SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
Dhammaratana Journal
Vol.2 No.8 Oct.-Dec. 2013 ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๘ เดือนต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๖
วารสารธรรมรัตน์
10
พ.ย.
2556
ขอเชิญพุทธศาสนิกชนร่วมทำ�บุญ
ทอดกฐินสามัคคี
ณ วัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก
- สวดมนต์ ภาวนา
- ตักบาตรพระ 6 รูป
- ฟังเทศน์
- ร่วมทอดกฐินสามัคคี
ข อ เ ช ิ ญ ร ่ ว ม . . .
Join us to celebrate
Kathina Ceremony
(Robe Offerring)
Sunday, November 10, 2013
All Members are welcome
วันออกพรรษา
The End of Buddhist Lent
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana
C O N T E N T S
ส า ร บ ั ญ
OBJECTIVES
	 - To serve as a Buddhism
promotion center in the U.S.
	 - To serve as a meditation
center in Pittsburgh
	 - To promote virtues, Bud-
dhist culture and traditions
	 - To be a center of all Bud-
dhists, regardless of nationalities
วัตถุประสงค์
	 - เพื่อเป็นศูนย์กลางการเผยแผ่
พระพุทธศาสนาในสหรัฐอเมริกา
	 - เพื่อเป็นศูนย์ปฏิบัติวิปัสสนา
กรรมฐานประจำ�เมืองพิทส์เบอร์ก
	 - เพื่อศูนย์ส่งเสริม ศีลธรรม
วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณีที่
ดีงามของชาวพุทธ
	 - เพื่อเป็นศูนย์ฝึกอบรมเสริม
ความรู้พระธรรมทูตสายต่างประเทศ
	 - เพื่อเป็นศูนย์รวมใจของชาว
พุทธโดยไม่จำ�กัดเชื้อชาติ
บทบรรณาธิการ	
พระพุทธพจน์ - The Buddha's Words				 1
reflection on the cause and its cessation			 2
หลักชีวิต หลักชาวพุทธ					 6
หลักในการนับถือศาสนา					 14
ออกกำ�ลังกายวันละนิด เพื่อสุขภาพที่ดี			 16
สรุปข่าวเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม-กันยายน			 19
รายรับ-รายจ่ายเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม-กันยายน		 22
ญาติโยมผู้ถวายภัตตาหารเพลประจำ�วันต่างๆ			 31
ภาพกิจกรรมต่างๆ - Activities					 32-35
The End of Buddhist Lent					 36
กำ�หนดการทำ�บุญออกพรรษา					37
กิจกรรมทำ�บุญประจำ�ปี 2556 - Religious Ceremony 2013	38
Activities of BMCP						 39
วัดป่าธรรมรัตน์
ก้าวย่างแห่งการฝึกตน
คติธรรมประจำ�วัด
สติมโต สทา ภทฺทํ
คนมีสติ เท่ากับมีสิ่งนำ�โชคตลอดเวลา
The mind is very hard to check
and swift, it falls on what it wants.
The training of the mind is good,
a mind so tamed brings happiness.
เจ้าของ : วัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก
ที่ปรึกษา :
	 พระวิเทศธรรมรังษี(หลวงตาชี)
	 พระราชพุทธิวิเทศ
	 พระครูปริยัติธรรมาภิราม
	 พระครูสิริอรรถวิเทศ
	 พระครูสังฆรักษ์อำ�พล สุธีโร
	 คณะสงฆ์วัดไทยกรุงวอชิงตัน,ดีซี
	 คณะสงฆ์วัดป่าสันติธรรม
กองบรรณาธิการ :
	 พระมหาสายันต์ อคฺควณฺโณ
	 พระมหาปิยะ อุตฺตมปญฺโญ
	 และอุบาสก-อุบาสิกา
รูปเล่ม/รูปภาพ
	 พระมหาปิยะ อุตฺตมปญฺโญ
Dhammaratana Journal is published by
Wat Padhammaratana
The Buddhist Meditation Center of Pittsburgh
5411 Glenwood Ave., Pittsburgh, PA 15207
Tel(412)521-5095
E-mail : bmcpitts@hotmail.com
bmcpitts@yahoo.com
Homepage : www.bmcpitts.org
www.facebook.com/bmcpitts
www.youtube.com/bmcpitts
ธรรมรัตน์-Dhammaratana
วารสารธรรมะวัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก
Vol.2 No.8 Oct.-Dec. 2013 ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๘ เดือนต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๖
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana1
พระพุทธพจน์
The Buddha's Words
	
		หีนํ ธมฺมํ น เสเวยฺย	 ปมาเทน น สํวเส
	 มิจฺฉาทิฏฺฐึ น เสเวยฺย		 น สิยา โลกวฑฺฒโน ฯ๑๖๗ฯ
			 อย่าประพฤติสิ่งเลวทราม
		 อย่าอยู่ด้วยความประมาท
		 อย่ายึดถือความเห็นผิด
		 อย่าทำ�ตนเป็นคนรกโลก
			 Do not follow mean things.
		 Do not live in heedlessness.
		 Do not embrace false views,
		 Do not be a 'world-upholder'.
บทบรรณาธิการ
			อจฺจยนฺติ อโหรตฺตา 	 ชีวิตํ อุปรุชฺฌติ
		 อายุ ขีวติ มจฺจานํ 		 กุนฺนทีนํว โอทกํ.
			 วันคืนย่อมล่วงไป ชีวิตย่อมหมดเข้าไป
		 อายุของสัตว์ย่อมสิ้นไป เหมือนน้ำ�แห่งแม่น้ำ�น้อย ๆ ฉะนั้น.
	 เผลอแป๊ปเดียว นี้ก็ใกล้จะถึงวันออกพรรษาแล้ว รู้สึกว่าวันเข้าพรรษาเพิ่ง
ผ่านมาไม่กี่เดือน คืนวันผ่านไปอย่างรวดเร็ว ขอให้ชาวพุทธทุกท่านจงใช้เวลาให้
คุ้มค่า ทำ�ประโยชน์ตนและประโยชน์ผู้อื่นให้เต็มที่
	 วารสารธรรมรัตน์รายไตรมาสปลายปี 2556 กลับมาพบกับท่านอีกครั้ง
หนึ่ง เป็นฉบับที่ ๓ ในรอบปี 2556 มีสาระธรรม กิจกรรม และเรื่องราวมากมายมา
ฝาก เพื่อแจ้งให้สมาชิกได้ทราบว่าภายในรอบ 3 เดือนที่ผ่านมาทางวัดทำ�อะไรบ้าง
และในอีก 3 เดือนข้างหน้าจะมีกิจกรรมอะไรเกิดขึ้นบ้าง
	 ในรอบ๓เดือนคือกรกฎาคมสิงหาคมและกันยายนที่ผ่านมานั้นทางวัดมี
กิจกรรมมายมาย เดือนกรกฎาคมมีกิจกรรมวันอาสาฬหบูชา-เข้าพรรษา มีญาติโยม
มาร่วมทำ�บุญประมาณ ๕๐ ท่าน, เดือนสิงหาคมนั้นคณะสงฆ์วัดป่าธรรมรัตน์
เดินทางไปทำ�สามีจิกรรมและขอพรจากพระเดชพระคุณหลวงตาชีในเทศกาลเข้า
พรรษา และมีการทำ�บุญปฏิบัติธรรมเนื่องในวันแม่, ส่วนเดือนกันยายน มีกิจกรรม
ต่างๆ มากมาย เป็นต้นว่า การเดินทางไปร่วมประชุมเจ้าอาวาสประจำ�ปีที่วัดวชิร-
ธรรมปทีป มหานครนิวยอร์ก, การทำ�บุญครบรอบ ๒ ปีและประเพณีสารท รวมถึง
การจัดปฏิบัติธรรมแก่ญาติธรรมจำ�นวน ๑๖ ท่าน ที่เมืองบัทเล่อร์
	 กิจกรรมที่จะจัดขึ้นใน ๓ เดือนข้างหน้านั้น เช่น วันที่ ๒๐ ต.ค.๒๕๕๖
นี้จะมีงานทำ�บุญวันออกพรรษา, วันที่ ๑๐ พ.ย.๒๕๕๖ จะมีการทำ�บุญทอดกฐิน
สามัคคีซึ่งปีนี้เป็นการทอดกฐินสามัคคีครั้งที่ ๒ ของวัดและชาวเมืองพิทส์เบิร์ก
ส่วนในเดือนธันวาคมนั้นมีกิจกรรมทำ�บุญวันกตัญญรู้คุณพ่อ และการทำ�บุญส่ง
ท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ จึงขอเรียนเชิญพุทธศาสนิกชนทุกท่านร่วมทำ�บุญ ถือศีล
ปฏิบัติธรรมได้กับทางวัด สามารถตรวจดูกิจกรรมต่างๆ ของวัดได้ที่เว็บไซด์และ
เฟสบุ๊คของวัด www.bmcpitts.org, www.facebook.com/bmcpitts
	 และเพื่อไม่เป็นการเสียเวลา ขอเชิญญาติโยมทุกท่านพลิกไปอ่านสาร
ธรรม และกิจกรรมต่างๆ ในรอบ ๓ เดือนที่ผ่านมาได้ในวารสารเล่มนี้
ด้วยไมตรีธรรม
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana2 3
		 “The Perfect One has told the cause
	 of causally arisen things;
	 And what brings their cessation, too:
	 Such is the doctrine preached by the Great Monk.”
		
