SlideShare a Scribd company logo
1 of 47
กสูค์์กด้ว้หลลักัสสููตรกกาารปรระะเเมมินินองคค์ก์รดด้้วย 
ตนเเอองสสำาำาหรรับับคณณะะททำาำางงาานดดำาำาเเนนินินกกาาร 
พพััฒนนาาคคุณุณภภาาพกกาารบรริหิหาารจจััดกกาารภภาาค 
1 
รรัฐัฐ
รางวัลด้านคคุุณภภาาพของนนาานนาาปรระะเเททศ 
2 
1951 
1984 
1987 
1988 
1991 
1994 
1995 
1999 
2001 
Japan 
Canada 
USA 
Australia 
EU 
Singapore 
Japan 
USA 
Thailand 
Deming Prize 
Canada Award 
Malcolm Baldrige National Quality Award 
Australian Business Excellence Awards 
European Foundation Quality Management 
Singapore Quality Award 
Japan Quality Award 
MBNQA : Education and Healthcare 
Thailand Quality Award 
QQuuaalliittyy PPeerrffoorrmmaannccee // OOrrggaanniizzaattiioonnaall EExxcceelllleennccee
กกาารพพัฒัฒนนาาคคุุณภภาาพกกาารบรริิหหาารจจัดัดกกาารภภาาครรััฐ 
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ เป็นการนำา 
กรอบการดำาเนินการตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และ 
วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 รวมทั้งหลักเกณฑ์ 
และแนวคิดของรางวัลคุณภาพแห่งชาติของประเทศสหรัฐอเมริกา 
The Malcolm Baldrige National Quality Award (MBNQA) 
และ Thailand Quality Award (TQA) มาศึกษา วิเคราะห์ 
และเปรียบเทียบ เพื่อพัฒนาเป็นเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ 
ภาครัฐ และนำาเกณฑ์ดังกล่าวไปส่งเสริมให้ส่วนราชการใช้ในการ 
ยกระดับและพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงาน ซึ่งเป็นการดำาเนินงาน 
ที่สอดรับกับกลยุทธ์หลักในการสร้างความเป็นเลิศในระบบ 
ราชการ ตามประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 ด้านการพัฒนาระบบ 
ราชการของแผน การบริหารราชการแผ่นดิน 
3
ววััตถถุปุปรระะสงคค์์ 
กกาารพพััฒนนาาคคุุณภภาาพกกาารบรริหิหาารจจัดัดกกาารภภาาครรััฐ 
• เพื่อยกระดับคุณภาพการปฏิบัติงานของภาครัฐให้สอดคล้อง 
กับพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร 
กิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 
• เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐนำาไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนา 
คุณภาพการบริหารจัดการของหน่วยงานสู่ระดับมาตรฐาน 
สากล 
• เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการประเมินตนเอง และเป็น 
บรรทัด-ฐานการติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการของ 
หน่วยงานภาครัฐ 
4
เชื่อความเชอื่มโยงของกกาารพพัฒัฒนนาารระะบบรราาชกกาาร 
ตตัวัวผลลักักดดันันใใหห้้เเกกิดิดผลลลัพัพธธ์์ 
การวางแผน 
เชิงยุทธศาสตร์ 
การให้ความ 
สำาคัญกับผู้รับ 
บริการและผู้ 
มีส่วนได้ส่วน 
5 
กกับับเเกกณฑฑ์์ 
คคุุณภภาาพกกาารบรริิหหาารจจัดัดกกาารภภาาครรัฐัฐ 
ผลลลัพัพธธ์์ 
ปรระะสสิิทธธิิผล 
คคุณุณภภาาพ 
ปรระะสสิทิทธธิภิภาาพ 
พพัฒัฒนนาาองคค์ก์กร 
การมุ่งเน้น 
ทรัพยากร 
บุคคล 
การจัดการ 
กระบวนการ 
การนำา 
องค์กร 
เสีย 
กกาารววััด กกาารววิเิเคครราาะะหห์ ์ แแลละะกกาารจจัดัดกกาารคววาามรรูู้้ 
พรฎ.. 
1. เกิดประโยชน์สุข 
ของประชาชน 
2. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อ 
ภารกิจของรัฐ 
3. ประสิทธิภาพและ 
คุ้มค่า 
4. ลดขั้นตอนการ 
ปฏิบัติงาน 
5. ปรับปรุงภารกิจ 
ของส่วนราชการ 
6. อำานวยความ 
สะดวกให้กับ 
ประชาชน 
7. ประเมินผลการ 
ปฏิบัติราชการ
ตตัวัวผลลักักดดันันใใหห้เ้เกกิดิดผลลลัพัพธธ์์ 
การวางแผน 
เชิงยุทธศาสตร์ 
การให้ 
ความ 
สำาคัญกับ 
ผู้รับ บริการ 
และผู้มีส่วน 
ได้ส่วนเสีย 
6 
การประเมินองค์กรด้วยตนเอง 
(Self-Assessment) 
การนำา 
องค์กร 
พรฎ.. 
บูรณาการเครื่องมือและโครงการ 
ต่าง ๆ ในการพัฒนาระบบราชการ 
(Management 
Tools and Projects) 
1 
ส่วนราชการทราบจุดแข็งและ 
โอกาสในการปรับปรุง 
2 
ผลลลัพัพธธ์์ 
สรร้า้างแแผผนปรรับับปรรุุง 
การมุ่งเน้น 
ทรัพยากร 
บุคคล 
3 ดำาเนินการปรับปรุง 
4 
ปรระะโโยยชนน์์ตต่อ่อสส่่วนรราาชกกาารใในนกกาารนนำาำาไไปป 
ใใชช้้ 
ปรระะสสิทิทธธิผิผล 
คคุณุณภภาาพ 
ปรระะสสิทิทธธิภิภาาพ 
พพัฒัฒนนาาองคค์ก์กร 
การจัดการ 
กระบวนการ 
กกาารววัดัด กกาารววิเิเคครราาะะหห์ ์ แแลละะกกาารจจัดัดกกาารคววาามรรูู้้ 
1. เกิดประโยชน์สุข 
ของประชาชน 
2. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อ 
ภารกิจของรัฐ 
3. ประสิทธิภาพและ 
คุ้มค่า 
4. ลดขั้นตอนการ 
ปฏิบัติงาน 
5. ปรับปรุงภารกิจ 
ของส่วนราชการ 
6. อำานวยความ 
สะดวกให้กับ 
ประชาชน 
7. ประเมินผลการ 
ปฏิบัติราชการ
และ/หรือได้รับการ 
ประกาศเกียรติคุณ 
การนำา 
องค์กร 
