SlideShare a Scribd company logo
1 of 66
Download to read offline
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ. ๒๕๕๒
มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้ 
     เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียน
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน




       สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
                กระทรวงศึกษาธิการ
                   พ.ศ. ๒๕๕๒
มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้ 
เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียน
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
© ลิขสิทธิ์ของสำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
พิมพ์ครั้งที่ ๑	 พ.ศ. ๒๕๕๒
จำนวนพิมพ์	 ๓๕,๐๐๐ เล่ม
ISBN	            978-616-202-087-2
ผู้จัดพิมพ์	 กลุ่มพัฒนาและส่งเสริมวิทยบริการ
	                สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
	                สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
  	              กระทรวงศึกษาธิการ อาคาร สพฐ. ๓ 
  	              ถนนราชดำเนินนอก เขตดุสิต กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐
	                โทรศัพท์ ๐ ๒๒๘๘ ๕๗๓๐-๓๒
	                http://academic.obec.go.th/
พิมพ์ท	 ี่       โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด 	       
	                ๗๙ ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ๑๐๙๐๐ 
	                โทร. ๐-๒๕๖๑-๔๕๖๗ โทรสาร ๐-๒๕๗๙-๕๑๐๑ 
	                นายโชคดี ออสุวรรณ ผู้พิมพ์ผู้โฆษณา พ.ศ. ๒๕๕๒


 ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสำนักหอสมุดแห่งชาติ
 ๐๒๗.๘	 สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา.
 ส-ม 		 มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุด
   	         โรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน--
 	           กรุ ง เทพฯ : สำนั ก วิ ช าการและมาตรฐานการศึ ก ษา สำนั ก งาน
        	
 	           คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, ๒๕๕๒.
 	            	 ๕๗ หน้า : ภาพประกอบ ; ๒๑ ซม.
 	            	 ๑. ห้องสมุด--มาตรฐาน ๒. ห้องสมุดโรงเรียน--มาตรฐาน. ๓. ชื่อเรื่อง.
คำนำ

	           สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานตระหนักถึงความสำคัญ
ของการพัฒนาห้องสมุดและส่งเสริมการอ่าน ซึ่งเป็นพื้นฐานของการพัฒนา
                          	
ผู้ เรี ย น โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ห้ อ งสมุ ด โรงเรี ย นอั น เป็ น แหล่ ง เรี ย นรู้ ส ำคั ญ

                                                                                           	
ในการศึ ก ษาค้ น คว้ า เพื่ อ พั ฒ นาผู้ เรี ย นตามมาตรฐานการศึ ก ษา ตลอดจน
สามารถพัฒนาให้เป็นแหล่งเรียนรู้ชุมชนได้อีกด้วย
	           ดั ง นั้ น สำนั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานจึ ง ได้ จั ด ทำ
มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน เพื่อเป็นแนวทางสำหรับบุคลากรทุกคนในโรงเรียน
ได้ร่วมมือกันดำเนินงานตามเกณฑ์ที่กำหนด โดยใช้ผลจากการสำรวจข้อมูล
	
การดำเนินงานห้องสมุดโรงเรียนของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ใน พ.ศ. ๒๕๕๒ ข้อมูลจากงานวิจัยร่วมกับองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ 	

และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ หรือยูเนสโก เรื่อง รายงานผลการสำรวจ
ข้ อ มู ล การเรี ย นรู้ ข่ า วสารผ่ า นทางห้ อ งสมุ ด โรงเรี ย น ปี พ.ศ. ๒๕๔๙ 

และเกณฑ์การประเมินของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ
                                	
การศึกษา (สมศ.) เป็นแนวทางในการจัดทำ และเพื่อประโยชน์ในการดำเนินงาน
พั ฒ นา ตลอดจนสอดคล้ อ งกั บ การประเมิ น คุ ณ ภาพของสำนั ก งานรั บ รอง
มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา ดังนั้นมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน 
                             	
จึงมี ๔ หมวด คือ
	           หมวดที่ ๑ มาตรฐานด้านผู้บริหาร
	           หมวดที่ ๒ มาตรฐานด้านครู
	           หมวดที่ ๓ มาตรฐานด้านผู้เรียน
	           หมวดที่ ๔ มาตรฐานด้านทรัพยากรสารสนเทศ
นอกจากนี้ยังได้กำหนดเกณฑ์การประเมินและแนวทางการให้คะแนน
          	
ไว้ในแต่ละตัวบ่งชี้ทุกมาตรฐาน ผู้ดำเนินงานสามารถตรวจสอบการดำเนินงาน
ของตนเองเพื่อพัฒนาได้ทุกระยะ และสามารถก้าวสู่มาตรฐานที่สูงกว่าเดิมได้
หากมีความพร้อม และที่สำคัญที่สุด คือ หากดำเนินงานได้ครบถ้วนก็สามารถ
สร้ า ง “ห้ อ งสมุ ด และบรรยากาศที่ ดี ครู บ รรณารั ก ษ์ / ครู ท ำหน้ า ที่

                                                                           
บรรณารักษ์ที่ดี หนังสือที่ดี” ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญที่สุด และเป็นเป้าหมายตรงกัน
ของผู้ใช้ทุกระดับ
	        สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานขอขอบคุณผู้ทรงคุณวุฒิ
และคณะทำงานทุ ก ท่ า นที่ ไ ด้ ร ะดมพลั ง ปั ญ ญา ความสามารถ ตลอดจน
       	
ช่วยเหลือในการทดลอง ปรับปรุง และให้ความเห็นเพิ่มเติม จนกระทั่งได้
มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียน
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำหรับใช้กับโรงเรียน
          	
ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งจะส่งผลให้ห้องสมุด
โรงเรียนทุกแห่งได้พัฒนาไปสู่มาตรฐานตามศักยภาพของตนเองและพัฒนา
คุณภาพผู้เรียนต่อไป



	                                (คุณหญิงกษมา วรวรรณ ณ อยุธยา)
	                          เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
	                              วันที่ ๑๗ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๒
สารบัญ

                                                หน้า

คำนำ	
ความสำคัญและความเป็นมา	                           ๑
มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้	                     ๗
เกณฑ์การประเมิน และแนวทางการให้คะแนน	            ๒๕
 	     หมวดที่ ๑ มาตรฐานด้านผู้บริหาร	           ๒๖
 	     หมวดที่ ๒ มาตรฐานด้านครู	                 ๓๕
 	     หมวดที่ ๓ มาตรฐานด้านผู้เรียน	            ๔๓
 	     หมวดที่ ๔ มาตรฐานด้านทรัพยากรสารสนเทศ	    ๔๘
 	     การสรุปผลการประเมิน	                      ๕๒
คณะทำงาน			                                      ๕๕
ความสำคัญและความเป็นมา
ความสำคัญและความเป็นมา

	              เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปแล้วว่า การอ่านคือ การเรียนรู้ที่ดีที่สุด

วิ ธี ห นึ่ ง แม้ ว่ า เทคโนโลยี จ ะก้ า วไกลไปเพี ย งใด แต่ ห ากพื้ น ฐานการอ่ า น

ไม่เข้มแข็งก็ไม่อาจก้าวทันความรู้เหล่านี้ได้อย่างลึกซึ้งและกว้างขวาง
	              สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหน้าที่ในการกำกับ
ดู แ ล บริ ห ารจั ด การ พั ฒ นาโรงเรี ย นในสั ง กั ด ซึ่ ง แต่ ล ะโรงเรี ย นจะมี ข นาด

และจำนวนนักเรียนแตกต่างกัน มีทั้งโรงเรียนประถมศึกษาและมัธยมศึกษา 

จึงได้ส่งเสริมและสนับสนุนให้โรงเรียนทุกแห่งพัฒนาห้องสมุดให้เป็นแหล่งเรียนรู้
ของโรงเรียนและชุมชน เพื่อเป็นการพัฒนาการศึกษาและคุณภาพผู้เรียนให้มี
ความรอบรู้ ทันเหตุการณ์ เป็นบุคคลที่มีนิสัยรักการอ่านการค้นคว้าอย่างต่อเนื่อง
ดังนั้นเพื่อให้การดำเนินงานดังกล่าวประสบผลสำเร็จมีมาตรฐานใกล้เคียงกัน
จึ ง ได้ น ำข้ อ มู ล จากการสำรวจเรื่ อ งห้ อ งสมุ ด ของสำนั ก งานคณะกรรมการ

การศึกษาขั้นพื้นฐาน และงานวิจัยร่วมกับองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ 

และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ หรือยูเนสโก เรื่อง รายงานผลการสำรวจ
ข้อมูลการเรียนรู้ข่าวสารผ่านทางห้องสมุดโรงเรียน ปี พ.ศ. ๒๕๔๙ มาจัดทำ
เป็ น มาตรฐาน ทั้ ง นี้ โ ดยให้ ส อดคล้ อ งกั บ หลั ก สู ต รการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน 

และสอดคล้องกับการประเมินคุณภาพของสำนักงานรับรองมาตรฐานและ
ประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.)   ในขณะเดียวกันได้ระบุวิธีการประเมิน
เกณฑ์การประเมิน แนวทางการให้คะแนน ตลอดจนข้อมูลเชิงประจักษ์ไว้ด้วย




        มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียน
         สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เพื่อความสะดวกในการประเมินเพื่อพัฒนาตนเอง และสำหรับคณะประเมิน
จากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา/สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
นอกจากนี้โรงเรียนอาจพัฒนาต่อเนื่องให้เต็มที่ตามศักยภาพของตนเองได้โดย
ไม่จำเป็นต้องอยู่ในฐานเดิมของตน  อนึ่ง วิธีการประเมินตนเองนั้นสามารถทำได้
ทุกระยะของการดำเนินงาน ดังนั้นมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียนที่กำหนดจึงเป็น
มาตรฐานที่จัดทำขึ้นเพื่อใช้ดำเนินการพัฒนาห้องสมุดในโรงเรียนของสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งแบ่งเป็น ๔ หมวด คือ
	            หมวดที่ ๑ มาตรฐานด้านผู้บริหาร
	            หมวดที่ ๒ มาตรฐานด้านครู
	            หมวดที่ ๓ มาตรฐานด้านผู้เรียน
	            หมวดที่ ๔ มาตรฐานด้านทรัพยากรสารสนเทศ
	            อนึ่ง ในการจัดทำมาตรฐานครั้งนี้ ได้พิจารณาถึงสภาพความเป็นจริง
ของการดำเนินงานในโรงเรียน ซึ่งการขับเคลื่อนให้ห้องสมุดมีชีวิตนั้นจะต้อง

ขึ้นอยู่กับบุคลากรทุกฝ่ายในโรงเรียนเป็นหลักและเพื่อประโยชน์ของผู้ดำเนินงาน
ทุ ก คนในการประเมิ น คุ ณ ภาพจากสำนั ก งานรั บ รองมาตรฐานและประเมิ น
คุณภาพการศึกษา (สมศ.)  ในขณะเดียวกันสภาพอันพึงประสงค์ของห้องสมุด
โรงเรียนทุกแห่งที่ผู้ใช้มีความเห็นและมีความต้องการตรงกันก็คือ
	            ๑) 	มีห้องสมุดและบรรยากาศที่ดี เอื้ออำนวยในการเข้าใช้บริการ
	            ๒) 	มี ค รู บ รรณารั ก ษ์ / ครู ท ำหน้ า ที่ บ รรณารั ก ษ์ ที่ ดี มี ค วามรู้

ความเข้าใจ และมีความพร้อมในการให้บริการด้วยอารมณ์อันแจ่มใส




                                                          ความสำคัญและความเป็นมา
๓)	มี ห นั ง สื อ ที่ ดี มี เ นื้ อ หาสอดคล้ อ งกั บ กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ 

มี ห นั ง สื อ อ่ า นเพิ่ ม เติ ม ที่ มี เ นื้ อ หาสนุ ก สนาน เพลิ ด เพลิ น ให้ ค วามรู้ ใ นเชิ ง
สร้ า งสรรค์ ส่ ง เสริ ม จิ น ตนาการ จรรโลงสั ง คมและตรงกั บ ความต้ อ งการ

ของผู้ใช้บริการ
	               ดั ง นั้ น จึ งกล่าวได้ว่า หากบุคลากรทุกฝ่ายในโรงเรียนดำเนินงาน

ห้องสมุดโรงเรียนได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด ก็สามารถพัฒนาห้องสมุดโรงเรียน

ให้มีลักษณะอันพึงประสงค์ดังกล่าวข้างต้น




         มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียน
          สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้
มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี
                                                  ้
                   เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียน
             สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 


หมวดที่ ๑ 		     มาตรฐานด้านผู้บริหาร มี ๓ มาตรฐาน ดังนี้
มาตรฐานที่ ๑ 	 ผู้บริหารมีความสามารถในการบริหารจัดการ
มาตรฐานที่ ๒ 	 ผู้บริหารส่งเสริมความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชน

                 ในการพัฒนาห้องสมุด
มาตรฐานที่ ๓ 	 ผู้บริหารเป็นแบบอย่างในการพัฒนาตนเอง

ตัวบ่งชี้ในแต่ละมาตรฐาน มีดังนี้
มาตรฐานที่ ๑ 	 ผู้บริหารมีความสามารถในการบริหารจัดการ มี ๖ ตัวบ่งชี้
๑.๑	 ผู้บริหารจัดให้มีแหล่งเรียนรู้ตามความเหมาะสม
	     ๑.๑.๑	 มีห้องสมุดไว้บริการนักเรียน ครู และบุคลากรภายในโรงเรียน
	     ๑.๑.๒	 ห้ อ งสมุ ด ตั้ ง อยู่ ใ นตำแหน่ ง ที่ เ หมาะสม มี ส ภาพดี และ

                 ให้มีบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้
	     ๑.๑.๓	 มี ก ารจั ด วั ส ดุ ค รุ ภั ณ ฑ์ ทรั พ ยากรสารสนเทศที่ เ พี ย งพอ

                 และเหมาะสม





       มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียน
        สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
๑.๒	 ผู้ บ ริ ห ารมี ก ารกำหนดนโยบาย แผนงาน การดำเนิ น งานห้ อ งสมุ ด
     โรงเรียน
	    ๑.๒.๑	 มี แ ผนการพั ฒ นาห้ อ งสมุ ด ไว้ ใ นแผนกลยุ ท ธ์ ข องโรงเรี ย น

                     เป็นลายลักษณ์อักษร
	    ๑.๒.๒	 มีการกำหนดนโยบายการใช้ห้องสมุดเพื่อการจัดการเรียน
                     การสอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
	    ๑.๒.๓	 มี ก ารกำหนดนโยบายการใช้ ห้ อ งสมุ ด เพื่ อ ส่ ง เสริ ม นิ สั ย 

                     รักการอ่านของนักเรียน
๑.๓	 ผู้บริหารจัดให้มีโครงสร้างการบริหารงานที่ชัดเจน
	    ๑.๓.๑	 มี ก ารกำหนดโครงสร้ า ง ระบบการบริ ห ารงานห้ อ งสมุ ด 