	 The above is quoted from “The Life of the Buddha” by Vener-
able Nanamoli. It is the answer that one of the first five disciples of
the Buddha, Venerable Assaji, gave to a very curious wanderer when
asked what the Buddha taught. The wanderer eventually became the
right-hand disciple of the Buddha, the Venerable Sariputta.
	 This answer goes to the heart of the Buddha’s teaching about
suffering when he declared the Four Noble Truths in his first sermon.
It points to cause and effect in every thing, tangible or intangible. I
would like to quote briefly what appears in “the Great Discourse on
causation” by Bhikkhu Bodhi:
	 “Suffering includes not just personal unhappiness, discontent
or psychological stress……but also existential suffering……which
is the suffering of bondage to the round of repeated birth and death.--
----It requires nothing short of total liberation from the round.------In
order to end the round, the conditions that sustain it have to be elimi-
nated; and to eliminate them it is necessary to know what they are;
how they hold together and what must be done to extinguished their
causal force.”
	 The first Noble Truth states there is suffering. The second No-
ble Truth explains the cause of suffering, i.e. craving. The Truth can
be recognized or otherwise ignored, confused or shoved aside inten-
tionally due to a complex set of our spiritual faculties. It can be quite
uncomfortable to hear that the causes of our suffering are conditioned
mainly by craving and unawareness. This kind of statement admit-
tedly is quite disconcerting in our modern world of scientific progress
and accomplishments. But the third Noble Truth can give us some
comfort since it identifies the cessation of suffering, i.e. the ending of
craving. This Truth should not be perceived as a promise but it is still
something that anyone can achieve with effort.
	 The question everybody wants to know is how suffering can
be brought to an end. This is where the fourth Noble Truth can be
applied to our daily lives. It entails the path of practice leading to
the end of suffering. This practice is comprised of moral discipline,
concentration and discernment. By practicing meditation, we can
develop the necessary skills to see cause and its cessation and thus
bring the path of practice to completion. We are taught to focus our
attention first on our bodies. Contemplation of the breath is the most
wellknown example. The task is to see clearly what, in the act of
breathing is related to cause and effect. For many of us it requires
a certain degree of conviction since the results seem uncertain. So
confidence in a teacher through direct instruction or reading is impor-
tant. 					
	 Our thoughts are fleeting and usually scattered. They are de-
scribed as being conceptual and conventional. Each thought can pro-
liferate without stopping according to what we want, how we per-
ceive and how we compare. But it all follows the same process of
arising and cessation on and on until we either slow it down or stop
it. The practice of meditation helps us see the ultimate truth of aris-
Reflection on the cause and its cessation
By Tawachai Onsanit
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana4 5
ing and its cessation in every phenomenon. As the Buddha said, “All
formations are impermanent, strive for perfection with diligence.”
	 Everything conditioned has a cause. It is transient because it
comes to cessation. We strive to see it for ourselves the arising of that
cause along with its cessation. We are taught to begin by observing
the breath properly. The result is the concentration of the mind. Next
will be the insight into how the body and mind work together to solve
the problem by the ability to see things as they are instead of the way
we want them to be. When we practice, we shift our attention from
our unfocused thinking to the cause of problems confronting us here
and now.
	 In order to find true happiness, the Buddha has laid out for us
the four duties of the Four Noble Truths. First, the truth of suffering
needs to be comprehended. This can be one of the most difficult tasks
any one can have. We simply cannot shoot the target we do not see.
Second, the cause of suffering needs to be abandoned. This is where
the process of the cause of suffering has to be confronted. Third, the
cessation of suffering needs to be realized by dealing with craving
and unawareness or ignorance. And lastly, the path of practice lead-
ing to the cessation of suffering needs to be cultivated. The Path is
called the Noble Eightfold Path. Meditation is an important part of
this path. 	 	
	 How can realizing the cause of suffering and its cessation af-
fect our daily lives? And how is meditation related to it? More often
than not, when any problem becomes intolerable in our lives, it has
multiple causes, all occurring at the same time. Meditation helps us to
develop the calm and concentration needed to see things more clear-
ly. We start by observing and evaluating the breath. This skill will
develop into “appropriate attention”, the ability to ask the right ques-
tions as to what is going on. As we develop the skills of the Noble
Eightfold Path, we are able to see the causal chain of conditioning(
the dependent co-arising) underlying our suffering more clearly. The
insight into conditionality concerning impermanence, suffering and
not-self can unfold to help us cope with the situation.
	 With confidence in the teaching, we can use our energy in
the practice to achieve mindfulness and concentration. We can gain
increasing discernment or wisdom and are able to see the truth for
ourselves. The quality of equanimity developed from the practice will
enable us to see both the gratification and the danger in every situa-
tion we encounter. This is the path to the release from different levels
of suffering and to liberation.
	 พระอธิการสุริยนต์ ทสฺสนีโย เจ้าอาวาสวัดบกจันทร์นคร จ.ศรีสะเกษ พระพี่
ชายของพระอาจารย์สุริยา เตชวโร เมตตาเดินทางมาเยี่ยมให้กำ�ลังใจพระธรรมทูตและ
ญาติโยมวัดป่าธรรมรัตน์ กราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูง
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana7
	 อาจารย์ของมหาวิทยาลัยชั้นนำ�แห่งหนึ่งในกรุงเทพฯ เล่าว่า คราว
หนึ่งได้ไปบรรยายให้แก่นักศึกษาปริญญาโท ซึ่งมีข้าราชการชั้นผู้ใหญ่มา
เข้าเรียนเป็นจำ�นวนมาก ตอนหนึ่งท่านได้พูดถึงพุทธศาสนาและคำ�สอน
เรื่องไตรลักษณ์ พอถึงตรงนี้ท่านก็ถามนักศึกษาว่า ไตรลักษณ์นั้นได้แก่
อะไรบ้าง นักศึกษาทั้งชั้นนิ่งเงียบ ท่านจึงเฉลยข้อแรกว่าได้แก่ "อนิจจัง"
ท่านถามต่อว่า ไตรลักษณ์ข้อถัดมาคืออะไร ก็ยังไม่มีคำ�ตอบจากนักศึกษา
ทั้งหนุ่มทั้งแก่ ท่านจึงเฉลยให้อีกว่า "ก็ ทุกขัง ไงล่ะ"
	 ท่านยังไม่ละความพยายาม ถามนักศึกษาต่อว่า ไตรลักษณ์ข้อสุด
ท้ายคืออะไร ทีนี้นักศึกษาทั้งชั้นตอบอย่างเต็มปากว่า "พลัง" !
	 คำ�ตอบดังกล่าวสร้างความประหลาดใจแก่อาจารย์ท่านนี้
มาก เพราะแสดงว่าแม้แต่ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ระดับอธิบดี ก็ยังไม่รู้ว่า
ไตรลักษณ์คืออะไร ทั้งๆ ที่เฉลยไปถึง 2 ใน 3 ข้อ ก็ยังตอบผิด ราวกับว่า
พวกเขาไม่เคยได้ยินคำ�ว่า "อนัตตา" เลย
	 คำ�ตอบของนักศึกษาเหล่านั้นยังทำ�ให้เห็นว่า พวกเขาคุ้นเคยกับคำ�
หลักชีวิต หลักชาวพุทธ
โดย พระไพศาล วิสาโล
ให้พรของพระมากกว่า โดยเฉพาะท่อนท้ายที่ว่า "อายุ วัณโณ สุขัง พลัง"
ดังนั้น จึงพร้อมใจตอบว่า "พลัง" ทันทีที่ได้ยินคำ�ว่า "ทุกขัง"
	ที่จริงการไม่รู้จักหลัก
ไตรลักษณ์ ไม่ใช่เรื่องใหญ่
หากมีการประพฤติหรือ
ปฏิบัติตามหลักพุทธศาสนา
เมื่อครั้งพระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
เสด็จหัวเมือง พระองค์ทรง
เคยสอบถามชาวบ้านตาม
หมู่บ้านต่างๆ ไม่มีใครตอบ
ศีล 5 ได้ครบถ้วน พระองค์จึงทรงปรารภว่าคนไทยไม่รู้จักพระพุทธศาสนา
แม้กระนั้นพระองค์ก็ยังทรงยอมรับว่าผู้คนในหัวเมืองอยู่กันอย่างเรียบร้อย
ไม่มีการประพฤติผิดศีลผิดธรรม
	 ทุกวันนี้ถ้าถามว่าศีล 5 คืออะไร เชื่อว่าคนไทยส่วนใหญ่ตอบได้
ครบถ้วนหรือเกือบครบ แต่นั่นหมายความว่าคนไทยรู้จักพุทธศาสนาหรือ
เป็นชาวพุทธแล้วใช่ไหม เราคงตอบได้ไม่เต็มปากเพราะปรากฏการณ์ที่
เห็นอยู่รอบตัวบ่งชี้ว่า คนไทยไม่ได้ปฏิบัติตามศีล 5 กันเท่าใดนัก หาไม่
อาชญากรรม คอร์รัปชั่น ความสำ�ส่อนทางเพศ และสุรายาเมาคงไม่แพร่
ระบาดไปทุกหัวระแหงดังทุกวันนี้ พระสงฆ์ผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบและผู้รู้
หลายท่านถึงกับบอกว่า เมืองไทยจะเจริญก้าวหน้าอีกมาก หากคนไทย
เพียงแต่รักษาศีล 5 ให้ครบถ้วนเท่านั้น
	 อย่างไรก็ตาม ลำ�พังการรักษาศีล 5 ให้ครบยังไม่เพียงพอที่จะ
บอกว่าผู้นั้นเป็นชาวพุทธที่แท้ หากว่าผู้นั้นยังลุ่มหลงในอบายมุข พึ่งพา
ไสยศาสตร์ หวังลาภลอยคอยโชค คิดถึงแต่ประโยชน์ส่วนตน (แม้จะชอบ
ทำ�บุญแต่ไร้น้ำ�ใจ) หรือเชื่อกรรมในทางที่ผิด จนคิดแต่จะแก้ปัญหาชีวิต
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana8 9
ด้วยการประกอบพิธี "แก้กรรม" และ "ตัดกรรม" หรือกลัวเจ้ากรรมนายเวร
จนไม่กล้าช่วยเหลือใครเพราะกลัวเจ้ากรรมนายเวรของผู้ นั้นจะมาทำ�ร้าย
ตน ที่พูดเช่นนี้ก็เพราะวิธีการหรือความเชื่อเหล่านั้นสวนทางกับหลักการ
ทางพุทธ ศาสนาที่เน้นการพึ่งความเพียรของตน หมั่นฝึกฝนพัฒนาตน
และตั้งอยู่ในความไม่ประมาท
	 ทุกวันนี้มีความเข้าใจว่าการรักษาศีล 5 ก็เพียงพอแล้วสำ�หรับชาว
พุทธที่เป็นฆราวาส ความเข้าใจนี้ไม่น่าจะถูกต้อง เพราะศีล 5 เป็นเพียง
หลักปฏิบัติขั้นต่ำ�เท่านั้น จำ�ต้องมีข้อปฏิบัติอย่างอื่นเพิ่มเติมด้วย หาก
พิจารณาจากสิงคาลกสูตร ซึ่งถือกันว่าเป็นคำ�สอนสำ�คัญว่าด้วยหลักความ
ประพฤติของฆราวาส จะเห็นชัดว่านอกจากการละกรรมกิเลส 4 (การผิดศีล
4 ข้อแรก) แล้ว พระพุทธองค์ยังทรงวางข้อปฏิบัติให้แก่ฆราวาสอีกหลาย
ประการ ได้แก่ การละเว้นอคติ 4 และอบายมุข 6 การประพฤติตามหลัก
ทิศ 6 (ข้อปฏิบัติระหว่างบุคคลในความสัมพันธ์ 6 แบบ เช่น ระหว่างพ่อแม่
กับลูก ระหว่างครูกับศิษย์ ระหว่างเจ้านายกับลูกน้อง ฯลฯ) ใช่แต่เท่านั้น
ยังมีหลักการคบมิตร การจัดสรรทรัพย์เพื่อใช้สอย และสังคหวัตถุ 4 (ได้แก่
ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา-บำ�เพ็ญประโยชน์ และสมานัตตตา-วางตนเสมอ
ต้นเสมอปลาย)
	 การละเลยข้อปฏิบัติดังกล่าวทำ�  ให้ชาวพุทธในเมืองไทยทุกวันนี้มี
ความประพฤติที่ผิดเพี้ยนจากคำ�สอนทางพุทธ ศาสนาอย่างกว้างขวางดัง
ได้กล่าวมา ไม่เว้นแม้กระทั่งในหมู่คนที่ใกล้วัดหรือใฝ่ทำ�บุญ จนทำ�ให้เกิด
คำ�ถามขึ้นในหมู่ผู้รู้ทางพุทธศาสนา (และศาสนาอื่น) ว่าเมืองไทยเป็นเมือง
พุทธจริงหรือ ทั้งๆ ที่มีวัดและพระภิกษุเป็นจำ�นวนมากมาย
	 มีเหตุผลมากมายที่ทำ�ให้เป็น เช่นนั้น อาทิ การไม่ได้รับการศึกษา
ทางพุทธศาสนาอย่างถูกต้อง (ทั้งๆ ที่มีการสอนวิชาศีลธรรมในโรงเรียนมา
นานหลายทศวรรษ) ความอ่อนแอและย่อหย่อนของสถาบันสงฆ์ อีกสาเหตุ
หนึ่งที่น่ากล่าวถึงคือ การขาดหลักความเชื่อและหลักปฏิบัติที่ถูกต้อง
ครอบคลุมและสอดคล้องกับสังคมสมัยใหม่
	 เมื่อเร็วๆ นี้ พระสงฆ์และฆราวาสกลุ่มหนึ่งซึ่งตระหนักถึงปัญหา
ดังกล่าว ได้ร่วมกันเชิญชวนชาวพุทธทั้งประเทศประกาศเจตนาสมาทาน
"หลักชาวพุทธ" ซึ่งประกอบด้วยหลักการ 5 ประการ และข้อปฏิบัติ 12
ประการ โดยพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) เป็นผู้ประมวลสรุปจาก
แก่นคำ�สอนของพุทธศาสนาและนำ�มาจัดวางให้สอดคล้องกับวิถี ชีวิตของ
คนสมัยใหม่
	 หลัก 5 ประการ เน้นในเรื่องการฝึกตน (เพราะเชื่อว่า "มนุษย์จะ
ประเสริฐได้เพราะฝึกตนด้วยสิกขา คือ การศึกษา") และพึ่งความเพียรของ
ตน (คือมุ่งมั่นที่จะ "สร้างความสำ�เร็จด้วยการกระทำ�ที่ดีงามของตน โดย
พากเพียรอย่างไม่ประมาท")
	 ส่วนในเรื่องไตรสรณคมน์ หรือการถือพระรัตนตรัยเป็นสรณะ ได้
จำ�แนกเป็นหลัก 3 ประการ และอธิบายอย่างเป็นรูปธรรม กล่าวคือ การถือ
พระพุทธเจ้าเป็นสรณะ หมายถึง ความตั้งใจที่จะ "ฝึกฝนตนให้มีปัญญา มี
ความบริสุทธิ์และมีเมตตากรุณา ตามอย่างองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า"
	 การถือพระธรรมเป็นสรณะ หมายถึง การถือว่า "ความจริง ความ
ถูกต้องดีงามเป็นใหญ่ เป็นเกณฑ์ตัดสิน"
	 การถือพระสงฆ์เป็นสรณะ หมายถึง ความตั้งใจที่จะ "สร้างสังคม
ตั้งแต่ในบ้าน ให้มีสามัคคี เป็นที่มาเกื้อกูลร่วมกันสร้างสรรค์"
	 ขอให้สังเกตว่า พระรัตนตรัยในที่นี้มิได้หมายถึงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่วาง
ไว้บนหิ้งเพื่อกราบ
ไหว้บูชา หรือหวังผล
ดลบันดาลให้ร่ำ�รวย
อวยโชค อย่างที่คน
ทั่วไปเข้าใจ แต่หมาย
ถึงแบบอย่างอันควร
แก่การดำ�เนินรอย
ตามหรือเป็นอุดมคติ
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana10 11
ในการดำ�เนิน ชีวิต
	 ข้อที่น่าสังเกตอีกประการหนึ่งคือ การตอกย้ำ�ให้คิดถึงส่วนรวม ซึ่ง
ตรงกับหลักการของสงฆ์ที่ถือเอาประโยชน์ของสังฆะ หรือส่วนรวมเป็น
ใหญ่ นี้เป็นประเด็นที่สำ�คัญอย่างมากเพราะชาวพุทธไทยนับวันจะคิดถึงแต่
ตัวเองมาก ขึ้นทุกที จนปล่อยปละละเลยสังคม ซึ่งมีส่วนในการทำ�ให้สังคม
เสื่อมถอยลงไปเรื่อยๆ
	 ข้อปฏิบัติหรือ "ปฏิบัติการ" 12 ข้อนั้น แบ่งเป็น 3 หมวด พระพรหม
คุณาภรณ์ได้เรียบ
เรียงอย่างคล้องจอง
กัน ทำ�ให้จำ�ง่าย
กล่าวคือ "มีศีลวัตร
ประจำ�ตน เจริญกุศล
เนืองนิตย์ ทำ�ชีวิตให้
งามประณีต" โดยมี
ข้อปฏิบัติที่ชัดเจนใน
แต่ละข้อ
	 หมวด ก. "มีศีลวัตรประจำ�ตน" เน้นการพัฒนาฝึกฝนตน แต่ไม่ได้
หมายถึงศีล 5 เท่านั้น หากครอบคลุมถึงไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปัญญา ดัง
นั้นนอกจาก "สมาทานเบญจศีลเป็นนิจ" และ "ไม่มืดมัวด้วยอบายมุขแล้ว"
ยังมีอีก 2 ข้อ คือ "ทำ�จิตให้สงบ ผ่องใส" ด้วยการเจริญสมาธิและอธิษฐาน
จิต วันละ 5-10 นาที ในด้านปัญญานั้น ข้อปฏิบัติที่เป็นรูปธรรมคือ "สวด
สาธยายพุทธวจนะ หรือบทสวดมนต์ โดยเข้าใจความหมาย อย่างน้อยก่อน
นอนทุกวัน"
	 นอกจากนั้นยังมีข้อปฏิบัติเพื่อการปลูกฝังศรัทธาในสิ่งที่ดีงาม
และเป็นแบบอย่างใน การดำ�เนินชีวิต นั่นคือ "แสดงความเคารพต่อพระ
รัตนตรัย บิดามารดา ครูอาจารย์ และบุคคลที่ควรเคารพ" กล่าวอีกนัยหนึ่ง
คือการมีกัลยาณมิตรเพื่อเกื้อกูลต่อการฝึกฝนตน
	 หมวด ข. "เจริญกุศลเนืองนิตย์" มีจุดเด่นคือการทำ�ความดีเพื่อ
เกื้อกูลผู้อื่น ช่วยเหลือส่วนรวม หรือส่งเสริมสิ่งดีงามในสังคม ได้แก่
"บำ�เพ็ญทานเพื่อบรรเทาทุกข์ เพื่อบูชาคุณ เพื่อสนับสนุนกรรมดี" และ
"บำ�เพ็ญประโยชน์ อุทิศแด่พระรัตนตรัย มารดาบิดา ครูอาจารย์ และท่าน
ผู้เป็นบุพการีของสังคมแต่อดีตสืบมา" โดยทำ�สัปดาห์ละ 1 ครั้งทั้งการให้
ทานและบำ�เพ็ญประโยชน์
	 นอกจากการทำ�ความดีเพื่อผู้อื่น แล้ว หมวดนี้ยังพูดถึงการบำ�เพ็ญ
กุศลเพื่อพัฒนาตนด้วย ได้แก่ ตักบาตรวันพระ หรือ "แผ่เมตตา ฟังธรรม
หรืออ่านธรรม โดยบุคคลที่บ้าน ที่วัด ที่โรงเรียน หรือที่ทำ�งานร่วมกัน
ประมาณ 15 นาที" รวมทั้งร่วมกิจกรรมในวันสำ�คัญทางศาสนาและวัน
สำ�คัญของครอบครัว
	 เห็นได้ว่าหมวดนี้เป็นข้อปฏิบัติเพื่อนำ�พาตนออกมาเชื่อมโยงกับ
สังคมและพระศาสนา ด้วยการบำ�เพ็ญประโยชน์หรือร่วมกิจกรรมทาง
ศาสนา โดยชักชวนครอบครัว เพื่อนบ้าน หรือเพื่อนร่วมงานให้เข้ามามีส่วน
ร่วมด้วย นับเป็นการสร้าง "ชุมชนทางศีลธรรม" อย่างใหม่ ทดแทนหมู่บ้าน
ซึ่งเคยเป็นสถานที่บ่มเพาะศีลธรรมให้แก่ผู้คนอย่างได้ผลมาแล้วในอดีต
	 ข้อปฏิบัติหมวดนี้จะช่วยให้ชาวพุทธไม่เก็บตัวอยู่ตามลำ�พัง หรือมัว
แต่ฝึกฝนตนจนละเลยผู้อื่น ทั้งๆ ที่ยังมีการฝึกฝนตนอีกมากที่สามารถทำ�
ร่วมกับผู้อื่นหรือทำ�เพื่อผู้อื่นได้
	 หมวด ค. "ทำ�ชีวิตให้งามประณีต" มีจุดเน้นอยู่ที่การเกี่ยวข้องกับ
สิ่งเสพหรือเครื่องใช้ ได้แก่ "ฝึกความรู้จักประมาณในการบริโภค" นอกจาก
รู้จักพอดีในการกินแล้ว ความพอดีในการเสพความบันเทิงก็สำ�คัญ ข้อ
ปฏิบัติในส่วนนี้คือ "ชมรายการบันเทิงวันละไม่เกินกำ�หนดที่ตกลงกันใน
บ้าน" ที่น่าสนใจในข้อนี้คือ "มีวันปลอดการบันเทิงอย่างน้อยเดือนละ 1 วัน"
	 นอกจากนั้นยังมีข้อปฏิบัติเพื่อการอยู่อย่างประหยัดเรียบง่าย คือ
"ดูแลของใช้ของตนเองและทำ�งานของชีวิตด้วยตนเอง"
	 หมวดนี้เป็นสิ่งจำ�เป็นมากสำ�หรับการดำ�เนินชีวิตในยุคบริโภคนิยม
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana12 13
ซึ่งเต็มไปด้วยสิ่งกระตุ้นเร้าให้เสพจนงมงายมืดมัว หากไม่มีข้อปฏิบัติหรือ
ข้อกำ�หนดที่เป็นรูปธรรม ก็ง่ายที่จะพลัดหลงจนเป็นทาสของสิ่งเสพ โดย
เฉพาะความบันเทิงเริงรมย์ทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ซึ่งเป็นอบายมุขอย่างใหม่
	 ข้อสุดท้ายของหมวดนี้คือ "การมีสิ่งบูชาสักการะประจำ�ตัวเป็น
เครื่องเตือนใจให้ระลึกถึงพระคุณของพระ รัตนตรัย และตั้งมั่นอยู่ในหลัก
ชาวพุทธ" ข้อนี้เป็นหลักปฏิบัติเพื่อการมีท่าทีอย่างถูกต้องต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์
อาทิ พระพุทธรูป หรือพระธาตุ นั่นคือไม่ใช่บูชาเพื่อหวังผลดลบันดาลให้
สำ�เร็จทางโลก แต่ถือเป็นอนุสติเพื่อการทำ�ความดีตามหลักการของชาว
พุทธ คือ ฝึกตน พึ่งความเพียร และไม่ประมาท
	 หลักชาวพุทธ ทั้ง 5 หลักการ และ 12 ปฏิบัติการ นับได้ว่าเป็น
หลักแห่งการดำ�เนินชีวิตอันประเสริฐที่เหมาะกับยุคปัจจุบันเป็น อย่างยิ่ง
ครอบคลุมทั้งการบำ�เพ็ญประโยชน์ตนและประโยชน์ท่าน โดยอาศัยหลัก
ไตรสิกขา ไตรสรณคมน์ และบุญกิริยาวัตถุ 10 สามารถเป็นเครื่องกำ�กับ
ชีวิตไม่ให้พลัดลงไปในกระแสบริโภคนิยมอันเชี่ยวกราก หรือหลงงมงาย
กับลัทธิหวังผลดลบันดาลที่กำ�ลังแพร่ระบาด ขณะเดียวกันก็ส่งเสริมให้ชาว
พุทธมีบทบาทในการสร้างสรรค์สังคมส่วนรวม
	 หากจะมีสิ่งใดที่น่าเพิ่มเติมในหลักนี้ก็เห็นจะเป็น ข้อปฏิบัติเกี่ยวกับ
สัมมาอาชีวะ ซึ่งเป็นหนึ่งในอริยมรรคมีองค์ 8 ที่ชาวพุทธไทยในปัจจุบัน
ไม่สู้จะให้ความสำ�คัญเท่าไร ยิ่งปัจจุบันสังคมมีความซับซ้อนมากจนเรา
สามารถมีส่วนร่วมในการเบียดเบียนผู้ อื่นผ่านอาชีพการงานได้ นอกเหนือ
จากการค้าขายอาวุธ มนุษย์เนื้อสัตว์ ของเมา และยาพิษ ซึ่งพุทธศาสนา
ถือว่าเป็น มิจฉาวณิชชาอยู่แล้ว
	 ในข้อนี้สิกขาบทของคณะสงฆ์หมู่บ้านพลัมของท่านติช นัท ฮันห์
น่าจะเป็นแนวทางปฏิบัติสำ�หรับชาวพุทธไทยได้ กล่าวคือ "ขอเธออย่าได้
ประกอบอาชีวะอันก่อให้เกิดภัยต่อมนุษย์และธรรมชาติ อย่าเข้าร่วมลงทุน
ในบริษัทกิจการใด ที่กำ�จัดโอกาสในการหาเลี้ยงชีวิตของผู้อื่น จงเลือก
อาชีวะซึ่งช่วยให้เธอประจักษ์ในอุดมคติแห่งการุณยธรรม"
	 จุดเด่นประการหนึ่งของหลักชาวพุทธที่ควรย้ำ�ในที่นี้ก็คือ การมีข้อ
ปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ลำ�พังความตั้งใจว่าจะ "ทำ�ให้ดีที่สุด" นั้นยังไม่
เพียงพอ เพราะเลื่อนลอย และมักจะไร้ความหมาย ดังนั้นจึงจำ�เป็นต้องมี
การตั้งจิตแน่วแน่ที่จะทำ�ความดีอย่างเป็นรูปธรรม (เช่น ทำ�สมาธิวันละ 10
นาที บำ�เพ็ญทานอย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง มีวันปลอดการบันเทิงอย่างน้อย
เดือนละ 1 วัน) ความตั้งใจมั่นที่จะทำ�ความดีนี้แหละที่เรียกว่า "อธิษฐาน"
ซึ่งมิได้แปลว่า การตั้งจิตร้องขอจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์ อย่างที่เข้าใจกันในปัจจุบัน
	 ครูบาอาจารย์
วัดไทยกรุงวอชิงตัน,ดี.
ซี.และวัดป่าธรรมรัตน์
แวะเยี่ยมให้กำ�ลังใจญาติ
โยมสมาชิกวัด
	 คณะพระธรรม
ทูตและญาติโยมเดินทาง
ไปดูสถานที่สำ�หรับสร้าง
วัด
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana14 15
เพชรจาก......พระไตรปิฎก
เกสปุตตสูตร (กาลามสูตร) ติ. อํ. (๕๐๕)
หลักในการนับถือศาสนา
	 ปัญหาในโลกนี้ มีคำ�สอนในศาสนา ในลัทธิ และในปรัชญา
เป็นอันมาก แม้คำ�สอนทางพระพุทธศาสนาเองก็มีมากมาย จนทำ�ให้
เกิดความสงสัยลังเลว่า อะไรควรเชื่อถือ อะไรไม่ควรเชื่อถือ อะไร
ควรปฏิบัติตามอะไร ไม่ควรปฏิบัติตาม ขอได้โปรดแนะแนวในการ
เชื่อถือและในการปฏิบัติด้วย ?
	 พุทธดำ�รัสตอบ “.....
		ท่านอย่าได้ถือโดยได้ฟังตามกันมา
	 	 อย่าได้ถือโดยลำ�ดับสืบๆ กันมา
	 	 อย่าได้ถือโดยความตื่นว่าได้ยินว่าอย่างนี้ๆ
	 	 อย่าได้ถือโดยอ้างตำ�รา
	 	 อย่าได้ถือโดยเหตุนึกเดาเอา
	 	 อย่าได้ถือโดยนัยคือคาดคะเนอย่าได้ถือโดย
	 	 อย่าได้ถือโดยความตรึกตามอาการ
	 	 อย่าได้ถือโดยชอบใจว่าต้องกันกับลัทธิของตน
	 	 อย่าได้ถือโดยเชื่อว่าผู้พูดสมควรจะเชื่อได้
	 	 อย่าได้ถือโดยความนับถือว่าสมณะผู้นี้เป็นครูของเรา
	 “ เมื่อใดท่านรู้ด้วยตนนั้นแล ว่าธรรมเหล่านี้ (ความโลภ ความ
โกรธ ความหลง) เป็นอกุศล ธรรมเหล่านี้มีโทษ ธรรมเหล่านี้ท่านผู้รู้
ติเตียน ธรรมเหล่านี้ใครประพฤติให้เต็มทีแล้ว เป็นไปเพื่อสิ่งไม่เป็น
ประโยชน์ เป็นไปเพื่อทุกข์ ดังนี้ ท่านควรละธรรมเหล่านั้นเสียเมื่อ
นั้น"
	 นักศึกษาไทยจากรัฐโอไฮโอ ถึงจะอยู่ไกล แต่เมื่อทราบข่าวว่ามีวัดอยู่ที่เมือง
พิทส์เบิร์ก พากันเดินทางมาทำ�บุญ ขอศีลขอพร ขอให้เจริญรุ่งเรือง
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana16 17
	 โดยปกติกิจวัตรประจำ�วันของเราทุกคน คือ การออกจากบ้าน
ไปที่ทำ�งาน หลังเลิกงานบางท่านอาจมีกิจกรรมอื่นๆ นอกบ้าน เช่น ไป
ฟิตเนส ไปวิ่งที่สวนสาธารณะ หรือไปออกกำ�ลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค
	 แต่ความยากลำ�บากของคนส่วนใหญ่ คือ ไม่สามารถทำ�ตามตาราง
เวลาที่จัดไว้ได้ เช่น เคยตั้งเป้าหมายว่า จะต้องออกกำ�ลังกายก่อนหรือหลัง
เลิกงานอย่างน้อย1ถึง2ครั้งต่อสัปดาห์แต่ด้วยความรับผิดชอบในหน้าที่
การงานในแต่ละวันจึงทำ�ให้เราไม่สามารถมีเวลาหรือหากมีก็ไม่สามารถ
ปฎิบัติได้ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้
	 โดยปกติร่างกายของเราทุกคนจะอยู่ในท่าพักผ่อน หรือท่านั่ง
ประมาณ 8 ช.ม. ต่อวัน บางทีอาจนั่งทำ�งานมากถึง 10 ช.ม. ต่อวัน (รวม
เวลานั่งทานอาหารและนั่งอยู่ในรถด้วย) ซึ่งนั่นถือว่าเราอยู่ในท่านั่งเป็น
เวลานานมากต่อวัน
	 ใครจะคิดว่า พฤติกรรมท่านั่งปกติธรรมดาเช่นนี้ จะเป็นสาเหตุ
หนึ่งที่ทำ�ให้เกิดโรคอย่าง “กล้ามเนื้อตะโพกหนีบเส้นประสาท” ได้
	 จากสาเหตุนี้จึงทำ�ให้หลายบริษัทและองค์กรต่างๆ หันมาส่งเสริม
กิจกรรมการออกกำ�ลังกายด้วยท่าบริหารร่างกายในเวลาทำ�งานให้กับ
พนักงานมากยิ่งขึ้น ซึ่งมีวิธีง่ายๆ ดังนี้ครับ
เวลายืนอยู่กับที่
	 1. เวลายืนอยู่กับที่ เราสามารถใช้ท่ายืนอยู่กับที่ให้เป็นประโยชน์
ได้ ในท่ายืนนั้นสามารถช่วยเผาผลาญแคลลอรี่ได้ง่ายๆ
	 2. ยืนพูดโทรศัพท์หรือส่งข้อความจากโทรศัพท์มือถือ ยืนประชุม
เพื่อคิดงานแทนนั่ง ยืนรับประทานอาหาร ลุกขึ้นยืนประมาณ 3-5 นาที
ทุกๆ 3 ช.ม.
เวลาพักกลางวัน
	 3. เราทุกคนควรใช้เวลาพักทานกาแฟหรือพักทานอาหารกลางวัน
ให้เป็นประโยชน์ เช่น เดินเร็ว หรือเดินรอบบริเวณอาคารพร้อมๆ กับการ
ยืดเส้นยืดสาย ยืดกล้ามเนื้อไปด้วย
	 4. ก้มลงไปจับนิ้วเท้า ก้มศีรษะลงและให้คางแตะที่หน้าอกจน
รู้สึกตึงที่บริเวณหลังและลำ�คอ ยกไหล่ทั้งสองข้างขึ้นให้ถึงระดับหู ยก
แขนข้างขวาและพับแขนลงมา ทำ�ให้ข้อศอกตั้งฉาก จากนั้นใช้แขนซ้าย
ดันไปที่ข้อศอกจนรู้สึกตึง ทำ�ซ้ำ�ข้างละ 2 นาที
การใช้อุปกรณ์ช่วย
	 5. การใช้อุปกรณ์ยกนํ้าหนัก ควรมีดัมเบลเล็กๆ ที่ไม่หนักมากไว้
ในที่ทำ�งาน ดัมเบลสามารถเป็นตัวช่วยในการออกกำ�ลังกายที่แแขนและ
ขา เพื่อผ่อนคลายจากอาการตึงของกล้ามเนื้อได้
ออกกำ�ลังกายวันละนิด เพื่อสุขภาพที่ดี*
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana18 19
กิจกรรมเดือนกรกฎาคม
	 3ก.ค.2556พระมหาชัยพิชิตฐานุตฺตโรเจ้าอาวาสวัดหลวงอาร์เจนตินาประเทศ
อาร์เจนตินา ได้เดินทางมาเยี่ยมพระธรรมทูตและญาติโยมชาววัดป่าธรรมรัตน์ พร้อมทั้ง
ร่วมทำ�บุญซื้อกระถางดอกไม้ถวายและปัจจัยสร้างวัด ขออนุโมทนาขอบพระคุณ