ตตัวัวผลลักักดดันันใใหห้เ้เกกิดิดผลลลัพัพธธ์์ 
การวางแผน 
เชิงยุทธศาสตร์ 
การให้ความ 
สำาคัญกับผู้รับ 
บริการและผู้มี 
ส่วนได้ส่วน 
เสีย 
กกาารววัดัด กกาารววิเิเคครราาะะหห์ ์ แแลละะกกาารจจัดัดกกาารคววาามรรูู้้ 
7 
การพัฒนา 
คุณภาพการ 
บริหารจัดการ 
การพัฒนา 
คุณภาพการ 
บริหารจัดการ 
ภาครัฐ 
ภาครัฐ 
สมัครเข้ารับ 
รางวัล 
PMQA 
Yes 
No 
ได้รับรางวัล 
ได้รับรายงานป้อน 
กลับ 
การแบ่งปันวิธีการ 
ปฏิบัติที่เป็นเลิศ 
(Best Practice 
Sharing) 
การประเมินองค์กรด้วยตนเอง 
1 (Self-Assessment) 
พรฎ.. 
1. เกิดประโยชน์สุข 
ของประชาชน 
2. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อ 
ภารกิจของรัฐ 
3. ประสิทธิภาพและคุ้ม 
ค่า 
4. ลดขั้นตอนการ 
ปฏิบัติงาน 
5. ปรับปรุงภารกิจของ 
ส่วนราชการ 
6. อำานวยความสะดวก 
ให้กับประชาชน 
7. ประเมินผลการ 
ปฏิบัติราชการ 
บูรณาการเครื่องมือและโครงการ 
ต่าง ๆ ในการพัฒนาระบบ 
ราชการ 
(Management Tools and 
Projects) 
ส่วนราชการทราบจุดแข็งและ 
2 โอกาสในการปรับปรุง 
ผลลลัพัพธธ์์ 
ปรระะสสิทิทธธิผิผล 
คคุณุณภภาาพ 
ปรระะสสิทิทธธิภิภาาพ 
พพัฒัฒนนาาองคค์ก์กร 
การมุ่งเน้น 
ทรัพยากร 
บุคคล 
การจัดการ 
กระบวนการ 
ดดำาำาเเนนินินกกาารปรรัับปรรุุง 3 สรร้้าางแแผผนปรรับับปรรุุง 4
ขขั้นั้นตอนกกาารดดำาำาเเนนินินกกาารตตาามแแนนวททาาง 
กกาารพพััฒนนาาคคุณุณภภาาพกกาารบรริหิหาาร 
จจัดัดกกาารภภาาครรััฐ 
8 
น 
ระดับ 1 
จัดประชุม 
ให้ความรู้ 
ระดับ 1 
จัดประชุม 
ให้ความรู้ 
ระดับ 2 
จัดตั้ง 
คณะทำางาน 
และแผน 
การดำาเนินการ 
ระดับ 2 
จัดตั้ง 
คณะทำางาน 
และแผน 
การดำาเนินการ 
ระดับ 3 
จัดอบรม 
ผู้ตรวจ 
ประเมิน 
ภายใน 
ระดับ 3 
จัดอบรม 
ผู้ตรวจ 
ประเมิน 
ภายใน 
ระดับ 4 
จัดทำา 
“ลักษณะ 
สำาคัญ 
ขององค์กร” 
ระดับ 4 
จัดทำา 
“ลักษณะ 
สำาคัญ 
ขององค์กร” 
ระดับ 5 
ระดับ 5 
จัดทำารายงาน 
จัดทำารายงาน 
ผลการ 
ดำาเนินการ 
เบื้องต้น 
ผลการ 
ดำาเนินการ 
เบื้องต้น 
ปรับปรุง 
รายงาน 
ผลการ 
ดำาเนินการ 
ปรับปรุง 
รายงาน 
ผลการ 
ดำาเนินการ 
ดำาเนินการ 
ปรับปรุงแก้ไข 
ตามแผน 
การปรับปรุง 
ดำาเนินการ 
ปรับปรุงแก้ไข 
ตามแผน 
การปรับปรุง 
จัดทำาแผน 
ปรับปรุงแก้ไข 
ตามลำาดับ 
ความสำาคัญ 
จัดทำาแผน 
ปรับปรุงแก้ไข 
ตามลำาดับ 
ความสำาคัญ 
วิเคราะห์ 
โอกาสในการ 
ปรับปรุง 
และจัดลำาดับ 
วิเคราะห์ 
โอกาสในการ 
ปรับปรุง 
และจัดลำาดับ 
ดำาเนินการ 
ประเมิน 
องค์กร 
ดำาเนินการ 
ประเมิน 
องค์กร 
ปปีี 22554499 
ปปีี 22555500 
ประเมินและปรับปรุง 
กระบวนการประเมินองค์กร 
ด้วยตนเอง
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ 
เป็นกระบวนการที่มุ่งเน้นให้เกิดการเรียนรู้ 
ไม่ใช่มุ่งเน้นการได้คะแนนสูง 
และเป็นกระบวนการต้องดำาเนินการต่อเนื่อง 
ไม่ใช่โครงการเฉพาะกิจ 
9
เเกกณฑฑ์์คคุุณภภาาพกกาารบรริหิหาารจจััดกกาารภภาาครรััฐ 
ลักษณะสำาคัญขององค์กร 
สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 
ความสำาคัญกับ 
ผู้รับบริการและ 
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 
10 
5. การมุ่งเน้น 
ทรัพยากรบุคคล 
6. การจัดการ 
กระบวนการ 
3. 
การให้ 
4. การวัด การวิเคราะหห์ ์ แแลละะกกาารจจััดกกาารคววาามรรูู้้ 
1. การนำา 
องค์กร 
2. การวางแผน 
เชิงยุทธศาสตร์ 
7. ผลลัพธ์ 
การดำาเนินการ
ลักษณณะะสสำาำาคคััญของเเกกณฑฑ์ค์คุุณภภาาพ 
กกาารบรริหิหาารจจัดัดกกาารภภาาครรััฐ 
11 
• เกณฑ์มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ 
ครอบคลุมทั้งกระบวนการและผลลัพธ์ 
• เกณฑ์สามารถปรับใช้ได้ตามภารกิจของหน่วยงาน 
เพื่อเสริมสร้างให้ส่วนราชการทำาการปรับปรุง ทั้งอย่าง 
ค่อยเป็นค่อยไปและอย่างก้าวกระโดด 
• เกณฑ์มีความเชื่อมโยงและสอดคล้องกันภายในเกณฑ์เพื่อให้ 
เกิดการบูรณาการ 
เชื่อมโยงและใช้ตัวชี้วัดที่มาจากยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ 
และกระบวนการ ซึ่งจะเชื่อมโยงกับผลลัพธ์การดำาเนินการ 
โดยรวม และระหว่างหัวข้อต่าง ๆ ในเกณฑ์
ความเชื่อมโยงของการพัฒนาคุณภภาาพกกาารบรริหิหาารจจัดัดกกาารภภาาค 
คำารับรองการปฏิบัติ 
ราชการ 
ลักษณะสำาคัญขององค์กร สภาพ 
แวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 
3. การให้ความสำาคัญ 
กับผู้รับบริการและ 
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 
12 
รรััฐ 
กกับับสสิ่งิ่งทที่สี่ส่ว่วนรราาชกกาารดดำาำาเเนนินินกกาารอยยูู่่ 
5. การมุ่งเน้น 
ทรัพยากรบุคคล 
6. การจัดการ 
กระบวนการ 
44.. กกาารววัดัด กกาารววิเิเคครราาะะหห์ ์ แแลละะกกาารจจัดัดกกาารคววาามรรูู้้ 
1. การนำา 
องค์กร 
2. การวางแผน 
เชิงยุทธศาสตร์ 
7. ผลลัพธ์ 
การดำาเนินการ 
Knowledge 
Management e-government MIS 
การปรับ 