                     และคณะกรรมการดำเนินงานห้องสมุดโรงเรียน
	    ๑.๓.๒	 มี ก ารกำหนดบทบาทหน้ า ที่ ข องบุ ค ลากรตามโครงสร้ า ง

                     และส่งเสริมให้มีการดำเนินงานตามบทบาทหน้าที
        ่
	    ๑.๓.๓	 มี ก ารประชุ ม ชี้ แ จงบทบาทหน้ า ที่ ค ณะกรรมการเพื่ อ

                     การบริหารงานห้องสมุด
	    ๑.๓.๔	 มี ก ารแต่ ง ตั้ ง ครู ท ำหน้ า ที่ บ รรณารั ก ษ์ เ ป็ น คณะกรรมการ 

                     ฝ่ายวิชาการ




                                                 มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้
๑.๔	 ผู้ บ ริ ห ารจั ด ให้ มี ค รู ท ำหน้ า ที่ บ รรณารั ก ษ์ แ ละบุ ค ลากรดำเนิ น งาน

     ห้องสมุดโรงเรียน
	    ๑.๔.๑	 มี ก ารแต่ ง ตั้ ง /มอบหมายครู ใ ห้ ท ำหน้ า ที่ บ รรณารั ก ษ์ แ ละ
                     บุคลากรดำเนินงานห้องสมุดโรงเรียน
	    ๑.๔.๒	 มีการเสริมแรง สร้างขวัญและกำลังใจให้บุคลากรที่ทำหน้าที่
                     ดำเนินงานห้องสมุดโรงเรียน
	    ๑.๔.๓	 มี ก ารส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น และสร้ า งโอกาสให้ บุ ค ลากร

                     ที่ทำหน้าที่ดำเนินงานห้องสมุดโรงเรียนได้รับการพัฒนา
๑.๕	 ผู้บริหารจัดหางบประมาณสำหรับพัฒนาห้องสมุด
	    ๑.๕.๑	 มีการจัดสรรงบประมาณประจำปีเพื่อสนับสนุนและพัฒนา
                     ห้องสมุด
๑.๖	 ผู้บริหารนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน
	    ๑.๖.๑	 มีแผนการนิเทศงานห้องสมุด
	    ๑.๖.๒	 มีการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล
	    ๑.๖.๓	 มี ก ารรายงานผลการดำเนิ น งานต่ อ หน่ ว ยงานต้ น สั ง กั ด 

                     และผู้ที่เกี่ยวข้อง
	    ๑.๖.๔	 มีการนำผลการประเมินมาใช้ในการพัฒนา





10       มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียน
         สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานที่ ๒ 	 ผู้บริหารส่งเสริมความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชน
                    ในการพัฒนาห้องสมุด มี ๔ ตัวบ่งชี้
๒.๑	 ผู้บริหารจัดให้ชุมชนมาใช้บริการห้องสมุดในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเอง
๒.๒	 ผู้บริหารจัดให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาห้องสมุดโรงเรียน
๒.๓	 ผู้บริหารเปิดโอกาสให้ชุมชนเป็นกรรมการงานห้องสมุด
๒.๔	 ผู้ บ ริ ห ารสร้ า งเครื อ ข่ า ยกั บ หน่ ว ยงานและองค์ ก รอื่ น ๆ เพื่ อ พั ฒ นา

     ห้องสมุดโรงเรียน

มาตรฐานที่ ๓ 	 ผู้บริหารเป็นแบบอย่างในการพัฒนาตนเอง มี ๓ ตัวบ่งชี้
๓.๑	 ผู้ บ ริ ห ารเข้ า รั บ การอบรม สั ม มนา ศึ ก ษาดู ง าน และแลกเปลี่ ย น
     ประสบการณ์ด้านห้องสมุดอย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง
๓.๒	 ผู้ บ ริ ห ารใช้ ห้ อ งสมุ ด เป็ น แหล่ ง ศึ ก ษาค้ น คว้ า เพื่ อ พั ฒ นาตนเอง

     และพัฒนางาน
๓.๓	 ผู้บริหารมีนิสัยรักการอ่าน





                                                     มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้
   11
หมวดที่ ๒ 	      มาตรฐานด้านครู	
๒.๑ ครูบรรณารักษ์ มี ๕ มาตรฐาน ดังนี
  ้
มาตรฐานที่ ๑ 	 ครูบรรณารักษ์มีความสามารถในการดำเนินงานห้องสมุด
มาตรฐานที่ ๒ 	 ครูบรรณารักษ์มีความสามารถในการปฏิบัติงานเทคนิค
มาตรฐานที่ ๓ 	 ครูบรรณารักษ์มีความสามารถในการให้บริการ
มาตรฐานที่ ๔ 	 ครูบรรณารักษ์มีความสามารถในการจัดกิจกรรม
มาตรฐานที่ ๕ 	 ครูบรรณารักษ์มีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง

๒.๒ ครูผู้สอน มี ๓ มาตรฐาน ดังนี้
มาตรฐานที่ ๖ 	 ครูผู้สอนมีการใช้ห้องสมุดเพื่อการเรียนการสอน
มาตรฐานที่ ๗ 	 ครูผู้สอนมีการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านแก่นักเรียน
มาตรฐานที่ ๘ 	 ครูผู้สอนมีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง




12     มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียน
       สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ครูบรรณารักษ์
ตัวบ่งชี้ในแต่ละมาตรฐาน มีดังนี้
มาตรฐานที่ ๑ 	 ครูบรรณารักษ์มีความสามารถในการดำเนินงานห้องสมุด
                 มี ๗ ตัวบ่งชี้ 
๑.๑	 ครูบรรณารักษ์มีการกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจการพัฒนางานห้องสมุด
      โรงเรียน
๑.๒	 ครู บ รรณารั ก ษ์ มี ก ารจั ด ทำแผนงาน/โครงการพั ฒ นาห้ อ งสมุ ด ที่ มี

      การกำหนดเป้าหมายหรือจุดประสงค์ที่ชัดเจน
๑.๓	 ครู บ รรณารั ก ษ์ มี ก ารจั ด ทำแผนงาน/โครงการห้ อ งสมุ ด ที่ ส อดรั บ กั บ

      แผนกลยุทธ์ของโรงเรียน
๑.๔	 ครูบรรณารักษ์มีการจัดทำโครงสร้างการปฏิบัติงาน (งานบริหารจัดการ
      ห้องสมุด งานประชาสัมพันธ์ งานเทคนิค งานบริการ และงานกิจกรรม
      อย่างครบถ้วน) 
๑.๕	 ครู บ รรณารั ก ษ์ มี ก ารจั ด สภาพแวดล้ อ มและบรรยากาศที่ เ อื้ อ ต่ อ

      การจัดการเรียนรู้
๑.๖	 ครูบรรณารักษ์มีการประเมินผลการดำเนินงาน
๑.๗	 ครูบรรณารักษ์มีการนำผลการประเมินมาใช้ในการพัฒนางานห้องสมุด




                                                 มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้
   13
มาตรฐานที่ ๒ 	 ครูบรรณารักษ์มีความสามารถในการปฏิบัติงานเทคนิค 
	                มี ๗ ตัวบ่งชี้ 
๒.๑	 ครู บ รรณารั ก ษ์ จั ด ให้ มี ท รั พ ยากรสารสนเทศที่ มี เ นื้ อ หาสอดคล้ อ งกั บ

     การจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตร
๒.๒	 ครู บ รรณารั ก ษ์ จั ด ให้ มี ท รั พ ยากรสารสนเทศที่ มี เ นื้ อ หาตรงตาม

     ความต้องการของผู้ใช้บริการ
๒.๓	 ครูบรรณารักษ์มีการจัดหมวดหมู่ และทำบัตรรายการหรือทำรายการ
     (ด้วยฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์) ของทรัพยากรสารสนเทศ
๒.๔	 ครูบรรณารักษ์มีการปฏิบัติงานเทคนิคเพื่อเตรียมให้บริการ 
๒.๕	 ครู บ รรณารั ก ษ์ ใ ช้ เ ทคโนโลยี ใ นการจั ด เก็ บ และสื บ ค้ น ทรั พ ยากร

     สารสนเทศอย่างเหมาะสมกับสภาพของโรงเรียน
๒.๖	 ครู บ รรณารั ก ษ์ ใ ช้ เ ทคโนโลยี ใ นการจั ด เก็ บ และสื บ ค้ น ทรั พ ยากร

     สารสนเทศได้สะดวกต่อการเข้าถึงและใช้บริการ
๒.๗	 ครู บ รรณารั ก ษ์ มี ก ารสำรวจและบำรุ ง รั ก ษาทรั พ ยากรสารสนเทศ

     ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้




14       มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียน
         สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานที่ ๓ 	 ครูบรรณารักษ์มีความสามารถในการให้บริการ 
	              มี ๘ ตัวบ่งชี้ 
๓.๑	 ครูบรรณารักษ์มีการจัดทำระเบียบการใช้ห้องสมุดโรงเรียน
๓.๒	 ครูบรรณารักษ์มีการจัดทำตารางการใช้ห้องสมุดที่ชัดเจน
๓.๓	 ครูบรรณารักษ์มีการแนะนำการใช้ห้องสมุด
๓.๔	 ครูบรรณารักษ์มีการจัดบริการการอ่านและการศึกษาค้นคว้า 
๓.๕	 ครูบรรณารักษ์มีการจัดบริการยืม-คืน
๓.๖	 ครูบรรณารักษ์มีการจัดบริการตอบคำถามและช่วยค้นคว้า
๓.๗	 ครูบรรณารักษ์มีการจัดบริการเชิงรุกอย่างหลากหลาย
๓.๘	 ครู บ รรณารั ก ษ์ มี ก ารจั ด บริ ก ารสื บ ค้ น ทางสื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ ละ 

     ทางอินเทอร์เน็ต

มาตรฐานที่ ๔ 	 ครูบรรณารักษ์มีความสามารถในการจัดกิจกรรม
	              มี ๓ ตัวบ่งชี้ 
๔.๑	 ครูบรรณารักษ์มีการจัดกิจกรรมห้องสมุดเพื่อสนับสนุนการจัดการเรียน
     การสอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
๔.๒	 ครูบรรณารักษ์มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่านอย่างหลากหลาย
๔.๓	 ครูบรรณารักษ์มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่านอย่างต่อเนื่อง





                                                     มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้
   15
มาตรฐานที่ ๕ 	 ครูบรรณารักษ์มีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
 	             มี ๔ ตัวบ่งชี้ 
๕.๑	 ครูบรรณารักษ์มีการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และมีนิสัยรักการอ่าน
๕.๒	 ครูบรรณารักษ์เข้ารับการอบรม สัมมนา ศึกษาดูงานอย่างต่อเนื่อง
๕.๓	 ครู บ รรณารั ก ษ์ เ ป็ น สมาชิ ก สมาคมและหรื อ ชมรมวิ ช าชี พ ที่ เ กี่ ย วกั บ

     ห้องสมุด
๕.๔	 ครู บ รรณารั ก ษ์ มี ก ารสร้ า งเครื อ ข่ า ยการเรี ย นรู้ และแลกเปลี่ ย น
     ประสบการณ์เกี่ยวกับการดำเนินงานห้องสมุด

ครูผู้สอน
ตัวบ่งชี้ในแต่ละมาตรฐาน มีดังนี้
มาตรฐานที่ ๖ 	 ครูผู้สอนมีการใช้ห้องสมุดเพื่อการเรียนการสอน 
  	                 มี ๔ ตัวบ่งชี้ 
๖.๑	 ครูผู้สอนมีแผนการจัดการเรียนรู้ที่บูรณาการการใช้ห้องสมุดในสาระ 

      การเรียนรู้ที่ตนเองรับผิดชอบ
๖.๒	 ครูผู้สอนมีส่วนร่วมในการเสนอหรือคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ
๖.๓	 ครู ผู้ ส อนมี ก ารจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นการสอนโดยใช้ ห้ อ งสมุ ด เป็ น

      แหล่งเรียนรู้
๖.๔	 ครูผู้สอนมีส่วนร่วมในการประเมินผลการใช้ห้องสมุดเป็นแหล่งเรียนรู้





16      มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียน
        สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานที่ ๗ 	 ครูผู้สอนมีการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านแก่นักเรียน 
  	               มี ๗ ตัวบ่งชี้ 
๗.๑	 ครูผู้สอนมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่านในสาระการเรียนรู้ 

     ที่ตนเองรับผิดชอบอย่างหลากหลาย
๗.๒	 ครูผู้สอนมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่านในสาระการเรียนรู้ 

     ที่ตนเองรับผิดชอบอย่างสม่ำเสมอ
๗.๓	 ครูผู้สอนมีการประสานความร่วมมือกับครูบรรณารักษ์ในการจัดกิจกรรม
     ส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน
๗.๔	 ครูผู้สอนมีการประเมินผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน
๗.๕	 ครูผู้สอนมีการประเมินผลงานที่เกิดจากการจัดกิจกรรมส่งเสริมนิสัย

     รักการอ่านของนักเรียน
๗.๖	 ครูผู้สอนมีการรายงานผลการประเมินผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมนิสัย

     รักการอ่านต่อผู้บริหารโรงเรียน
๗.๗	 ครูผู้สอนมีการนำผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนากิจกรรมส่งเสริมนิสัย
     รักการอ่าน





                                           มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้
   17
มาตรฐานที่ ๘ 	 ครูผู้สอนมีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง มี ๓ ตัวบ่งชี้ 
๘.๑	 ครู ผู้ ส อนใช้ ห้ อ งสมุ ด เป็ น แหล่ ง ศึ ก ษาค้ น คว้ า เพื่ อ พั ฒ นาการสอน

     และพัฒนาตนเอง
๘.๒	 ครูผู้สอนเข้ารับการอบรม ประชุม สัมมนา ศึกษาดูงานด้านห้องสมุด

     หรือแหล่งการเรียนรู้/กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน อย่างน้อย ๑ ครั้งต่อปี
     การศึกษา
๘.๓	 ครูผู้สอนมีนิสัยรักการอ่าน

หมวดที่ ๓ 		 มาตรฐานด้านผู้เรียน มี ๒ มาตรฐาน ดังนี
้
มาตรฐานที่ ๑ 	 ผู้เรียนมีความสามารถในการรับรู้ เข้าถึง และใช้ประโยชน์
                  จากสารสนเทศ
มาตรฐานที่ ๒ 	 ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ใฝ่เรียน และมีนิสัยรักการอ่าน




18      มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียน
        สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ตัวบ่งชี้ในแต่ละมาตรฐาน มีดังนี
     ้
มาตรฐานที่ ๑ 	 ผู้เรียนมีความสามารถในการรับรู้ เข้าถึง และใช้ประโยชน์
                   จากสารสนเทศ มี ๘ ตัวบ่งชี้ 
๑.๑	 ผู้เรียนกำหนดลักษณะและขอบเขตของสารสนเทศที่ต้องการได้
๑.๒	 ผู้เรียนค้นหาสารสนเทศที่ต้องการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๑.๓	 ผู้เรียนตัดสินใจเลือกสารสนเทศที่เข้าถึงได้อย่างถูกต้อง
๑.๔	 ผู้เรียนสรุป เรียบเรียงแนวคิดจากสารสนเทศที่ค้นพบได้
๑.๕	 ผู้เรียนจัดเก็บ/เผยแพร่สารสนเทศได้
๑.๖	 ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้จากการศึกษาค้นคว้าได้
๑.๗	 ผู้เรียนมีจิตสำนึกที่ดีในการใช้ทรัพยากรสารสนเทศ
๑.๘	 ผู้เรียนมีคุณธรรมและจริยธรรมในการใช้ทรัพยากรสารสนเทศ