	 11-15 ก.ค.2556 พระอธิการสุริยนต์ ทสฺสนีโย เจ้าอาวาสวัดบกจันทร์นคร
จ.ศรีสะเกษ พระพี่ชายของพระอาจารย์สุริยา เตชวโร เมตตาเดินทางมาเยี่ยมให้กำ�ลังใจ
พระธรรมทูตและญาติโยมวัดป่าธรรมรัตน์ กราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูง
	 14 ก.ค.2556 คุณจำ�ลอง แม็คคาซี่ ครอบครัว และญาติสนิทนิมนต์คณะสงฆ์วัด
ป่าธรรมรัตน์ และพระอธิการสุริยนต์ ทสฺสนีโย ผูกแขนอวยพรให้หลานฝาแฝด สาธุ
	 21 ก.ค.2556 คณะสงฆ์วัดป่าธรรมรัตน์ และชาวพุทธเมืองพิทส์เบิร์กจัดทำ�บุญ
วันอาสาฬหบูชาที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงพระปฐมเทศนาและวันเข้าพรรษา มีญาติธรรม
เดินทางมาร่วมทำ�บุญกว่า 50 ท่าน
	 23 ก.ค.2556 พระสงฆ์กล่าวคำ�อธิษฐานเข้าพรรษาหลังจากเจริญจิตภาวนาและ
ทำ�วัตรเย็นแล้ว ปีนี้มีพระสงฆ์จำ�พรรษาจำ�นวน 2 รูป คือ พระมหาสายันต์ อคฺควณฺโณ
และพระมหาปิยะ อุตฺตมปญฺโญ
กิจกรรมเดือนสิงหาคม
	 6 ส.ค.2556 พระธรรมทูตวัดป่าธรรมรัตน์เดินทางไปทำ�สามีจิกรรมแด่พระ
สรุปข่าว
เดือนกรกฎาคม-สิงหาคม-กันยายน
	 6. ใช้บันไดแทนลิฟท์หลังอาหารกลางวัน โดยปกติกิจวัตรประจำ�
วันของเราทุกคน คือ การออกจากบ้านไปที่ทำ�งาน หลังเลิกงานบางท่าน
อาจมีกิจกรรมอื่นๆ นอกบ้าน เช่น ไปฟิตเนส ไปวิ่งที่สวนสาธารณะ หรือ
ไปออกกำ�ลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค
	 7. เดินมาทำ�งาน หากคุณอยู่ไม่ไกลจากที่ทำ�งาน แทนที่จะขับรถ
มาทำ�งาน ลองหันมาเดินหรือปั่นจักรยานแทนก็เป็นการออกกำ�ลังกายที่
ดี หากต้องขับรถมาทำ�งานก็ควรเลือกที่จะจอดรถให้ไกลจากที่ทำ�งานซัก
นิด เพื่อทิ้งระยะในการเดินเข้าที่ทำ�งาน เพียงเท่านี้ก็เป็นการออกกำ�ลังกาย
ที่ทำ�ได้ง่ายๆ
	 เมื่อคุณเริ่มจัดตารางเพื่อออกกำ�ลังกายในที่ทำ�งาน คุณก็จะเห็นได้
ทันทีว่า เพียงไม่กี่นาทีเราก็สามารถดูแลสุขภาพเป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ
ร่างกายของเรา แบบไม่มีข้อจำ�กัด
	 มาออกกำ�ลังกายกันเถอะ
*ข้อมูลจาก http://www.bangkokhealth.com
	 คุณแดนเนียลและคุณต้อย คู่บ่าวสาวพร้อมญาติทำ�บุญถวายภัตตาหารเพลพระ
ตามแบบชาวพุทธเนื่องในโอกาสวันแต่งงาน
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana20 21
เดชพระคุณพระวิเทศธรรมรังษี(หลวงตาชี) พร้อมทั้งฟังปาติโมกข์ที่อุโบสถวัดไทยกรุง
วอชิงตัน,ดี.ซี. โดยมีคุณโยมสมทรง ฟ็อก, คุณคิม วาน, และคุณทอมเอื้อเฟื้อขับรถพาไป
ขออนุโมทนาบุญ
	 8-11 ส.ค.2556 คุณโยมอภิญญา, คุณกนกนุช และคุณโยมฟ้ามาถือศีลปฏิบัติ
ธรรมเนื่องในเทศกาลวันกตัญญูรู้พระคุณแม่ อนุโมทนาในกุศลเจตนา
	 11 ส.ค.2556 คณะสงฆ์วัดป่าธรรมรัตน์และชาวเมืองพิทส์เบิร์กร่วมกันทำ�บุญ
วันกตัญญูรู้พระคุณแม่
	 12 ส.ค.2556 คุณโยมนีน่า-เครก โกล์ด มาทำ�บุญถวายสังฆทานให้กับคุณแม่ผู้
ล่วงลับไปแล้วในเทศกาลวันแม่
	 14 ส.ค.2556 คุณโยมพิมพ์ใจ เบอร์มิ่งแฮมปรารภวันมรณภาพของหลวงพ่อที่
เสียชีวิตหลายปีที่แล้วทำ�บุญ ส่วนคุณโยมวรานา(เก๋)มาร่วมทำ�บุญ พร้อมนิมนต์พระคุณ
เจ้าเจริญพระพุทธมนต์เจิมรถที่เพิ่งซื้อใหม่เพื่อเป็นสิริมงคล คิดดี พูดดี ทำ�ดี เป็นมงคล
ตลอดไป
	 21 ส.ค.2556 คุณโยมบุญมณี(น้อย) แม็คคาซี่ และคุณโยมพิมพ์ใจ(แหม่ม) เบอร์
มิ่งแฮม ถือโอกาสนิมนต์พระคุณเจ้าไปฉันภัตตาหารเพลที่ร้านอาหารญี่ปุ่น กลับมาวัด
ถวายสังฆทาน และช่วยพับใบฎีกากฐินใส่ซองเตรียมงานกฐินสามัคคี ขออนุโมทนา
	 29ส.ค.2556คุณโยมบุญมณี(น้อย)แม็คคาซี่และคุณโยมมนัส(ดี)แซนด์นิมนต์
พระคุณเจ้าไปฉันภัตตาหารเพลที่ร้านอาหารนอกวัด กลับมาทำ�ความสะอาดห้องน้ำ� และ
ทำ�สมาธิ ขอให้เจริญรุ่งเรืองในพระธรรมยิ่งๆ ขึ้นไป
กิจกรรมเดือนกันยายน
	 4 ก.ย. 2556 คุณแดนเนิล-คุณต้อย พร้อมญาติทั้งชาวเอเชียและชาวอเมริกา
ทำ�บุญถวายภัตตาหารเพลแด่พระสงฆ์ ณ วัดป่าธรรมรัตน์ ขอศีล ขอพรในพิธีมงคล
สมรส
	 6-9ก.ย.2556พระมหาปิยะอุตฺตมปญฺโญเดินทางไปร่วมงานวันมหารำ�ลึกและ
งานประชุมเจ้าอาวาสประจำ�ปีของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา ณ วัดวชิรธรรม
ปทีป มหานครนิวยอร์ก มีพระธรรมทูตร่วมงานประมาณ 100 รูป เพื่อรำ�ลึกถึงพระ
ธรรมทูตที่มรณภาพขณะปฏิบัติศาสนกิจในสหรัฐอเมริกาและเคยปฏิบัติศาสนกิจ
ในสหรัฐอเมริกา พร้อมทั้งประชุมปรึกษาหารือเรื่องกิจการงานของพระธรรมทูตใน
สหรัฐอเมริกา
	 15 ก.ย.2556 คุณจอชพาภริยาคุณแพมมาทำ�บุญถวายสังฆทานในวันคล้ายวัน
เกิด พร้อมทั้งนั่งสมาธิ และฟังธรรม ขอให้มีความสุขมากๆ
	 18ก.ย.2556คุณพิมพ์ใจ(แหม่ม)เบอร์มิ่งแฮมและคุณวรนา(เก๋)แม็กเวลนิมนต์
พระสงฆ์วัดป่าธรรมรัตน์ไปฉันภัตตารเพล และนำ�ปฏิบัติธรรม สนทนาธรรมในสวน
ขออนุโมทนา สาธุ
	 21 ก.ย.2556 International Peace Day ได้นิมนต์ คณะพระธรรมทูตวัดไทยกรุง
วอชิงตัน,ดี.ซี. และวัดป่าธรรมรัตน์ พร้อมญาติธรรมจากวอชิงตัน,ดี.ซี.และพิทส์เบิร์ก
ร่วมสวดมนต์เพื่อสันติภาพโลกในนามตัวแทนชาวพุทธ
	 22 ก.ย. 2556 คณะสงฆ์วัดป่าธรรมรัตน์และญาติโยมจัดทำ�บุญวันสารท(ทำ�บุญ
ให้ญาติผู้ล่วงลับไปแล้ว และครบ 2 ปีการก่อตั้งวัด ในโอกาสนี้ พระอาจารย์พระครูสิริ
อรรถวิเทศ เลขาธิการสมัชชาสงฆ์ไทยฯ, ประธานอำ�นวยการวัดป่าธรรมรัตน์, หลวงพ่อ
มหาสุรตาล สิทธิผโล และพระอาจารย์สุริยา เตชวโร วัดไทยกรุงวอชิงตัน,ดี.ซี. พร้อม
ญาติธรรมมีคุณโยมสุกานดา บุพพานนท์ เป็นต้น เดินทางมาร่วมทำ�บุญด้วย ขอกราบ
ขอบพระคุณ และอนุโมทนาบุญ
	 22 ก.ย.2556 ชาวอเมริกันจำ�นวน 13 ท่าน เดินทางมาเยี่ยมวัดป่าธรรมรัตน์ และ
ถือโอกาสนั่งสมาธิ เดินจงกรม และสนทนาธรรมร่วมกับพระธรรมทูตเป็นเวลา 3 ชม.
นำ�ปฏิบัติโดยพระอาจารย์พระครูสิริอรรถวิเทศ เลขาธิการสมัชชาสงฆ์ไทยฯ
	 23-25ก.ย.2556คุณนีน่า-คุณเครกโกล์ด,คุณใจวงษ์คำ�พร้อมญาติธรรมจากรัฐ
ฟลอริดา รัฐโอไฮโอ และแคลิฟอร์เนีย นิมนต์พระอาจารย์พระครูสิริอรรถวิเทศ พร้อม
พระธรรมทูตวัดไทยกรุงวอชิงตัน,ดี.ซี.และวัดป่าธรรมรัตน์ นำ�ปฏิบัติธรรมที่เมืองบัล
เล่อร์ ในการปฏิบัติธรรมครั้งนี้มีชาวพุทธร่วมปฏิบัติจำ�นวน 16 ท่าน
	 26ก.ย.2556คุณเอมี่-คุณจอห์นเจ้าของร้านอาหารพาพาย่าพร้อมทีมงานนิมนต์
พระธรรมทูตไทยและศรีลังกาจำ�นวน 8 รูป ไปเจริญพระพุทธมนต์ฉันภัตตาหารเพล
บรรยายธรรมในโอกาสเปิดร้านอาหารทำ�ธุรกิจครบรอบ3ปีขอให้เจริญรุ่งเรืองยิ่งๆขึ้น
ไป
	 26 ก.ย. 2556 พระอาจารย์พระครูสิริอรรถวิเทศ และเหล่าพระธรรมทูต พร้อม
ญาติโยมทั้งหลาย เดินทางไปดูสถานที่นอกเมืองพิทส์เบิร์ก เพื่อสำ�รวจสถานที่อันเหมาะ
สมสำ�หรับสร้างเป็นศูนย์ปฏิบัติธรรมของชาวโลก
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana22 23
รายรับ-รายจ่าย
ประจำ�เดือนกรกฎาคม - กันยายน
ปี 2556/2013
รายรับเดือนกรกฎาคม 2556
พระมหาชัยพิชิต ฐานุตฺตโร					 $ 100.00
Jumlong Megyesy						 $ 50.00
Pranom Jabkul							 $ 50.00
Somsong Fox							 $ 50.00
นายจาเร็ต-นางนฤมล โคซาน					 $ 40.00
Manus Sands(ทำ�บุญบำ�รุงวัด)					 $ 50.00
Manus Sands(ค่ารถพยาบาลฉุกเฉิน)				 $ 100.00
Manus Sands(ทำ�บุญประกันสุขภาพพระ)				 $ 100.00
Jumlong Megyesy, Lisa Shwallon(ค่ารถพยาบาลฉุกเฉิน)		 $ 100.00
Somsong Fox(ค่ารถพยาบาลฉุกเฉิน)				 $ 50.00
Usa Jirachertchoowong						 $ 100.00
Eric Richardson and family					 $ 40.00
Sujitra Taimmoungpan						 $ 10.00
Supawadee Sukcharoen						 $ 10.00
Apinya Kunjara-Na-Ayudhya					 $ 500.00
Keo & Som Phouthavong					 $ 100.00
Suthee Kitcharoenkarnkul					 $ 40.00
Kim Vann							 $ 20.00
Pimjai Birmingham & Mae					 $ 50.00
Nina Golds and family						 $ 105.00
คุณเจน ชูแนม							 $ 214.00
คุณบำ�เพ็ญ ดวงปากดี(ต้อย)					 $ 50.00
คุณมนัส(ดี) แซนด์						 $ 20.00
คุณเจน ชูแนม							 $ 20.00
Phoc & Vilavan (Thai Gourmet)					 $ 267.00
Wilai Gould							 $ 50.00
Boonsom Glass							 $ 25.00
Pusadee’s Garden						 $ 160.00
Somsong Fox							 $ 50.00
Manee & Rober & Arnon & Arnuma Ruddolph			 $ 60.00
คุณพุฒิพงศ์ และครอบครัว					 $ 05.00
Cathy Davidson							 $ 100.00
Sorose Jittavikul							 $ 100.00
Jane Chounaem							 $ 300.00
Rungnapa Khanchalee						 $ 50.00
M.Yeampeka							 $ 30.00
น.ส.วรางค์พร เกศวพิทักษ์และครอบครัว 				 $ 20.00
นายสิทธิโชค สิทธิมณฑล, น.ส.ทิวาพร ศิริสุวรรณ			 $ 60.00
ทำ�บุญอุทิศให้นายประสงค์ บุญถนอม				 $ 30.00
รายรับเดือนสิงหาคม 2556
M.Yeampeka							 $ 30.00
น.ส.วรางค์พร เกศวพิทักษ์และครอบครัว 				 $ 20.00
นายสิทธิโชค สิทธิมณฑล, น.ส.ทิวาพร ศิริสุวรรณ			 $ 60.00
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana24 25
ทำ�บุญอุทิศให้นายประสงค์ บุญถนอม				 $ 30.00
ครอบครัวปรีชาวิบูลย์						 $ 30.00
ผู้ไม่ประสงค์ออกนาม						 $ 20.00
Mr.Clarence & Noi Megyesy					 $ 40.00
คุณชัยวุฒิ เลิศวิชัยวรวิชย์(ทำ�บุญให้คุณย่า)				 $ 100.00
คุณชัยวุฒิ เลิศวิชัยวรวิชย์(ทำ�บุญวันแม่)				 $ 100.00
Peter & Thongmuan Milosavljevic				 $ 29.00
Kim Van							 $ 10.00
Gilbert P. Trujillo						 $ 58.00
โยมติ๋ว & แหม่ม & สุรีย์ & Kim Van(ทำ�บุญวันแม่)			 $ 120.00
Somsong Fox, อุ้ย ศรีจินดา, วรรณ ศรีจินดา			 $ 20.00
Nemonga Milasevic(ฟ้า)						 $ 30.00
Kim Vann Rom							 $ 20.00
นวินรัตน์ บรุ้น, วิลลี่						 $ 20.00
Gon E Maxwell, Varana Maxwell					 $ 100.00
Pittsburgh Thai Restaurant, ณัฏฐพงศ์ จันทร์อยู่			 $ 137.00
อภิญญา กุญชร ณ อยุธยา และครอบครัว				 $ 500.00
คุณเฉลิมวุฒิ สุทธิบุญ						 $ 50.00
กนกนุช อมรวงศ์(ซื้อที่ดินวัด)					 $ 20.00
กนกนุช อมรวงศ์(ค่าน้ำ�-ไฟ)					 $ 10.00
ครอบครัวรมยานนท์(ซื้อที่ดินวัด)					 $ 200.00
ครอบครัวปรางค์ชัยกุล(ค่าน้ำ�-ไฟ)					 $ 30.00
Mam Pimjai & Mea Bhavida					 $ 40.00
Kittima Frank and family						 $ 100.00
Chaloemwut Suttiboon						 $ 50.00
Jane Chounaem							 $ 70.00
Gon E. & Varaya Maxwell					 $ 120.00
Jim & Pimjai Birmingham(ทำ�บุญให้พ่อ)				 $ 30.00
Sandhya J. Patel							 $ 51.00
Joseph Ates							 $ 50.00
หะริน โกล์ด							 $ 30.00
Noi Megyesy & Dee Manus Sands				 $ 20.00
Clarence & Jumlong Megyesy					 $ 30.00
พีระ โรหิตบุตร(ทำ�บุญซื้อที่ดิน)					 $ 30.00
Kanokon Smathers						 $ 50.00
Orawan Sirimongkol						 $ 50.00
Josh Booth and family						 $ 50.00
Usa Jirachertchoowong						 $ 100.00
Bumpen & Danial Winwood					 $ 100.00
กิ่งกาญจน์ ซื่อสัตย์และครอบครัว(ทำ�บุญซื้อที่ดิน)			 $ 20.00
คุณใจ วงค์คำ�(ทำ�บุญซื้อที่ดิน/ประกันสุขภาพพระ)			 $ 200.00
Manus Sands(ทำ�บุญเช่าสถานที่จัดงานกฐิน)			 $ 100.00
Manus Sands(ทำ�บุญประกันสุขภาพพระ)				 $ 100.00
Manus Sands(ทำ�บุญค่าน้ำ�-ไฟ)					 $ 50.00
Clarence & Jumlong Mecyesy(ทำ�บุญเช่าสถานที่จัดงานกฐิน)	 $ 100.00
Clarence & Jumlong Mecyesy(ทำ�บุญค่าน้ำ�-ไฟ)			 $ 50.00
Somsong Fox							 $ 25.00
จำ�เนียร น้ำ�ใส, บักลัก แซ่อั๊ง(ทำ�บุญเช่าสถานที่จัดงานกฐิน)		 $ 100.00
ก๋งตี๋+ยายแสง+ยายขอ แซ่เอี๊ยบ(ทำ�บุญเช่าสถานที่จัดงานกฐิน)	 $ 100.00
นายอ๊อด+นางทุเรียน น้ำ�ใส(ทำ�บุญเช่าสถานที่จัดงานกฐิน)		 $ 100.00
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana26 27
วิเชียร น้ำ�ใส(ทำ�บุญเช่าสถานที่จัดงานกฐิน)			 $ 40.00
Somsong Fox (ทำ�บุญเช่าสถานที่จัดงานกฐิน)			 $ 40.00
รัตนาภรณ์ น้ำ�ใส(ทำ�บุญเช่าสถานที่จัดงานกฐิน)			 $ 20.00
Kim Vann (ทำ�บุญเช่าสถานที่จัดงานกฐิน)				 $ 20.00
Preet Sighn(ทำ�บุญเช่าสถานที่จัดงานกฐิน)				 $ 20.00
รายรับเดือนกันยายน 2556
Jim-Mam Birmingham						 $ 50.00
Danial Winwood						 $ 20.00
Jane Chouname							 $ 200.00
Amy-John, Papaya Thai Restaurant				 $ 100.00
K.Keng, Andy, Ning, Neng, Papaya Thai Rest. Team		 $ 70.00
น.ส.สุจิตรา เทียมเมืองแพน					 $ 05.00
Bob Fox							 $ 25.00
Samuel-Ratsamy Wu						 $ 20.00
Clarence-Jumlong Meyesy					 $ 60.00
นางบรรลุ อินทร์ชัยยา						 $ 20.00
Gilbert P. Trujillo						 $ 50.00
Joseph Ates							 $ 120.00
Pam & Josh							 $ 60.00
Amy-John, Papaya Thai Restaurant				 $ 30.00
Chaloemwut Suttiboon						 $ 50.00
Somsong Fox							 $ 100.00
Vilavan-Phoc Vong						 $ 617.00
Pittsburgh Thai Food Ing.					 $ 50.00
Chalermphon Jabkul						 $ 20.00
Pranom Jabkul							 $ 100.00
ป้านิด สมศรี มาแตง						 $ 50.00
Malinee Vangsameteekul						 $ 100.00
กลุ่มพลังบุญ							 $ 96.00
คุณเอื้อนภา ริชาร์ด						 $ 20.00
Somsong Fox							 $ 50.00
คุณกุ๊กกิ๊ก และครอบครัว						 $ 20.00
Maggie								 $ 20.00
คุณน้อย-เขียด DC						 $ 10.00
คุณประยูรศรี วรเลิศ						 $ 10.00
คุณเครือวรรณ เอกโชติ						 $ 30.00
Apinya Kunjara Na Ayuddhaya					 $ 500.00
คุณสมหมาย เบิกกว้าง,Jim Lovetro และครอบครัว			 $ 100.00
คุณจำ�เนียร น้ำ�ใส						 $ 20.00
พ่อแก้ว-แม่สม พุทธวงค์						 $ 100.00
Boonrak-Rattana Tanitisira					 $ 100.00
คุณสุกานดา บุพพานนท์						 $ 50.00
คุณรัตติพร มั่นพรหม						 $ 10.00
คุณลิลลี่ และคุณแม่พรรษา					 $ 20.00
Manas D Sand							 $ 50.00
คุณวี นันทะวงค์							 $ 100.00
คุณ Jame-คุณแหม่ม Birmingham					 $ 30.00
Kim Van							 $ 10.00
Jane Chounaem และครอบครัว					 $ 103.00
คุณจันทิมา จิรเชิดชูวงษ์						 $ 100.00
พ่อคำ�โฮง นันทะวงศ์						 $ 50.00
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana28 29
Dave Douglass							 $ 20.00
กลุ่มปฏิบัติธรรมเมือง Butler					 $ 280.00
Manee-Robert-Arnon-Ornuma Rudolph				 $ 10.00
รายจ่ายเดือนกรกฎาคม 2556
07/07/2013	 Aetna						 $ 124.00
07/07/2013	 PWSA						 $ 51.62
07/09/2013	 Duquesne Light					 $ 78.00
07/10/2013	 UPMC Mercy					 $ 285.60
07/11/2013	 Peoples natural Gas				 $ 40.86
07/13/2013	 ซื้ออุปกรณ์สำ�นักงาน				 $ 95.10
07/14/2013	 Comcast					 $ 208.16
07/14/2013	 Guardian					 $ 31.95
07/14/2013	 Nationwide					 $ 67.94
07/14/2013	 C&H International Ticket to Thailand(Ajahn Sayan)$ 1,372.00
07/15/2013	 ซื้อเลื่อยตัดแต่งกิ่งไม้				 $ 53.50
07/15/2013	 ซื้อถุงขยะดำ�					 $ 13.90
07/18/2013	 ซื้อเทียนไข					 $ 11.04
07/18/2013	 ซื้อน้ำ�ขวดใหญ่ 3 ขวด				 $ 20.97
07/28/2013	 ซื้ออุปกรณ์สำ�นักงาน				 $ 42.62
รายจ่ายเดือนสิงหาคม 2556
08/03/2013		 ซื้ออุปกรณ์สำ�นักงาน			 $ 50.77
08/04/2013		 Aetna					 $ 124.00
08/04/2013		 PWSA					 $ 78.67
08/04/2013		 Duquesne Light				 $ 114.60
08/05/2013		 ค่าส่งวารสารให้สมาชิกวัด		 $ 178.22
08/13/2013		 Comcast				 $ 76.81
08/14/2013		 Erie Insurance Group			 $ 97.00
08/19/2013		 Guardian				 $ 31.95
08/22/2013		 ค่าเข้าเล่มหนังสือธรรมะแจกฝรั่ง		 $ 97.36
รายจ่ายเดือนกันยายน 2556
09/01/2013	 Duquesne Light					 $ 66.45
09/01/2013	 Nationwide					 $ 714.00
09/01/2013	 ทำ�บุญวันมหารำ�ลึกวัดวชิรธรรมปทีป นิวยอร์ก	 $ 200.00
09/01/2013	 Aetna						 $ 124.00
09/01/2013	 Department of transportation bureau of motor	 $ 36.00
09/03/2013	 ซื้อแสตมป์ส่งจดหมายแจ้งข่าวสมาชิกวัด		 $ 92.00
09/06/2013	 Air Ticket for Ven.Piya to New York		 $ 263.00
09/13/2013	 The Council of Thai Bhikkhus in the U.S.A.	 $ 400.00
09/15/2013	 Peoples						 $ 7.02
09/17/2013	 Comcast					 $ 62.00
09/17/2013	 PWSA						 $ 65.27
09/21/2013	 Guardian					 $ 31.95
09/21/2013	 Air Ticket For Ven.Thanat & Ven.Surathal	 $ 407.60
09/26/2013 Air Ticket for Ven.Suriya				 $ 224.90
09/27/2013 Aetna						 $ 124.00
รายนามผู้ร่วมทำ�บุญจ่ายภาษีที่ดินวัด(Property Tax)
1. คุณมนัส(ดี) แซนด์				 $ 100.00
2. คุณสมทรง Fox				 $ 100.00
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana
อนุโมทนาบุญ
ญาติโยมผู้ถวายภัตตาหารเพลประจำ�วันต่างๆ
วัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก
วันจันทร์	 Thai Cuisine, Thai Spoon ครอบครัวจิระเชิดชูวงศ์
วันอังคาร	 คุณคิม,คุณใจ วงศ์คำ�และเพื่อนๆ(อังคารที่ ๑ ของเดือน)
วันพุธ		 คุณพิมพ์ใจ เบอร์มิ่งแฮม,คุณนีน่า โกลด์ และเพื่อน
วันพฤหัสบดี	 คุณจำ�ลอง แม็คคาซี่, คุณมนัส แซนด์, คุณเจน ซูนัม, 	 	
		 Thai Me Up Restaurant
วันศุกร์		 คุณสมทรง ฟ็อก และเพื่อนๆ
วันเสาร์	 คุณวิลาวรรณ วอง และครอบครัว, Thai Gourmet
วันอาทิตย์	 ญาติโยมทั้งหลายร่วมทำ�บุญ ถวายภัตตาหารเพล
*หมายเหตุในแต่ละวันอาจจะมีญาติโยมทั้งหลายมาร่วมตามโอกาสจะ
เอื้ออำ�นวย
	 อันนะโท พะละโท โหติ	 วัตถะโท โหติ วัณณะโท
ยานะโท สุขะโท โหติ			 ทีปะโท โหติ จักขุโท.
	 ผู้ให้ข้าว ชื่อว่าให้กำ�ลัง, ผู้ให้ผ้า ชื่อว่าให้ผิวพรรณ, ผู้ให้ยาน
พาหนะ ชื่อว่าให้ความสุข, ผู้ให้ประทีป ชื่อว่าให้จักษุ
30
3. คุณจุก Thai Cuisine						 $ 20.00
4. คุณอรพรรณ วิทยปรีชาอนันต์					 $ 10.00
5. Jane Chounaem						 $ 63.00
6. คุณวิเชียร น้ำ�ใส						 $ 30.00
7. คุณรัตนาภรณ์ น้ำ�ใส						 $ 30.00
8. Preet Sighn							 $ 20.00
9. Phoc & Vilavan Vong						 $ 100.00
10. พ่ออ๊อด – แม่ทุเรียน น้ำ�ใส					 $ 100.00
11. ก๋งตี๋-ยายแสง-ยายขอ แซ่เอี๊ยบ					 $ 100.00
31
  สมาคมศาสนาสากลจัดงาน
วันสันติภาพโลกที่เมืองพิทส์
เบิร์ก(International Day of
Peace, Non-Violence)โดย
เชิญทุกศาสนาสวดมนต์
บรรยายเพื่อสันติภาพของ
โลก คณะสงฆ์และญาติโยม
วัดเข้าร่วมงานด้วย
	 ช า ว อ เ ม ริ กั น
จำ�นวน๑๓ท่านมาปฏิบัติ
ธรรมร่วมกับคณะพระ
ธรรมทูต หลังจากทำ�บุญ
วันสารท และครบรอบ ๒
ปีวัด
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana
ทำ�บุญวันอาสาฬหบูชา-เข้าพรรษา 2556 - Asalha Puja & Buddhist Lent 2013 วันมหารำ�ลึกและประชุมเจ้าอาวาสประจำ�ปี - Memorail Day Ceremony
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana
ทำ�บุญวันสารทและครบรอบ 2 ปีวัด - Sart Ceremony & 2 Anniversary ปฏิบัติธรรมที่เมืองบัทเล่อร์ - Meditation Retreat
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana36 37
ขอเชิญทุกท่านร่วมทำ�บุญวันออกพรรษา
ณ วัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก
วันอาทิตย์ที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2556
*******
	 วันออกพรรษา คือ วันสิ้นสุดระยะการจำ�พรรษา หรือออกจากการอยู่
ประจำ�ที่ในฤดูฝนซึ่งตรงกับวันขึ้น ๑๕ ค่ำ� เดือน ๑๑ วันออกพรรษานี้ เรียกอีก
อย่างหนึ่งว่า "วันมหาปวารณา" คำ�ว่า"ปวารณา"แปลว่า "อนุญาต" หรือ "ยอม
ให้" คือ เป็นวันที่เปิดโอกาสให้พระภิกษุสงฆ์ด้วยกันว่ากล่าวตักเตือนกันได้ ใน
ข้อที่ผิดพลั้งล่วงเกินระหว่างที่จำ�พรรษาอยู่ด้วยกัน
	 ในวันออกพรรษานี้ กิจอันเป็นบุญกุศลที่ชาวพุทธมักทำ� เช่น การทำ�บุญ
ตักบาตรเทโวฯ จัดดอกไม้ ธูป เทียนบูชาพระที่วัด ฟังธรรม และถือศีลปฏิบัติ
ธรรม เป็นต้น
	 ส่วนการ "ตักบาตรเทโว" คำ�ว่า "เทโว" ย่อมาจาก"เทโวโรหน" แปลว่า
การเสด็จจากเทวโลก การตักบาตรเทโว จึงเป็นการระลึกถึงวันที่พระพุทธองค์
เสด็จกลับจากการโปรดพระพุทธมารดาบนเทวโลกหรือสวรรค์ชั้นดาวดึงส์
วันอาทิตย์ที่ 20 ตุลาคม 2556
	 เวลา 10.15 น.	 จุดเทียนธูปบูชาพระรัตนตรัย,
			 ร่วมกันสวดมนต์, สมาทานศีล ๕
			 พระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์,
			 ญาติโยมตักบาตรข้าวสุก,
	 เวลา 10.45 น.	 ถวายภัตตาหารเพล, แสดงธรรมเรื่องวันออกพรรษา,
			 พิจารณาฉันเพล
	 เวลา 12.00 น.	 ญาติโยมร่วมกันรับประทานอาหาร
	 เวลา 12.30 น.	 เจริญจิตภาวนาในวันออกพรรษา
			 รับของที่ระลึก เป็นอันเสร็จพิธี
*******
The End of Buddhist Lent Ceremony
******
	 After the monks have endured the 3 months retreat in their own monastery, they
arethenallowedtotravelagain.ThelastdayoftheRainsretreatiscalled“AwkPhansa”(in
Thai), which means “leaving the Rains retreat”. This day marksthe end ofthe Buddhist lent
and falls on the full moon day of the eleventh lunar month (October). It represents a day of
joyful celebration and merit-making for the lay devotees.The day can also be referred to as
“Mahapavarana”, meaning “Sangha talk” or “discussion day”. It is on this day, with loving
kindness, the monks will gather and have a discussion on all aspects relating to the Sangha
community and decide upon actions to be taken for its general improvement for the future.
	 To this day, “Awk Phansa” is still observed for the benefit of the monks and the
lay community.The faithful will visit the temple to offer food or requisites to the monks in
order to make merit; while the monks reciprocate such offerings by delivering a sermon on
the teachings of the Buddha.
	 Where : Wat Padhammaratana, 5411 Glenwood Ave., Pittsburgh, PA 15207
	 When : October 20, 2013. 9.30 am – 12.00 pm., Free to the public
	 Info : (412)521-5095, www.bmcpitts.org, www.facebook.com/bmcpitts
Schedule
Sunday, October 20, 2013
	 10.15 a.m.	 Light the candle, group-chanting,
			 request five precepts, the monk chants
	 10.45 a.m.	 Lunch served to the Venerable monk and Dhamma talk
	 12.00 a.m.	 Lunch served to the congregation
	 12.00 a.m.	 Meditation (5-10 minutes),
			 receive the gift by Venerable monk,
			 Group-Picture, the program closed.
******
ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana38 47
	 All are cordially invited to participate
in the meditation programs and Buddhist activities at
Wat Padhammaratana(The Buddhist Meditation Centre of Pittsburgh)
Activity Day Time
1. Chanting Daily Morning and
Evening
05.30 - 6.30 a.m.
5.30 - 6.30 p.m.
2. Dhamma Talk Daily Morning 10.45 - 11.15 a.m.
3.Buddhist Study(Thai) Every Sunday 01.00 - 03.00 p.m.
4. Meditation(English) Every Saturday 03.00 - 05.00 p.m.
All activities will be held at the upper or lower level of the temple. For further infor-
mation, please contact Wat Padhammaratana, PA. Tel.412-521-5095,
E-mail : bmcpitts@hotmail.com, www.bmcpitts.org, www.facebook.com/bmcpitts
- To serve as a Buddhism promotion
center in the U.S.
- To serve as a meditation center in
Pittsburgh
- To promote virtues, Buddhist cul-
ture and traditions
- To be a center of all Buddhists,
regardless of nationalities
OBJECTIVES
กิจกรรมในแต่ละเดือน ปี 2556 วัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก
ทำ�บุญวันขึ้นปีใหม่			 วันอังคารที่ 1 มกราคม 2556
ทำ�บุญวันมาฆบูชา			 วันอาทิตย์ที่ 24 กุมภาพันธ์ 2556
ปฏิบัติธรรมประจำ�เดือน		 วันที่ 15-17 เมษายน 2556
ทำ�บุญวันสงกรานต์			 วันอาทิตย์ที่ 7 เมษายน 2556
ทำ�บุญวันวิสาขบูชา			 วันอาทิตย์ที่ 19 พฤษภาคม 2556
ร่วมทำ�บุญวันเกิด 88 ปี หลวงตาชี	 วันอาทิตย์ที่ 9 มิถุนายน 2556
ทำ�บุญวันเข้าพรรษา			 วันอาทิตย์ที่ 21 กรกฎาคม 2556
บรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อน		 วันที่ 4-11 สิงหาคม 2556
ปฏิบัติธรรมวันสารท			 วันที่ 13 - 15 กันยายน 2556
ทำ�บุญวันออกพรรษา			 วันอาทิตย์ที่ 20 ตุลาคม 2556
ทำ�บุญทอดกฐิน			 วันอาทิตย์ที่ 10 พฤศจิกายน 2556
ทำ�บุญวันพ่อแห่งชาติ			 วันอาทิตย์ที่ 8 ธันวาคม 2556
ปฏิบัติธรรมส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ วันอังคารที่ 31 ธันวาคม 2556
RELIGIOUS CEREMONY 2013 WAT PADHAMMARATANA
New Year Celebration			 Tuesday, January 1, 2013
Makhapuja Ceremony			 Sunday, February 24, 2013
Meditation Retreat			 March 15-17, 2013
Songkran Festival			 Sunday, April 7, 2013
Visaka Puja Ceremony		 Sunday, May 19, 2013
Luangta Chi's Birthday		 Sunday, June 9, 2013
Asalha Puja & Rains-retreat Ceremony Sunday, July 21, 2013
Novice Summer Camp		 August 4-11, 2013
Sart Meditation Retreat		 September 13-15, 2013
Rains-retreat ending Ceremony	 Sunday, October 20, 2013
Kathina Ceremony			 Sunday, November 10, 2013
Meditation Retreat			 Tuesday, December 31, 2013