กระบวนทัศน์ 
(I 
am Ready) 
แผนแม่บทด้าน 
ทรัพยากรบุคคล 
3-5 ปี 
(Competency) 
การลดขั้นตอน 
และระยะเวลา 
การปฏิบัติงาน 
แผนปฏิบัติ 
ราชการ 4 ปี 
(แผนบริหาร 
ราชการ 
แผ่นดิน) 
Vision 
Mission 
Strategic 
เป้าประสงค์ 
ระบบควบคุม 
ภายใน 
Blueprint for 
Change 
Redesign 
Process 
Capacity Building 
ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล 
คุณภาพ 
พัฒนา 
องค์กร
เเกกณฑฑ์์คคุุณภภาาพกกาารบรริหิหาารจจััดกกาารภภาาครรััฐ 
ลักษณะสำาคัญขององค์กร 
สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 
ความสำาคัญกับ 
ผู้รับบริการและ 
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 
13 
5. การมุ่งเน้น 
ทรัพยากรบุคคล 
6. การจัดการ 
กระบวนการ 
3. 
การให้ 
4. การวัด การวิเคราะหห์ ์ แแลละะกกาารจจััดกกาารคววาามรรูู้้ 
1. การนำา 
องค์กร 
2. การวางแผน 
เชิงยุทธศาสตร์ 
7. ผลลัพธ์ 
การดำาเนินการ
ลลัักษณณะะสสำาำาคคัญัญขององคค์ก์กร 22 ขข้้อ
1. การนำาองค์กร 
1.1 การนำาองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม 
14 
ก. การกำาหนด 
ทิศทางของ 
ส่วนราชการ 
(1) (2) 
77 หมวด 
1177 หหัวัวขข้้อ 
30 ประเด็น 
ที่ควร 
พิจารณา 
ค. การทบทวน 
ผลการดำาเนินการ 
ขององค์กร 
9900 คคำาำาถถาาม 
องคค์์ปรระะกอบของเเกกณฑฑ์์ 
ข. การกำากับ 
ดูแลตนเองที่ดี
ปรระะเเภภทคคำาำาถถาาม :: ออะะไไรร // อยย่า่างไไรร 
คคำาำาถถาาม เเปปรรียียบเเสสมมืือนขข้อ้อชชี้แี้แนนะะใใหห้พ้พิิจจาารณณาาใในนกกาารปฎฎิิบบัตัติงิงาาน
15 
อะไร (WHAT) 
 ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับกระบวนการหลักและวิธีปฏิบัติงาน 
ของกระบวนการนั้น 
 ผล แผนงาน เป้าประสงค์ วัตถุประสงค์ หรือตัวชี้วัดที่สำาคัญ 
อย่างไร (HOW) 
 ให้ข้อมูลของกระบวนการที่สำาคัญ เช่น วิธีการ ตัวชี้วัด การนำา 
ไปปฏิบัติ และปัจจัยด้านการประเมินผล การปรับปรุงและการ 
เรียนรู้
ตตัวัวอยย่า่างคคำาำาถถาาม ““ออะะไไรร”” 
- พันธกิจหรือหน้าที่ตามกฎหมายของส่วนราชการ 
คืออะไรบ้าง 
- กระบวนการ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด และเป้าหมาย 
ของส่วนราชการในการจัดการกับผลกระทบ 
ในทางลบที่เกิดขึ้นคืออะไร 
- ตัวชี้วัดสำาคัญที่ผู้บริหารของส่วนราชการทบทวน 
เป็นประจำามีอะไรบ้าง 
16
ตตัวัวอยย่า่างคคำาำาถถาาม ““อยย่า่างไไรร”” 
(1)-ผู้บริหารของส่วนราชการ ดำาเนินการอย่างไรในการกำาหนด 
ในเรื่องวิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ระยะสั้นและระยะยาว 
ค่านิยม และผลการดำาเนินการ ที่คาดหวังไว้ รวมทั้ง 
การถ่ายทอด ให้บุคลากรในส่วนราชการนำาไป 
ปฏิบัติในการกำาหนด ผลการดำาเนินการดังกล่าว 
ผู้บริหารของส่วนราชการได้คำานึงถึงความต้องการหรือผล 
ประโยชน์ของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยยึดหลัก 
ความโปร่งใสและความชัดเจนอย่างไร 
-ผู้บริหารของส่วนราชการดำาเนินการอย่างไรในการสื่อสาร 
ในเรื่องดังกล่าวแบบ 2 ทิศทาง อย่างชัดเจนและเป็น 
รูปธรรมไปสู่บุคลากรทุกคน รวมทั้งผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ 
ส่วนเสีย ที่สำาคัญ โดยผ่านระบบการนำาองค์กร 
17
ตัวอักษรที่เป็นตัวเข้มและเอียง เช่น “ผู้บริหารของส่วนราชการ ” จะมี 
คำาอธิบายเพิ่มเติมที่ “หมายเหตุ” ซึ่งปรากฏอยู่ที่ท้ายของเกณฑ์แต่ละ 
18 
หัวข้อ 
โดยมีจุดประสงค์ 3 ประการ ดังนี้ 
(1) อธิบายข้อกำาหนดของแต่ละหัวข้อให้ชัดเจน ซึ่งใช้เฉพาะการดำาเนิน 
การตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 
(2) แนะนำาวิธีการตอบในแต่ละหัวข้อของเกณฑ์ 
(3) ชี้ให้เห็นความเชื่อมโยงที่สำาคัญกับหัวข้ออื่น 
เครื่องหมายดอกจัน “(*)” ที่ปรากฏอยู่ที่ท้ายของคำาถาม หมายถึง 
ให้ส่วนราชการตอบตามความเหมาะสมตามภารกิจของส่วนราชการนั้น
เเกกณฑฑ์์คคุุณภภาาพกกาารบรริหิหาารจจััดกกาารภภาาครรััฐ 
ลักษณะสำาคัญขององค์กร 
สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 
ความสำาคัญกับ 
ผู้รับบริการและ 
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 
19 
5. การมุ่งเน้น 
ทรัพยากรบุคคล 
6. การจัดการ 
กระบวนการ 
3. 
การให้ 
4. การวัด การวิเคราะหห์ ์ แแลละะกกาารจจััดกกาารคววาามรรูู้้ 
1. การนำา 
องค์กร 
2. การวางแผน 
เชิงยุทธศาสตร์ 
7. ผลลัพธ์ 
การดำาเนินการ
ลลักักษณณะะสสำาำาคคััญขององคค์์กร
• ทำาให้เข้าใจถึงส่วนราชการและสิ่งที่ส่วนราชการนั้นเห็นว่า 
มีความสำาคัญ 
• ช่วยในการระบุข้อมูลสำาคัญที่อาจขาดหายไป และทำาให้เกิด 
การมุ่งเน้นที่ผลสำาเร็จของกระบวนการ และผลลัพธ์การ 
20 
ดำาเนินการ 
• เป็นจุดเริ่มต้นที่เหมาะสมในการตรวจประเมินองค์กรด้วยตนเอง 
หากพบว่า เรื่องใดมีข้อมูลไม่เพียงพอหรือข้อมูลขัดแย้งกัน 