มาตรฐานที่ ๒ 	 ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ใฝ่เรียน และมีนิสัยรักการอ่าน 
	                   มี ๔ ตัวบ่งชี้ 
๒.๑	 ผู้เรียนเข้าใช้ห้องสมุดอย่างสม่ำเสมอ
๒.๒	 ผู้เรียนยืมหนังสืออย่างสม่ำเสมอ
๒.๓	 ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการอ่านที่โรงเรียนจัดขึ้นอย่างสม่ำเสมอ
๒.๔	 ผู้เรียนมีปริมาณการอ่านหนังสือเพิ่มเติมที่เหมาะสมกับระดับชั้น




                                              มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้
   19
หมวดที่ ๔ 		       มาตรฐานด้านทรัพยากรสารสนเทศ มี ๒ มาตรฐาน ดังนี้
มาตรฐานที่ ๑ 	 ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุตีพิมพ์
มาตรฐานที่ ๒ 	 ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์

ตัวบ่งชี้ในแต่ละมาตรฐาน มีดังนี
   ้
มาตรฐานที่ ๑ 	 ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุตีพิมพ์ มี ๕ ตัวบ่งชี้ 
๑.๑	 ห้องสมุดมีจำนวนหนังสือ หนังสืออ้างอิง วารสาร นิตยสาร หนังสือพิมพ์
      จุลสารในปริมาณที่เหมาะสม สอดคล้องกับหลักสูตร และความต้องการ
      ของผู้ใช้บริการ
๑.๒	 ห้องสมุดมีหนังสือที่สอดคล้องกับหลักสูตรและตอบสนองความเพลิดเพลิน
      จำนวน ๒๐ เล่มขึ้นไปต่อนักเรียนหนึ่งคน
๑.๓	 ห้องสมุดมีหนังสืออ้างอิง ๑ เล่ม ต่อนักเรียน ๒๐ คน และมี
	     ๑.๓.๑	 พจนานุ ก รมฉบั บ ราชบั ณ ฑิ ต ยสถาน ๑ เล่ ม ต่ อ นั ก เรี ย น 

                   ๑๐๐ คน
	     ๑.๓.๒	 สารานุ ก รมไทยสำหรั บ เยาวชน โดยพระราชประสงค์ ใ น
                   พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ๑ ชุด ต่อนักเรียน ๑๐๐ คน
                   (ถ้ามีนักเรียน ๑,๐๐๐ คนขึ้นไป มี ๑๐ ชุด)
	     ๑.๓.๓	 เอกสารหลั ก สู ต รสำหรั บ ครู ได้ แ ก่ หลั ก สู ต รและเอกสาร
                   ประกอบหลักสูตรครบทุกชั้น ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้




20     มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียน
       สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
๑.๔	 ห้องสมุดมีวารสาร/นิตยสารที่มีการบอกรับเป็นสมาชิกอย่างต่อเนื่อง 

     ๕ ชื่อเรื่องขึ้นไป
๑.๕	 ห้องสมุดมีหนังสือพิมพ์ ๒ ชื่อเรื่องขึ้นไป

มาตรฐานที่ ๒ 	 ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์ มี ๑ ตัวบ่งชี้ 
๒.๑	 ห้องสมุดมีวัสดุ สื่อประกอบการเรียนรู้ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ 

     ในปริมาณที่เหมาะสมและสอดคล้องกับหลักสูตร และความต้องการ

     ของผู้ใช้บริการ เช่น
	    ๒.๑.๑	 ลูกโลก ๑ ลูก
	    ๒.๑.๒	 แผนที่
	    ๒.๑.๓	 เกม ๑๐ เกม
	    ๒.๑.๔	 ของเล่นเสริมทักษะ ๑๐ ชุด
	    ๒.๑.๕	 ชุดภาพพลิก ๕ ชุด
	    ๒.๑.๖	 วีดิทัศน์ ๒๐ เรื่อง/ซีดี-รอม (Compact Disc-Read Only
                    Memory)/แผ่นวีดิทัศน์ระบบดิจิทัล (Digital Video Disc)
	    ๒.๑.๗	 บทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ ช่ ว ยสอน ๕ ชุ ด (เฉพาะโรงเรี ย น

                    ที่มีคอมพิวเตอร์)




                                            มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้
   21
๒.๑.๘	       หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) 
	     ๒.๑.๙	       อิ น เทอร์ เ น็ ต ๒ ชุ ด ขึ้ น ไป หรื อ เหมาะสมกั บ ผู้ ใช้ บ ริ ก าร

                   ในห้ อ งสมุ ด (เฉพาะโรงเรี ย นที่ มี โ ครงข่ า ยโทรศั พ ท์ และ
                   คอมพิวเตอร์ใช้ในห้องสมุด)
                                       ฯลฯ

เกณฑ์การประเมินคุณภาพ
	 พอใช้ (ควรปรับปรุง)	                       ดี	                           ดีเยี่ยม
	      มีคะแนน	                       มีคะแนน	                       มีคะแนน
	 น้อยกว่า ๗๐ คะแนน	                ๗๑-๘๕ คะแนน	                 มากกว่า ๘๕ คะแนน




22     มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียน
       สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เกณฑ์การประเมิน 
และแนวทางการให้คะแนน
เกณฑ์การประเมิน และแนวทางการให้คะแนน
                                 มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน


หมวดที่ ๑ มาตรฐานด้านผู้บริหาร
	       มาตรฐาน	                  ตัวบ่งชี้	             เกณฑ์การประเมิน	           ข้อมูลเชิงประจักษ์
    
    มาตรฐานที่ ๑ 
       ๑.๑ ผู้บริหารจัดให้มีแหล่ง   แนวทางการให้คะแนน
            สังเกต
    ผู้บริหาร 
          เรียนรู้ตามความเหมาะสม
      โรงเรียนขนาดเล็ก
             - 	ห้องสมุด
    มีความสามารถ
         	 ๑.๑.๑ มีห้องสมุด
         - 	มีครึ่งห้องเรียน 
         - 	อาคารเอกเทศ
    ในการบริหารจัดการ
   ไว้บริการนักเรียน ครู 
      	 ได้ ๑ คะแนน
                - 	แหล่งเรียนรู้อื่น ๆ
                         และบุคลากรภายในโรงเรียน
     -	 มีห้องสมุด ๑ ห้องเรียน 
                         
                            	 ได้ ๒ คะแนน
                                                      - 	มีห้องสมุด ๒ ห้องเรียน
                                                      	 ขึ้นไป หรือเป็นอาคาร
                                                         เอกเทศ ได้ ๓ คะแนน
                                                      โรงเรียนขนาดกลาง
                                                      - 	มีห้องสมุด ๑ ห้องเรียน 
                                                      	 ได้ ๑ คะแนน
                                                      - 	มีห้องสมุด ๒ ห้องเรียน 
                                                      	 ได้ ๒ คะแนน
                                                      - 	มีห้องสมุด ๓ ห้องเรียน
                                                      	 ขึ้นไป หรือเป็นอาคาร
                                                         เอกเทศ ได้ ๓ คะแนน




26          มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียน
            สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐาน	          ตัวบ่งชี้	       เกณฑ์การประเมิน	           ข้อมูลเชิงประจักษ์
    มาตรฐานที่ ๑ 
                      แนวทางการให้คะแนน
    ผู้บริหาร 
                                      (ต่อ)
    มีความสามารถ
                       โรงเรียนขนาดใหญ่
    ในการบริหารจัดการ 
                 - 	มีห้องสมุด ๑-๒ ห้องเรียน
    (ต่อ)
                                 ได้ ๑ คะแนน
                                        - 	มีห้องสมุด ๓ ห้องเรียน 
                                         	 ได้ ๒ คะแนน
                                        - 	มีห้องสมุด ๔ ห้องเรียน
                                        	 ขึ้นไป หรือเป็นอาคาร
                                           เอกเทศ ได้ ๓ คะแนน
                                        
                                        หมายเหตุ
                                        - 	โรงเรียนขนาดเล็ก 
                                        	 จำนวนนักเรียน 
                                        	 ๑-๓๐๐ คน 
                                        - 	โรงเรียนขนาดกลาง
                                           จำนวนนักเรียน 
                                        	 ๓๐๑-๑,๔๙๙ คน 
                                        - 	โรงเรียนขนาดใหญ่
                                           จำนวนนักเรียน 
                                        	 ๑,๕๐๐ คนขึ้นไป 
                                        
                                        แนวทางการประเมิน
                                        ระดับ ๑ ได้ ๑ คะแนน 
                                        ระดับ ๒ ได้ ๒ คะแนน 
                                        ระดับ ๓ ได้ ๓ คะแนน




                                       เกณฑ์การประเมิน และแนวทางการให้คะแนน
       27
มาตรฐาน	                 ตัวบ่งชี้	             เกณฑ์การประเมิน	            ข้อมูลเชิงประจักษ์
    มาตรฐานที่ ๑ 
      	 ๑.๑.๒ ห้องสมุดตั้งอยู่
    แนวทางการให้คะแนน
             สังเกต 
    ผู้บริหาร 
         ในตำแหน่งที่เหมาะสม 
        ห้องสมุดมีลักษณะต่อไปนี้       
    มีความสามารถ
       มีสภาพดี และให้มีบรรยากาศ
   ให้ข้อละ ๑ คะแนน
              
    ในการบริหารจัดการ 
 ที่เอื้อต่อการเรียนรู้
      ๑) 	เป็นศูนย์กลาง สะดวก        
    (ต่อ)
              
                                 ต่อการเข้าไปใช้บริการ 
   
                        
                            ๒) 	มีสภาพดี 
                 
                        
                            ๓) 	มีบรรยากาศที่เอื้อต่อ      
                        
                                 การเรียนรู้ 
             
                        
                            
                              
                        
                            แนวทางการประเมิน
              
                        
                            ระดับ ๑ ได้ ๑ คะแนน 
          
                        
                            ระดับ ๒ ได้ ๒ คะแนน 
          
                        
                            ระดับ ๓ ได้ ๓ คะแนน
           
                        	
                           
                              
                        	 ๑.๑.๓ มีการจัดวัสดุ        แนวทางการให้คะแนน
             - 	สังเกต
                        ครุภัณฑ์ ทรัพยากรสารสนเทศ
   มีลักษณะต่อไปนี้ 
             - 	ทะเบียน 
                        ที่เพียงพอและเหมาะสม
        ให้ข้อละ ๑ คะแนน
              	 หนังสือ/วัสดุ 
                                                     ๑) 	มีวัสดุครุภัณฑ์ เพียงพอ    	 ครุภัณฑ์
                                                          กับการใช้บริการ 
         - 	สัมภาษณ์
                                                     ๒) 	มีวัสดุครุภัณฑ์ เหมาะสม    	 นักเรียน/ครู
                                                          กับวัยของนักเรียน




28          มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียน
            สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐาน	                  ตัวบ่งชี้	           เกณฑ์การประเมิน	        ข้อมูลเชิงประจักษ์
    
    มาตรฐานที่ ๑ 
                                   ๓) 	มีทรัพยากร สารสนเทศ
    ผู้บริหาร 
                                          ที่เพียงพอกับการใช้
    มีความสามารถ
                                        บริการ 
    ในการบริหารจัดการ 
                              ๔) 	มีทรัพยากรสารสนเทศ
    (ต่อ)
                                               เหมาะสมกับวัย
                                                     	 ของนักเรียน 
                                                     
                                                     แนวทางการประเมิน
                                                     ระดับ ๑ ได้ ๒ คะแนน 
                                                     ระดับ ๒ ได้ ๓ คะแนน 
                                                     ระดับ ๓ ได้ ๔ คะแนน	 
                                                     
                          ๑.๒ ผู้บริหารมีการกำหนด แนวทางการให้คะแนน
           - 	แผนพัฒนา 
                          นโยบาย แผนงาน การดำเนินงาน มี ๑ ข้อ ได้ ๑ คะแนน
     	 ห้องสมุดโรงเรียน
                          ห้องสมุดโรงเรียน
          มี ๒ ข้อ ได้ ๒ คะแนน
     - 	แผนการจัด
                           	 ๑.๒.๑ มีแผนการพัฒนา มีครบทุกข้อ ได้ ๓ คะแนน
      	 การเรียนรู้ของ
                          ห้องสมุดไว้ในแผนกลยุทธ์ 
                               กลุ่มสาระฯ ต่าง ๆ
                          ของโรงเรียนเป็นลายลักษณ์ แนวทางการประเมิน
           - 	แผนกลยุทธ์/
                          อักษร
                     ระดับ ๑ ได้ ๑ คะแนน 
        แผนปฏิบัติราชการ 
                           	 ๑.๒.๒ มีการกำหนด        ระดับ ๒ ได้ ๒ คะแนน 
     	 ของโรงเรียน
                          นโยบายการใช้ห้องสมุด
      ระดับ ๓ ได้ ๓ คะแนน
      - 	โครงการต่าง ๆ 
                          เพื่อการจัดการเรียนการสอน                            - 	แผนภูมิโครงสร้าง
                          ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
                             	 การบริหาร
                                                                               - 	กิจกรรม/
                                                                                  โครงการส่งเสริม
                                                                                	 ให้ครูและนักเรียน
                                                                                	 รักการอ่าน




                                                   เกณฑ์การประเมิน และแนวทางการให้คะแนน
      29
มาตรฐาน	                    ตัวบ่งชี้	              เกณฑ์การประเมิน	         ข้อมูลเชิงประจักษ์
    
    มาตรฐานที่ ๑ 
      	 ๑.๒.๓ มีการกำหนด                
                          - 	สถิติการเข้าใช้
    ผู้บริหาร 
         นโยบายการใช้ห้องสมุด
             
                           	 ห้องสมุด
    มีความสามารถ
       เพื่อส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน      
                          - 	มีคำสั่งมอบหมาย
    ในการบริหารจัดการ 
 ของนักเรียน
                      
                             งานที่ชัดเจน
    (ต่อ)
              
                                 
                          
                        ๑.๓ ผู้บริหารจัดให้มีโครงสร้าง
   แนวทางการให้คะแนน
         - 	มีคำสั่งมอบหมาย
                        การบริหารงานที่ชัดเจน
            มี ๑ ข้อ ได้ ๑ คะแนน
         งานที่ชัดเจน
                          	 ๑.๓.๑ มีการกำหนด              มี ๒-๓ ข้อ ได้ ๒ คะแนน
                        โครงสร้าง ระบบการบริหาร
          มีครบทุกข้อ ได้ ๓ คะแนน
                        งานห้องสมุด และคณะ                
                        กรรมการดำเนินงาน
                 แนวทางการประเมิน
                        ห้องสมุดโรงเรียน
                 ระดับ ๑ ได้ ๑ คะแนน 
                          	 ๑.๓.๒ มีการกำหนด              ระดับ ๒ ได้ ๒ คะแนน 
                        บทบาทหน้าที่ของบุคลากร            ระดับ ๓ ได้ ๓ คะแนน
                        ตามโครงสร้าง และส่งเสริม
                        ให้มีการดำเนินงานตาม
                        บทบาทหน้าที่
                          	 ๑.๓.๓ มีการประชุม
                        ชี้แจงบทบาทหน้าที่
                        คณะกรรมการเพื่อการบริหาร
                        งานห้องสมุด




