวันตก ต่า ทางตะวันออก เรียกว่า “ยสะศรีดีหลี”  ให้ด้านกว้างเรือนหันไปทางทิศตะวันออกและตะวันตก ให้ด้านยาวหัน ไปทางทิศเหนือและใต้ ซึ่งเป็นลักษณะที่เรียกว่า วางเรือนแบบ “ล่องตา เว็น” (ตามตะวัน)
  • 70. ฤกษ์ยามในการปลูกเรือน  ควรปลูกเดือนอ้าย (ทา มาค้าข้นึ) เดือนยี่ (มีสิริ ป้องกันศัตร)ู เดือน 4(มีลาภ สุขกาย สบายใจ) เดือน 6 (เงินไหลมาเทมา) เดือน 9 (เจริญในอาชีพ) เดือน 12 (เงินทอง ข้าทาส บริวาร)  ไม่ควรปลูกเดือน 3(ศัตรูเบียดเบียน) 5(ทุกข์ร้อนไม่สบายใจ) 7 (อันตรายต่อทรัพย์) 8 (เงินทองไม่เพิ่ม) 10 (ต้องโทษแผ่นดิน เจ็บ ไข้ได้ป่วย) 11 (ถูกหลอกให้เสียทรัพย์)
  • 72. มารยาทไทย  มารยาท คือ กิริยาอาการที่ควรประพฤติปฏิบัติกัน อย่างมีขอบเขต หรือมีระเบียบแบบแผนอันเหมาะสม แก่กาลเทศะของสังคม  Courtesy: a courteous or respectful or considerate act
  • 73. “Courtesy is not just a social grace, but what separates civilised people from those who think only of themselves. It is an awareness that we share our world with others and as we like to be treated” Anonymous
  • 74. มารยาทไทย  แบบแผนแห่งการประพฤติปฏิบัติแบบไทย ที่บรรพบรุุษ กา หนดให้เกิดขึ้น และใช้สืบทอดต่อกันมา และรวมไปถึง ความประพฤติด้านการควบคุมคา พูด และการกระทา ให้ อยู่ในกรอบที่สังคมไทยเห็นว่าเรียบร้อย ถูกต้อง  มารยาทไทยบ่งบอกถึงชนชั้นทางสังคมของบุคคลที่ปฏิบัติ ดังสุภาษิตที่ว่า “สา เนียงส่อภาษา กิริยาส่อสกุล”
  • 75. การไหว้ วัฒนธรรมการทักทายในการพบปะ หรือลา จากกัน ระดับในการไหว้แตกต่างกันตามศักด์ิ ไหว้พระหัวแม่มือจรดคิ้ว ผู้ใหญ่จรดจมูก บุคคลทั่วไปจรดปลายคาง ควรรับไหว้ เพื่อไม่ให้คนไหว้ร้สูึกว่าถูก ละเลย
  • 76. การกราบ  เป็นการแสดงความเคารพแก่พระรัตนตรัย บิดา มารดา ญาติ ผู้อาวุโส  กราบแบบเบญจางคประดิษฐ์อวัยวะทั้ง 5 จรดพื้น นั่งท่า เทพบุตร หรือเทพธิดา กราบสามครั้ง  กราบผู้ใหญ่ น่งัพับเพียบเก็บปลายเท้า ครั้งเดียวไม่แบมือ
  • 77. การยืน ยืนทา ความเคารพ เมื่อ ผู้ใหญ่เดินเข้ามาใน งาน ยืนตรง เป็นการแสดง มารยาท ความสา รวม ประสานมือไว้ข้างหน้า แสดงถึงความเคารพ สา รวมสูงสุด