ส่วนราชการสามารถนำาเรื่องนั้นไปจัดทำาแผนปฏิบัติการ 
เพื่อแก้ไขปรับปรุง โดยยังไม่ต้องประเมินตนเองต่อไป
ลลัักษณณะะสสำาำาคคัญัญขององคค์์กร 
11.. ลลักักษณณะะองคค์์กร 22.. คววาามทท้้าาททาายตต่อ่อองคค์ก์กร 
21 
ก. สภาพการ 
แข่งขัน 
ข. ความท้าทาย 
เชิงยุทธศาสตร์ 
ค. ระบบ 
การปรับปรุง 
ผลการ 
ดำาเนินการ 
ก. ลักษณะพื้นฐาน 
ของส่วนราชการ 
ข. ความสัมพันธ์ 
ภายในและ 
ภายนอกองค์กร
รระะบบกกาารใใหห้ค้คะะแแนนน 
กกาารปรระะเเมมินินใในนสองมมิิตติิ :: 
กรระะบวนกกาาร แแลละะ ผลลลัพัพธธ์์ 
22
เเกกณฑฑ์์คคุุณภภาาพกกาารบรริหิหาารจจััดกกาารภภาาครรััฐ 
ลักษณะสำาคัญขององค์กร 
สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 
2. การวางแผน 
เชิงยุทธศาสตร์ 
ความสำาคัญกับ 
ผู้รับบริการและ 
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 
23 
5. การมุ่งเน้น 
ทรัพยากรบุคคล 
6. การจัดการ 
กระบวนการ 
3. 
การให้ 
1. การนำา 
องค์กร 
4. การวัด การวิเคราะหห์ ์ แแลละะกกาารจจัดัดกกาารคววาามรรูู้้ 
7. ผลลัพธ์ 
การดำาเนินการ
มมิติติิกรระะบวนกกาาร
““กรระะบวนกกาาร’’’’ หมายถึง วิธีที่องค์กรใช้และ 
ปรับปรุง เพื่อตอบสนองข้อกำาหนดต่างๆ ของหัวข้อ 
ในหมวด 1-6 ปัจจัยทั้ง 4 ที่ใช้ประเมินกระบวนการ 
24 
ได้แก่ 
 แนวทาง (Approach - A) 
 การถ่ายทอดเพื่อนำาไปปฏิบัติ (Deployment - D) 
 การเรียนรู้ (การทบทวนและปรับปรุง) (Learning - 
L) 
 การบูรณาการ (Integration - I)
แนวทาง (Approach) 
25 
““แนวทาง ”” หมายถึง 
 วิธีการที่ใช้เพื่อให้กระบวนการบรรลุผล 
 ความเหมาะสมของวิธีการที่ตอบสนองข้อกำาหนดของหัวข้อ 
ต่างๆ 
 ความมีประสิทธิผลของการใช้วิธีการต่างๆ ของส่วนราชการ 
 ระดับของการที่แนวทางนั้นนำาไปใช้ซ้ำ้าได้ และอยู่บนพื้น 
ฐานของข้อมูลและสารสนเทศที่เชื่อถือได้ (ซึ้่งหมายถึง 
การดำาเนินการอย่างเป็นระบบ) 
แนวทางที่เป็นระบบ คือ แนวทางนั้นใช้ซ้ำ้าได้ และใช้ข้อมูล 
และสารสนเทศเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ หรืออาจกล่าวได้ว่า 
แนวทาง มีความเป็นระบบ เมื่อแนวทางนั้น มีการ 
ประเมิน การปรับปรุง นวัตกรรม และการแลกเปลี่ยน ซึ้่งจะส่งผล 
ให้แนวทางนั้นมีระดับการพัฒนามากขึ้น
การนำาไปปฏิบัติ (Deployment) 
““การนำาไปปฏิบัติิิ” ิหมายถึง ความครอบคลุมและทั่วถึง 
ของ 
 การใช้แนวทางเพื่อตอบสนองข้อกำาหนดต่างๆ ของหัวข้อ 
ที่มีความเกี่ยวข้องและสำาคัญต่อส่วนราชการ 
 การใช้แนวทางอย่างคงเส้นคงวา (Consistent) 
 การใช้แนวทางในทุกหน่วยงานที่ควรใช้ 
26
การเรียนรู้ (การทบทวนและปรับปรุง) (Learning) 
““การเรียนรู้”” (การทบทวนและปรับปรุง) หมายถึง 
 การปรับปรุงแนวทางให้ดีขึ้น โดยใช้วงจรการประเมิน 
27 
และการปรับปรุง 
 การกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างก้าวกระโดด 
ของแนวทาง โดยใช้นวัตกรรม 
 การแบ่งปันความรู้จากการปรับปรุงที่ดีขึ้นและนวัตกรรม 
กับหน่วยงานและกระบวนการอื่นที่เกี่ยวข้องภายใน 
ส่วนราชการ
การบูรณาการ (Integration) 
““การบูรณาการ ”” หมายถึง ความครอบคลุมและทั่วถึง 
28 
ของ 
 การใช้แนวทางที่สอดคล้องไปในแนวทางเดียวกันกับ 
ความต้องการของส่วนราชการตามที่ระบุไว้ในข้อกำาหนด 
ของหัวข้อต่างๆ ในเกณฑ์ 
 การใช้ตัวชี้วัด สารสนเทศ และระบบการปรับปรุงที่ช่วย 
เสริมกระบวนการและหน่วยงานทั่วทั้งส่วนราชการ 
 แผนงาน กระบวนการ ผลลัพธ์ การวิเคราะห์ การเรียนรู้ 
และการปฏิบัติการ มีความสอดคล้องกลมกลืนกันทุก 
กระบวนการและหน่วยงาน เพื่อสนับสนุนเป้าประสงค์ระดับ 
องค์กร
เเกกณฑฑ์์คคุุณภภาาพกกาารบรริหิหาารจจััดกกาารภภาาครรััฐ 
ลักษณะสำาคัญขององค์กร 
สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 
ความสำาคัญกับ 
ผู้รับบริการและ 
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 
29 
5. การมุ่งเน้น 
ทรัพยากรบุคคล 
6. การจัดการ 
กระบวนการ 
3. 
การให้ 
4. การวัด การวิเคราะหห์ ์ แแลละะกกาารจจััดกกาารคววาามรรูู้้ 
1. การนำา 
องค์กร 
2. การวางแผน 
เชิงยุทธศาสตร์ 
7. ผลลัพธ์ 
การดำาเนินการ
หมวด 11 กกาารนนำาำาองคค์ก์กร 
30 
ก. การกำาหนด 
ทิศทาง 
ของส่วน 
ราชการ 
11..11 กกาารนนำาำาองคค์์กร 11..22 คววาามรรับับผผิดิดชอบตต่อ่อสสัังคม 
ค. การ 
ทบทวน ผล 
การดำาเนิน- 
การของ 
ส่วน 
ราชการ 
ข. การกำากับ 
ดูแล 
ตนเองที่ดี 
ก. ความ 
รับผิดชอบ 
ต่อสังคม 
ข. การดำาเนิน- 
การอย่างมี 
จริยธรรม 
ค. การให้ 
การ 
สนับสนุนต่อ 
ชุมชน 
ที่สำาคัญ 
• การกำาหนดวิสัยทัศน์ 
เป้าประสงค์ ค่านิยม 
และผลการดำาเนิน 
การ และสื่อสาร 
และ 
ถ่ายทอด 
ไปสู่การปฏิบัติ 
• การสร้างบรรยากาศ 
ให้เกิดการกระจายอำา 
นาจการตัดสินใจ 
นวัตกรรม ความ 
คล่องตัว การเรียนรู้ 
ถูกต้องตามกฎหมาย 
และจริยธรรม 
• ความรับผิดชอบ 