30           มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียน
             สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐาน	                  ตัวบ่งชี้	             เกณฑ์การประเมิน	        ข้อมูลเชิงประจักษ์
    
    มาตรฐานที่ ๑ 
      	 ๑.๓.๔ มีการแต่งตั้งครู
     
                          
    ผู้บริหาร 
         ทำหน้าที่บรรณารักษ์เป็น       
                          
    มีความสามารถ
       คณะกรรมการฝ่ายวิชาการ	        
                          
    ในการบริหารจัดการ 
 	
                            
                          
    (ต่อ)
              ๑.๔ ผู้บริหารจัดให้มีครู
     แนวทางการให้คะแนน
         - 	มีคำสั่งมอบหมาย
                        ทำหน้าที่บรรณารักษ์
          มี ๑ ข้อ ได้ ๑ คะแนน
         งานที่ชัดเจน
                        และบุคลากรดำเนินงาน
          มี ๒-๓ ข้อ ได้ ๒ คะแนน
    - 	สัมภาษณ์ สังเกต
                        ห้องสมุดโรงเรียน
             มีครบทุกข้อ ได้ ๓ คะแนน
   - 	มีหลักฐาน
                         	 ๑.๔.๑ มีการแต่งตั้ง/       
                          	 การขออนุญาต
                        มอบหมายครูให้ทำหน้าที่        แนวทางการประเมิน
             เข้าร่วมประชุม
                        บรรณารักษ์และบุคลากร          ระดับ ๑ ได้ ๑ คะแนน 
         สัมมนา
                        ดำเนินงานห้องสมุดโรงเรียน
    ระดับ ๒ ได้ ๒ คะแนน 
      - 	มีบัตรสมาชิก
                         	 ๑.๔.๒ มีการเสริมแรง        ระดับ ๓ ได้ ๓ คะแนน
                        สร้างขวัญและกำลังใจ
                        ให้บุคลากรที่ทำหน้าที่
                        ดำเนินงานห้องสมุดโรงเรียน
                         	 ๑.๔.๓ มีการส่งเสริม
                        สนับสนุน และสร้างโอกาส
                        ให้บุคลากรที่ทำหน้าที่
                        ดำเนินงานห้องสมุดโรงเรียน
                        ได้รับการพัฒนา




                                                     เกณฑ์การประเมิน และแนวทางการให้คะแนน
      31
มาตรฐาน	                 ตัวบ่งชี้	             เกณฑ์การประเมิน	          ข้อมูลเชิงประจักษ์
    
    มาตรฐานที่ ๑ 
        ๑.๕ ผู้บริหารจัดหา
        แนวทางการให้คะแนน
           - 	คำสั่ง
    ผู้บริหาร 
         งบประมาณสำหรับพัฒนา          ๑) 	จัดสรรงบประมาณ	          - 	แผนพัฒนา
    มีความสามารถ
       ห้องสมุด
                         ประจำปี ร้อยละสิบ
      	 ห้องสมุดโรงเรียน
    ในการบริหารจัดการ 
 	 ๑.๕.๑ มีการจัดสรร
         	 ของเงินอุดหนุน 
           - 	แผนกลยุทธ์/
    (ต่อ)
              งบประมาณประจำปีเพื่อ         	 ได้ ๑ คะแนน
               	 แผนปฏิบัติราชการ
                        สนับสนุนและพัฒนาห้องสมุด
    ๒) 	จัดสรรงบประมาณ              ของโรงเรียน
                        
                                 ประจำปี ร้อยละยี่สิบ    
                        
                                 ของเงินอุดหนุน 
        
                        
                            	 ได้ ๒ คะแนน 
              
                        
                            ๓) 	จัดสรรงบประมาณ           
                        
                                 ประจำปี มากกว่า
        
                        
                            	 ร้อยละยี่สิบของเงิน        
                        
                                 อุดหนุน ได้ ๓ คะแนน 
   
                        
                            
                            
                        
                            แนวทางการประเมิน
            
                        
                            ระดับ ๑ ได้ ๑ คะแนน 
        
                        
                            ระดับ ๒ ได้ ๒ คะแนน 
        
                        
                            ระดับ ๓ ได้ ๓ คะแนน
         
                        
                            
                            
                        ๑.๖ ผู้บริหารนิเทศ กำกับ     แนวทางการให้คะแนน
           - 	แผนการนิเทศ
                        ติดตาม และประเมินผล
         มีลักษณะตามตัวบ่งชี้ 
       - 	หลักฐาน
                        การดำเนินงาน
                ให้ข้อละ ๑ คะแนน
            	 การนิเทศ
                          	 ๑.๖.๑ มีแผนการนิเทศ      
                               รายงานผล
                        งานห้องสมุด
                 แนวทางการประเมิน
                        	 ๑.๖.๒ มีการนิเทศ           ระดับ ๑ ได้ ๒ คะแนน 
                        ติดตาม และประเมินผล
         ระดับ ๒ ได้ ๓ คะแนน 
                                                     ระดับ ๓ ได้ ๔ คะแนน




32          มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียน
            สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐาน	                  ตัวบ่งชี้	            เกณฑ์การประเมิน	       ข้อมูลเชิงประจักษ์
    
    มาตรฐานที่ ๑ 
      	 ๑.๖.๓ มีการรายงานผล
 
                                
    ผู้บริหาร 
         การดำเนินงานต่อหน่วยงาน 
                               
    มีความสามารถ
       ต้นสังกัดและผู้ที่เกี่ยวข้อง
 
                         
    ในการบริหารจัดการ 
 	 ๑.๖.๔ มีการนำผล
            
                         
    (ต่อ)
              การประเมินมาใช้ในการพัฒนา 	
 
                          
    
                   
                             
                         
    มาตรฐานที่ ๒ 
      ๒.๑ ผู้บริหารจัดให้ชุมชน
 แนวทางการให้คะแนน
            - 	สังเกต
    ผู้บริหารส่งเสริม   มาใช้บริการห้องสมุดในการ มีลักษณะตามตัวบ่งชี้ 
         - 	สัมภาษณ์
    ความสัมพันธ์
       เรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเอง
      ให้ข้อละ ๑ คะแนน
         - 	ภาพถ่าย
    และความร่วมมือ
 ๒.๒ ผู้บริหารจัดให้ชุมชน
 
    กับชุมชนในการ       มีส่วนร่วมในการพัฒนา
         แนวทางการประเมิน
    พัฒนาห้องสมุด
      ห้องสมุดโรงเรียน
             ระดับ ๑ ได้ ๒ คะแนน 
                        ๒.๓ ผู้บริหารเปิดโอกาส
       ระดับ ๒ ได้ ๓ คะแนน 
                        ให้ชุมชนเป็นกรรมการ
          ระดับ ๓ ได้ ๔ คะแนน
                        งานห้องสมุด
                        ๒.๔ ผู้บริหารสร้างเครือข่าย
                        กับหน่วยงานและองค์กรอื่น ๆ
                        เพื่อพัฒนาห้องสมุดโรงเรียน




                                                    เกณฑ์การประเมิน และแนวทางการให้คะแนน
      33
มาตรฐาน	                  ตัวบ่งชี้	             เกณฑ์การประเมิน	        ข้อมูลเชิงประจักษ์
    
    มาตรฐานที่ ๓ 
      ๓.๑ ผู้บริหารเข้ารับ
        แนวทางการให้คะแนน
         - 	เกียรติบัตร
    ผู้บริหารเป็น
      การอบรม สัมมนา 
             มีลักษณะตามตัวบ่งชี้ 
     - หลักฐานการ 
    แบบอย่างในการ       ศึกษาดูงาน และแลกเปลี่ยน     ให้ข้อละ ๑ คะแนน
          	 เข้าร่วมประชุม 
    พัฒนาตนเอง 
        ประสบการณ์ด้านห้องสมุด
      
                           	 สัมมนา
                        อย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง
       แนวทางการประเมิน
          - 	หนังสือ
                        ๓.๒ ผู้บริหารใช้ห้องสมุด
    ระดับ ๑ ได้ ๑ คะแนน 
      - 	สถิติการยืม-คืน
                        เป็นแหล่งศึกษาค้นคว้า
       ระดับ ๒ ได้ ๒ คะแนน 
       	 หนังสือ
                        เพื่อพัฒนาตนเองและ
          ระดับ ๓ ได้ ๓ คะแนน
       - 	บันทึกการอ่าน
                        พัฒนางาน
                                               - 	สังเกต สัมภาษณ์
                        ๓.๓ ผู้บริหารมีนิสัย 
                        รักการอ่าน




34          มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียน
            สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
หมวดที่ ๒ มาตรฐานด้านครู
	        ๒.๑ ครูบรรณารักษ์

	      มาตรฐาน	               ตัวบ่งชี้	               เกณฑ์การประเมิน	       ข้อมูลเชิงประจักษ์
    
    มาตรฐานที่ ๑ 
   ๑.๑ ครูบรรณารักษ์ 
            แนวทางการให้คะแนน
         - 	แผนพัฒนา
    ครูบรรณารักษ์
   มีการกำหนดวิสัยทัศน์ 
         มีลักษณะตามตัวบ่งชี้ 
     	 งานห้องสมุด
    มีความสามารถ 
   พันธกิจการพัฒนางาน
            ให้ข้อละ ๑ คะแนน
          - 	สถิติการใช้ 
    ในการดำเนินงาน   ห้องสมุดโรงเรียน
              
                           	 บริการ
    ห้องสมุด 
       ๑.๒ ครูบรรณารักษ์ 
            แนวทางการประเมิน
          - 	แผ่นพับ
                     มีการจัดทำแผนงาน/โครงการ       ระดับ ๑ ได้ ๔ คะแนน 
       	 ประชาสัมพันธ์
                     พัฒนาห้องสมุดที่มีการกำหนด
                                                    ระดับ ๒ ได้ ๕-๖ คะแนน 
    - 	สังเกตสภาพ 
                     เป้าหมายหรือจุดประสงค์
                     ที่ชัดเจน
                     ระดับ ๓ ได้ ๗ คะแนน
        	 แวดล้อม
                     ๑.๓ ครูบรรณารักษ์ 
                                       - 	แบบประเมินงาน/
                     มีการจัดทำแผนงาน/โครงการ                                      ผลการดำเนินงาน
                     ห้องสมุดที่สอดรับกับ
                                     - 	ข้อมูลแสดง
                     แผนกลยุทธ์ของโรงเรียน
                                    	 การนำผล
                     ๑.๔ ครูบรรณารักษ์ 
                                       	 การประเมิน
                     มีการจัดทำโครงสร้าง
                                        	 มาใช้พัฒนาต่อไป
                     การปฏิบัติงาน 
                                           
                     (งานบริหารจัดการห้องสมุด
                     งานประชาสัมพันธ์ งานเทคนิค
                     งานบริการ และงานกิจกรรม
                     อย่างครบถ้วน)
                     ๑.๕	ครูบรรณารักษ์
                     มีการจัดสภาพแวดล้อม
                     และบรรยากาศที่เอื้อต่อ

                     การจัดการเรียนรู้
                     ๑.๖	ครูบรรณารักษ์
                     มีการประเมินผลการดำเนินงาน
                     ๑.๗	ครูบรรณารักษ์
                     มีการนำผลการประเมินมาใช้
                     ในการพัฒนางานห้องสมุด



                                                   เกณฑ์การประเมิน และแนวทางการให้คะแนน
      35
มาตรฐาน	                 ตัวบ่งชี้	               เกณฑ์การประเมิน	        ข้อมูลเชิงประจักษ์
    
    มาตรฐานที่ ๒ 
      ๒.๑ ครูบรรณารักษ์จัดให้มี       แนวทางการให้คะแนน
        - 	ทะเบียน 
    ครูบรรณารักษ์ 
     ทรัพยากรสารสนเทศ
               มีลักษณะตามตัวบ่งชี้ 
     	 ทรัพยากร
    มีความสามารถ 
      ที่มีเนื้อหาสอดคล้องกับ
        ให้ข้อละ ๑ คะแนน
          	 สารสนเทศ
    ในการปฏิบัติงาน     การจัดการเรียนการสอน
           
                         - 	แผนการจัดหา
    เทคนิค 
            ตามหลักสูตร
                    แนวทางการประเมิน
          	 ทรัพยากร
                        ๒.๒ ครูบรรณารักษ์จัดให้มี       ระดับ ๑ ได้ ๔ คะแนน 
     - 	สังเกตระบบ
                        ทรัพยากรสารสนเทศที่มีเนื้อหา
   ระดับ ๒ ได้ ๕-๖ คะแนน 
   	 การจัดหมวดหมู่
                        ตรงตามความต้องการของ
           ระดับ ๓ ได้ ๗ คะแนน
         การสืบค้น 
                        ผู้ใช้บริการ
                                             	 การเข้าถึง 
                        ๒.๓ ครูบรรณารักษ์ 
                                        	 ทรัพยากร 
                        มีการจัดหมวดหมู่ และ
                                      	 สารสนเทศ
                        ทำบัตรรายการหรือทำรายการ 
                        (ด้วยฐานข้อมูลระบบ
                        คอมพิวเตอร์) ของทรัพยากร
                        สารสนเทศ
                        ๒.๔ ครูบรรณารักษ์ 
                        มีการปฏิบัติงานเทคนิค
                        เพื่อเตรียมให้บริการ 
                        ๒.๕ ครูบรรณารักษ์
                        ใช้เทคโนโลยีในการจัดเก็บ
                        และสืบค้นทรัพยากร
                        สารสนเทศอย่างเหมาะสม
                        กับสภาพของโรงเรียน




36          มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียน
            สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐาน	               ตัวบ่งชี้	              เกณฑ์การประเมิน	       ข้อมูลเชิงประจักษ์
    
    มาตรฐานที่ ๒ 
      ๒.๖ ครูบรรณารักษ์ 
         
                          
    ครูบรรณารักษ์ 
   ใช้เทคโนโลยีในการจัดเก็บ      
                          
    มีความสามารถ 
    และสืบค้นทรัพยากร
            
                          
    ในการปฏิบัติงาน   สารสนเทศได้สะดวก
             
                          
    เทคนิค 
          ต่อการเข้าถึงและใช้บริการ
    
                          
    (ต่อ)
            ๒.๗ ครูบรรณารักษ์ 
           
                          
    
                 มีการสำรวจและบำรุงรักษา       
                          
    
                 ทรัพยากรสารสนเทศ
             
                          
    
                 ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้ 	 
     
                          
    
                 
                             
                          
    มาตรฐานที่ ๓ 
    ๓.๑ ครูบรรณารักษ์ 
           แนวทางการให้คะแนน
         - 	ระเบียบการใช้
    ครูบรรณารักษ์ 
   มีการจัดทำระเบียบการใช้       มีลักษณะตามตัวบ่งชี้ 
       	 บริการ
    มีความสามารถ 
    ห้องสมุดโรงเรียน
             ให้ข้อละ ๑ คะแนน
          - 	ตารางการใช้
    ในการให้บริการ
   ๓.๒ ครูบรรณารักษ์ 
           