More Related Content

What's hot

Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011 Wat Thai Washington, D.C.
 
ศาสตร์แห่งสมาธิ
ศาสตร์แห่งสมาธิศาสตร์แห่งสมาธิ
ศาสตร์แห่งสมาธิTeacher Sophonnawit
 
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์Rath Saadying
 
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาคำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาSongsarid Ruecha
 
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียดชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียดtassanee chaicharoen
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖Anchalee BuddhaBucha
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดPadvee Academy
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาNew Nan
 
พรธรรมปีใหม่ 54
พรธรรมปีใหม่ 54พรธรรมปีใหม่ 54
พรธรรมปีใหม่ 54santidhamma
 
สรุปกิจกรรม Maditation (j)
สรุปกิจกรรม Maditation (j)สรุปกิจกรรม Maditation (j)
สรุปกิจกรรม Maditation (j)monthsut
 
Dhammaratana journal 13 - วารสารธรรมรัตน์ฉบับที่ ๑๓ ปีที่ ๔
Dhammaratana journal 13 - วารสารธรรมรัตน์ฉบับที่ ๑๓ ปีที่ ๔ Dhammaratana journal 13 - วารสารธรรมรัตน์ฉบับที่ ๑๓ ปีที่ ๔
Dhammaratana journal 13 - วารสารธรรมรัตน์ฉบับที่ ๑๓ ปีที่ ๔ Watpadhammaratana Pittsburgh
 

What's hot (20)

Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 441 January 2012
 
Seangdhamma Vol. 37 No. 439 November 2011
Seangdhamma Vol. 37 No. 439 November 2011Seangdhamma Vol. 37 No. 439 November 2011
Seangdhamma Vol. 37 No. 439 November 2011
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
 
ศาสตร์แห่งสมาธิ
ศาสตร์แห่งสมาธิศาสตร์แห่งสมาธิ
ศาสตร์แห่งสมาธิ
 
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
 
Saeng Dhamma Vol 35 No. 419 March, 2010
Saeng Dhamma Vol 35 No. 419 March, 2010Saeng Dhamma Vol 35 No. 419 March, 2010
Saeng Dhamma Vol 35 No. 419 March, 2010
 
Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010
 
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาคำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนา
 
Saeng Dhamma June, 2010
Saeng Dhamma June, 2010Saeng Dhamma June, 2010
Saeng Dhamma June, 2010
 
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียดชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
 
Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011
Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011 Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011
Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011
 
Saengdhamma Januaryr2011
Saengdhamma Januaryr2011Saengdhamma Januaryr2011
Saengdhamma Januaryr2011
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
 
Mindfulness in-organization
Mindfulness in-organizationMindfulness in-organization
Mindfulness in-organization
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียด
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
 
พรธรรมปีใหม่ 54
พรธรรมปีใหม่ 54พรธรรมปีใหม่ 54
พรธรรมปีใหม่ 54
 
สรุปกิจกรรม Maditation (j)
สรุปกิจกรรม Maditation (j)สรุปกิจกรรม Maditation (j)
สรุปกิจกรรม Maditation (j)
 
Dhammaratana journal 13 - วารสารธรรมรัตน์ฉบับที่ ๑๓ ปีที่ ๔
Dhammaratana journal 13 - วารสารธรรมรัตน์ฉบับที่ ๑๓ ปีที่ ๔ Dhammaratana journal 13 - วารสารธรรมรัตน์ฉบับที่ ๑๓ ปีที่ ๔
Dhammaratana journal 13 - วารสารธรรมรัตน์ฉบับที่ ๑๓ ปีที่ ๔
 

Viewers also liked

ElectroWeek '13 - Qué es el cloud computing
ElectroWeek '13 - Qué es el cloud computingElectroWeek '13 - Qué es el cloud computing
ElectroWeek '13 - Qué es el cloud computingDiego Rubio
 
Hpo content2
Hpo content2Hpo content2
Hpo content2i_cavalry
 
ใบความรุ้เรื่อง หลักการคำนวนฐานโจทย์
ใบความรุ้เรื่อง หลักการคำนวนฐานโจทย์ใบความรุ้เรื่อง หลักการคำนวนฐานโจทย์
ใบความรุ้เรื่อง หลักการคำนวนฐานโจทย์Muhammadrusdee Almaarify
 
Recycled Water_Katrina McRae
Recycled Water_Katrina McRaeRecycled Water_Katrina McRae
Recycled Water_Katrina McRaeKatrina McRae
 
วิจารณ์เวียนว่ายตายเิกด
วิจารณ์เวียนว่ายตายเิกดวิจารณ์เวียนว่ายตายเิกด
วิจารณ์เวียนว่ายตายเิกดMuttakeen Che-leah
 

Viewers also liked (8)

Agente BASTIN
Agente BASTINAgente BASTIN
Agente BASTIN
 
ElectroWeek '13 - Qué es el cloud computing
ElectroWeek '13 - Qué es el cloud computingElectroWeek '13 - Qué es el cloud computing
ElectroWeek '13 - Qué es el cloud computing
 
Hpo content2
Hpo content2Hpo content2
Hpo content2
 
Reward love ๒๕๕๖
Reward love ๒๕๕๖Reward love ๒๕๕๖
Reward love ๒๕๕๖
 
ใบความรุ้เรื่อง หลักการคำนวนฐานโจทย์
ใบความรุ้เรื่อง หลักการคำนวนฐานโจทย์ใบความรุ้เรื่อง หลักการคำนวนฐานโจทย์
ใบความรุ้เรื่อง หลักการคำนวนฐานโจทย์
 
M6 03e-eng
M6 03e-engM6 03e-eng
M6 03e-eng
 
Recycled Water_Katrina McRae
Recycled Water_Katrina McRaeRecycled Water_Katrina McRae
Recycled Water_Katrina McRae
 