  • 78. การเดิน  ไม่ควรเอะอะ หยอกล้อ แกว่งตัวมากเกินไป  ถ้าเดินเป็นหมู่คณะควรรอให้เดินไปพร้อมๆ กัน ไม่ควรเดิน ให้เร็วหรือช้ากว่าจนเกินไป  เม่อืเดินกับผู้ใหญ่ ต้องเดินอย่างสา รวม ทิ้งระยะห่าง พอสมควร  เดินผ่านคนที่นั่งอยู่ควรก้มตัวลงเล็กน้อย เว้นระยะห่างให้ พอเหมาะ ถ้าเป็นผู้มีอาวุโสมากๆ ควรคลานเข่าข้ามไป  คนไทยนิยมเดินค่อยๆ ไม่ลงส้น ลากเท้า
  • 79. การนงั่ ถ้าต้องน่งัพื้น สตรีควรนั่งพับเพียบ บุรุษนั่งขัดสมาธิ ไม่ ควรเหยียดขา ถ้านั่งเก้าอี้ก็ไม่ควรนั่งไขว่ห้างต่อหน้าผู้ใหญ่ ไม่ควรเอาศอกต้งับนโต๊ะอาหาร ไม่ควรนั่งทับหมอน หนังสือ นั่งบนที่ไม่ควรนั่ง
  • 80. การพูด  ประเทศไทยมีวิธีการพูดกับบุคคลระดับต่างๆ ต้องเลือกใช้ให้ถูกกาลเทศะ  ใช้คาศัพท์ให้ถูกต้อง  ไม่พูดสวน แย่งคู่สนทนาพูด พูดเสียงดัง กระโชกโฮกฮาก พูดปนหัวเราะ พูด ส่อเสียด  เป็นผู้ฟังที่ดีด้วย  ไม่พูดถึงสิ่งที่น่าเกลียด หรือโสโครกในที่ชุมชน  พูดขอบคุณ หรือขอโทษให้เป็นนิสัย แต่อย่าพูดบ่อยเกินไป  ไม่ควรเอ่ยชมผู้อื่นมากเกินไป และบ่อยเกินไป จะดูไม่น่าเชื่อถือ และจริงใจ  พูดให้ตรงประเด็น
  • 81. การกิน กินอย่างสา รวม ไม่ควรมูมมาม กินมีเสียงดัง พูดใน ขณะที่มีอาหารอยู่ในปาก ไม่ควรใช้น้วิล้วงแคะเม่อือาหารติดฟัน ถ้าใช้ไม้จ้มิ ฟันก็ควรปิดปาก อิ่มแล้วไม่ควรเรอเสียงดัง ใช้ช้อนกลางในการตักอาหาร ในกรณีที่กินรวมกัน ไม่ควรเลือกตักแต่ของที่ตน ชอบ หรือเลือกของดีๆ มาไว้ในจานของตัวเอง
  • 82. การถือเรอื่งศีรษะและเท้า  ศีรษะเป็นของสูง ไม่ควรจับ เล่น หรือทุบตี  เท้าเป็นของต่า ไม่ควรใช้เท้ายกช้อีะไร (ต่างจากวัฒนธรรม ตะวันตก)  ชาวตะวันตกใส่รองเท้าเข้าไปในบ้าน  ชาวตะวันออกไม่ใส่รองเท้าในบ้าน และถอดรองเท้าเม่อืเข้าไปใน สถานที่สา คัญทางศาสนา เพื่อแสดงความเคารพต่อบุคคลและ สถานที่  ถอดรองเท้าเม่อืตักบาตร
  • 83. การอวยพร ตามวัฒนธรรมไทย ไม่นิยมให้ผู้น้อย อวยพรผู้ใหญ่ เพราะถือว่าสิ่งที่ดี ที่ ประเสริฐ ผู้ใหญ่มีมากกว่า เวลาอวยพร ต้องอัญเชิญพระรัตนตรัย หรือสิ่งศักด์ิสิทธ์ิมาอวยพรแทนตน
  • 95. การแต่งกาย ปัจจุบันอาจจะผสมผสานกับเครื่องแต่งกายแบบ สากล หรือตะวันตกมากข้นึ  แต่ก็ต้องเลือกให้เหมาะสมแก่โอกาส เรียบร้อย สุภาพ ถือเป็นการให้เกียรติต่อสถานที่ เจ้าของงาน และ คนที่ไปด้วย
  • 96. ชุดไทยพระราชนิยม ชุดไทยพระราชนิยมเป็นอีกทางเลือกหน่งึในการ แต่งกายของชาวไทยยุคปัจจุบันในงานพระราชพิธี หรือโอกาสอันเป็นพิธีการต่างๆ เพื่อแสดงออก ถึงความเป็นเอกลักษณ์ของชนชาติไทย