                            	 ห้องสมุด
                      มีการจัดทำตารางการใช้
        แนวทางการประเมิน
          - 	สถิติการยืม-คืน
                      ห้องสมุดที่ชัดเจน
            ระดับ ๑ ได้ ๓ คะแนน 
      - 	สังเกต
                      ๓.๓ ครูบรรณารักษ์ 
           ระดับ ๒ ได้ ๔-๖ คะแนน 
    - 	สัมภาษณ์
                      มีการแนะนำการใช้ห้องสมุด
     ระดับ ๓ ได้ ๗-๘ คะแนน
                      ๓.๔ ครูบรรณารักษ์ 
                      มีการจัดบริการการอ่าน 
                      และการศึกษาค้นคว้า




                                                   เกณฑ์การประเมิน และแนวทางการให้คะแนน
      37
School Library Standard, Thailand
School Library Standard, Thailand
School Library Standard, Thailand
School Library Standard, Thailand
School Library Standard, Thailand
School Library Standard, Thailand
School Library Standard, Thailand
School Library Standard, Thailand
School Library Standard, Thailand
School Library Standard, Thailand
School Library Standard, Thailand
School Library Standard, Thailand
School Library Standard, Thailand
School Library Standard, Thailand
School Library Standard, Thailand
School Library Standard, Thailand
School Library Standard, Thailand
School Library Standard, Thailand
School Library Standard, Thailand
School Library Standard, Thailand
School Library Standard, Thailand
School Library Standard, Thailand

More Related Content

What's hot

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา SAR2563
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา SAR2563 รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา SAR2563
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา SAR2563 Somchart Phaeumnart
 
แนวทางการเขียนรายงานSar
แนวทางการเขียนรายงานSarแนวทางการเขียนรายงานSar
แนวทางการเขียนรายงานSarSuriyen Butimarn
 
แนวทางการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุง
แนวทางการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุงแนวทางการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุง
แนวทางการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุงKomsun See
 
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙QA Bpi
 
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)wasan
 
Ppt การพัฒนาระบบการประกัน
Ppt การพัฒนาระบบการประกันPpt การพัฒนาระบบการประกัน
Ppt การพัฒนาระบบการประกันQA Bpi
 
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯPpt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯIct Krutao
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7Suwakhon Phus
 
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและ...
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและ...หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและ...
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและ...Jaru O-not
 
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดีแบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดีเทวัญ ภูพานทอง
 
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษามาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษาkruthai40
 
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552Nang Ka Nangnarak
 
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผลนิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผลJaru O-not
 
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพokTophit Sampootong
 
Utq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผลUtq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผลkrusoon1103
 

What's hot (17)

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา SAR2563
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา SAR2563 รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา SAR2563
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา SAR2563
 
แนวทางการเขียนรายงานSar
แนวทางการเขียนรายงานSarแนวทางการเขียนรายงานSar
แนวทางการเขียนรายงานSar
 
แนวทางการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุง
แนวทางการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุงแนวทางการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุง
แนวทางการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุง
 
บทที่ 8.1
บทที่ 8.1บทที่ 8.1
บทที่ 8.1
 
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
 
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
 
Ppt การพัฒนาระบบการประกัน
Ppt การพัฒนาระบบการประกันPpt การพัฒนาระบบการประกัน
Ppt การพัฒนาระบบการประกัน
 
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯPpt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7
 
การสร้างข้อสอบโอเน็ต
การสร้างข้อสอบโอเน็ตการสร้างข้อสอบโอเน็ต
การสร้างข้อสอบโอเน็ต
 
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและ...
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและ...หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและ...
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและ...
 
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดีแบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
 
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษามาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
 
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
 
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผลนิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
นิยามภาษา คำนวณ เหตุผล
 
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
 
Utq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผลUtq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผล
 

Similar to School Library Standard, Thailand

หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนหลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนPitima Boonprasit
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02Wes Yod
 
สอบวิชิาชีพครู
สอบวิชิาชีพครูสอบวิชิาชีพครู
สอบวิชิาชีพครูSarawut Rajchakit
 
บทความวิจัย 1
บทความวิจัย 1บทความวิจัย 1
บทความวิจัย 1luanrit
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3arsad20
 
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556Wareerut Hunter
 
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาokTophit Sampootong
 
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาokธวัช บุตรศรี
 
แนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลแนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลnarongsak promwang
 
คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55Patchanida Yadawong
 
คู่มือ Nt
คู่มือ Ntคู่มือ Nt
คู่มือ NtNirut Uthatip
 
20ระเบียบโรงเรียน
20ระเบียบโรงเรียน20ระเบียบโรงเรียน
20ระเบียบโรงเรียนkrupornpana55
 

Similar to School Library Standard, Thailand (20)

2552 high school performance standards.9
2552 high school performance standards.92552 high school performance standards.9
2552 high school performance standards.9
 
วิชาการ
วิชาการวิชาการ
วิชาการ
 
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนหลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02
 
สอบวิชิาชีพครู
สอบวิชิาชีพครูสอบวิชิาชีพครู
สอบวิชิาชีพครู
 
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการนโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
 
บทความวิจัย 1
บทความวิจัย 1บทความวิจัย 1
บทความวิจัย 1
 
E book world-class
E book world-classE book world-class
E book world-class
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3
 
สพฐ. พุทธศักราช 2556
สพฐ. พุทธศักราช 2556สพฐ. พุทธศักราช 2556
สพฐ. พุทธศักราช 2556
 
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556
 
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
 
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
 
แนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลแนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผล
 
คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55
 
คู่มือ Nt
คู่มือ Ntคู่มือ Nt
คู่มือ Nt
 
คู่มือNt ป.3
คู่มือNt ป.3คู่มือNt ป.3
คู่มือNt ป.3
 
20
2020
20
 
20ระเบียบโรงเรียน
20ระเบียบโรงเรียน20ระเบียบโรงเรียน
20ระเบียบโรงเรียน
 
20
2020
20
 

More from Boonlert Aroonpiboon (20)

Excel quiz
Excel quizExcel quiz
Excel quiz
 
Scival for Research Performance
Scival for Research PerformanceScival for Research Performance
Scival for Research Performance
 
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-420190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
 
20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup
 
20190220 open-library
20190220 open-library20190220 open-library
20190220 open-library
 
20190220 digital-archives
20190220 digital-archives20190220 digital-archives
20190220 digital-archives
 
OER KKU Library
OER KKU LibraryOER KKU Library
OER KKU Library
 
Museum digital-code
Museum digital-codeMuseum digital-code
Museum digital-code
 
OER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success StoryOER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success Story
 
LAM Code of conduct
LAM Code of conductLAM Code of conduct
LAM Code of conduct
 
RLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOCRLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOC
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
digital law for GLAM
digital law for GLAMdigital law for GLAM
digital law for GLAM
 
20180919 digital-collections
20180919 digital-collections20180919 digital-collections
20180919 digital-collections
 
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
 
20180828 digital-archives
20180828 digital-archives20180828 digital-archives
20180828 digital-archives
 
Local Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How toLocal Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How to
 