วิจารณ์เวียนว่ายตายเิกด
วิจารณ์เวียนว่ายตายเิกดวิจารณ์เวียนว่ายตายเิกด
วิจารณ์เวียนว่ายตายเิกด
 

Similar to Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์

Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับLunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับWatpadhammaratana Pittsburgh
 
Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์Watpadhammaratana Pittsburgh
 
Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11
Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11
Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11Watpadhammaratana Pittsburgh
 
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13khumtan
 
Paper of triple gem full (final)
Paper of triple gem full (final)Paper of triple gem full (final)
Paper of triple gem full (final)Sarawut Sangnarin
 
กลุ่ม Mix --มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน 1
กลุ่ม  Mix --มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน 1กลุ่ม  Mix --มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน 1
กลุ่ม Mix --มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน 1freelance
 
เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้Phairot Odthon
 
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารหลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารguestf16531
 
จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์duangdee tung
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาpentanino
 
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์Panda Jing
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตfreelance
 

Similar to Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์ (20)

Dhammaratana journal 4
Dhammaratana journal 4Dhammaratana journal 4
Dhammaratana journal 4
 
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับLunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
 
Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 9 - วารสารธรรมรัตน์
 
Dhammaratana journal 10
Dhammaratana journal 10Dhammaratana journal 10
Dhammaratana journal 10
 
Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11
Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11
Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11
 
Saengdhamma April, 2010
Saengdhamma April, 2010 Saengdhamma April, 2010
Saengdhamma April, 2010
 
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
 
Paper of triple gem full (final)
Paper of triple gem full (final)Paper of triple gem full (final)
Paper of triple gem full (final)
 
กลุ่ม Mix --มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน 1
กลุ่ม  Mix --มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน 1กลุ่ม  Mix --มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน 1
กลุ่ม Mix --มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน 1
 
เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้
 
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารหลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
 
จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์
 
Jitpontook
JitpontookJitpontook
Jitpontook
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
Saengdhamma Vol.36 No. 428 December 2010
Saengdhamma Vol.36 No. 428 December 2010Saengdhamma Vol.36 No. 428 December 2010
Saengdhamma Vol.36 No. 428 December 2010
 
คำนำทำ1
คำนำทำ1คำนำทำ1
คำนำทำ1
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
 
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
 

More from Watpadhammaratana Pittsburgh

ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016
ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016
ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016Watpadhammaratana Pittsburgh
 
5 ปี วัดป่าธรรมรัตน์ - 5 years anniversary of BMCP
5 ปี วัดป่าธรรมรัตน์ - 5 years anniversary of BMCP5 ปี วัดป่าธรรมรัตน์ - 5 years anniversary of BMCP
5 ปี วัดป่าธรรมรัตน์ - 5 years anniversary of BMCPWatpadhammaratana Pittsburgh
 
Dhammaratana journal 15, 2016 - วารสารธรรมรัตน์ปีที่ 5 ฉบับที่ 15
Dhammaratana journal 15, 2016 - วารสารธรรมรัตน์ปีที่ 5 ฉบับที่ 15Dhammaratana journal 15, 2016 - วารสารธรรมรัตน์ปีที่ 5 ฉบับที่ 15
Dhammaratana journal 15, 2016 - วารสารธรรมรัตน์ปีที่ 5 ฉบับที่ 15Watpadhammaratana Pittsburgh
 
Kathina booklet - กฐินสามัคคี
Kathina booklet - กฐินสามัคคีKathina booklet - กฐินสามัคคี
Kathina booklet - กฐินสามัคคีWatpadhammaratana Pittsburgh
 
Dhammaratana journal - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal - วารสารธรรมรัตน์Dhammaratana journal - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal - วารสารธรรมรัตน์Watpadhammaratana Pittsburgh
 
ประวัติวัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก
ประวัติวัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์กประวัติวัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก
ประวัติวัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์กWatpadhammaratana Pittsburgh
 
โบว์ชัวร์สร้างพระ
โบว์ชัวร์สร้างพระโบว์ชัวร์สร้างพระ
โบว์ชัวร์สร้างพระWatpadhammaratana Pittsburgh
 
The ways to keep anger at bay - ทำอย่างไรจะหายโกรธ
The ways to keep anger at bay - ทำอย่างไรจะหายโกรธThe ways to keep anger at bay - ทำอย่างไรจะหายโกรธ
The ways to keep anger at bay - ทำอย่างไรจะหายโกรธWatpadhammaratana Pittsburgh
 
Dhammaratana journal 2 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 2
Dhammaratana journal 2 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 2Dhammaratana journal 2 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 2
Dhammaratana journal 2 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 2Watpadhammaratana Pittsburgh
 
Dhammaratana journal 1 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับแรก
Dhammaratana journal 1 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับแรกDhammaratana journal 1 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับแรก
Dhammaratana journal 1 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับแรกWatpadhammaratana Pittsburgh
 
ประวัติย่อวัดป่าธรรมรัตน์
ประวัติย่อวัดป่าธรรมรัตน์ประวัติย่อวัดป่าธรรมรัตน์
ประวัติย่อวัดป่าธรรมรัตน์Watpadhammaratana Pittsburgh
 
สมุดภาพวัดป่าธรรมรัตน์
สมุดภาพวัดป่าธรรมรัตน์สมุดภาพวัดป่าธรรมรัตน์
สมุดภาพวัดป่าธรรมรัตน์Watpadhammaratana Pittsburgh
 
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์Watpadhammaratana Pittsburgh
 

More from Watpadhammaratana Pittsburgh (20)

ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016
ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016
ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016
 
5 ปี วัดป่าธรรมรัตน์ - 5 years anniversary of BMCP
5 ปี วัดป่าธรรมรัตน์ - 5 years anniversary of BMCP5 ปี วัดป่าธรรมรัตน์ - 5 years anniversary of BMCP
5 ปี วัดป่าธรรมรัตน์ - 5 years anniversary of BMCP
 
Dhammaratana journal 15, 2016 - วารสารธรรมรัตน์ปีที่ 5 ฉบับที่ 15
Dhammaratana journal 15, 2016 - วารสารธรรมรัตน์ปีที่ 5 ฉบับที่ 15Dhammaratana journal 15, 2016 - วารสารธรรมรัตน์ปีที่ 5 ฉบับที่ 15
Dhammaratana journal 15, 2016 - วารสารธรรมรัตน์ปีที่ 5 ฉบับที่ 15
 
Kathina booklet - กฐินสามัคคี
Kathina booklet - กฐินสามัคคีKathina booklet - กฐินสามัคคี
Kathina booklet - กฐินสามัคคี
 
Dhammaratana journal - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal - วารสารธรรมรัตน์Dhammaratana journal - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal - วารสารธรรมรัตน์
 
ประวัติวัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก
ประวัติวัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์กประวัติวัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก
ประวัติวัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก
 
โบว์ชัวร์สร้างพระ
โบว์ชัวร์สร้างพระโบว์ชัวร์สร้างพระ
โบว์ชัวร์สร้างพระ
 
The good buddhist
The good buddhistThe good buddhist
The good buddhist
 
The ways to keep anger at bay - ทำอย่างไรจะหายโกรธ
The ways to keep anger at bay - ทำอย่างไรจะหายโกรธThe ways to keep anger at bay - ทำอย่างไรจะหายโกรธ
The ways to keep anger at bay - ทำอย่างไรจะหายโกรธ
 
Dhammaratana journal 2 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 2
Dhammaratana journal 2 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 2Dhammaratana journal 2 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 2
Dhammaratana journal 2 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 2
 
Dhammaratana journal 1 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับแรก
Dhammaratana journal 1 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับแรกDhammaratana journal 1 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับแรก
Dhammaratana journal 1 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับแรก
 
ประวัติย่อวัดป่าธรรมรัตน์
ประวัติย่อวัดป่าธรรมรัตน์ประวัติย่อวัดป่าธรรมรัตน์
ประวัติย่อวัดป่าธรรมรัตน์
 
สมุดภาพวัดป่าธรรมรัตน์
สมุดภาพวัดป่าธรรมรัตน์สมุดภาพวัดป่าธรรมรัตน์
สมุดภาพวัดป่าธรรมรัตน์
 
Buddhism in pittsburgh
Buddhism in pittsburghBuddhism in pittsburgh
Buddhism in pittsburgh
 
วาทะพระอรหันต์
วาทะพระอรหันต์วาทะพระอรหันต์
วาทะพระอรหันต์
 
ฟังดีมีปัญญา
ฟังดีมีปัญญาฟังดีมีปัญญา
ฟังดีมีปัญญา
 
ฟังดีมีปัญญา
ฟังดีมีปัญญาฟังดีมีปัญญา
ฟังดีมีปัญญา
 
1 years
1 years1 years
1 years
 
Dhammaratana journal 5
Dhammaratana journal 5Dhammaratana journal 5
Dhammaratana journal 5
 