ด้านการดำาเนิน 
การ 
ด้านการเงิน 
และการ 
ปกป้องผล 
ประโยชน์ 
ของประเทศ 
• การทบทวน 
ผลการดำาเนินการ 
และใช้มาประเมิน 
ความสำาเร็จ 
และตอบสนอง 
ความต้องการ 
ที่เปลี่ยนแปลง 
ไป 
• ตัวชี้วัดที่ทบทวน 
และผลการทบทวน 
ที่ผานมา 
• การดำาเนินการ 
ในกรณีที่การ 
ปฏิบัติงาน 
มีผลกระ 
ทบ ต่อ 
สังคม 
• กระบวนการ ตัว 
ชี้วัด และ 
เป้าประสงค์ใน 
การจัดการความ 
เสี่ยง 
• การคาดการณ์ 
ล่วงหน้า 
และเตรียม 
การ เขิงรุก 
• การกำาหนดวิธี 
ปฏิบัติในการ 
ดำาเนินการอย่างมี 
จริยธรรม 
• การสนับสนุน 
และสร้าง 
ความเข้ม 
แข็งให้แก่ชุมชน 
ที่ 
สำาคัญ 
และการที่ผู้ 
บริหารและ 
บุคลากร 
มีส่วนร่วม 
ในการ 
พัฒนาชุมชน
เเกกณฑฑ์์คคุุณภภาาพกกาารบรริหิหาารจจััดกกาารภภาาครรััฐ 
ลักษณะสำาคัญขององค์กร 
สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 
ความสำาคัญกับ 
ผู้รับบริการและ 
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 
31 
5. การมุ่งเน้น 
ทรัพยากรบุคคล 
6. การจัดการ 
กระบวนการ 
3. 
การให้ 
4. การวัด การวิเคราะหห์ ์ แแลละะกกาารจจััดกกาารคววาามรรูู้้ 
1. การนำา 
องค์กร 
2. การวางแผน 
เชิงยุทธศาสตร์ 
7. ผลลัพธ์ 
การดำาเนินการ
หมวด 2 การววาางแแผผนเเชชิงิงยยุุทธศศาาสตรร์์ 
32 
22..11 กกาารจจัดัดททำาำายยุทุทธศศาาสตรร์์ 
ก. กระบวนการ 
จัดทำา 
ยุทธศาสตร์ 
2.2 การถ่ายทอดกลยุทธ์หลัก 
เพื่อนำาไปปฏิบัติ 
ข. เป้าประสงค์ 
เชิง 
ยุทธศาสตร์ 
ก. การถ่ายทอด 
แผนปฏิบัติการ 
ไปสู่การ 
ปฏิบัติ 
ข. การคาดการณ์ 
ผลการดำาเนิน 
• กระบวนการวางแผน การ 
ยุทธศาสตร์ 
• การรวบรวม 
และวิเคราะห์ 
ข้อมูล และสารสนเทศ 
ที่ 
เกี่ยวข้อง 
• ประเด็นยุทธศาสตร์ 
เป้าประสงค์เชิงยุทธ- 
ศาสตร์ กลยุทธ์หลัก 
ตารางเวลาในการ 
บรรลุ และลำาดับความ 
สำาคัญ 
• การให้ความสำาคัญกับ 
ความท้าทายต่อ 
องค์กร และความ 
สมดุลระหว่างความ 
ต้องการของผู้มีส่วน 
ได้ส่วนเสีย 
• การถ่ายทอดแผนปฏิบัติ 
การ ไปสู่การปฎิบัติ การ 
จัดสรรทรัพยากร และ 
ทำาให้ผล ที่เกิด 
ขึ้นยั่งยืน 
• แผนปฏิบัติการที่สำาคัญ 
และการดำาเนินการเพื่อ 
ตอบสนองการเปลี่ยนแปลง 
• แผนหลักด้านทรัพยากร 
บุคคล 
• ตัวชี้วัดผลการดำาเนินงาน 
และการทำาให้ระบบการ 
วัดผลเสริมให้ส่วนราชการ 
มุ่งไปในแนวทางเดียวกัน 
• การคาดการณ์ผลการ- 
ดำาเนินการ และ 
เปรียบเทียบกับเป้าประสงค์ 
เชิงยุทธ-ศาสตร์ ผลการ 
ดำาเนินการ ที่ผ่านมา 
ผลการดำาเนินการที่คาดไว้ 
ของคู่แข่ง และ 
ระดับเทียบเคียง
เเกกณฑฑ์์คคุุณภภาาพกกาารบรริหิหาารจจััดกกาารภภาาครรััฐ 
ลักษณะสำาคัญขององค์กร 
สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 
ความสำาคัญกับ 
ผู้รับบริการและ 
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 
33 
5. การมุ่งเน้น 
ทรัพยากรบุคคล 
6. การจัดการ 
กระบวนการ 
3. 
การให้ 
4. การวัด การวิเคราะหห์ ์ แแลละะกกาารจจััดกกาารคววาามรรูู้้ 
1. การนำา 
องค์กร 
2. การวางแผน 
เชิงยุทธศาสตร์ 
7. ผลลัพธ์ 
การดำาเนินการ
หมวด 3 การให้ความสำาคัญกับผู้รับบริการ 
และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 
34 
3.1 ความรู้เกี่ยวกับ 
ผู้รับบริการ 
และผู้มีส่วนได้ส่วน 
เสีย 
ก. ความรู้เกี่ยวกับผู้รับ 
บริการ 
และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 
3.2 ความสัมพันธ์ 
และความพึงพอใจของผู้รับ 
บริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 
ก. การสร้างความสัมพันธ์ 
กับผู้รับบริการ 
และผู้มีส่วนได้ส่วน 
เสีย 
ข. การวัดความพึงพอใจ 
ของผู้รับบริการ 
และผู้มีส่วนได้ 
ส่วนเสีย 
• การกำาหนดหรือจำาแนกกลุ่มผู้ 
รับบริการฯ รวมถึงผู้รับบริการ 
ในอนาคต 
• การรับฟังและเรียนรู้ความ 
ต้องการและความคาดหวัง 
และนำาข้อมูลมาใช้ในการ 
วางแผนปฏิบัติงาน 
การปรับปรุงกระบวนการ 
และการพัฒนา 
บริการใหม่ ๆ 
• การสร้างความสัมพันธ์ 
กับผู้รับบริการฯ 
• กลไกการขอข้อมูล ขอรับบริการ 
หรือร้องเรียน การกำาหนดวิธี 
ปฏิบัติ และทำาให้มั่นใจว่า 
บุคลากรปฏิบัติตาม 
• กระบวนการจัดการข้อร้องเรียน 
และทำาให้มั่นใจว่าได้รับการ 
แก้ไข การรวบรวมและวิเคราะห์ 
เพื่อใช้ปรับปรุงการดำาเนินการ 
• การทำาให้แนวทางในการสร้าง 
ความสัมพันธ์และช่องทางติดต่อ 
เหมาะสมและทันสมัย 
• การวัดความพึงพอใจ 
และไม่พึงพอใจของผู้รับ 
บริการฯ แต่ละกลุ่ม และนำาผลไป 
ปรับปรุงการดำาเนินการ 
• การติดตามช้อมูลป้อนกลับ 
• การหาและใช้ข้อมูลเชิงเปรียบ 
เทียบด้านความพึงพอใจของผู้รับ 
บริการฯ 
• การทำาให้แนวทางการวัด 
ความพึงพอใจเหมาะสม 
และทันสมัย
เเกกณฑฑ์์คคุุณภภาาพกกาารบรริหิหาารจจััดกกาารภภาาครรััฐ 
ลักษณะสำาคัญขององค์กร 
สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 
ความสำาคัญกับ 