201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup
 
201403 etda-library
201403 etda-library201403 etda-library
201403 etda-library
 

School Library Standard, Thailand

  • 2. มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๕๒
  • 3. มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน © ลิขสิทธิ์ของสำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ พิมพ์ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๒ จำนวนพิมพ์ ๓๕,๐๐๐ เล่ม ISBN 978-616-202-087-2 ผู้จัดพิมพ์ กลุ่มพัฒนาและส่งเสริมวิทยบริการ สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ อาคาร สพฐ. ๓ ถนนราชดำเนินนอก เขตดุสิต กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๒๘๘ ๕๗๓๐-๓๒ http://academic.obec.go.th/ พิมพ์ท ี่ โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด ๗๙ ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ๑๐๙๐๐ โทร. ๐-๒๕๖๑-๔๕๖๗ โทรสาร ๐-๒๕๗๙-๕๑๐๑ นายโชคดี ออสุวรรณ ผู้พิมพ์ผู้โฆษณา พ.ศ. ๒๕๕๒ ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสำนักหอสมุดแห่งชาติ ๐๒๗.๘ สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. ส-ม มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุด โรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน-- กรุ ง เทพฯ : สำนั ก วิ ช าการและมาตรฐานการศึ ก ษา สำนั ก งาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, ๒๕๕๒. ๕๗ หน้า : ภาพประกอบ ; ๒๑ ซม. ๑. ห้องสมุด--มาตรฐาน ๒. ห้องสมุดโรงเรียน--มาตรฐาน. ๓. ชื่อเรื่อง.
  • 4. คำนำ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานตระหนักถึงความสำคัญ ของการพัฒนาห้องสมุดและส่งเสริมการอ่าน ซึ่งเป็นพื้นฐานของการพัฒนา ผู้ เรี ย น โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ห้ อ งสมุ ด โรงเรี ย นอั น เป็ น แหล่ ง เรี ย นรู้ ส ำคั ญ ในการศึ ก ษาค้ น คว้ า เพื่ อ พั ฒ นาผู้ เรี ย นตามมาตรฐานการศึ ก ษา ตลอดจน สามารถพัฒนาให้เป็นแหล่งเรียนรู้ชุมชนได้อีกด้วย ดั ง นั้ น สำนั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานจึ ง ได้ จั ด ทำ มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน เพื่อเป็นแนวทางสำหรับบุคลากรทุกคนในโรงเรียน ได้ร่วมมือกันดำเนินงานตามเกณฑ์ที่กำหนด โดยใช้ผลจากการสำรวจข้อมูล การดำเนินงานห้องสมุดโรงเรียนของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ใน พ.ศ. ๒๕๕๒ ข้อมูลจากงานวิจัยร่วมกับองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ หรือยูเนสโก เรื่อง รายงานผลการสำรวจ ข้ อ มู ล การเรี ย นรู้ ข่ า วสารผ่ า นทางห้ อ งสมุ ด โรงเรี ย น ปี พ.ศ. ๒๕๔๙ และเกณฑ์การประเมินของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศึกษา (สมศ.) เป็นแนวทางในการจัดทำ และเพื่อประโยชน์ในการดำเนินงาน พั ฒ นา ตลอดจนสอดคล้ อ งกั บ การประเมิ น คุ ณ ภาพของสำนั ก งานรั บ รอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา ดังนั้นมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน จึงมี ๔ หมวด คือ หมวดที่ ๑ มาตรฐานด้านผู้บริหาร หมวดที่ ๒ มาตรฐานด้านครู หมวดที่ ๓ มาตรฐานด้านผู้เรียน หมวดที่ ๔ มาตรฐานด้านทรัพยากรสารสนเทศ
  • 5. นอกจากนี้ยังได้กำหนดเกณฑ์การประเมินและแนวทางการให้คะแนน ไว้ในแต่ละตัวบ่งชี้ทุกมาตรฐาน ผู้ดำเนินงานสามารถตรวจสอบการดำเนินงาน ของตนเองเพื่อพัฒนาได้ทุกระยะ และสามารถก้าวสู่มาตรฐานที่สูงกว่าเดิมได้ หากมีความพร้อม และที่สำคัญที่สุด คือ หากดำเนินงานได้ครบถ้วนก็สามารถ สร้ า ง “ห้ อ งสมุ ด และบรรยากาศที่ ดี ครู บ รรณารั ก ษ์ / ครู ท ำหน้ า ที่ บรรณารักษ์ที่ดี หนังสือที่ดี” ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญที่สุด และเป็นเป้าหมายตรงกัน ของผู้ใช้ทุกระดับ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานขอขอบคุณผู้ทรงคุณวุฒิ และคณะทำงานทุ ก ท่ า นที่ ไ ด้ ร ะดมพลั ง ปั ญ ญา ความสามารถ ตลอดจน ช่วยเหลือในการทดลอง ปรับปรุง และให้ความเห็นเพิ่มเติม จนกระทั่งได้ มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำหรับใช้กับโรงเรียน ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งจะส่งผลให้ห้องสมุด โรงเรียนทุกแห่งได้พัฒนาไปสู่มาตรฐานตามศักยภาพของตนเองและพัฒนา คุณภาพผู้เรียนต่อไป (คุณหญิงกษมา วรวรรณ ณ อยุธยา) เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน วันที่ ๑๗ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๒
  • 6. สารบัญ หน้า คำนำ ความสำคัญและความเป็นมา ๑ มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้ ๗ เกณฑ์การประเมิน และแนวทางการให้คะแนน ๒๕ หมวดที่ ๑ มาตรฐานด้านผู้บริหาร ๒๖ หมวดที่ ๒ มาตรฐานด้านครู ๓๕ หมวดที่ ๓ มาตรฐานด้านผู้เรียน ๔๓ หมวดที่ ๔ มาตรฐานด้านทรัพยากรสารสนเทศ ๔๘ การสรุปผลการประเมิน ๕๒ คณะทำงาน ๕๕
  • 7.
  • 9. ความสำคัญและความเป็นมา เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปแล้วว่า การอ่านคือ การเรียนรู้ที่ดีที่สุด วิ ธี ห นึ่ ง แม้ ว่ า เทคโนโลยี จ ะก้ า วไกลไปเพี ย งใด แต่ ห ากพื้ น ฐานการอ่ า น ไม่เข้มแข็งก็ไม่อาจก้าวทันความรู้เหล่านี้ได้อย่างลึกซึ้งและกว้างขวาง สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหน้าที่ในการกำกับ ดู แ ล บริ ห ารจั ด การ พั ฒ นาโรงเรี ย นในสั ง กั ด ซึ่ ง แต่ ล ะโรงเรี ย นจะมี ข นาด และจำนวนนักเรียนแตกต่างกัน มีทั้งโรงเรียนประถมศึกษาและมัธยมศึกษา จึงได้ส่งเสริมและสนับสนุนให้โรงเรียนทุกแห่งพัฒนาห้องสมุดให้เป็นแหล่งเรียนรู้ ของโรงเรียนและชุมชน เพื่อเป็นการพัฒนาการศึกษาและคุณภาพผู้เรียนให้มี ความรอบรู้ ทันเหตุการณ์ เป็นบุคคลที่มีนิสัยรักการอ่านการค้นคว้าอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นเพื่อให้การดำเนินงานดังกล่าวประสบผลสำเร็จมีมาตรฐานใกล้เคียงกัน จึ ง ได้ น ำข้ อ มู ล จากการสำรวจเรื่ อ งห้ อ งสมุ ด ของสำนั ก งานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน และงานวิจัยร่วมกับองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ หรือยูเนสโก เรื่อง รายงานผลการสำรวจ ข้อมูลการเรียนรู้ข่าวสารผ่านทางห้องสมุดโรงเรียน ปี พ.ศ. ๒๕๔๙ มาจัดทำ เป็ น มาตรฐาน ทั้ ง นี้ โ ดยให้ ส อดคล้ อ งกั บ หลั ก สู ต รการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน และสอดคล้องกับการประเมินคุณภาพของสำนักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ในขณะเดียวกันได้ระบุวิธีการประเมิน เกณฑ์การประเมิน แนวทางการให้คะแนน ตลอดจนข้อมูลเชิงประจักษ์ไว้ด้วย มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 10. เพื่อความสะดวกในการประเมินเพื่อพัฒนาตนเอง และสำหรับคณะประเมิน จากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา/สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกจากนี้โรงเรียนอาจพัฒนาต่อเนื่องให้เต็มที่ตามศักยภาพของตนเองได้โดย ไม่จำเป็นต้องอยู่ในฐานเดิมของตน อนึ่ง วิธีการประเมินตนเองนั้นสามารถทำได้ ทุกระยะของการดำเนินงาน ดังนั้นมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียนที่กำหนดจึงเป็น มาตรฐานที่จัดทำขึ้นเพื่อใช้ดำเนินการพัฒนาห้องสมุดในโรงเรียนของสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งแบ่งเป็น ๔ หมวด คือ หมวดที่ ๑ มาตรฐานด้านผู้บริหาร หมวดที่ ๒ มาตรฐานด้านครู หมวดที่ ๓ มาตรฐานด้านผู้เรียน หมวดที่ ๔ มาตรฐานด้านทรัพยากรสารสนเทศ อนึ่ง ในการจัดทำมาตรฐานครั้งนี้ ได้พิจารณาถึงสภาพความเป็นจริง ของการดำเนินงานในโรงเรียน ซึ่งการขับเคลื่อนให้ห้องสมุดมีชีวิตนั้นจะต้อง ขึ้นอยู่กับบุคลากรทุกฝ่ายในโรงเรียนเป็นหลักและเพื่อประโยชน์ของผู้ดำเนินงาน ทุ ก คนในการประเมิ น คุ ณ ภาพจากสำนั ก งานรั บ รองมาตรฐานและประเมิ น คุณภาพการศึกษา (สมศ.) ในขณะเดียวกันสภาพอันพึงประสงค์ของห้องสมุด โรงเรียนทุกแห่งที่ผู้ใช้มีความเห็นและมีความต้องการตรงกันก็คือ ๑) มีห้องสมุดและบรรยากาศที่ดี เอื้ออำนวยในการเข้าใช้บริการ ๒) มี ค รู บ รรณารั ก ษ์ / ครู ท ำหน้ า ที่ บ รรณารั ก ษ์ ที่ ดี มี ค วามรู้ ความเข้าใจ และมีความพร้อมในการให้บริการด้วยอารมณ์อันแจ่มใส ความสำคัญและความเป็นมา
  • 11. ๓) มี ห นั ง สื อ ที่ ดี มี เ นื้ อ หาสอดคล้ อ งกั บ กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ มี ห นั ง สื อ อ่ า นเพิ่ ม เติ ม ที่ มี เ นื้ อ หาสนุ ก สนาน เพลิ ด เพลิ น ให้ ค วามรู้ ใ นเชิ ง สร้ า งสรรค์ ส่ ง เสริ ม จิ น ตนาการ จรรโลงสั ง คมและตรงกั บ ความต้ อ งการ ของผู้ใช้บริการ ดั ง นั้ น จึ งกล่าวได้ว่า หากบุคลากรทุกฝ่ายในโรงเรียนดำเนินงาน ห้องสมุดโรงเรียนได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด ก็สามารถพัฒนาห้องสมุดโรงเรียน ให้มีลักษณะอันพึงประสงค์ดังกล่าวข้างต้น มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 12.
  • 13.
  • 15. มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี ้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน หมวดที่ ๑ มาตรฐานด้านผู้บริหาร มี ๓ มาตรฐาน ดังนี้ มาตรฐานที่ ๑ ผู้บริหารมีความสามารถในการบริหารจัดการ มาตรฐานที่ ๒ ผู้บริหารส่งเสริมความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชน ในการพัฒนาห้องสมุด มาตรฐานที่ ๓ ผู้บริหารเป็นแบบอย่างในการพัฒนาตนเอง ตัวบ่งชี้ในแต่ละมาตรฐาน มีดังนี้ มาตรฐานที่ ๑ ผู้บริหารมีความสามารถในการบริหารจัดการ มี ๖ ตัวบ่งชี้ ๑.๑ ผู้บริหารจัดให้มีแหล่งเรียนรู้ตามความเหมาะสม ๑.๑.๑ มีห้องสมุดไว้บริการนักเรียน ครู และบุคลากรภายในโรงเรียน ๑.๑.๒ ห้ อ งสมุ ด ตั้ ง อยู่ ใ นตำแหน่ ง ที่ เ หมาะสม มี ส ภาพดี และ ให้มีบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ๑.๑.๓ มี ก ารจั ด วั ส ดุ ค รุ ภั ณ ฑ์ ทรั พ ยากรสารสนเทศที่ เ พี ย งพอ และเหมาะสม มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 16. ๑.๒ ผู้ บ ริ ห ารมี ก ารกำหนดนโยบาย แผนงาน การดำเนิ น งานห้ อ งสมุ ด โรงเรียน ๑.๒.๑ มี แ ผนการพั ฒ นาห้ อ งสมุ ด ไว้ ใ นแผนกลยุ ท ธ์ ข องโรงเรี ย น เป็นลายลักษณ์อักษร ๑.๒.๒ มีการกำหนดนโยบายการใช้ห้องสมุดเพื่อการจัดการเรียน การสอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ๑.๒.๓ มี ก ารกำหนดนโยบายการใช้ ห้ อ งสมุ ด เพื่ อ ส่ ง เสริ ม นิ สั ย รักการอ่านของนักเรียน ๑.๓ ผู้บริหารจัดให้มีโครงสร้างการบริหารงานที่ชัดเจน ๑.๓.๑ มี ก ารกำหนดโครงสร้ า ง ระบบการบริ ห ารงานห้ อ งสมุ ด และคณะกรรมการดำเนินงานห้องสมุดโรงเรียน ๑.๓.๒ มี ก ารกำหนดบทบาทหน้ า ที่ ข องบุ ค ลากรตามโครงสร้ า ง และส่งเสริมให้มีการดำเนินงานตามบทบาทหน้าที ่ ๑.๓.๓ มี ก ารประชุ ม ชี้ แ จงบทบาทหน้ า ที่ ค ณะกรรมการเพื่ อ การบริหารงานห้องสมุด ๑.๓.๔ มี ก ารแต่ ง ตั้ ง ครู ท ำหน้ า ที่ บ รรณารั ก ษ์ เ ป็ น คณะกรรมการ ฝ่ายวิชาการ มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้
  • 17. ๑.๔ ผู้ บ ริ ห ารจั ด ให้ มี ค รู ท ำหน้ า ที่ บ รรณารั ก ษ์ แ ละบุ ค ลากรดำเนิ น งาน ห้องสมุดโรงเรียน ๑.๔.๑ มี ก ารแต่ ง ตั้ ง /มอบหมายครู ใ ห้ ท ำหน้ า ที่ บ รรณารั ก ษ์ แ ละ บุคลากรดำเนินงานห้องสมุดโรงเรียน ๑.๔.๒ มีการเสริมแรง สร้างขวัญและกำลังใจให้บุคลากรที่ทำหน้าที่ ดำเนินงานห้องสมุดโรงเรียน ๑.๔.๓ มี ก ารส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น และสร้ า งโอกาสให้ บุ ค ลากร ที่ทำหน้าที่ดำเนินงานห้องสมุดโรงเรียนได้รับการพัฒนา ๑.๕ ผู้บริหารจัดหางบประมาณสำหรับพัฒนาห้องสมุด ๑.๕.๑ มีการจัดสรรงบประมาณประจำปีเพื่อสนับสนุนและพัฒนา ห้องสมุด ๑.๖ ผู้บริหารนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน ๑.๖.๑ มีแผนการนิเทศงานห้องสมุด ๑.๖.๒ มีการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล ๑.๖.๓ มี ก ารรายงานผลการดำเนิ น งานต่ อ หน่ ว ยงานต้ น สั ง กั ด และผู้ที่เกี่ยวข้อง ๑.๖.๔ มีการนำผลการประเมินมาใช้ในการพัฒนา 10 มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 18. มาตรฐานที่ ๒ ผู้บริหารส่งเสริมความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชน ในการพัฒนาห้องสมุด มี ๔ ตัวบ่งชี้ ๒.๑ ผู้บริหารจัดให้ชุมชนมาใช้บริการห้องสมุดในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเอง ๒.๒ ผู้บริหารจัดให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาห้องสมุดโรงเรียน ๒.๓ ผู้บริหารเปิดโอกาสให้ชุมชนเป็นกรรมการงานห้องสมุด ๒.๔ ผู้ บ ริ ห ารสร้ า งเครื อ ข่ า ยกั บ หน่ ว ยงานและองค์ ก รอื่ น ๆ เพื่ อ พั ฒ นา ห้องสมุดโรงเรียน มาตรฐานที่ ๓ ผู้บริหารเป็นแบบอย่างในการพัฒนาตนเอง มี ๓ ตัวบ่งชี้ ๓.๑ ผู้ บ ริ ห ารเข้ า รั บ การอบรม สั ม มนา ศึ ก ษาดู ง าน และแลกเปลี่ ย น ประสบการณ์ด้านห้องสมุดอย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง ๓.๒ ผู้ บ ริ ห ารใช้ ห้ อ งสมุ ด เป็ น แหล่ ง ศึ ก ษาค้ น คว้ า เพื่ อ พั ฒ นาตนเอง และพัฒนางาน ๓.๓ ผู้บริหารมีนิสัยรักการอ่าน มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้ 11