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์
 

Dhammaratana journal 8 - วารสารธรรมรัตน์

  • 1. Dhammaratana Journal Vol.2 No.8 Oct.-Dec. 2013 ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๘ เดือนต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๖ วารสารธรรมรัตน์ 10 พ.ย. 2556 ขอเชิญพุทธศาสนิกชนร่วมทำ�บุญ ทอดกฐินสามัคคี ณ วัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก - สวดมนต์ ภาวนา - ตักบาตรพระ 6 รูป - ฟังเทศน์ - ร่วมทอดกฐินสามัคคี ข อ เ ช ิ ญ ร ่ ว ม . . . Join us to celebrate Kathina Ceremony (Robe Offerring) Sunday, November 10, 2013 All Members are welcome วันออกพรรษา The End of Buddhist Lent
  • 2. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana C O N T E N T S ส า ร บ ั ญ OBJECTIVES - To serve as a Buddhism promotion center in the U.S. - To serve as a meditation center in Pittsburgh - To promote virtues, Bud- dhist culture and traditions - To be a center of all Bud- dhists, regardless of nationalities วัตถุประสงค์ - เพื่อเป็นศูนย์กลางการเผยแผ่ พระพุทธศาสนาในสหรัฐอเมริกา - เพื่อเป็นศูนย์ปฏิบัติวิปัสสนา กรรมฐานประจำ�เมืองพิทส์เบอร์ก - เพื่อศูนย์ส่งเสริม ศีลธรรม วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณีที่ ดีงามของชาวพุทธ - เพื่อเป็นศูนย์ฝึกอบรมเสริม ความรู้พระธรรมทูตสายต่างประเทศ - เพื่อเป็นศูนย์รวมใจของชาว พุทธโดยไม่จำ�กัดเชื้อชาติ บทบรรณาธิการ พระพุทธพจน์ - The Buddha's Words 1 reflection on the cause and its cessation 2 หลักชีวิต หลักชาวพุทธ 6 หลักในการนับถือศาสนา 14 ออกกำ�ลังกายวันละนิด เพื่อสุขภาพที่ดี 16 สรุปข่าวเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม-กันยายน 19 รายรับ-รายจ่ายเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม-กันยายน 22 ญาติโยมผู้ถวายภัตตาหารเพลประจำ�วันต่างๆ 31 ภาพกิจกรรมต่างๆ - Activities 32-35 The End of Buddhist Lent 36 กำ�หนดการทำ�บุญออกพรรษา 37 กิจกรรมทำ�บุญประจำ�ปี 2556 - Religious Ceremony 2013 38 Activities of BMCP 39 วัดป่าธรรมรัตน์ ก้าวย่างแห่งการฝึกตน คติธรรมประจำ�วัด สติมโต สทา ภทฺทํ คนมีสติ เท่ากับมีสิ่งนำ�โชคตลอดเวลา The mind is very hard to check and swift, it falls on what it wants. The training of the mind is good, a mind so tamed brings happiness. เจ้าของ : วัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก ที่ปรึกษา : พระวิเทศธรรมรังษี(หลวงตาชี) พระราชพุทธิวิเทศ พระครูปริยัติธรรมาภิราม พระครูสิริอรรถวิเทศ พระครูสังฆรักษ์อำ�พล สุธีโร คณะสงฆ์วัดไทยกรุงวอชิงตัน,ดีซี คณะสงฆ์วัดป่าสันติธรรม กองบรรณาธิการ : พระมหาสายันต์ อคฺควณฺโณ พระมหาปิยะ อุตฺตมปญฺโญ และอุบาสก-อุบาสิกา รูปเล่ม/รูปภาพ พระมหาปิยะ อุตฺตมปญฺโญ Dhammaratana Journal is published by Wat Padhammaratana The Buddhist Meditation Center of Pittsburgh 5411 Glenwood Ave., Pittsburgh, PA 15207 Tel(412)521-5095 E-mail : bmcpitts@hotmail.com bmcpitts@yahoo.com Homepage : www.bmcpitts.org www.facebook.com/bmcpitts www.youtube.com/bmcpitts ธรรมรัตน์-Dhammaratana วารสารธรรมะวัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก Vol.2 No.8 Oct.-Dec. 2013 ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๘ เดือนต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๖
  • 3. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana1 พระพุทธพจน์ The Buddha's Words หีนํ ธมฺมํ น เสเวยฺย ปมาเทน น สํวเส มิจฺฉาทิฏฺฐึ น เสเวยฺย น สิยา โลกวฑฺฒโน ฯ๑๖๗ฯ อย่าประพฤติสิ่งเลวทราม อย่าอยู่ด้วยความประมาท อย่ายึดถือความเห็นผิด อย่าทำ�ตนเป็นคนรกโลก Do not follow mean things. Do not live in heedlessness. Do not embrace false views, Do not be a 'world-upholder'. บทบรรณาธิการ อจฺจยนฺติ อโหรตฺตา ชีวิตํ อุปรุชฺฌติ อายุ ขีวติ มจฺจานํ กุนฺนทีนํว โอทกํ. วันคืนย่อมล่วงไป ชีวิตย่อมหมดเข้าไป อายุของสัตว์ย่อมสิ้นไป เหมือนน้ำ�แห่งแม่น้ำ�น้อย ๆ ฉะนั้น. เผลอแป๊ปเดียว นี้ก็ใกล้จะถึงวันออกพรรษาแล้ว รู้สึกว่าวันเข้าพรรษาเพิ่ง ผ่านมาไม่กี่เดือน คืนวันผ่านไปอย่างรวดเร็ว ขอให้ชาวพุทธทุกท่านจงใช้เวลาให้ คุ้มค่า ทำ�ประโยชน์ตนและประโยชน์ผู้อื่นให้เต็มที่ วารสารธรรมรัตน์รายไตรมาสปลายปี 2556 กลับมาพบกับท่านอีกครั้ง หนึ่ง เป็นฉบับที่ ๓ ในรอบปี 2556 มีสาระธรรม กิจกรรม และเรื่องราวมากมายมา ฝาก เพื่อแจ้งให้สมาชิกได้ทราบว่าภายในรอบ 3 เดือนที่ผ่านมาทางวัดทำ�อะไรบ้าง และในอีก 3 เดือนข้างหน้าจะมีกิจกรรมอะไรเกิดขึ้นบ้าง ในรอบ๓เดือนคือกรกฎาคมสิงหาคมและกันยายนที่ผ่านมานั้นทางวัดมี กิจกรรมมายมาย เดือนกรกฎาคมมีกิจกรรมวันอาสาฬหบูชา-เข้าพรรษา มีญาติโยม มาร่วมทำ�บุญประมาณ ๕๐ ท่าน, เดือนสิงหาคมนั้นคณะสงฆ์วัดป่าธรรมรัตน์ เดินทางไปทำ�สามีจิกรรมและขอพรจากพระเดชพระคุณหลวงตาชีในเทศกาลเข้า พรรษา และมีการทำ�บุญปฏิบัติธรรมเนื่องในวันแม่, ส่วนเดือนกันยายน มีกิจกรรม ต่างๆ มากมาย เป็นต้นว่า การเดินทางไปร่วมประชุมเจ้าอาวาสประจำ�ปีที่วัดวชิร- ธรรมปทีป มหานครนิวยอร์ก, การทำ�บุญครบรอบ ๒ ปีและประเพณีสารท รวมถึง การจัดปฏิบัติธรรมแก่ญาติธรรมจำ�นวน ๑๖ ท่าน ที่เมืองบัทเล่อร์ กิจกรรมที่จะจัดขึ้นใน ๓ เดือนข้างหน้านั้น เช่น วันที่ ๒๐ ต.ค.๒๕๕๖ นี้จะมีงานทำ�บุญวันออกพรรษา, วันที่ ๑๐ พ.ย.๒๕๕๖ จะมีการทำ�บุญทอดกฐิน สามัคคีซึ่งปีนี้เป็นการทอดกฐินสามัคคีครั้งที่ ๒ ของวัดและชาวเมืองพิทส์เบิร์ก ส่วนในเดือนธันวาคมนั้นมีกิจกรรมทำ�บุญวันกตัญญรู้คุณพ่อ และการทำ�บุญส่ง ท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ จึงขอเรียนเชิญพุทธศาสนิกชนทุกท่านร่วมทำ�บุญ ถือศีล ปฏิบัติธรรมได้กับทางวัด สามารถตรวจดูกิจกรรมต่างๆ ของวัดได้ที่เว็บไซด์และ เฟสบุ๊คของวัด www.bmcpitts.org, www.facebook.com/bmcpitts และเพื่อไม่เป็นการเสียเวลา ขอเชิญญาติโยมทุกท่านพลิกไปอ่านสาร ธรรม และกิจกรรมต่างๆ ในรอบ ๓ เดือนที่ผ่านมาได้ในวารสารเล่มนี้ ด้วยไมตรีธรรม
  • 4. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana2 3 “The Perfect One has told the cause of causally arisen things; And what brings their cessation, too: Such is the doctrine preached by the Great Monk.” The above is quoted from “The Life of the Buddha” by Vener- able Nanamoli. It is the answer that one of the first five disciples of the Buddha, Venerable Assaji, gave to a very curious wanderer when asked what the Buddha taught. The wanderer eventually became the right-hand disciple of the Buddha, the Venerable Sariputta. This answer goes to the heart of the Buddha’s teaching about suffering when he declared the Four Noble Truths in his first sermon. It points to cause and effect in every thing, tangible or intangible. I would like to quote briefly what appears in “the Great Discourse on causation” by Bhikkhu Bodhi: “Suffering includes not just personal unhappiness, discontent or psychological stress……but also existential suffering……which is the suffering of bondage to the round of repeated birth and death.-- ----It requires nothing short of total liberation from the round.------In order to end the round, the conditions that sustain it have to be elimi- nated; and to eliminate them it is necessary to know what they are; how they hold together and what must be done to extinguished their causal force.” The first Noble Truth states there is suffering. The second No- ble Truth explains the cause of suffering, i.e. craving. The Truth can be recognized or otherwise ignored, confused or shoved aside inten- tionally due to a complex set of our spiritual faculties. It can be quite uncomfortable to hear that the causes of our suffering are conditioned mainly by craving and unawareness. This kind of statement admit- tedly is quite disconcerting in our modern world of scientific progress and accomplishments. But the third Noble Truth can give us some comfort since it identifies the cessation of suffering, i.e. the ending of craving. This Truth should not be perceived as a promise but it is still something that anyone can achieve with effort. The question everybody wants to know is how suffering can be brought to an end. This is where the fourth Noble Truth can be applied to our daily lives. It entails the path of practice leading to the end of suffering. This practice is comprised of moral discipline, concentration and discernment. By practicing meditation, we can develop the necessary skills to see cause and its cessation and thus bring the path of practice to completion. We are taught to focus our attention first on our bodies. Contemplation of the breath is the most wellknown example. The task is to see clearly what, in the act of breathing is related to cause and effect. For many of us it requires a certain degree of conviction since the results seem uncertain. So confidence in a teacher through direct instruction or reading is impor- tant. Our thoughts are fleeting and usually scattered. They are de- scribed as being conceptual and conventional. Each thought can pro- liferate without stopping according to what we want, how we per- ceive and how we compare. But it all follows the same process of arising and cessation on and on until we either slow it down or stop it. The practice of meditation helps us see the ultimate truth of aris- Reflection on the cause and its cessation By Tawachai Onsanit
  • 5. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana4 5 ing and its cessation in every phenomenon. As the Buddha said, “All formations are impermanent, strive for perfection with diligence.” Everything conditioned has a cause. It is transient because it comes to cessation. We strive to see it for ourselves the arising of that cause along with its cessation. We are taught to begin by observing the breath properly. The result is the concentration of the mind. Next will be the insight into how the body and mind work together to solve the problem by the ability to see things as they are instead of the way we want them to be. When we practice, we shift our attention from our unfocused thinking to the cause of problems confronting us here and now. In order to find true happiness, the Buddha has laid out for us the four duties of the Four Noble Truths. First, the truth of suffering needs to be comprehended. This can be one of the most difficult tasks any one can have. We simply cannot shoot the target we do not see. Second, the cause of suffering needs to be abandoned. This is where the process of the cause of suffering has to be confronted. Third, the cessation of suffering needs to be realized by dealing with craving and unawareness or ignorance. And lastly, the path of practice lead- ing to the cessation of suffering needs to be cultivated. The Path is called the Noble Eightfold Path. Meditation is an important part of this path. How can realizing the cause of suffering and its cessation af- fect our daily lives? And how is meditation related to it? More often than not, when any problem becomes intolerable in our lives, it has multiple causes, all occurring at the same time. Meditation helps us to develop the calm and concentration needed to see things more clear- ly. We start by observing and evaluating the breath. This skill will develop into “appropriate attention”, the ability to ask the right ques- tions as to what is going on. As we develop the skills of the Noble Eightfold Path, we are able to see the causal chain of conditioning( the dependent co-arising) underlying our suffering more clearly. The insight into conditionality concerning impermanence, suffering and not-self can unfold to help us cope with the situation. With confidence in the teaching, we can use our energy in the practice to achieve mindfulness and concentration. We can gain increasing discernment or wisdom and are able to see the truth for ourselves. The quality of equanimity developed from the practice will enable us to see both the gratification and the danger in every situa- tion we encounter. This is the path to the release from different levels of suffering and to liberation. พระอธิการสุริยนต์ ทสฺสนีโย เจ้าอาวาสวัดบกจันทร์นคร จ.ศรีสะเกษ พระพี่ ชายของพระอาจารย์สุริยา เตชวโร เมตตาเดินทางมาเยี่ยมให้กำ�ลังใจพระธรรมทูตและ ญาติโยมวัดป่าธรรมรัตน์ กราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูง
  • 6. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana7 อาจารย์ของมหาวิทยาลัยชั้นนำ�แห่งหนึ่งในกรุงเทพฯ เล่าว่า คราว หนึ่งได้ไปบรรยายให้แก่นักศึกษาปริญญาโท ซึ่งมีข้าราชการชั้นผู้ใหญ่มา เข้าเรียนเป็นจำ�นวนมาก ตอนหนึ่งท่านได้พูดถึงพุทธศาสนาและคำ�สอน เรื่องไตรลักษณ์ พอถึงตรงนี้ท่านก็ถามนักศึกษาว่า ไตรลักษณ์นั้นได้แก่ อะไรบ้าง นักศึกษาทั้งชั้นนิ่งเงียบ ท่านจึงเฉลยข้อแรกว่าได้แก่ "อนิจจัง" ท่านถามต่อว่า ไตรลักษณ์ข้อถัดมาคืออะไร ก็ยังไม่มีคำ�ตอบจากนักศึกษา ทั้งหนุ่มทั้งแก่ ท่านจึงเฉลยให้อีกว่า "ก็ ทุกขัง ไงล่ะ" ท่านยังไม่ละความพยายาม ถามนักศึกษาต่อว่า ไตรลักษณ์ข้อสุด ท้ายคืออะไร ทีนี้นักศึกษาทั้งชั้นตอบอย่างเต็มปากว่า "พลัง" ! คำ�ตอบดังกล่าวสร้างความประหลาดใจแก่อาจารย์ท่านนี้ มาก เพราะแสดงว่าแม้แต่ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ระดับอธิบดี ก็ยังไม่รู้ว่า ไตรลักษณ์คืออะไร ทั้งๆ ที่เฉลยไปถึง 2 ใน 3 ข้อ ก็ยังตอบผิด ราวกับว่า พวกเขาไม่เคยได้ยินคำ�ว่า "อนัตตา" เลย คำ�ตอบของนักศึกษาเหล่านั้นยังทำ�ให้เห็นว่า พวกเขาคุ้นเคยกับคำ� หลักชีวิต หลักชาวพุทธ โดย พระไพศาล วิสาโล ให้พรของพระมากกว่า โดยเฉพาะท่อนท้ายที่ว่า "อายุ วัณโณ สุขัง พลัง" ดังนั้น จึงพร้อมใจตอบว่า "พลัง" ทันทีที่ได้ยินคำ�ว่า "ทุกขัง" ที่จริงการไม่รู้จักหลัก ไตรลักษณ์ ไม่ใช่เรื่องใหญ่ หากมีการประพฤติหรือ ปฏิบัติตามหลักพุทธศาสนา เมื่อครั้งพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จหัวเมือง พระองค์ทรง เคยสอบถามชาวบ้านตาม หมู่บ้านต่างๆ ไม่มีใครตอบ ศีล 5 ได้ครบถ้วน พระองค์จึงทรงปรารภว่าคนไทยไม่รู้จักพระพุทธศาสนา แม้กระนั้นพระองค์ก็ยังทรงยอมรับว่าผู้คนในหัวเมืองอยู่กันอย่างเรียบร้อย ไม่มีการประพฤติผิดศีลผิดธรรม ทุกวันนี้ถ้าถามว่าศีล 5 คืออะไร เชื่อว่าคนไทยส่วนใหญ่ตอบได้ ครบถ้วนหรือเกือบครบ แต่นั่นหมายความว่าคนไทยรู้จักพุทธศาสนาหรือ เป็นชาวพุทธแล้วใช่ไหม เราคงตอบได้ไม่เต็มปากเพราะปรากฏการณ์ที่ เห็นอยู่รอบตัวบ่งชี้ว่า คนไทยไม่ได้ปฏิบัติตามศีล 5 กันเท่าใดนัก หาไม่ อาชญากรรม คอร์รัปชั่น ความสำ�ส่อนทางเพศ และสุรายาเมาคงไม่แพร่ ระบาดไปทุกหัวระแหงดังทุกวันนี้ พระสงฆ์ผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบและผู้รู้ หลายท่านถึงกับบอกว่า เมืองไทยจะเจริญก้าวหน้าอีกมาก หากคนไทย เพียงแต่รักษาศีล 5 ให้ครบถ้วนเท่านั้น อย่างไรก็ตาม ลำ�พังการรักษาศีล 5 ให้ครบยังไม่เพียงพอที่จะ บอกว่าผู้นั้นเป็นชาวพุทธที่แท้ หากว่าผู้นั้นยังลุ่มหลงในอบายมุข พึ่งพา ไสยศาสตร์ หวังลาภลอยคอยโชค คิดถึงแต่ประโยชน์ส่วนตน (แม้จะชอบ ทำ�บุญแต่ไร้น้ำ�ใจ) หรือเชื่อกรรมในทางที่ผิด จนคิดแต่จะแก้ปัญหาชีวิต