ผู้รับบริการและ 
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 
35 
5. การมุ่งเน้น 
ทรัพยากรบุคคล 
6. การจัดการ 
กระบวนการ 
3. 
การให้ 
4. การวัด การวิเคราะหห์ ์ แแลละะกกาารจจััดกกาารคววาามรรูู้้ 
1. การนำา 
องค์กร 
2. การวางแผน 
เชิงยุทธศาสตร์ 
7. ผลลัพธ์ 
การดำาเนินการ
หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความ 
36 
รู้ 
4.1 การวัดและวิเคราะห์ผล 
การดำาเนินการของส่วน 
ราชการ 
4.2 การจัดการสารสนเทศ 
และความรู้ 
ก. ความพร้อม 
ใช้งานของ 
ข้อมูลและ 
สารสนเทศ 
ก. การวัดผลการ 
ดำาเนินการ 
ข. การ 
วิเคราะห์ผลการ 
ดำาเนินการ 
ข. การจัดการ 
ความรู้ 
• การเลือกและรวบรวม 
ข้อมูลและสารสนเทศ 
ที่สอดคล้อง 
และเชื่อม 
โยงกัน 
• การเลือกข้อมูล 
และสารสนเทศ 
เชิงเปรียบ 
เทียบ 
มาสนับสนุนการตัดสินใจ 
และ 
นวัตกรรม 
• การทำาให้ระบบการวัดผล 
เหมาะสมและทันสมัย 
และไวในการบ่งชี้ 
• การวิเคราะห์ 
ที่ให้ผู้ 
บริหาร 
นำาผลมาใช้ทบทวน 
ผลการ 
ดำาเนินการ 
และวางแผน 
เชิง 
ยุทธศาสตร์ 
• การสื่อสาร 
ผลการ 
วิเคราะห์ เพื่อ 
สนับสนุน 
การตัดสินใจ 
• การทำาให้ข้อมูล 
และสารสนเทศ 
พร้อมใช้งาน 
และ 
สามารถเข้าถึง 
• การทำาให้อุปกรณ์ 
ที่เกี่ยวกับ 
สารสนเทศเชื่อถือได้ 
ปลอดภัย และใช้งาน 
ง่าย 
• การทำาให้ข้อมูล 
และสารสนเทศ 
และอุปกรณ์ 
เหมาะสมและทันสมัย 
• การจัดการความรู้ 
• การทำาให้ข้อมูล 
และสารสนเทศ 
และความ 
รู้ มีความครอบคลุม 
รวดเร็ว ถูกต้อง ทัน 
สมัย เชื่อมโยง น่าเชื่อ 
ถือ สามารถเข้าถึง 
สามารถตรวจสอบ การ 
มีส่วนร่วมใน 
กระบวนการข้อมูล 
ปลอดภัย และรักษา 
ความลับ
เเกกณฑฑ์์คคุุณภภาาพกกาารบรริหิหาารจจััดกกาารภภาาครรััฐ 
ลักษณะสำาคัญขององค์กร 
สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 
ความสำาคัญกับ 
ผู้รับบริการและ 
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 
37 
5. การมุ่งเน้น 
ทรัพยากรบุคคล 
6. การจัดการ 
กระบวนการ 
3. 
การให้ 
4. การวัด การวิเคราะหห์ ์ แแลละะกกาารจจััดกกาารคววาามรรูู้้ 
1. การนำา 
องค์กร 
2. การวางแผน 
เชิงยุทธศาสตร์ 
7. ผลลัพธ์ 
การดำาเนินการ
หมวด 5 การมงุ่เเนน้้นทรรััพยยาากรบบุคุคคล 
5.2 การเรียนรู้ 
ของบุคลากร 
และการสร้างแรง 
38 
• การกำาหนด 
คุณลักษณะ 
และทักษะ 
• การสรรหาว่าจ้าง 
และรักษา 
บุคลากร 
• การเตรียม 
บุคลากรสำาหรับ 
ตำาแหน่งสำาคัญ 
และการสร้าง 
ความก้าวหน้า 
55..11 รระะบบบงงาาน 
ก. การจัด 
และบริหาร 
งาน 
ค. การจ้างงาน 
และความก้าวหน้า 
ในหน้าที่การงาน 
ข. ระบบ 
การประเมิน 
ผลการปฏิบัติ 
งานของ 
บุคลากร 
ก. สภาพแวดล้อม 
ในการทำางาน 
ข. การให้การ 
สนับสนุนและสร้าง 
ความพึง-พอใจแก่ 
บุคลากร 
จูงใจ 
ก.. กกาารพพััฒนนาาบบุุคลลาากร 
5.3 การสร้างความผาสุก 
และความพึงพอใจ 
ของบุคลากร 
ข. การสร้างแรงจูงใจ 
และการพัฒนา ความ 
ก้าวหน้าในหน้าที่การงาน 
• การจัด 
โครงสร้าง 
องค์กร 
และระบบ 
การ 
ทำางาน 
เพื่อส่งเสริม 
ความร่วมมือ 
ความคิดริเริ่ม 
การกระจายอำา 
นาจ 
การตัดสินใจ 
นวัตกรรม 
• การคำานึงถึง 
วัฒนธรรม 
และความ 
คิด ที่หลาก 
หลาย 
• การทำาให้ 
การ 
สื่อสาร 
การแลกเปลี่ยน 
ความรู้ 
หรือทักษะ 
• ระบบ 
การ 
ประเมินผล 
และการแจ้ง 
ผลเพื่อให้เกิด 
การ 
พัฒนา และ 
ปรับปรุงงาน 
• การยกย่อง 
ชมเชย 
การให้ 
รางวัลและสิ่ง 
จูงใจ 
• การส่งเสริมสุขอนามัย 
ความปลอดภัย 
การป้องกันภัย 
การปรับปรุง 
สภาพแวดล้อม 
และบุคลากรมี 
ส่วนร่วม 
• การทำาให้สถานที่ 
ทำางานเตรียมพร้อม 
ต่อภาวะฉุกเฉิน 
และภัยพิบัติ 
• การกำาหนดปัจจัย 
ความผาสุก 
ความพึง 
พอใจ และ 
แรงจูงใจ 
สำาหรับแต่ละกลุ่ม 
• การบริการ 
สวัสดิการ และ 
นโยบาย 
• การกำาหนดตัวชี้วัด 
และวิธีการประเมิน 
ที่เป็น 
ทางการ 
และไม่เป็นทางการ 
• การนำาผล 
การประเมิน 
มา 
กำาหนดลำาดับความ 
สำาคัญ 
ในการปรับปรุง 
• การหาความต้องการ 
ในการฝึกอบรม 
• การส่งเสริมการใช้ 
ความรู้และทักษะใหม่ 
• การจูงใจให้พนักงาน 
พัฒนาตนเองและใช้ 
ศักยภาพอย่างเต็มที่
เเกกณฑฑ์์คคุุณภภาาพกกาารบรริหิหาารจจััดกกาารภภาาครรััฐ 
ลักษณะสำาคัญขององค์กร 
สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 
ความสำาคัญกับ 
ผู้รับบริการและ 
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 
39 
5. การมุ่งเน้น 
ทรัพยากรบุคคล 
6. การจัดการ 
กระบวนการ 
3. 
การให้ 
4. การวัด การวิเคราะหห์ ์ แแลละะกกาารจจััดกกาารคววาามรรูู้้ 
1. การนำา 
องค์กร 
2. การวางแผน 
เชิงยุทธศาสตร์ 
7. ผลลัพธ์ 
การดำาเนินการ
หมวด 66 กกาารจจัดัดกกาารกรระะบวนกกาาร 
66..11 กรระะบวนกกาารทที่สี่สรร้้าางคคุณุณคค่า่า 66..22 กรระะบวนกกาารสนนัับสนนุนุน 
40 