  • 19. หมวดที่ ๒ มาตรฐานด้านครู ๒.๑ ครูบรรณารักษ์ มี ๕ มาตรฐาน ดังนี ้ มาตรฐานที่ ๑ ครูบรรณารักษ์มีความสามารถในการดำเนินงานห้องสมุด มาตรฐานที่ ๒ ครูบรรณารักษ์มีความสามารถในการปฏิบัติงานเทคนิค มาตรฐานที่ ๓ ครูบรรณารักษ์มีความสามารถในการให้บริการ มาตรฐานที่ ๔ ครูบรรณารักษ์มีความสามารถในการจัดกิจกรรม มาตรฐานที่ ๕ ครูบรรณารักษ์มีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ๒.๒ ครูผู้สอน มี ๓ มาตรฐาน ดังนี้ มาตรฐานที่ ๖ ครูผู้สอนมีการใช้ห้องสมุดเพื่อการเรียนการสอน มาตรฐานที่ ๗ ครูผู้สอนมีการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านแก่นักเรียน มาตรฐานที่ ๘ ครูผู้สอนมีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง 12 มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 20. ครูบรรณารักษ์ ตัวบ่งชี้ในแต่ละมาตรฐาน มีดังนี้ มาตรฐานที่ ๑ ครูบรรณารักษ์มีความสามารถในการดำเนินงานห้องสมุด มี ๗ ตัวบ่งชี้ ๑.๑ ครูบรรณารักษ์มีการกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจการพัฒนางานห้องสมุด โรงเรียน ๑.๒ ครู บ รรณารั ก ษ์ มี ก ารจั ด ทำแผนงาน/โครงการพั ฒ นาห้ อ งสมุ ด ที่ มี การกำหนดเป้าหมายหรือจุดประสงค์ที่ชัดเจน ๑.๓ ครู บ รรณารั ก ษ์ มี ก ารจั ด ทำแผนงาน/โครงการห้ อ งสมุ ด ที่ ส อดรั บ กั บ แผนกลยุทธ์ของโรงเรียน ๑.๔ ครูบรรณารักษ์มีการจัดทำโครงสร้างการปฏิบัติงาน (งานบริหารจัดการ ห้องสมุด งานประชาสัมพันธ์ งานเทคนิค งานบริการ และงานกิจกรรม อย่างครบถ้วน) ๑.๕ ครู บ รรณารั ก ษ์ มี ก ารจั ด สภาพแวดล้ อ มและบรรยากาศที่ เ อื้ อ ต่ อ การจัดการเรียนรู้ ๑.๖ ครูบรรณารักษ์มีการประเมินผลการดำเนินงาน ๑.๗ ครูบรรณารักษ์มีการนำผลการประเมินมาใช้ในการพัฒนางานห้องสมุด มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้ 13
  • 21. มาตรฐานที่ ๒ ครูบรรณารักษ์มีความสามารถในการปฏิบัติงานเทคนิค มี ๗ ตัวบ่งชี้ ๒.๑ ครู บ รรณารั ก ษ์ จั ด ให้ มี ท รั พ ยากรสารสนเทศที่ มี เ นื้ อ หาสอดคล้ อ งกั บ การจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตร ๒.๒ ครู บ รรณารั ก ษ์ จั ด ให้ มี ท รั พ ยากรสารสนเทศที่ มี เ นื้ อ หาตรงตาม ความต้องการของผู้ใช้บริการ ๒.๓ ครูบรรณารักษ์มีการจัดหมวดหมู่ และทำบัตรรายการหรือทำรายการ (ด้วยฐานข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์) ของทรัพยากรสารสนเทศ ๒.๔ ครูบรรณารักษ์มีการปฏิบัติงานเทคนิคเพื่อเตรียมให้บริการ ๒.๕ ครู บ รรณารั ก ษ์ ใ ช้ เ ทคโนโลยี ใ นการจั ด เก็ บ และสื บ ค้ น ทรั พ ยากร สารสนเทศอย่างเหมาะสมกับสภาพของโรงเรียน ๒.๖ ครู บ รรณารั ก ษ์ ใ ช้ เ ทคโนโลยี ใ นการจั ด เก็ บ และสื บ ค้ น ทรั พ ยากร สารสนเทศได้สะดวกต่อการเข้าถึงและใช้บริการ ๒.๗ ครู บ รรณารั ก ษ์ มี ก ารสำรวจและบำรุ ง รั ก ษาทรั พ ยากรสารสนเทศ ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้ 14 มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 22. มาตรฐานที่ ๓ ครูบรรณารักษ์มีความสามารถในการให้บริการ มี ๘ ตัวบ่งชี้ ๓.๑ ครูบรรณารักษ์มีการจัดทำระเบียบการใช้ห้องสมุดโรงเรียน ๓.๒ ครูบรรณารักษ์มีการจัดทำตารางการใช้ห้องสมุดที่ชัดเจน ๓.๓ ครูบรรณารักษ์มีการแนะนำการใช้ห้องสมุด ๓.๔ ครูบรรณารักษ์มีการจัดบริการการอ่านและการศึกษาค้นคว้า ๓.๕ ครูบรรณารักษ์มีการจัดบริการยืม-คืน ๓.๖ ครูบรรณารักษ์มีการจัดบริการตอบคำถามและช่วยค้นคว้า ๓.๗ ครูบรรณารักษ์มีการจัดบริการเชิงรุกอย่างหลากหลาย ๓.๘ ครู บ รรณารั ก ษ์ มี ก ารจั ด บริ ก ารสื บ ค้ น ทางสื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ ละ ทางอินเทอร์เน็ต มาตรฐานที่ ๔ ครูบรรณารักษ์มีความสามารถในการจัดกิจกรรม มี ๓ ตัวบ่งชี้ ๔.๑ ครูบรรณารักษ์มีการจัดกิจกรรมห้องสมุดเพื่อสนับสนุนการจัดการเรียน การสอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ๔.๒ ครูบรรณารักษ์มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่านอย่างหลากหลาย ๔.๓ ครูบรรณารักษ์มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่านอย่างต่อเนื่อง มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้ 15
  • 23. มาตรฐานที่ ๕ ครูบรรณารักษ์มีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง มี ๔ ตัวบ่งชี้ ๕.๑ ครูบรรณารักษ์มีการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และมีนิสัยรักการอ่าน ๕.๒ ครูบรรณารักษ์เข้ารับการอบรม สัมมนา ศึกษาดูงานอย่างต่อเนื่อง ๕.๓ ครู บ รรณารั ก ษ์ เ ป็ น สมาชิ ก สมาคมและหรื อ ชมรมวิ ช าชี พ ที่ เ กี่ ย วกั บ ห้องสมุด ๕.๔ ครู บ รรณารั ก ษ์ มี ก ารสร้ า งเครื อ ข่ า ยการเรี ย นรู้ และแลกเปลี่ ย น ประสบการณ์เกี่ยวกับการดำเนินงานห้องสมุด ครูผู้สอน ตัวบ่งชี้ในแต่ละมาตรฐาน มีดังนี้ มาตรฐานที่ ๖ ครูผู้สอนมีการใช้ห้องสมุดเพื่อการเรียนการสอน มี ๔ ตัวบ่งชี้ ๖.๑ ครูผู้สอนมีแผนการจัดการเรียนรู้ที่บูรณาการการใช้ห้องสมุดในสาระ การเรียนรู้ที่ตนเองรับผิดชอบ ๖.๒ ครูผู้สอนมีส่วนร่วมในการเสนอหรือคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ ๖.๓ ครู ผู้ ส อนมี ก ารจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นการสอนโดยใช้ ห้ อ งสมุ ด เป็ น แหล่งเรียนรู้ ๖.๔ ครูผู้สอนมีส่วนร่วมในการประเมินผลการใช้ห้องสมุดเป็นแหล่งเรียนรู้ 16 มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 24. มาตรฐานที่ ๗ ครูผู้สอนมีการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านแก่นักเรียน มี ๗ ตัวบ่งชี้ ๗.๑ ครูผู้สอนมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่านในสาระการเรียนรู้ ที่ตนเองรับผิดชอบอย่างหลากหลาย ๗.๒ ครูผู้สอนมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่านในสาระการเรียนรู้ ที่ตนเองรับผิดชอบอย่างสม่ำเสมอ ๗.๓ ครูผู้สอนมีการประสานความร่วมมือกับครูบรรณารักษ์ในการจัดกิจกรรม ส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน ๗.๔ ครูผู้สอนมีการประเมินผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน ๗.๕ ครูผู้สอนมีการประเมินผลงานที่เกิดจากการจัดกิจกรรมส่งเสริมนิสัย รักการอ่านของนักเรียน ๗.๖ ครูผู้สอนมีการรายงานผลการประเมินผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมนิสัย รักการอ่านต่อผู้บริหารโรงเรียน ๗.๗ ครูผู้สอนมีการนำผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนากิจกรรมส่งเสริมนิสัย รักการอ่าน มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้ 17
  • 25. มาตรฐานที่ ๘ ครูผู้สอนมีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง มี ๓ ตัวบ่งชี้ ๘.๑ ครู ผู้ ส อนใช้ ห้ อ งสมุ ด เป็ น แหล่ ง ศึ ก ษาค้ น คว้ า เพื่ อ พั ฒ นาการสอน และพัฒนาตนเอง ๘.๒ ครูผู้สอนเข้ารับการอบรม ประชุม สัมมนา ศึกษาดูงานด้านห้องสมุด หรือแหล่งการเรียนรู้/กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน อย่างน้อย ๑ ครั้งต่อปี การศึกษา ๘.๓ ครูผู้สอนมีนิสัยรักการอ่าน หมวดที่ ๓ มาตรฐานด้านผู้เรียน มี ๒ มาตรฐาน ดังนี ้ มาตรฐานที่ ๑ ผู้เรียนมีความสามารถในการรับรู้ เข้าถึง และใช้ประโยชน์ จากสารสนเทศ มาตรฐานที่ ๒ ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ใฝ่เรียน และมีนิสัยรักการอ่าน 18 มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 26. ตัวบ่งชี้ในแต่ละมาตรฐาน มีดังนี ้ มาตรฐานที่ ๑ ผู้เรียนมีความสามารถในการรับรู้ เข้าถึง และใช้ประโยชน์ จากสารสนเทศ มี ๘ ตัวบ่งชี้ ๑.๑ ผู้เรียนกำหนดลักษณะและขอบเขตของสารสนเทศที่ต้องการได้ ๑.๒ ผู้เรียนค้นหาสารสนเทศที่ต้องการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๑.๓ ผู้เรียนตัดสินใจเลือกสารสนเทศที่เข้าถึงได้อย่างถูกต้อง ๑.๔ ผู้เรียนสรุป เรียบเรียงแนวคิดจากสารสนเทศที่ค้นพบได้ ๑.๕ ผู้เรียนจัดเก็บ/เผยแพร่สารสนเทศได้ ๑.๖ ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้จากการศึกษาค้นคว้าได้ ๑.๗ ผู้เรียนมีจิตสำนึกที่ดีในการใช้ทรัพยากรสารสนเทศ ๑.๘ ผู้เรียนมีคุณธรรมและจริยธรรมในการใช้ทรัพยากรสารสนเทศ มาตรฐานที่ ๒ ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ใฝ่เรียน และมีนิสัยรักการอ่าน มี ๔ ตัวบ่งชี้ ๒.๑ ผู้เรียนเข้าใช้ห้องสมุดอย่างสม่ำเสมอ ๒.๒ ผู้เรียนยืมหนังสืออย่างสม่ำเสมอ ๒.๓ ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการอ่านที่โรงเรียนจัดขึ้นอย่างสม่ำเสมอ ๒.๔ ผู้เรียนมีปริมาณการอ่านหนังสือเพิ่มเติมที่เหมาะสมกับระดับชั้น มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้ 19
  • 27. หมวดที่ ๔ มาตรฐานด้านทรัพยากรสารสนเทศ มี ๒ มาตรฐาน ดังนี้ มาตรฐานที่ ๑ ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุตีพิมพ์ มาตรฐานที่ ๒ ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์ ตัวบ่งชี้ในแต่ละมาตรฐาน มีดังนี ้ มาตรฐานที่ ๑ ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุตีพิมพ์ มี ๕ ตัวบ่งชี้ ๑.๑ ห้องสมุดมีจำนวนหนังสือ หนังสืออ้างอิง วารสาร นิตยสาร หนังสือพิมพ์ จุลสารในปริมาณที่เหมาะสม สอดคล้องกับหลักสูตร และความต้องการ ของผู้ใช้บริการ ๑.๒ ห้องสมุดมีหนังสือที่สอดคล้องกับหลักสูตรและตอบสนองความเพลิดเพลิน จำนวน ๒๐ เล่มขึ้นไปต่อนักเรียนหนึ่งคน ๑.๓ ห้องสมุดมีหนังสืออ้างอิง ๑ เล่ม ต่อนักเรียน ๒๐ คน และมี ๑.๓.๑ พจนานุ ก รมฉบั บ ราชบั ณ ฑิ ต ยสถาน ๑ เล่ ม ต่ อ นั ก เรี ย น ๑๐๐ คน ๑.๓.๒ สารานุ ก รมไทยสำหรั บ เยาวชน โดยพระราชประสงค์ ใ น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ๑ ชุด ต่อนักเรียน ๑๐๐ คน (ถ้ามีนักเรียน ๑,๐๐๐ คนขึ้นไป มี ๑๐ ชุด) ๑.๓.๓ เอกสารหลั ก สู ต รสำหรั บ ครู ได้ แ ก่ หลั ก สู ต รและเอกสาร ประกอบหลักสูตรครบทุกชั้น ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ 20 มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 28. ๑.๔ ห้องสมุดมีวารสาร/นิตยสารที่มีการบอกรับเป็นสมาชิกอย่างต่อเนื่อง ๕ ชื่อเรื่องขึ้นไป ๑.๕ ห้องสมุดมีหนังสือพิมพ์ ๒ ชื่อเรื่องขึ้นไป มาตรฐานที่ ๒ ทรัพยากรสารสนเทศประเภทวัสดุไม่ตีพิมพ์ มี ๑ ตัวบ่งชี้ ๒.๑ ห้องสมุดมีวัสดุ สื่อประกอบการเรียนรู้ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ ในปริมาณที่เหมาะสมและสอดคล้องกับหลักสูตร และความต้องการ ของผู้ใช้บริการ เช่น ๒.๑.๑ ลูกโลก ๑ ลูก ๒.๑.๒ แผนที่ ๒.๑.๓ เกม ๑๐ เกม ๒.๑.๔ ของเล่นเสริมทักษะ ๑๐ ชุด ๒.๑.๕ ชุดภาพพลิก ๕ ชุด ๒.๑.๖ วีดิทัศน์ ๒๐ เรื่อง/ซีดี-รอม (Compact Disc-Read Only Memory)/แผ่นวีดิทัศน์ระบบดิจิทัล (Digital Video Disc) ๒.๑.๗ บทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ ช่ ว ยสอน ๕ ชุ ด (เฉพาะโรงเรี ย น ที่มีคอมพิวเตอร์) มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้ 21
  • 29. ๒.๑.๘ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ๒.๑.๙ อิ น เทอร์ เ น็ ต ๒ ชุ ด ขึ้ น ไป หรื อ เหมาะสมกั บ ผู้ ใช้ บ ริ ก าร ในห้ อ งสมุ ด (เฉพาะโรงเรี ย นที่ มี โ ครงข่ า ยโทรศั พ ท์ และ คอมพิวเตอร์ใช้ในห้องสมุด) ฯลฯ เกณฑ์การประเมินคุณภาพ พอใช้ (ควรปรับปรุง) ดี ดีเยี่ยม มีคะแนน มีคะแนน มีคะแนน น้อยกว่า ๗๐ คะแนน ๗๑-๘๕ คะแนน มากกว่า ๘๕ คะแนน 22 มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 30.
  • 31.