  • 7. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana8 9 ด้วยการประกอบพิธี "แก้กรรม" และ "ตัดกรรม" หรือกลัวเจ้ากรรมนายเวร จนไม่กล้าช่วยเหลือใครเพราะกลัวเจ้ากรรมนายเวรของผู้ นั้นจะมาทำ�ร้าย ตน ที่พูดเช่นนี้ก็เพราะวิธีการหรือความเชื่อเหล่านั้นสวนทางกับหลักการ ทางพุทธ ศาสนาที่เน้นการพึ่งความเพียรของตน หมั่นฝึกฝนพัฒนาตน และตั้งอยู่ในความไม่ประมาท ทุกวันนี้มีความเข้าใจว่าการรักษาศีล 5 ก็เพียงพอแล้วสำ�หรับชาว พุทธที่เป็นฆราวาส ความเข้าใจนี้ไม่น่าจะถูกต้อง เพราะศีล 5 เป็นเพียง หลักปฏิบัติขั้นต่ำ�เท่านั้น จำ�ต้องมีข้อปฏิบัติอย่างอื่นเพิ่มเติมด้วย หาก พิจารณาจากสิงคาลกสูตร ซึ่งถือกันว่าเป็นคำ�สอนสำ�คัญว่าด้วยหลักความ ประพฤติของฆราวาส จะเห็นชัดว่านอกจากการละกรรมกิเลส 4 (การผิดศีล 4 ข้อแรก) แล้ว พระพุทธองค์ยังทรงวางข้อปฏิบัติให้แก่ฆราวาสอีกหลาย ประการ ได้แก่ การละเว้นอคติ 4 และอบายมุข 6 การประพฤติตามหลัก ทิศ 6 (ข้อปฏิบัติระหว่างบุคคลในความสัมพันธ์ 6 แบบ เช่น ระหว่างพ่อแม่ กับลูก ระหว่างครูกับศิษย์ ระหว่างเจ้านายกับลูกน้อง ฯลฯ) ใช่แต่เท่านั้น ยังมีหลักการคบมิตร การจัดสรรทรัพย์เพื่อใช้สอย และสังคหวัตถุ 4 (ได้แก่ ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา-บำ�เพ็ญประโยชน์ และสมานัตตตา-วางตนเสมอ ต้นเสมอปลาย) การละเลยข้อปฏิบัติดังกล่าวทำ� ให้ชาวพุทธในเมืองไทยทุกวันนี้มี ความประพฤติที่ผิดเพี้ยนจากคำ�สอนทางพุทธ ศาสนาอย่างกว้างขวางดัง ได้กล่าวมา ไม่เว้นแม้กระทั่งในหมู่คนที่ใกล้วัดหรือใฝ่ทำ�บุญ จนทำ�ให้เกิด คำ�ถามขึ้นในหมู่ผู้รู้ทางพุทธศาสนา (และศาสนาอื่น) ว่าเมืองไทยเป็นเมือง พุทธจริงหรือ ทั้งๆ ที่มีวัดและพระภิกษุเป็นจำ�นวนมากมาย มีเหตุผลมากมายที่ทำ�ให้เป็น เช่นนั้น อาทิ การไม่ได้รับการศึกษา ทางพุทธศาสนาอย่างถูกต้อง (ทั้งๆ ที่มีการสอนวิชาศีลธรรมในโรงเรียนมา นานหลายทศวรรษ) ความอ่อนแอและย่อหย่อนของสถาบันสงฆ์ อีกสาเหตุ หนึ่งที่น่ากล่าวถึงคือ การขาดหลักความเชื่อและหลักปฏิบัติที่ถูกต้อง ครอบคลุมและสอดคล้องกับสังคมสมัยใหม่ เมื่อเร็วๆ นี้ พระสงฆ์และฆราวาสกลุ่มหนึ่งซึ่งตระหนักถึงปัญหา ดังกล่าว ได้ร่วมกันเชิญชวนชาวพุทธทั้งประเทศประกาศเจตนาสมาทาน "หลักชาวพุทธ" ซึ่งประกอบด้วยหลักการ 5 ประการ และข้อปฏิบัติ 12 ประการ โดยพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) เป็นผู้ประมวลสรุปจาก แก่นคำ�สอนของพุทธศาสนาและนำ�มาจัดวางให้สอดคล้องกับวิถี ชีวิตของ คนสมัยใหม่ หลัก 5 ประการ เน้นในเรื่องการฝึกตน (เพราะเชื่อว่า "มนุษย์จะ ประเสริฐได้เพราะฝึกตนด้วยสิกขา คือ การศึกษา") และพึ่งความเพียรของ ตน (คือมุ่งมั่นที่จะ "สร้างความสำ�เร็จด้วยการกระทำ�ที่ดีงามของตน โดย พากเพียรอย่างไม่ประมาท") ส่วนในเรื่องไตรสรณคมน์ หรือการถือพระรัตนตรัยเป็นสรณะ ได้ จำ�แนกเป็นหลัก 3 ประการ และอธิบายอย่างเป็นรูปธรรม กล่าวคือ การถือ พระพุทธเจ้าเป็นสรณะ หมายถึง ความตั้งใจที่จะ "ฝึกฝนตนให้มีปัญญา มี ความบริสุทธิ์และมีเมตตากรุณา ตามอย่างองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า" การถือพระธรรมเป็นสรณะ หมายถึง การถือว่า "ความจริง ความ ถูกต้องดีงามเป็นใหญ่ เป็นเกณฑ์ตัดสิน" การถือพระสงฆ์เป็นสรณะ หมายถึง ความตั้งใจที่จะ "สร้างสังคม ตั้งแต่ในบ้าน ให้มีสามัคคี เป็นที่มาเกื้อกูลร่วมกันสร้างสรรค์" ขอให้สังเกตว่า พระรัตนตรัยในที่นี้มิได้หมายถึงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่วาง ไว้บนหิ้งเพื่อกราบ ไหว้บูชา หรือหวังผล ดลบันดาลให้ร่ำ�รวย อวยโชค อย่างที่คน ทั่วไปเข้าใจ แต่หมาย ถึงแบบอย่างอันควร แก่การดำ�เนินรอย ตามหรือเป็นอุดมคติ
  • 8. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana10 11 ในการดำ�เนิน ชีวิต ข้อที่น่าสังเกตอีกประการหนึ่งคือ การตอกย้ำ�ให้คิดถึงส่วนรวม ซึ่ง ตรงกับหลักการของสงฆ์ที่ถือเอาประโยชน์ของสังฆะ หรือส่วนรวมเป็น ใหญ่ นี้เป็นประเด็นที่สำ�คัญอย่างมากเพราะชาวพุทธไทยนับวันจะคิดถึงแต่ ตัวเองมาก ขึ้นทุกที จนปล่อยปละละเลยสังคม ซึ่งมีส่วนในการทำ�ให้สังคม เสื่อมถอยลงไปเรื่อยๆ ข้อปฏิบัติหรือ "ปฏิบัติการ" 12 ข้อนั้น แบ่งเป็น 3 หมวด พระพรหม คุณาภรณ์ได้เรียบ เรียงอย่างคล้องจอง กัน ทำ�ให้จำ�ง่าย กล่าวคือ "มีศีลวัตร ประจำ�ตน เจริญกุศล เนืองนิตย์ ทำ�ชีวิตให้ งามประณีต" โดยมี ข้อปฏิบัติที่ชัดเจนใน แต่ละข้อ หมวด ก. "มีศีลวัตรประจำ�ตน" เน้นการพัฒนาฝึกฝนตน แต่ไม่ได้ หมายถึงศีล 5 เท่านั้น หากครอบคลุมถึงไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปัญญา ดัง นั้นนอกจาก "สมาทานเบญจศีลเป็นนิจ" และ "ไม่มืดมัวด้วยอบายมุขแล้ว" ยังมีอีก 2 ข้อ คือ "ทำ�จิตให้สงบ ผ่องใส" ด้วยการเจริญสมาธิและอธิษฐาน จิต วันละ 5-10 นาที ในด้านปัญญานั้น ข้อปฏิบัติที่เป็นรูปธรรมคือ "สวด สาธยายพุทธวจนะ หรือบทสวดมนต์ โดยเข้าใจความหมาย อย่างน้อยก่อน นอนทุกวัน" นอกจากนั้นยังมีข้อปฏิบัติเพื่อการปลูกฝังศรัทธาในสิ่งที่ดีงาม และเป็นแบบอย่างใน การดำ�เนินชีวิต นั่นคือ "แสดงความเคารพต่อพระ รัตนตรัย บิดามารดา ครูอาจารย์ และบุคคลที่ควรเคารพ" กล่าวอีกนัยหนึ่ง คือการมีกัลยาณมิตรเพื่อเกื้อกูลต่อการฝึกฝนตน หมวด ข. "เจริญกุศลเนืองนิตย์" มีจุดเด่นคือการทำ�ความดีเพื่อ เกื้อกูลผู้อื่น ช่วยเหลือส่วนรวม หรือส่งเสริมสิ่งดีงามในสังคม ได้แก่ "บำ�เพ็ญทานเพื่อบรรเทาทุกข์ เพื่อบูชาคุณ เพื่อสนับสนุนกรรมดี" และ "บำ�เพ็ญประโยชน์ อุทิศแด่พระรัตนตรัย มารดาบิดา ครูอาจารย์ และท่าน ผู้เป็นบุพการีของสังคมแต่อดีตสืบมา" โดยทำ�สัปดาห์ละ 1 ครั้งทั้งการให้ ทานและบำ�เพ็ญประโยชน์ นอกจากการทำ�ความดีเพื่อผู้อื่น แล้ว หมวดนี้ยังพูดถึงการบำ�เพ็ญ กุศลเพื่อพัฒนาตนด้วย ได้แก่ ตักบาตรวันพระ หรือ "แผ่เมตตา ฟังธรรม หรืออ่านธรรม โดยบุคคลที่บ้าน ที่วัด ที่โรงเรียน หรือที่ทำ�งานร่วมกัน ประมาณ 15 นาที" รวมทั้งร่วมกิจกรรมในวันสำ�คัญทางศาสนาและวัน สำ�คัญของครอบครัว เห็นได้ว่าหมวดนี้เป็นข้อปฏิบัติเพื่อนำ�พาตนออกมาเชื่อมโยงกับ สังคมและพระศาสนา ด้วยการบำ�เพ็ญประโยชน์หรือร่วมกิจกรรมทาง ศาสนา โดยชักชวนครอบครัว เพื่อนบ้าน หรือเพื่อนร่วมงานให้เข้ามามีส่วน ร่วมด้วย นับเป็นการสร้าง "ชุมชนทางศีลธรรม" อย่างใหม่ ทดแทนหมู่บ้าน ซึ่งเคยเป็นสถานที่บ่มเพาะศีลธรรมให้แก่ผู้คนอย่างได้ผลมาแล้วในอดีต ข้อปฏิบัติหมวดนี้จะช่วยให้ชาวพุทธไม่เก็บตัวอยู่ตามลำ�พัง หรือมัว แต่ฝึกฝนตนจนละเลยผู้อื่น ทั้งๆ ที่ยังมีการฝึกฝนตนอีกมากที่สามารถทำ� ร่วมกับผู้อื่นหรือทำ�เพื่อผู้อื่นได้ หมวด ค. "ทำ�ชีวิตให้งามประณีต" มีจุดเน้นอยู่ที่การเกี่ยวข้องกับ สิ่งเสพหรือเครื่องใช้ ได้แก่ "ฝึกความรู้จักประมาณในการบริโภค" นอกจาก รู้จักพอดีในการกินแล้ว ความพอดีในการเสพความบันเทิงก็สำ�คัญ ข้อ ปฏิบัติในส่วนนี้คือ "ชมรายการบันเทิงวันละไม่เกินกำ�หนดที่ตกลงกันใน บ้าน" ที่น่าสนใจในข้อนี้คือ "มีวันปลอดการบันเทิงอย่างน้อยเดือนละ 1 วัน" นอกจากนั้นยังมีข้อปฏิบัติเพื่อการอยู่อย่างประหยัดเรียบง่าย คือ "ดูแลของใช้ของตนเองและทำ�งานของชีวิตด้วยตนเอง" หมวดนี้เป็นสิ่งจำ�เป็นมากสำ�หรับการดำ�เนินชีวิตในยุคบริโภคนิยม
  • 9. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana12 13 ซึ่งเต็มไปด้วยสิ่งกระตุ้นเร้าให้เสพจนงมงายมืดมัว หากไม่มีข้อปฏิบัติหรือ ข้อกำ�หนดที่เป็นรูปธรรม ก็ง่ายที่จะพลัดหลงจนเป็นทาสของสิ่งเสพ โดย เฉพาะความบันเทิงเริงรมย์ทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ซึ่งเป็นอบายมุขอย่างใหม่ ข้อสุดท้ายของหมวดนี้คือ "การมีสิ่งบูชาสักการะประจำ�ตัวเป็น เครื่องเตือนใจให้ระลึกถึงพระคุณของพระ รัตนตรัย และตั้งมั่นอยู่ในหลัก ชาวพุทธ" ข้อนี้เป็นหลักปฏิบัติเพื่อการมีท่าทีอย่างถูกต้องต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์ อาทิ พระพุทธรูป หรือพระธาตุ นั่นคือไม่ใช่บูชาเพื่อหวังผลดลบันดาลให้ สำ�เร็จทางโลก แต่ถือเป็นอนุสติเพื่อการทำ�ความดีตามหลักการของชาว พุทธ คือ ฝึกตน พึ่งความเพียร และไม่ประมาท หลักชาวพุทธ ทั้ง 5 หลักการ และ 12 ปฏิบัติการ นับได้ว่าเป็น หลักแห่งการดำ�เนินชีวิตอันประเสริฐที่เหมาะกับยุคปัจจุบันเป็น อย่างยิ่ง ครอบคลุมทั้งการบำ�เพ็ญประโยชน์ตนและประโยชน์ท่าน โดยอาศัยหลัก ไตรสิกขา ไตรสรณคมน์ และบุญกิริยาวัตถุ 10 สามารถเป็นเครื่องกำ�กับ ชีวิตไม่ให้พลัดลงไปในกระแสบริโภคนิยมอันเชี่ยวกราก หรือหลงงมงาย กับลัทธิหวังผลดลบันดาลที่กำ�ลังแพร่ระบาด ขณะเดียวกันก็ส่งเสริมให้ชาว พุทธมีบทบาทในการสร้างสรรค์สังคมส่วนรวม หากจะมีสิ่งใดที่น่าเพิ่มเติมในหลักนี้ก็เห็นจะเป็น ข้อปฏิบัติเกี่ยวกับ สัมมาอาชีวะ ซึ่งเป็นหนึ่งในอริยมรรคมีองค์ 8 ที่ชาวพุทธไทยในปัจจุบัน ไม่สู้จะให้ความสำ�คัญเท่าไร ยิ่งปัจจุบันสังคมมีความซับซ้อนมากจนเรา สามารถมีส่วนร่วมในการเบียดเบียนผู้ อื่นผ่านอาชีพการงานได้ นอกเหนือ จากการค้าขายอาวุธ มนุษย์เนื้อสัตว์ ของเมา และยาพิษ ซึ่งพุทธศาสนา ถือว่าเป็น มิจฉาวณิชชาอยู่แล้ว ในข้อนี้สิกขาบทของคณะสงฆ์หมู่บ้านพลัมของท่านติช นัท ฮันห์ น่าจะเป็นแนวทางปฏิบัติสำ�หรับชาวพุทธไทยได้ กล่าวคือ "ขอเธออย่าได้ ประกอบอาชีวะอันก่อให้เกิดภัยต่อมนุษย์และธรรมชาติ อย่าเข้าร่วมลงทุน ในบริษัทกิจการใด ที่กำ�จัดโอกาสในการหาเลี้ยงชีวิตของผู้อื่น จงเลือก อาชีวะซึ่งช่วยให้เธอประจักษ์ในอุดมคติแห่งการุณยธรรม" จุดเด่นประการหนึ่งของหลักชาวพุทธที่ควรย้ำ�ในที่นี้ก็คือ การมีข้อ ปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ลำ�พังความตั้งใจว่าจะ "ทำ�ให้ดีที่สุด" นั้นยังไม่ เพียงพอ เพราะเลื่อนลอย และมักจะไร้ความหมาย ดังนั้นจึงจำ�เป็นต้องมี การตั้งจิตแน่วแน่ที่จะทำ�ความดีอย่างเป็นรูปธรรม (เช่น ทำ�สมาธิวันละ 10 นาที บำ�เพ็ญทานอย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง มีวันปลอดการบันเทิงอย่างน้อย เดือนละ 1 วัน) ความตั้งใจมั่นที่จะทำ�ความดีนี้แหละที่เรียกว่า "อธิษฐาน" ซึ่งมิได้แปลว่า การตั้งจิตร้องขอจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์ อย่างที่เข้าใจกันในปัจจุบัน ครูบาอาจารย์ วัดไทยกรุงวอชิงตัน,ดี. ซี.และวัดป่าธรรมรัตน์ แวะเยี่ยมให้กำ�ลังใจญาติ โยมสมาชิกวัด คณะพระธรรม ทูตและญาติโยมเดินทาง ไปดูสถานที่สำ�หรับสร้าง วัด
  • 10. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana14 15 เพชรจาก......พระไตรปิฎก เกสปุตตสูตร (กาลามสูตร) ติ. อํ. (๕๐๕) หลักในการนับถือศาสนา ปัญหาในโลกนี้ มีคำ�สอนในศาสนา ในลัทธิ และในปรัชญา เป็นอันมาก แม้คำ�สอนทางพระพุทธศาสนาเองก็มีมากมาย จนทำ�ให้ เกิดความสงสัยลังเลว่า อะไรควรเชื่อถือ อะไรไม่ควรเชื่อถือ อะไร ควรปฏิบัติตามอะไร ไม่ควรปฏิบัติตาม ขอได้โปรดแนะแนวในการ เชื่อถือและในการปฏิบัติด้วย ? พุทธดำ�รัสตอบ “..... ท่านอย่าได้ถือโดยได้ฟังตามกันมา อย่าได้ถือโดยลำ�ดับสืบๆ กันมา อย่าได้ถือโดยความตื่นว่าได้ยินว่าอย่างนี้ๆ อย่าได้ถือโดยอ้างตำ�รา อย่าได้ถือโดยเหตุนึกเดาเอา อย่าได้ถือโดยนัยคือคาดคะเนอย่าได้ถือโดย อย่าได้ถือโดยความตรึกตามอาการ อย่าได้ถือโดยชอบใจว่าต้องกันกับลัทธิของตน อย่าได้ถือโดยเชื่อว่าผู้พูดสมควรจะเชื่อได้ อย่าได้ถือโดยความนับถือว่าสมณะผู้นี้เป็นครูของเรา “ เมื่อใดท่านรู้ด้วยตนนั้นแล ว่าธรรมเหล่านี้ (ความโลภ ความ โกรธ ความหลง) เป็นอกุศล ธรรมเหล่านี้มีโทษ ธรรมเหล่านี้ท่านผู้รู้ ติเตียน ธรรมเหล่านี้ใครประพฤติให้เต็มทีแล้ว เป็นไปเพื่อสิ่งไม่เป็น ประโยชน์ เป็นไปเพื่อทุกข์ ดังนี้ ท่านควรละธรรมเหล่านั้นเสียเมื่อ นั้น" นักศึกษาไทยจากรัฐโอไฮโอ ถึงจะอยู่ไกล แต่เมื่อทราบข่าวว่ามีวัดอยู่ที่เมือง พิทส์เบิร์ก พากันเดินทางมาทำ�บุญ ขอศีลขอพร ขอให้เจริญรุ่งเรือง
  • 11. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana16 17 โดยปกติกิจวัตรประจำ�วันของเราทุกคน คือ การออกจากบ้าน ไปที่ทำ�งาน หลังเลิกงานบางท่านอาจมีกิจกรรมอื่นๆ นอกบ้าน เช่น ไป ฟิตเนส ไปวิ่งที่สวนสาธารณะ หรือไปออกกำ�ลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค แต่ความยากลำ�บากของคนส่วนใหญ่ คือ ไม่สามารถทำ�ตามตาราง เวลาที่จัดไว้ได้ เช่น เคยตั้งเป้าหมายว่า จะต้องออกกำ�ลังกายก่อนหรือหลัง เลิกงานอย่างน้อย1ถึง2ครั้งต่อสัปดาห์แต่ด้วยความรับผิดชอบในหน้าที่ การงานในแต่ละวันจึงทำ�ให้เราไม่สามารถมีเวลาหรือหากมีก็ไม่สามารถ ปฎิบัติได้ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ โดยปกติร่างกายของเราทุกคนจะอยู่ในท่าพักผ่อน หรือท่านั่ง ประมาณ 8 ช.ม. ต่อวัน บางทีอาจนั่งทำ�งานมากถึง 10 ช.ม. ต่อวัน (รวม เวลานั่งทานอาหารและนั่งอยู่ในรถด้วย) ซึ่งนั่นถือว่าเราอยู่ในท่านั่งเป็น เวลานานมากต่อวัน ใครจะคิดว่า พฤติกรรมท่านั่งปกติธรรมดาเช่นนี้ จะเป็นสาเหตุ หนึ่งที่ทำ�ให้เกิดโรคอย่าง “กล้ามเนื้อตะโพกหนีบเส้นประสาท” ได้ จากสาเหตุนี้จึงทำ�ให้หลายบริษัทและองค์กรต่างๆ หันมาส่งเสริม กิจกรรมการออกกำ�ลังกายด้วยท่าบริหารร่างกายในเวลาทำ�งานให้กับ พนักงานมากยิ่งขึ้น ซึ่งมีวิธีง่ายๆ ดังนี้ครับ เวลายืนอยู่กับที่ 1. เวลายืนอยู่กับที่ เราสามารถใช้ท่ายืนอยู่กับที่ให้เป็นประโยชน์ ได้ ในท่ายืนนั้นสามารถช่วยเผาผลาญแคลลอรี่ได้ง่ายๆ 2. ยืนพูดโทรศัพท์หรือส่งข้อความจากโทรศัพท์มือถือ ยืนประชุม เพื่อคิดงานแทนนั่ง ยืนรับประทานอาหาร ลุกขึ้นยืนประมาณ 3-5 นาที ทุกๆ 3 ช.ม. เวลาพักกลางวัน 3. เราทุกคนควรใช้เวลาพักทานกาแฟหรือพักทานอาหารกลางวัน ให้เป็นประโยชน์ เช่น เดินเร็ว หรือเดินรอบบริเวณอาคารพร้อมๆ กับการ ยืดเส้นยืดสาย ยืดกล้ามเนื้อไปด้วย 4. ก้มลงไปจับนิ้วเท้า ก้มศีรษะลงและให้คางแตะที่หน้าอกจน รู้สึกตึงที่บริเวณหลังและลำ�คอ ยกไหล่ทั้งสองข้างขึ้นให้ถึงระดับหู ยก แขนข้างขวาและพับแขนลงมา ทำ�ให้ข้อศอกตั้งฉาก จากนั้นใช้แขนซ้าย ดันไปที่ข้อศอกจนรู้สึกตึง ทำ�ซ้ำ�ข้างละ 2 นาที การใช้อุปกรณ์ช่วย 5. การใช้อุปกรณ์ยกนํ้าหนัก ควรมีดัมเบลเล็กๆ ที่ไม่หนักมากไว้ ในที่ทำ�งาน ดัมเบลสามารถเป็นตัวช่วยในการออกกำ�ลังกายที่แแขนและ ขา เพื่อผ่อนคลายจากอาการตึงของกล้ามเนื้อได้ ออกกำ�ลังกายวันละนิด เพื่อสุขภาพที่ดี*
  • 12. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana18 19 กิจกรรมเดือนกรกฎาคม 3ก.ค.2556พระมหาชัยพิชิตฐานุตฺตโรเจ้าอาวาสวัดหลวงอาร์เจนตินาประเทศ อาร์เจนตินา ได้เดินทางมาเยี่ยมพระธรรมทูตและญาติโยมชาววัดป่าธรรมรัตน์ พร้อมทั้ง ร่วมทำ�บุญซื้อกระถางดอกไม้ถวายและปัจจัยสร้างวัด ขออนุโมทนาขอบพระคุณ 11-15 ก.ค.2556 พระอธิการสุริยนต์ ทสฺสนีโย เจ้าอาวาสวัดบกจันทร์นคร จ.ศรีสะเกษ พระพี่ชายของพระอาจารย์สุริยา เตชวโร เมตตาเดินทางมาเยี่ยมให้กำ�ลังใจ พระธรรมทูตและญาติโยมวัดป่าธรรมรัตน์ กราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูง 14 ก.ค.2556 คุณจำ�ลอง แม็คคาซี่ ครอบครัว และญาติสนิทนิมนต์คณะสงฆ์วัด ป่าธรรมรัตน์ และพระอธิการสุริยนต์ ทสฺสนีโย ผูกแขนอวยพรให้หลานฝาแฝด สาธุ 21 ก.ค.2556 คณะสงฆ์วัดป่าธรรมรัตน์ และชาวพุทธเมืองพิทส์เบิร์กจัดทำ�บุญ วันอาสาฬหบูชาที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงพระปฐมเทศนาและวันเข้าพรรษา มีญาติธรรม เดินทางมาร่วมทำ�บุญกว่า 50 ท่าน 23 ก.ค.2556 พระสงฆ์กล่าวคำ�อธิษฐานเข้าพรรษาหลังจากเจริญจิตภาวนาและ ทำ�วัตรเย็นแล้ว ปีนี้มีพระสงฆ์จำ�พรรษาจำ�นวน 2 รูป คือ พระมหาสายันต์ อคฺควณฺโณ และพระมหาปิยะ อุตฺตมปญฺโญ กิจกรรมเดือนสิงหาคม 6 ส.ค.2556 พระธรรมทูตวัดป่าธรรมรัตน์เดินทางไปทำ�สามีจิกรรมแด่พระ สรุปข่าว เดือนกรกฎาคม-สิงหาคม-กันยายน 6. ใช้บันไดแทนลิฟท์หลังอาหารกลางวัน โดยปกติกิจวัตรประจำ� วันของเราทุกคน คือ การออกจากบ้านไปที่ทำ�งาน หลังเลิกงานบางท่าน อาจมีกิจกรรมอื่นๆ นอกบ้าน เช่น ไปฟิตเนส ไปวิ่งที่สวนสาธารณะ หรือ ไปออกกำ�ลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค 7. เดินมาทำ�งาน หากคุณอยู่ไม่ไกลจากที่ทำ�งาน แทนที่จะขับรถ มาทำ�งาน ลองหันมาเดินหรือปั่นจักรยานแทนก็เป็นการออกกำ�ลังกายที่ ดี หากต้องขับรถมาทำ�งานก็ควรเลือกที่จะจอดรถให้ไกลจากที่ทำ�งานซัก นิด เพื่อทิ้งระยะในการเดินเข้าที่ทำ�งาน เพียงเท่านี้ก็เป็นการออกกำ�ลังกาย ที่ทำ�ได้ง่ายๆ เมื่อคุณเริ่มจัดตารางเพื่อออกกำ�ลังกายในที่ทำ�งาน คุณก็จะเห็นได้ ทันทีว่า เพียงไม่กี่นาทีเราก็สามารถดูแลสุขภาพเป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ ร่างกายของเรา แบบไม่มีข้อจำ�กัด มาออกกำ�ลังกายกันเถอะ *ข้อมูลจาก http://www.bangkokhealth.com คุณแดนเนียลและคุณต้อย คู่บ่าวสาวพร้อมญาติทำ�บุญถวายภัตตาหารเพลพระ ตามแบบชาวพุทธเนื่องในโอกาสวันแต่งงาน
  • 13. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana20 21 เดชพระคุณพระวิเทศธรรมรังษี(หลวงตาชี) พร้อมทั้งฟังปาติโมกข์ที่อุโบสถวัดไทยกรุง วอชิงตัน,ดี.ซี. โดยมีคุณโยมสมทรง ฟ็อก, คุณคิม วาน, และคุณทอมเอื้อเฟื้อขับรถพาไป ขออนุโมทนาบุญ 8-11 ส.ค.2556 คุณโยมอภิญญา, คุณกนกนุช และคุณโยมฟ้ามาถือศีลปฏิบัติ ธรรมเนื่องในเทศกาลวันกตัญญูรู้พระคุณแม่ อนุโมทนาในกุศลเจตนา 11 ส.ค.2556 คณะสงฆ์วัดป่าธรรมรัตน์และชาวเมืองพิทส์เบิร์กร่วมกันทำ�บุญ วันกตัญญูรู้พระคุณแม่ 12 ส.ค.2556 คุณโยมนีน่า-เครก โกล์ด มาทำ�บุญถวายสังฆทานให้กับคุณแม่ผู้ ล่วงลับไปแล้วในเทศกาลวันแม่ 14 ส.ค.2556 คุณโยมพิมพ์ใจ เบอร์มิ่งแฮมปรารภวันมรณภาพของหลวงพ่อที่ เสียชีวิตหลายปีที่แล้วทำ�บุญ ส่วนคุณโยมวรานา(เก๋)มาร่วมทำ�บุญ พร้อมนิมนต์พระคุณ เจ้าเจริญพระพุทธมนต์เจิมรถที่เพิ่งซื้อใหม่เพื่อเป็นสิริมงคล คิดดี พูดดี ทำ�ดี เป็นมงคล ตลอดไป 21 ส.ค.2556 คุณโยมบุญมณี(น้อย) แม็คคาซี่ และคุณโยมพิมพ์ใจ(แหม่ม) เบอร์ มิ่งแฮม ถือโอกาสนิมนต์พระคุณเจ้าไปฉันภัตตาหารเพลที่ร้านอาหารญี่ปุ่น กลับมาวัด ถวายสังฆทาน และช่วยพับใบฎีกากฐินใส่ซองเตรียมงานกฐินสามัคคี ขออนุโมทนา 29ส.ค.2556คุณโยมบุญมณี(น้อย)แม็คคาซี่และคุณโยมมนัส(ดี)แซนด์นิมนต์ พระคุณเจ้าไปฉันภัตตาหารเพลที่ร้านอาหารนอกวัด กลับมาทำ�ความสะอาดห้องน้ำ� และ ทำ�สมาธิ ขอให้เจริญรุ่งเรืองในพระธรรมยิ่งๆ ขึ้นไป กิจกรรมเดือนกันยายน 4 ก.ย. 2556 คุณแดนเนิล-คุณต้อย พร้อมญาติทั้งชาวเอเชียและชาวอเมริกา ทำ�บุญถวายภัตตาหารเพลแด่พระสงฆ์ ณ วัดป่าธรรมรัตน์ ขอศีล ขอพรในพิธีมงคล สมรส 6-9ก.ย.2556พระมหาปิยะอุตฺตมปญฺโญเดินทางไปร่วมงานวันมหารำ�ลึกและ งานประชุมเจ้าอาวาสประจำ�ปีของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา ณ วัดวชิรธรรม ปทีป มหานครนิวยอร์ก มีพระธรรมทูตร่วมงานประมาณ 100 รูป เพื่อรำ�ลึกถึงพระ ธรรมทูตที่มรณภาพขณะปฏิบัติศาสนกิจในสหรัฐอเมริกาและเคยปฏิบัติศาสนกิจ ในสหรัฐอเมริกา พร้อมทั้งประชุมปรึกษาหารือเรื่องกิจการงานของพระธรรมทูตใน สหรัฐอเมริกา 15 ก.ย.2556 คุณจอชพาภริยาคุณแพมมาทำ�บุญถวายสังฆทานในวันคล้ายวัน เกิด พร้อมทั้งนั่งสมาธิ และฟังธรรม ขอให้มีความสุขมากๆ 18ก.ย.2556คุณพิมพ์ใจ(แหม่ม)เบอร์มิ่งแฮมและคุณวรนา(เก๋)แม็กเวลนิมนต์ พระสงฆ์วัดป่าธรรมรัตน์ไปฉันภัตตารเพล และนำ�ปฏิบัติธรรม สนทนาธรรมในสวน ขออนุโมทนา สาธุ 21 ก.ย.2556 International Peace Day ได้นิมนต์ คณะพระธรรมทูตวัดไทยกรุง วอชิงตัน,ดี.ซี. และวัดป่าธรรมรัตน์ พร้อมญาติธรรมจากวอชิงตัน,ดี.ซี.และพิทส์เบิร์ก ร่วมสวดมนต์เพื่อสันติภาพโลกในนามตัวแทนชาวพุทธ 22 ก.ย. 2556 คณะสงฆ์วัดป่าธรรมรัตน์และญาติโยมจัดทำ�บุญวันสารท(ทำ�บุญ ให้ญาติผู้ล่วงลับไปแล้ว และครบ 2 ปีการก่อตั้งวัด ในโอกาสนี้ พระอาจารย์พระครูสิริ อรรถวิเทศ เลขาธิการสมัชชาสงฆ์ไทยฯ, ประธานอำ�นวยการวัดป่าธรรมรัตน์, หลวงพ่อ มหาสุรตาล สิทธิผโล และพระอาจารย์สุริยา เตชวโร วัดไทยกรุงวอชิงตัน,ดี.ซี. พร้อม ญาติธรรมมีคุณโยมสุกานดา บุพพานนท์ เป็นต้น เดินทางมาร่วมทำ�บุญด้วย ขอกราบ ขอบพระคุณ และอนุโมทนาบุญ 22 ก.ย.2556 ชาวอเมริกันจำ�นวน 13 ท่าน เดินทางมาเยี่ยมวัดป่าธรรมรัตน์ และ ถือโอกาสนั่งสมาธิ เดินจงกรม และสนทนาธรรมร่วมกับพระธรรมทูตเป็นเวลา 3 ชม. นำ�ปฏิบัติโดยพระอาจารย์พระครูสิริอรรถวิเทศ เลขาธิการสมัชชาสงฆ์ไทยฯ 23-25ก.ย.2556คุณนีน่า-คุณเครกโกล์ด,คุณใจวงษ์คำ�พร้อมญาติธรรมจากรัฐ ฟลอริดา รัฐโอไฮโอ และแคลิฟอร์เนีย นิมนต์พระอาจารย์พระครูสิริอรรถวิเทศ พร้อม พระธรรมทูตวัดไทยกรุงวอชิงตัน,ดี.ซี.และวัดป่าธรรมรัตน์ นำ�ปฏิบัติธรรมที่เมืองบัล เล่อร์ ในการปฏิบัติธรรมครั้งนี้มีชาวพุทธร่วมปฏิบัติจำ�นวน 16 ท่าน 26ก.ย.2556คุณเอมี่-คุณจอห์นเจ้าของร้านอาหารพาพาย่าพร้อมทีมงานนิมนต์ พระธรรมทูตไทยและศรีลังกาจำ�นวน 8 รูป ไปเจริญพระพุทธมนต์ฉันภัตตาหารเพล บรรยายธรรมในโอกาสเปิดร้านอาหารทำ�ธุรกิจครบรอบ3ปีขอให้เจริญรุ่งเรืองยิ่งๆขึ้น ไป 26 ก.ย. 2556 พระอาจารย์พระครูสิริอรรถวิเทศ และเหล่าพระธรรมทูต พร้อม ญาติโยมทั้งหลาย เดินทางไปดูสถานที่นอกเมืองพิทส์เบิร์ก เพื่อสำ�รวจสถานที่อันเหมาะ สมสำ�หรับสร้างเป็นศูนย์ปฏิบัติธรรมของชาวโลก