ก.. กรระะบวนกกาารทที่สี่สรร้้าางคคุณุณคค่า่า 
ก.. กรระะบวนกกาารสนนัับสนนุนุน 
• การกำาหนดกระบวนการที่สร้างคุณค่า 
• การจัดทำาข้อกำาหนดที่สำาคัญของกระบวนการ 
ที่สร้างคุณค่า 
• การออกแบบกระบวนการโดยนำาปัจจัยที่สำาคัญมา 
ประกอบ และบูรณาการกับส่วนราชการอื่น 
• การนำากระบวนการไปปฏิบัติให้บรรลุผลตามข้อกำาหนด 
ที่สำาคัญ 
• การลดค่าใช้จ่ายด้านการตรวจสอบ ทดสอบ และตรวจ 
ประเมิน และป้องกันไม่ใช้เกิดข้อผิดพลาด ทำางานซ้ำ้า 
และความสูญเสีย 
• การปรับปรุงกระบวนการให้ดีขึ้น และนำามาเผยแพร่ 
แลกเปลี่ยนภายในและระหว่างหน่วยงาน 
• การกำาหนดกระบวนการสนับสนุน 
• การจัดทำาข้อกำาหนดที่สำาคัญของกระบวนการสนับสนุน 
• การออกแบบกระบวนการโดยนำาปัจจัยที่สำาคัญมา 
ประกอบ และบูรณาการกับส่วนราชการอื่น 
• การนำากระบวนการไปปฏิบัติให้บรรลุผลข้อกำาหนด 
ที่สำาคัญ 
• การลดค่าใช้จ่ายด้านการตรวจสอบ ทดสอบ และตรวจ 
ประเมิน และป้องกันไม่ใช้เกิดข้อผิดพลาด ทำางานซ้ำ้า 
และความสูญเสีย 
• การปรับปรุงกระบวนการให้ดีขึ้น และนำามาเผยแพร่ 
แลกเปลี่ยนภายในและระหว่างหน่วยงาน
รระะบบกกาารใใหห้ค้คะะแแนนน 
กกาารปรระะเเมมินินใในนสองมมิิตติิ :: 
กรระะบวนกกาาร แแลละะ ผลลลัพัพธธ์์ 
41
มมิิตติผิผลลลัพัพธธ์์ 
““ผลลลัพัพธธ์” ์หมายถึง ผลผลิต และผลลัพธ์ 
ขององค์กร ในการบรรลุตามข้อกำาหนดใน 
หัวข้อ 7.1 – 7.4 
42
เเกกณฑฑ์์คคุุณภภาาพกกาารบรริหิหาารจจััดกกาารภภาาครรััฐ 
ลักษณะสำาคัญขององค์กร 
สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 
2. การวางแผน 
เชิงยุทธศาสตร์ 
และกลยุทธ์ 
ความสำาคัญกับ 
ผู้รับบริการและ 
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 
43 
5. การมุ่งเน้น 
ทรัพยากรบุคคล 
6. การจัดการ 
กระบวนการ 
3. 
การให้ 
1. การนำา 
องค์กร 
4. การวัด การวิเคราะหห์ ์ แแลละะกกาารจจัดัดกกาารคววาามรรูู้้ 
7. ผลลัพธ์ 
การดำาเนินการ
ปปััจจจัยัย 44 ปรระะกกาารทที่ใี่ใชช้้ปรระะเเมมิินผลลลัพัพธธ์์ 
 ระดับของผลการดำาเนินการในรอบปีที่ผ่านมา 
 อัตราการเปลี่ยนแปลง (เช่น ความลาดชันของแนวโน้ม 
ของข้อมูล) และความครอบคลุม (เช่น การถ่ายทอดเพื่อ 
นำาไปปฏิบัติและการแบ่งปันอย่างกว้างขวาง) ของการปรับปรุง 
ผลการดำาเนินการ 
 ผลการดำาเนินการของส่วนราชการเปรียบเทียบกับตัวเปรียบ 
เทียบ และ/หรือ ระดับเทียบเคียง ที่เหมาะสม 
 การเชื่อมโยงของตัววัดผลต่างๆ (มักแสดงผลตามกลุ่มที่จำาแนก 
ไว้) กับผลการดำาเนินการด้านผลผลิตและบริการ ผู้รับบริการ 
และ ผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย กระบวนการและแผนปฏิบัติการ 
ที่สำาคัญๆ ที่ได้ระบุไว้ใน “ลักษณะสำาคัญขององค์กร” และใน 
หัวข้อกระบวนการต่าง ๆ (ในหมวด 1-6) 
44
หมวด 77 ผลลลัพัพธธ์ก์กาารดดำาำาเเนนินินกกาาร 
45 
7.3 มิติ 
ด้านประสิทธิภาพ 
ของการปฏิบัติ 
ราชการ 
7.1 มิติ 
ด้านประสิทธิผล 
ตามแผนปฏิบัติ 
ราชการ 
7.2 มิติ 
ด้านคุณภาพ 
การให้บริการ 
7.4 มิติ 
ด้านการพัฒนา 
องค์กร 
• ผลผลการดำาเนินการ 
ด้านการบรรลุความ 
สำาเร็จ ของ 
ยุทธศาสตร์ 
และแผนปฏิบัติงาน 
• ผลการดำาเนินการ 
ด้านการบูรณาการ 
กับส่วนราชการที่ 
เกี่ยวข้องกันในการให้ 
บริการ หรือการ 
ปฏิบัติงาน (*) 
• ผลการดำาเนินการ 
ด้านความพึงพอใจ 
และไม่พึงพอใจ 
ของผู้รับ 
บริการ และผู้ 
มีส่วนได้ส่วนเสีย 
• ผลการดำาเนินการ 
ด้านการป้องกัน 
และปราบปรามการ 
ทุจริตและประพฤติมิชอบ 
• ผลการดำาเนินการ 
ด้านการมีส่วนร่วม 
ของ 
ประชาชน 
• ผลการดำาเนินการที่สำาคัญ 
อื่น ๆ ที่เกี่ยวกับผู้รับบริการ 
• ผลการดำาเนินการ 
ด้านประสิทธิภาพ 
ของการใช้งบ 
ประมาณ 
• ผลการปฏิบัติงานของ 
กระบวนการที่สร้างคุณค่า 
• ผลการปฏิบัติงานของ 
กระบวนการสนับสนุน 
• ผลการดำาเนินการ 
ด้านการเรียนรู้ 
และพัฒนาของ 
บุคลากร 
• ผลการดำาเนินการ 
ด้านความผาสุก 
ความพึงพอใจ 
และไม่พึง 
พอใจ 
ของบุคลากร 
• ผลการดำาเนินการ 
ด้านการจัดการความ 
รู้ 
• ผลการดำาเนินการ 
ด้านการพัฒนาระบบ 
ข้อมูลสารสนเทศ 
• ผลการดำาเนินการ 
ด้านการพัฒนา 
กฎหมาย
แแหหลล่่งขข้อ้อมมููลเเพพิ่มิ่มเเตติมิม 
www.opdc.go.th 
สำานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ 
www.ftpi.or.th 
สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ 
www.tqa.or.th 
รางวัลคุณภาพแห่งชาติ 
Thailand Quality Award 
www.quality.nist.gov 
Malcolm Baldrige National Quality 
Award 
46
ตติดิดตต่อ่อสอบถถาาม 
สำานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ 
โทรศัพท์ 0-2356-9999 ต่อ 8841, 8985 
โทรสาร 0-2281-8169 
สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ 
ฝ่ายปรึกษาแนะนำาและฝึกอบรม 
โทรศัพท์ 0-2619-5500 ต่อ 545, 541- 
543 
โทรสาร 0-2619-8097 
47