  • 33. เกณฑ์การประเมิน และแนวทางการให้คะแนน มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน หมวดที่ ๑ มาตรฐานด้านผู้บริหาร มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน ข้อมูลเชิงประจักษ์ มาตรฐานที่ ๑ ๑.๑ ผู้บริหารจัดให้มีแหล่ง แนวทางการให้คะแนน สังเกต ผู้บริหาร เรียนรู้ตามความเหมาะสม โรงเรียนขนาดเล็ก - ห้องสมุด มีความสามารถ ๑.๑.๑ มีห้องสมุด - มีครึ่งห้องเรียน - อาคารเอกเทศ ในการบริหารจัดการ ไว้บริการนักเรียน ครู ได้ ๑ คะแนน - แหล่งเรียนรู้อื่น ๆ และบุคลากรภายในโรงเรียน - มีห้องสมุด ๑ ห้องเรียน ได้ ๒ คะแนน - มีห้องสมุด ๒ ห้องเรียน ขึ้นไป หรือเป็นอาคาร เอกเทศ ได้ ๓ คะแนน โรงเรียนขนาดกลาง - มีห้องสมุด ๑ ห้องเรียน ได้ ๑ คะแนน - มีห้องสมุด ๒ ห้องเรียน ได้ ๒ คะแนน - มีห้องสมุด ๓ ห้องเรียน ขึ้นไป หรือเป็นอาคาร เอกเทศ ได้ ๓ คะแนน 26 มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 34. มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน ข้อมูลเชิงประจักษ์ มาตรฐานที่ ๑ แนวทางการให้คะแนน ผู้บริหาร (ต่อ) มีความสามารถ โรงเรียนขนาดใหญ่ ในการบริหารจัดการ - มีห้องสมุด ๑-๒ ห้องเรียน (ต่อ) ได้ ๑ คะแนน - มีห้องสมุด ๓ ห้องเรียน ได้ ๒ คะแนน - มีห้องสมุด ๔ ห้องเรียน ขึ้นไป หรือเป็นอาคาร เอกเทศ ได้ ๓ คะแนน หมายเหตุ - โรงเรียนขนาดเล็ก จำนวนนักเรียน ๑-๓๐๐ คน - โรงเรียนขนาดกลาง จำนวนนักเรียน ๓๐๑-๑,๔๙๙ คน - โรงเรียนขนาดใหญ่ จำนวนนักเรียน ๑,๕๐๐ คนขึ้นไป แนวทางการประเมิน ระดับ ๑ ได้ ๑ คะแนน ระดับ ๒ ได้ ๒ คะแนน ระดับ ๓ ได้ ๓ คะแนน เกณฑ์การประเมิน และแนวทางการให้คะแนน 27
  • 35. มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน ข้อมูลเชิงประจักษ์ มาตรฐานที่ ๑ ๑.๑.๒ ห้องสมุดตั้งอยู่ แนวทางการให้คะแนน สังเกต ผู้บริหาร ในตำแหน่งที่เหมาะสม ห้องสมุดมีลักษณะต่อไปนี้ มีความสามารถ มีสภาพดี และให้มีบรรยากาศ ให้ข้อละ ๑ คะแนน ในการบริหารจัดการ ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ๑) เป็นศูนย์กลาง สะดวก (ต่อ) ต่อการเข้าไปใช้บริการ ๒) มีสภาพดี ๓) มีบรรยากาศที่เอื้อต่อ การเรียนรู้ แนวทางการประเมิน ระดับ ๑ ได้ ๑ คะแนน ระดับ ๒ ได้ ๒ คะแนน ระดับ ๓ ได้ ๓ คะแนน ๑.๑.๓ มีการจัดวัสดุ แนวทางการให้คะแนน - สังเกต ครุภัณฑ์ ทรัพยากรสารสนเทศ มีลักษณะต่อไปนี้ - ทะเบียน ที่เพียงพอและเหมาะสม ให้ข้อละ ๑ คะแนน หนังสือ/วัสดุ ๑) มีวัสดุครุภัณฑ์ เพียงพอ ครุภัณฑ์ กับการใช้บริการ - สัมภาษณ์ ๒) มีวัสดุครุภัณฑ์ เหมาะสม นักเรียน/ครู กับวัยของนักเรียน 28 มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 36. มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน ข้อมูลเชิงประจักษ์ มาตรฐานที่ ๑ ๓) มีทรัพยากร สารสนเทศ ผู้บริหาร ที่เพียงพอกับการใช้ มีความสามารถ บริการ ในการบริหารจัดการ ๔) มีทรัพยากรสารสนเทศ (ต่อ) เหมาะสมกับวัย ของนักเรียน แนวทางการประเมิน ระดับ ๑ ได้ ๒ คะแนน ระดับ ๒ ได้ ๓ คะแนน ระดับ ๓ ได้ ๔ คะแนน ๑.๒ ผู้บริหารมีการกำหนด แนวทางการให้คะแนน - แผนพัฒนา นโยบาย แผนงาน การดำเนินงาน มี ๑ ข้อ ได้ ๑ คะแนน ห้องสมุดโรงเรียน ห้องสมุดโรงเรียน มี ๒ ข้อ ได้ ๒ คะแนน - แผนการจัด ๑.๒.๑ มีแผนการพัฒนา มีครบทุกข้อ ได้ ๓ คะแนน การเรียนรู้ของ ห้องสมุดไว้ในแผนกลยุทธ์ กลุ่มสาระฯ ต่าง ๆ ของโรงเรียนเป็นลายลักษณ์ แนวทางการประเมิน - แผนกลยุทธ์/ อักษร ระดับ ๑ ได้ ๑ คะแนน แผนปฏิบัติราชการ ๑.๒.๒ มีการกำหนด ระดับ ๒ ได้ ๒ คะแนน ของโรงเรียน นโยบายการใช้ห้องสมุด ระดับ ๓ ได้ ๓ คะแนน - โครงการต่าง ๆ เพื่อการจัดการเรียนการสอน - แผนภูมิโครงสร้าง ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ การบริหาร - กิจกรรม/ โครงการส่งเสริม ให้ครูและนักเรียน รักการอ่าน เกณฑ์การประเมิน และแนวทางการให้คะแนน 29
  • 37. มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน ข้อมูลเชิงประจักษ์ มาตรฐานที่ ๑ ๑.๒.๓ มีการกำหนด - สถิติการเข้าใช้ ผู้บริหาร นโยบายการใช้ห้องสมุด ห้องสมุด มีความสามารถ เพื่อส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน - มีคำสั่งมอบหมาย ในการบริหารจัดการ ของนักเรียน งานที่ชัดเจน (ต่อ) ๑.๓ ผู้บริหารจัดให้มีโครงสร้าง แนวทางการให้คะแนน - มีคำสั่งมอบหมาย การบริหารงานที่ชัดเจน มี ๑ ข้อ ได้ ๑ คะแนน งานที่ชัดเจน ๑.๓.๑ มีการกำหนด มี ๒-๓ ข้อ ได้ ๒ คะแนน โครงสร้าง ระบบการบริหาร มีครบทุกข้อ ได้ ๓ คะแนน งานห้องสมุด และคณะ กรรมการดำเนินงาน แนวทางการประเมิน ห้องสมุดโรงเรียน ระดับ ๑ ได้ ๑ คะแนน ๑.๓.๒ มีการกำหนด ระดับ ๒ ได้ ๒ คะแนน บทบาทหน้าที่ของบุคลากร ระดับ ๓ ได้ ๓ คะแนน ตามโครงสร้าง และส่งเสริม ให้มีการดำเนินงานตาม บทบาทหน้าที่ ๑.๓.๓ มีการประชุม ชี้แจงบทบาทหน้าที่ คณะกรรมการเพื่อการบริหาร งานห้องสมุด 30 มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 38. มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน ข้อมูลเชิงประจักษ์ มาตรฐานที่ ๑ ๑.๓.๔ มีการแต่งตั้งครู ผู้บริหาร ทำหน้าที่บรรณารักษ์เป็น มีความสามารถ คณะกรรมการฝ่ายวิชาการ ในการบริหารจัดการ (ต่อ) ๑.๔ ผู้บริหารจัดให้มีครู แนวทางการให้คะแนน - มีคำสั่งมอบหมาย ทำหน้าที่บรรณารักษ์ มี ๑ ข้อ ได้ ๑ คะแนน งานที่ชัดเจน และบุคลากรดำเนินงาน มี ๒-๓ ข้อ ได้ ๒ คะแนน - สัมภาษณ์ สังเกต ห้องสมุดโรงเรียน มีครบทุกข้อ ได้ ๓ คะแนน - มีหลักฐาน ๑.๔.๑ มีการแต่งตั้ง/ การขออนุญาต มอบหมายครูให้ทำหน้าที่ แนวทางการประเมิน เข้าร่วมประชุม บรรณารักษ์และบุคลากร ระดับ ๑ ได้ ๑ คะแนน สัมมนา ดำเนินงานห้องสมุดโรงเรียน ระดับ ๒ ได้ ๒ คะแนน - มีบัตรสมาชิก ๑.๔.๒ มีการเสริมแรง ระดับ ๓ ได้ ๓ คะแนน สร้างขวัญและกำลังใจ ให้บุคลากรที่ทำหน้าที่ ดำเนินงานห้องสมุดโรงเรียน ๑.๔.๓ มีการส่งเสริม สนับสนุน และสร้างโอกาส ให้บุคลากรที่ทำหน้าที่ ดำเนินงานห้องสมุดโรงเรียน ได้รับการพัฒนา เกณฑ์การประเมิน และแนวทางการให้คะแนน 31
  • 39. มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน ข้อมูลเชิงประจักษ์ มาตรฐานที่ ๑ ๑.๕ ผู้บริหารจัดหา แนวทางการให้คะแนน - คำสั่ง ผู้บริหาร งบประมาณสำหรับพัฒนา ๑) จัดสรรงบประมาณ - แผนพัฒนา มีความสามารถ ห้องสมุด ประจำปี ร้อยละสิบ ห้องสมุดโรงเรียน ในการบริหารจัดการ ๑.๕.๑ มีการจัดสรร ของเงินอุดหนุน - แผนกลยุทธ์/ (ต่อ) งบประมาณประจำปีเพื่อ ได้ ๑ คะแนน แผนปฏิบัติราชการ สนับสนุนและพัฒนาห้องสมุด ๒) จัดสรรงบประมาณ ของโรงเรียน ประจำปี ร้อยละยี่สิบ ของเงินอุดหนุน ได้ ๒ คะแนน ๓) จัดสรรงบประมาณ ประจำปี มากกว่า ร้อยละยี่สิบของเงิน อุดหนุน ได้ ๓ คะแนน แนวทางการประเมิน ระดับ ๑ ได้ ๑ คะแนน ระดับ ๒ ได้ ๒ คะแนน ระดับ ๓ ได้ ๓ คะแนน ๑.๖ ผู้บริหารนิเทศ กำกับ แนวทางการให้คะแนน - แผนการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล มีลักษณะตามตัวบ่งชี้ - หลักฐาน การดำเนินงาน ให้ข้อละ ๑ คะแนน การนิเทศ ๑.๖.๑ มีแผนการนิเทศ รายงานผล งานห้องสมุด แนวทางการประเมิน ๑.๖.๒ มีการนิเทศ ระดับ ๑ ได้ ๒ คะแนน ติดตาม และประเมินผล ระดับ ๒ ได้ ๓ คะแนน ระดับ ๓ ได้ ๔ คะแนน 32 มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 40. มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน ข้อมูลเชิงประจักษ์ มาตรฐานที่ ๑ ๑.๖.๓ มีการรายงานผล ผู้บริหาร การดำเนินงานต่อหน่วยงาน มีความสามารถ ต้นสังกัดและผู้ที่เกี่ยวข้อง ในการบริหารจัดการ ๑.๖.๔ มีการนำผล (ต่อ) การประเมินมาใช้ในการพัฒนา มาตรฐานที่ ๒ ๒.๑ ผู้บริหารจัดให้ชุมชน แนวทางการให้คะแนน - สังเกต ผู้บริหารส่งเสริม มาใช้บริการห้องสมุดในการ มีลักษณะตามตัวบ่งชี้ - สัมภาษณ์ ความสัมพันธ์ เรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเอง ให้ข้อละ ๑ คะแนน - ภาพถ่าย และความร่วมมือ ๒.๒ ผู้บริหารจัดให้ชุมชน กับชุมชนในการ มีส่วนร่วมในการพัฒนา แนวทางการประเมิน พัฒนาห้องสมุด ห้องสมุดโรงเรียน ระดับ ๑ ได้ ๒ คะแนน ๒.๓ ผู้บริหารเปิดโอกาส ระดับ ๒ ได้ ๓ คะแนน ให้ชุมชนเป็นกรรมการ ระดับ ๓ ได้ ๔ คะแนน งานห้องสมุด ๒.๔ ผู้บริหารสร้างเครือข่าย กับหน่วยงานและองค์กรอื่น ๆ เพื่อพัฒนาห้องสมุดโรงเรียน เกณฑ์การประเมิน และแนวทางการให้คะแนน 33
  • 41. มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน ข้อมูลเชิงประจักษ์ มาตรฐานที่ ๓ ๓.๑ ผู้บริหารเข้ารับ แนวทางการให้คะแนน - เกียรติบัตร ผู้บริหารเป็น การอบรม สัมมนา มีลักษณะตามตัวบ่งชี้ - หลักฐานการ แบบอย่างในการ ศึกษาดูงาน และแลกเปลี่ยน ให้ข้อละ ๑ คะแนน เข้าร่วมประชุม พัฒนาตนเอง ประสบการณ์ด้านห้องสมุด สัมมนา อย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง แนวทางการประเมิน - หนังสือ ๓.๒ ผู้บริหารใช้ห้องสมุด ระดับ ๑ ได้ ๑ คะแนน - สถิติการยืม-คืน เป็นแหล่งศึกษาค้นคว้า ระดับ ๒ ได้ ๒ คะแนน หนังสือ เพื่อพัฒนาตนเองและ ระดับ ๓ ได้ ๓ คะแนน - บันทึกการอ่าน พัฒนางาน - สังเกต สัมภาษณ์ ๓.๓ ผู้บริหารมีนิสัย รักการอ่าน 34 มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 42. หมวดที่ ๒ มาตรฐานด้านครู ๒.๑ ครูบรรณารักษ์ มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน ข้อมูลเชิงประจักษ์ มาตรฐานที่ ๑ ๑.๑ ครูบรรณารักษ์ แนวทางการให้คะแนน - แผนพัฒนา ครูบรรณารักษ์ มีการกำหนดวิสัยทัศน์ มีลักษณะตามตัวบ่งชี้ งานห้องสมุด มีความสามารถ พันธกิจการพัฒนางาน ให้ข้อละ ๑ คะแนน - สถิติการใช้ ในการดำเนินงาน ห้องสมุดโรงเรียน บริการ ห้องสมุด ๑.๒ ครูบรรณารักษ์ แนวทางการประเมิน - แผ่นพับ มีการจัดทำแผนงาน/โครงการ ระดับ ๑ ได้ ๔ คะแนน ประชาสัมพันธ์ พัฒนาห้องสมุดที่มีการกำหนด ระดับ ๒ ได้ ๕-๖ คะแนน - สังเกตสภาพ เป้าหมายหรือจุดประสงค์ ที่ชัดเจน ระดับ ๓ ได้ ๗ คะแนน แวดล้อม ๑.๓ ครูบรรณารักษ์ - แบบประเมินงาน/ มีการจัดทำแผนงาน/โครงการ ผลการดำเนินงาน ห้องสมุดที่สอดรับกับ - ข้อมูลแสดง แผนกลยุทธ์ของโรงเรียน การนำผล ๑.๔ ครูบรรณารักษ์ การประเมิน มีการจัดทำโครงสร้าง มาใช้พัฒนาต่อไป การปฏิบัติงาน (งานบริหารจัดการห้องสมุด งานประชาสัมพันธ์ งานเทคนิค งานบริการ และงานกิจกรรม อย่างครบถ้วน) ๑.๕ ครูบรรณารักษ์ มีการจัดสภาพแวดล้อม และบรรยากาศที่เอื้อต่อ การจัดการเรียนรู้ ๑.๖ ครูบรรณารักษ์ มีการประเมินผลการดำเนินงาน ๑.๗ ครูบรรณารักษ์ มีการนำผลการประเมินมาใช้ ในการพัฒนางานห้องสมุด เกณฑ์การประเมิน และแนวทางการให้คะแนน 35
  • 43. มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน ข้อมูลเชิงประจักษ์ มาตรฐานที่ ๒ ๒.๑ ครูบรรณารักษ์จัดให้มี แนวทางการให้คะแนน - ทะเบียน ครูบรรณารักษ์ ทรัพยากรสารสนเทศ มีลักษณะตามตัวบ่งชี้ ทรัพยากร มีความสามารถ ที่มีเนื้อหาสอดคล้องกับ ให้ข้อละ ๑ คะแนน สารสนเทศ ในการปฏิบัติงาน การจัดการเรียนการสอน - แผนการจัดหา เทคนิค ตามหลักสูตร แนวทางการประเมิน ทรัพยากร ๒.๒ ครูบรรณารักษ์จัดให้มี ระดับ ๑ ได้ ๔ คะแนน - สังเกตระบบ ทรัพยากรสารสนเทศที่มีเนื้อหา ระดับ ๒ ได้ ๕-๖ คะแนน การจัดหมวดหมู่ ตรงตามความต้องการของ ระดับ ๓ ได้ ๗ คะแนน การสืบค้น ผู้ใช้บริการ การเข้าถึง ๒.๓ ครูบรรณารักษ์ ทรัพยากร มีการจัดหมวดหมู่ และ สารสนเทศ ทำบัตรรายการหรือทำรายการ (ด้วยฐานข้อมูลระบบ คอมพิวเตอร์) ของทรัพยากร สารสนเทศ ๒.๔ ครูบรรณารักษ์ มีการปฏิบัติงานเทคนิค เพื่อเตรียมให้บริการ ๒.๕ ครูบรรณารักษ์ ใช้เทคโนโลยีในการจัดเก็บ และสืบค้นทรัพยากร สารสนเทศอย่างเหมาะสม กับสภาพของโรงเรียน 36 มาตรฐานห้องสมุด และตัวบ่งชี้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพห้องสมุดโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 44. มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน ข้อมูลเชิงประจักษ์ มาตรฐานที่ ๒ ๒.๖ ครูบรรณารักษ์ ครูบรรณารักษ์ ใช้เทคโนโลยีในการจัดเก็บ มีความสามารถ และสืบค้นทรัพยากร ในการปฏิบัติงาน สารสนเทศได้สะดวก เทคนิค ต่อการเข้าถึงและใช้บริการ (ต่อ) ๒.๗ ครูบรรณารักษ์ มีการสำรวจและบำรุงรักษา ทรัพยากรสารสนเทศ ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้ มาตรฐานที่ ๓ ๓.๑ ครูบรรณารักษ์ แนวทางการให้คะแนน - ระเบียบการใช้ ครูบรรณารักษ์ มีการจัดทำระเบียบการใช้ มีลักษณะตามตัวบ่งชี้ บริการ มีความสามารถ ห้องสมุดโรงเรียน ให้ข้อละ ๑ คะแนน - ตารางการใช้ ในการให้บริการ ๓.๒ ครูบรรณารักษ์ ห้องสมุด มีการจัดทำตารางการใช้ แนวทางการประเมิน - สถิติการยืม-คืน ห้องสมุดที่ชัดเจน ระดับ ๑ ได้ ๓ คะแนน - สังเกต ๓.๓ ครูบรรณารักษ์ ระดับ ๒ ได้ ๔-๖ คะแนน - สัมภาษณ์ มีการแนะนำการใช้ห้องสมุด ระดับ ๓ ได้ ๗-๘ คะแนน ๓.๔ ครูบรรณารักษ์ มีการจัดบริการการอ่าน และการศึกษาค้นคว้า เกณฑ์การประเมิน และแนวทางการให้คะแนน 37