  • 14. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana22 23 รายรับ-รายจ่าย ประจำ�เดือนกรกฎาคม - กันยายน ปี 2556/2013 รายรับเดือนกรกฎาคม 2556 พระมหาชัยพิชิต ฐานุตฺตโร $ 100.00 Jumlong Megyesy $ 50.00 Pranom Jabkul $ 50.00 Somsong Fox $ 50.00 นายจาเร็ต-นางนฤมล โคซาน $ 40.00 Manus Sands(ทำ�บุญบำ�รุงวัด) $ 50.00 Manus Sands(ค่ารถพยาบาลฉุกเฉิน) $ 100.00 Manus Sands(ทำ�บุญประกันสุขภาพพระ) $ 100.00 Jumlong Megyesy, Lisa Shwallon(ค่ารถพยาบาลฉุกเฉิน) $ 100.00 Somsong Fox(ค่ารถพยาบาลฉุกเฉิน) $ 50.00 Usa Jirachertchoowong $ 100.00 Eric Richardson and family $ 40.00 Sujitra Taimmoungpan $ 10.00 Supawadee Sukcharoen $ 10.00 Apinya Kunjara-Na-Ayudhya $ 500.00 Keo & Som Phouthavong $ 100.00 Suthee Kitcharoenkarnkul $ 40.00 Kim Vann $ 20.00 Pimjai Birmingham & Mae $ 50.00 Nina Golds and family $ 105.00 คุณเจน ชูแนม $ 214.00 คุณบำ�เพ็ญ ดวงปากดี(ต้อย) $ 50.00 คุณมนัส(ดี) แซนด์ $ 20.00 คุณเจน ชูแนม $ 20.00 Phoc & Vilavan (Thai Gourmet) $ 267.00 Wilai Gould $ 50.00 Boonsom Glass $ 25.00 Pusadee’s Garden $ 160.00 Somsong Fox $ 50.00 Manee & Rober & Arnon & Arnuma Ruddolph $ 60.00 คุณพุฒิพงศ์ และครอบครัว $ 05.00 Cathy Davidson $ 100.00 Sorose Jittavikul $ 100.00 Jane Chounaem $ 300.00 Rungnapa Khanchalee $ 50.00 M.Yeampeka $ 30.00 น.ส.วรางค์พร เกศวพิทักษ์และครอบครัว $ 20.00 นายสิทธิโชค สิทธิมณฑล, น.ส.ทิวาพร ศิริสุวรรณ $ 60.00 ทำ�บุญอุทิศให้นายประสงค์ บุญถนอม $ 30.00 รายรับเดือนสิงหาคม 2556 M.Yeampeka $ 30.00 น.ส.วรางค์พร เกศวพิทักษ์และครอบครัว $ 20.00 นายสิทธิโชค สิทธิมณฑล, น.ส.ทิวาพร ศิริสุวรรณ $ 60.00
  • 15. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana24 25 ทำ�บุญอุทิศให้นายประสงค์ บุญถนอม $ 30.00 ครอบครัวปรีชาวิบูลย์ $ 30.00 ผู้ไม่ประสงค์ออกนาม $ 20.00 Mr.Clarence & Noi Megyesy $ 40.00 คุณชัยวุฒิ เลิศวิชัยวรวิชย์(ทำ�บุญให้คุณย่า) $ 100.00 คุณชัยวุฒิ เลิศวิชัยวรวิชย์(ทำ�บุญวันแม่) $ 100.00 Peter & Thongmuan Milosavljevic $ 29.00 Kim Van $ 10.00 Gilbert P. Trujillo $ 58.00 โยมติ๋ว & แหม่ม & สุรีย์ & Kim Van(ทำ�บุญวันแม่) $ 120.00 Somsong Fox, อุ้ย ศรีจินดา, วรรณ ศรีจินดา $ 20.00 Nemonga Milasevic(ฟ้า) $ 30.00 Kim Vann Rom $ 20.00 นวินรัตน์ บรุ้น, วิลลี่ $ 20.00 Gon E Maxwell, Varana Maxwell $ 100.00 Pittsburgh Thai Restaurant, ณัฏฐพงศ์ จันทร์อยู่ $ 137.00 อภิญญา กุญชร ณ อยุธยา และครอบครัว $ 500.00 คุณเฉลิมวุฒิ สุทธิบุญ $ 50.00 กนกนุช อมรวงศ์(ซื้อที่ดินวัด) $ 20.00 กนกนุช อมรวงศ์(ค่าน้ำ�-ไฟ) $ 10.00 ครอบครัวรมยานนท์(ซื้อที่ดินวัด) $ 200.00 ครอบครัวปรางค์ชัยกุล(ค่าน้ำ�-ไฟ) $ 30.00 Mam Pimjai & Mea Bhavida $ 40.00 Kittima Frank and family $ 100.00 Chaloemwut Suttiboon $ 50.00 Jane Chounaem $ 70.00 Gon E. & Varaya Maxwell $ 120.00 Jim & Pimjai Birmingham(ทำ�บุญให้พ่อ) $ 30.00 Sandhya J. Patel $ 51.00 Joseph Ates $ 50.00 หะริน โกล์ด $ 30.00 Noi Megyesy & Dee Manus Sands $ 20.00 Clarence & Jumlong Megyesy $ 30.00 พีระ โรหิตบุตร(ทำ�บุญซื้อที่ดิน) $ 30.00 Kanokon Smathers $ 50.00 Orawan Sirimongkol $ 50.00 Josh Booth and family $ 50.00 Usa Jirachertchoowong $ 100.00 Bumpen & Danial Winwood $ 100.00 กิ่งกาญจน์ ซื่อสัตย์และครอบครัว(ทำ�บุญซื้อที่ดิน) $ 20.00 คุณใจ วงค์คำ�(ทำ�บุญซื้อที่ดิน/ประกันสุขภาพพระ) $ 200.00 Manus Sands(ทำ�บุญเช่าสถานที่จัดงานกฐิน) $ 100.00 Manus Sands(ทำ�บุญประกันสุขภาพพระ) $ 100.00 Manus Sands(ทำ�บุญค่าน้ำ�-ไฟ) $ 50.00 Clarence & Jumlong Mecyesy(ทำ�บุญเช่าสถานที่จัดงานกฐิน) $ 100.00 Clarence & Jumlong Mecyesy(ทำ�บุญค่าน้ำ�-ไฟ) $ 50.00 Somsong Fox $ 25.00 จำ�เนียร น้ำ�ใส, บักลัก แซ่อั๊ง(ทำ�บุญเช่าสถานที่จัดงานกฐิน) $ 100.00 ก๋งตี๋+ยายแสง+ยายขอ แซ่เอี๊ยบ(ทำ�บุญเช่าสถานที่จัดงานกฐิน) $ 100.00 นายอ๊อด+นางทุเรียน น้ำ�ใส(ทำ�บุญเช่าสถานที่จัดงานกฐิน) $ 100.00
  • 16. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana26 27 วิเชียร น้ำ�ใส(ทำ�บุญเช่าสถานที่จัดงานกฐิน) $ 40.00 Somsong Fox (ทำ�บุญเช่าสถานที่จัดงานกฐิน) $ 40.00 รัตนาภรณ์ น้ำ�ใส(ทำ�บุญเช่าสถานที่จัดงานกฐิน) $ 20.00 Kim Vann (ทำ�บุญเช่าสถานที่จัดงานกฐิน) $ 20.00 Preet Sighn(ทำ�บุญเช่าสถานที่จัดงานกฐิน) $ 20.00 รายรับเดือนกันยายน 2556 Jim-Mam Birmingham $ 50.00 Danial Winwood $ 20.00 Jane Chouname $ 200.00 Amy-John, Papaya Thai Restaurant $ 100.00 K.Keng, Andy, Ning, Neng, Papaya Thai Rest. Team $ 70.00 น.ส.สุจิตรา เทียมเมืองแพน $ 05.00 Bob Fox $ 25.00 Samuel-Ratsamy Wu $ 20.00 Clarence-Jumlong Meyesy $ 60.00 นางบรรลุ อินทร์ชัยยา $ 20.00 Gilbert P. Trujillo $ 50.00 Joseph Ates $ 120.00 Pam & Josh $ 60.00 Amy-John, Papaya Thai Restaurant $ 30.00 Chaloemwut Suttiboon $ 50.00 Somsong Fox $ 100.00 Vilavan-Phoc Vong $ 617.00 Pittsburgh Thai Food Ing. $ 50.00 Chalermphon Jabkul $ 20.00 Pranom Jabkul $ 100.00 ป้านิด สมศรี มาแตง $ 50.00 Malinee Vangsameteekul $ 100.00 กลุ่มพลังบุญ $ 96.00 คุณเอื้อนภา ริชาร์ด $ 20.00 Somsong Fox $ 50.00 คุณกุ๊กกิ๊ก และครอบครัว $ 20.00 Maggie $ 20.00 คุณน้อย-เขียด DC $ 10.00 คุณประยูรศรี วรเลิศ $ 10.00 คุณเครือวรรณ เอกโชติ $ 30.00 Apinya Kunjara Na Ayuddhaya $ 500.00 คุณสมหมาย เบิกกว้าง,Jim Lovetro และครอบครัว $ 100.00 คุณจำ�เนียร น้ำ�ใส $ 20.00 พ่อแก้ว-แม่สม พุทธวงค์ $ 100.00 Boonrak-Rattana Tanitisira $ 100.00 คุณสุกานดา บุพพานนท์ $ 50.00 คุณรัตติพร มั่นพรหม $ 10.00 คุณลิลลี่ และคุณแม่พรรษา $ 20.00 Manas D Sand $ 50.00 คุณวี นันทะวงค์ $ 100.00 คุณ Jame-คุณแหม่ม Birmingham $ 30.00 Kim Van $ 10.00 Jane Chounaem และครอบครัว $ 103.00 คุณจันทิมา จิรเชิดชูวงษ์ $ 100.00 พ่อคำ�โฮง นันทะวงศ์ $ 50.00
  • 17. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana28 29 Dave Douglass $ 20.00 กลุ่มปฏิบัติธรรมเมือง Butler $ 280.00 Manee-Robert-Arnon-Ornuma Rudolph $ 10.00 รายจ่ายเดือนกรกฎาคม 2556 07/07/2013 Aetna $ 124.00 07/07/2013 PWSA $ 51.62 07/09/2013 Duquesne Light $ 78.00 07/10/2013 UPMC Mercy $ 285.60 07/11/2013 Peoples natural Gas $ 40.86 07/13/2013 ซื้ออุปกรณ์สำ�นักงาน $ 95.10 07/14/2013 Comcast $ 208.16 07/14/2013 Guardian $ 31.95 07/14/2013 Nationwide $ 67.94 07/14/2013 C&H International Ticket to Thailand(Ajahn Sayan)$ 1,372.00 07/15/2013 ซื้อเลื่อยตัดแต่งกิ่งไม้ $ 53.50 07/15/2013 ซื้อถุงขยะดำ� $ 13.90 07/18/2013 ซื้อเทียนไข $ 11.04 07/18/2013 ซื้อน้ำ�ขวดใหญ่ 3 ขวด $ 20.97 07/28/2013 ซื้ออุปกรณ์สำ�นักงาน $ 42.62 รายจ่ายเดือนสิงหาคม 2556 08/03/2013 ซื้ออุปกรณ์สำ�นักงาน $ 50.77 08/04/2013 Aetna $ 124.00 08/04/2013 PWSA $ 78.67 08/04/2013 Duquesne Light $ 114.60 08/05/2013 ค่าส่งวารสารให้สมาชิกวัด $ 178.22 08/13/2013 Comcast $ 76.81 08/14/2013 Erie Insurance Group $ 97.00 08/19/2013 Guardian $ 31.95 08/22/2013 ค่าเข้าเล่มหนังสือธรรมะแจกฝรั่ง $ 97.36 รายจ่ายเดือนกันยายน 2556 09/01/2013 Duquesne Light $ 66.45 09/01/2013 Nationwide $ 714.00 09/01/2013 ทำ�บุญวันมหารำ�ลึกวัดวชิรธรรมปทีป นิวยอร์ก $ 200.00 09/01/2013 Aetna $ 124.00 09/01/2013 Department of transportation bureau of motor $ 36.00 09/03/2013 ซื้อแสตมป์ส่งจดหมายแจ้งข่าวสมาชิกวัด $ 92.00 09/06/2013 Air Ticket for Ven.Piya to New York $ 263.00 09/13/2013 The Council of Thai Bhikkhus in the U.S.A. $ 400.00 09/15/2013 Peoples $ 7.02 09/17/2013 Comcast $ 62.00 09/17/2013 PWSA $ 65.27 09/21/2013 Guardian $ 31.95 09/21/2013 Air Ticket For Ven.Thanat & Ven.Surathal $ 407.60 09/26/2013 Air Ticket for Ven.Suriya $ 224.90 09/27/2013 Aetna $ 124.00 รายนามผู้ร่วมทำ�บุญจ่ายภาษีที่ดินวัด(Property Tax) 1. คุณมนัส(ดี) แซนด์ $ 100.00 2. คุณสมทรง Fox $ 100.00
  • 18. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana อนุโมทนาบุญ ญาติโยมผู้ถวายภัตตาหารเพลประจำ�วันต่างๆ วัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก วันจันทร์ Thai Cuisine, Thai Spoon ครอบครัวจิระเชิดชูวงศ์ วันอังคาร คุณคิม,คุณใจ วงศ์คำ�และเพื่อนๆ(อังคารที่ ๑ ของเดือน) วันพุธ คุณพิมพ์ใจ เบอร์มิ่งแฮม,คุณนีน่า โกลด์ และเพื่อน วันพฤหัสบดี คุณจำ�ลอง แม็คคาซี่, คุณมนัส แซนด์, คุณเจน ซูนัม, Thai Me Up Restaurant วันศุกร์ คุณสมทรง ฟ็อก และเพื่อนๆ วันเสาร์ คุณวิลาวรรณ วอง และครอบครัว, Thai Gourmet วันอาทิตย์ ญาติโยมทั้งหลายร่วมทำ�บุญ ถวายภัตตาหารเพล *หมายเหตุในแต่ละวันอาจจะมีญาติโยมทั้งหลายมาร่วมตามโอกาสจะ เอื้ออำ�นวย อันนะโท พะละโท โหติ วัตถะโท โหติ วัณณะโท ยานะโท สุขะโท โหติ ทีปะโท โหติ จักขุโท. ผู้ให้ข้าว ชื่อว่าให้กำ�ลัง, ผู้ให้ผ้า ชื่อว่าให้ผิวพรรณ, ผู้ให้ยาน พาหนะ ชื่อว่าให้ความสุข, ผู้ให้ประทีป ชื่อว่าให้จักษุ 30 3. คุณจุก Thai Cuisine $ 20.00 4. คุณอรพรรณ วิทยปรีชาอนันต์ $ 10.00 5. Jane Chounaem $ 63.00 6. คุณวิเชียร น้ำ�ใส $ 30.00 7. คุณรัตนาภรณ์ น้ำ�ใส $ 30.00 8. Preet Sighn $ 20.00 9. Phoc & Vilavan Vong $ 100.00 10. พ่ออ๊อด – แม่ทุเรียน น้ำ�ใส $ 100.00 11. ก๋งตี๋-ยายแสง-ยายขอ แซ่เอี๊ยบ $ 100.00 31 สมาคมศาสนาสากลจัดงาน วันสันติภาพโลกที่เมืองพิทส์ เบิร์ก(International Day of Peace, Non-Violence)โดย เชิญทุกศาสนาสวดมนต์ บรรยายเพื่อสันติภาพของ โลก คณะสงฆ์และญาติโยม วัดเข้าร่วมงานด้วย ช า ว อ เ ม ริ กั น จำ�นวน๑๓ท่านมาปฏิบัติ ธรรมร่วมกับคณะพระ ธรรมทูต หลังจากทำ�บุญ วันสารท และครบรอบ ๒ ปีวัด
  • 19. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana ทำ�บุญวันอาสาฬหบูชา-เข้าพรรษา 2556 - Asalha Puja & Buddhist Lent 2013 วันมหารำ�ลึกและประชุมเจ้าอาวาสประจำ�ปี - Memorail Day Ceremony
  • 20. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana ทำ�บุญวันสารทและครบรอบ 2 ปีวัด - Sart Ceremony & 2 Anniversary ปฏิบัติธรรมที่เมืองบัทเล่อร์ - Meditation Retreat
  • 21. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana36 37 ขอเชิญทุกท่านร่วมทำ�บุญวันออกพรรษา ณ วัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก วันอาทิตย์ที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2556 ******* วันออกพรรษา คือ วันสิ้นสุดระยะการจำ�พรรษา หรือออกจากการอยู่ ประจำ�ที่ในฤดูฝนซึ่งตรงกับวันขึ้น ๑๕ ค่ำ� เดือน ๑๑ วันออกพรรษานี้ เรียกอีก อย่างหนึ่งว่า "วันมหาปวารณา" คำ�ว่า"ปวารณา"แปลว่า "อนุญาต" หรือ "ยอม ให้" คือ เป็นวันที่เปิดโอกาสให้พระภิกษุสงฆ์ด้วยกันว่ากล่าวตักเตือนกันได้ ใน ข้อที่ผิดพลั้งล่วงเกินระหว่างที่จำ�พรรษาอยู่ด้วยกัน ในวันออกพรรษานี้ กิจอันเป็นบุญกุศลที่ชาวพุทธมักทำ� เช่น การทำ�บุญ ตักบาตรเทโวฯ จัดดอกไม้ ธูป เทียนบูชาพระที่วัด ฟังธรรม และถือศีลปฏิบัติ ธรรม เป็นต้น ส่วนการ "ตักบาตรเทโว" คำ�ว่า "เทโว" ย่อมาจาก"เทโวโรหน" แปลว่า การเสด็จจากเทวโลก การตักบาตรเทโว จึงเป็นการระลึกถึงวันที่พระพุทธองค์ เสด็จกลับจากการโปรดพระพุทธมารดาบนเทวโลกหรือสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ วันอาทิตย์ที่ 20 ตุลาคม 2556 เวลา 10.15 น. จุดเทียนธูปบูชาพระรัตนตรัย, ร่วมกันสวดมนต์, สมาทานศีล ๕ พระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์, ญาติโยมตักบาตรข้าวสุก, เวลา 10.45 น. ถวายภัตตาหารเพล, แสดงธรรมเรื่องวันออกพรรษา, พิจารณาฉันเพล เวลา 12.00 น. ญาติโยมร่วมกันรับประทานอาหาร เวลา 12.30 น. เจริญจิตภาวนาในวันออกพรรษา รับของที่ระลึก เป็นอันเสร็จพิธี ******* The End of Buddhist Lent Ceremony ****** After the monks have endured the 3 months retreat in their own monastery, they arethenallowedtotravelagain.ThelastdayoftheRainsretreatiscalled“AwkPhansa”(in Thai), which means “leaving the Rains retreat”. This day marksthe end ofthe Buddhist lent and falls on the full moon day of the eleventh lunar month (October). It represents a day of joyful celebration and merit-making for the lay devotees.The day can also be referred to as “Mahapavarana”, meaning “Sangha talk” or “discussion day”. It is on this day, with loving kindness, the monks will gather and have a discussion on all aspects relating to the Sangha community and decide upon actions to be taken for its general improvement for the future. To this day, “Awk Phansa” is still observed for the benefit of the monks and the lay community.The faithful will visit the temple to offer food or requisites to the monks in order to make merit; while the monks reciprocate such offerings by delivering a sermon on the teachings of the Buddha. Where : Wat Padhammaratana, 5411 Glenwood Ave., Pittsburgh, PA 15207 When : October 20, 2013. 9.30 am – 12.00 pm., Free to the public Info : (412)521-5095, www.bmcpitts.org, www.facebook.com/bmcpitts Schedule Sunday, October 20, 2013 10.15 a.m. Light the candle, group-chanting, request five precepts, the monk chants 10.45 a.m. Lunch served to the Venerable monk and Dhamma talk 12.00 a.m. Lunch served to the congregation 12.00 a.m. Meditation (5-10 minutes), receive the gift by Venerable monk, Group-Picture, the program closed. ******
  • 22. ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana38 47 All are cordially invited to participate in the meditation programs and Buddhist activities at Wat Padhammaratana(The Buddhist Meditation Centre of Pittsburgh) Activity Day Time 1. Chanting Daily Morning and Evening 05.30 - 6.30 a.m. 5.30 - 6.30 p.m. 2. Dhamma Talk Daily Morning 10.45 - 11.15 a.m. 3.Buddhist Study(Thai) Every Sunday 01.00 - 03.00 p.m. 4. Meditation(English) Every Saturday 03.00 - 05.00 p.m. All activities will be held at the upper or lower level of the temple. For further infor- mation, please contact Wat Padhammaratana, PA. Tel.412-521-5095, E-mail : bmcpitts@hotmail.com, www.bmcpitts.org, www.facebook.com/bmcpitts - To serve as a Buddhism promotion center in the U.S. - To serve as a meditation center in Pittsburgh - To promote virtues, Buddhist cul- ture and traditions - To be a center of all Buddhists, regardless of nationalities OBJECTIVES กิจกรรมในแต่ละเดือน ปี 2556 วัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก ทำ�บุญวันขึ้นปีใหม่ วันอังคารที่ 1 มกราคม 2556 ทำ�บุญวันมาฆบูชา วันอาทิตย์ที่ 24 กุมภาพันธ์ 2556 ปฏิบัติธรรมประจำ�เดือน วันที่ 15-17 เมษายน 2556 ทำ�บุญวันสงกรานต์ วันอาทิตย์ที่ 7 เมษายน 2556 ทำ�บุญวันวิสาขบูชา วันอาทิตย์ที่ 19 พฤษภาคม 2556 ร่วมทำ�บุญวันเกิด 88 ปี หลวงตาชี วันอาทิตย์ที่ 9 มิถุนายน 2556 ทำ�บุญวันเข้าพรรษา วันอาทิตย์ที่ 21 กรกฎาคม 2556 บรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อน วันที่ 4-11 สิงหาคม 2556 ปฏิบัติธรรมวันสารท วันที่ 13 - 15 กันยายน 2556 ทำ�บุญวันออกพรรษา วันอาทิตย์ที่ 20 ตุลาคม 2556 ทำ�บุญทอดกฐิน วันอาทิตย์ที่ 10 พฤศจิกายน 2556 ทำ�บุญวันพ่อแห่งชาติ วันอาทิตย์ที่ 8 ธันวาคม 2556 ปฏิบัติธรรมส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ วันอังคารที่ 31 ธันวาคม 2556 RELIGIOUS CEREMONY 2013 WAT PADHAMMARATANA New Year Celebration Tuesday, January 1, 2013 Makhapuja Ceremony Sunday, February 24, 2013 Meditation Retreat March 15-17, 2013 Songkran Festival Sunday, April 7, 2013 Visaka Puja Ceremony Sunday, May 19, 2013 Luangta Chi's Birthday Sunday, June 9, 2013 Asalha Puja & Rains-retreat Ceremony Sunday, July 21, 2013 Novice Summer Camp August 4-11, 2013 Sart Meditation Retreat September 13-15, 2013 Rains-retreat ending Ceremony Sunday, October 20, 2013 Kathina Ceremony Sunday, November 10, 2013 Meditation Retreat Tuesday, December 31, 2013