  • 97. ทมี่า  ในโอกาสที่สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ได้โดย เสด็จพระบาทสมเด็จ-พระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดา เนิน เยือนยุโรปและสหรัฐอเมริกาอย่างเป็นทางการในปี 2503  ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้มีการศึกษา ค้นคว้าเครื่องแต่งกายสมัยต่าง ๆ จากพระฉายาลักษณ์ของ เจ้านายฝ่ายใน และปรึกษาผู้เชี่ยวชาญทางประวัติศาสตร์ แต่ ให้มีการปรับปรุงพัฒนาให้เหมาะสมกับกาลสมัย
  • 100. ชุดไทยจติรลดา  สา หรับใช้ในพิธีกลางวัน ซิ่นใช้ ผ้าไหมเกลี้ยงมีเชิงหรือยกดอก ทั้งตัวผ้า ซิ่นยาวกรอม เท้า ป้ายหน้า ตัวเสื้อแขนยาว ผ่าอก คอกลมมีขอบตั้ง
  • 101. ชุดไทยอัมรินทร์  เสื้อแขนยาวคอกลม ต้งั ติดคอ นุ่ง กับ ผ้าซิ่นไหมยกทอง ตัดแบบซิ่น ป้าย  ชุดพิธีตอนค่า ใช้ยกไหมที่มีทอง แกมหรือยกทองทั้งตัว  ไปดูละครในตอนค่า และเฉพาะใน งานพระราชพิธีสวนสนามในวัน เฉลิมพระชนมพรรษา ต้องประดับ เครื่องราชอิสริยาภรณ์
  • 102. ชุดไทยบรมพมิาน  เสื้อเข้ารูปแขนกระบอก คอตั้งติดคอ ผ่า หลัง  ผ้านุ่งใช้ผ้าซิ่นไหมยกด้นิทอง ตัดแบบหน้า นางมีชายพก  สา หรับแต่งในงานราชพิธี หรือในงานเต็ม ยศหรือครึ่งยศ เช่น งานฉลองสมรส พิธี หลั่งนา้พระพุทธมนต์  งานอุทยานสโมสรหรืองานพระราชทาน เลี้ยงอาหารอย่างเป็นทางการ
  • 103. ชุดไทยจกัรี  ห่มสไบเฉียงแบบมีชายเดียว ปักด้นิทอง ชุด ไทยจักรีเดิมจะไม่ปัก นุ่งทับด้วยผ้าซิ่นไหม ยกด้นิทอง ตัดแบบหน้านางมีชายพก คาด เข็มขัด เครื่องประดับ สร้อยคอ รัดแขน สร้อยข้อมือ  สา หรับ แต่งในงาน เลี้ยงฉลองสมรส หรือ ราตรีสโมสรที่ไม่เป็นทางการ
  • 104. ชุดไทยดุสิต  เสื้อคอกลมกว้างไม่มีแขน เข้ารูป ปักแต่งลายไทยด้วยลูกปัด ใช้กับ ผ้าซิ่นไหมยกด้นิทองลายดอกพิกุล ตัดแบบหน้านาง มีชายพก  ใช้ในงานกลางคืนแทนชุดราตรีแบบ ตะวันตก ตัวเสื้ออาจปักหรือตกแต่ง ให้เหมาะสมกับงานกลางคืน
  • 105. ชุดไทยจกัรพรรดิ  ผ้าซ่นิไหมยกด้นิทอง มีเชิงสีทอง ตัดแบบ หน้านาง มีชายพก ห่ม ด้วยสไบปักลูกปัดสีทอง เป็น เครื่องแต่งกายสตรีสูงศักด์ิ สมัย โบราณ  ปัจจุบันใช้เป็นเครื่องแต่งกายชุด กลางคืนที่ หรูหรา หรือเจ้าสาวใช้ ในงานฉลองสมรส
  • 106. ชุดไทยศิวาลยั  มีลักษณะเหมือนชุดไทยบรม พิมานแต่ว่า ห่มสไบ ปักทับ เสื้ออีกชั้นหนึ่งใช้ในงานพระ ราชพิธี หรืองานพิธีเต็มยศ เหมาะแก่การใช้แต่งช่วงที่มี อากาศเย็น