More Related Content

What's hot

NQA application report writing
NQA application report  writingNQA application report  writing
NQA application report writingChutikarn Haruthai
 
Strategy insights รู้ลึกเรื่องยุทธศาสตร์
Strategy insights รู้ลึกเรื่องยุทธศาสตร์Strategy insights รู้ลึกเรื่องยุทธศาสตร์
Strategy insights รู้ลึกเรื่องยุทธศาสตร์maruay songtanin
 
KM Project present by Tiparat KU MSIT11
KM Project present by Tiparat KU  MSIT11KM Project present by Tiparat KU  MSIT11
KM Project present by Tiparat KU MSIT11Amp Tiparat
 
Measurement, analysis and knowledge management from role models การวัด การวิเ...
Measurement, analysis and knowledge management from role models การวัด การวิเ...Measurement, analysis and knowledge management from role models การวัด การวิเ...
Measurement, analysis and knowledge management from role models การวัด การวิเ...maruay songtanin
 
6 levels to performance excellence บันได 6 ขั้น สู่ความเป็นเลิศ
6 levels to performance excellence บันได 6 ขั้น สู่ความเป็นเลิศ6 levels to performance excellence บันได 6 ขั้น สู่ความเป็นเลิศ
6 levels to performance excellence บันได 6 ขั้น สู่ความเป็นเลิศmaruay songtanin
 
Changes in 2015 2016 criteria การปรับเปลี่ยนเกณฑ์ 2015-2016
Changes in 2015 2016 criteria การปรับเปลี่ยนเกณฑ์ 2015-2016Changes in 2015 2016 criteria การปรับเปลี่ยนเกณฑ์ 2015-2016
Changes in 2015 2016 criteria การปรับเปลี่ยนเกณฑ์ 2015-2016maruay songtanin
 
Operations from role models การปฏิบัติการที่เป็นเลิศ
Operations from role models การปฏิบัติการที่เป็นเลิศOperations from role models การปฏิบัติการที่เป็นเลิศ
Operations from role models การปฏิบัติการที่เป็นเลิศmaruay songtanin
 
Baldrige excellence builder กรอบความเป็นเลิศ 2015-2016
Baldrige excellence builder กรอบความเป็นเลิศ 2015-2016Baldrige excellence builder กรอบความเป็นเลิศ 2015-2016
Baldrige excellence builder กรอบความเป็นเลิศ 2015-2016maruay songtanin
 
Strategy from role models การเรียนรู้กลยุทธ์จากต้นแบบ
Strategy from role models การเรียนรู้กลยุทธ์จากต้นแบบStrategy from role models การเรียนรู้กลยุทธ์จากต้นแบบ
Strategy from role models การเรียนรู้กลยุทธ์จากต้นแบบmaruay songtanin
 
Tint strategic-publish
Tint strategic-publishTint strategic-publish
Tint strategic-publishAttawuth Pirom
 
2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ
2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ
2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อmaruay songtanin
 
Baldrige award winners 2019
Baldrige award winners 2019Baldrige award winners 2019
Baldrige award winners 2019maruay songtanin
 
Progress level criteria for performance excellence เกณฑ์สู่ความเป็นเลิศขั้นก้...
Progress level criteria for performance excellence เกณฑ์สู่ความเป็นเลิศขั้นก้...Progress level criteria for performance excellence เกณฑ์สู่ความเป็นเลิศขั้นก้...
Progress level criteria for performance excellence เกณฑ์สู่ความเป็นเลิศขั้นก้...maruay songtanin
 
Leadership practices of ipm การนำองค์กรของ IPM
Leadership practices of ipm การนำองค์กรของ IPM Leadership practices of ipm การนำองค์กรของ IPM
Leadership practices of ipm การนำองค์กรของ IPM maruay songtanin
 
Hr Mis Nu MBA Logistics
Hr  Mis Nu  MBA  LogisticsHr  Mis Nu  MBA  Logistics
Hr Mis Nu MBA LogisticsAusda Sonngai
 
บริหารเวลา
บริหารเวลาบริหารเวลา
บริหารเวลาkullasab
 

What's hot (20)

NQA application report writing
NQA application report  writingNQA application report  writing
NQA application report writing
 
Revolutionary change
Revolutionary changeRevolutionary change
Revolutionary change
 
Strategy insights รู้ลึกเรื่องยุทธศาสตร์
Strategy insights รู้ลึกเรื่องยุทธศาสตร์Strategy insights รู้ลึกเรื่องยุทธศาสตร์
Strategy insights รู้ลึกเรื่องยุทธศาสตร์
 
KM Project present by Tiparat KU MSIT11
KM Project present by Tiparat KU  MSIT11KM Project present by Tiparat KU  MSIT11
KM Project present by Tiparat KU MSIT11
 
Measurement, analysis and knowledge management from role models การวัด การวิเ...
Measurement, analysis and knowledge management from role models การวัด การวิเ...Measurement, analysis and knowledge management from role models การวัด การวิเ...
Measurement, analysis and knowledge management from role models การวัด การวิเ...
 
6 levels to performance excellence บันได 6 ขั้น สู่ความเป็นเลิศ
6 levels to performance excellence บันได 6 ขั้น สู่ความเป็นเลิศ6 levels to performance excellence บันได 6 ขั้น สู่ความเป็นเลิศ
6 levels to performance excellence บันได 6 ขั้น สู่ความเป็นเลิศ
 
Overview NQA
Overview NQAOverview NQA
Overview NQA
 
Erc Seminar Pmqa
Erc Seminar PmqaErc Seminar Pmqa
Erc Seminar Pmqa
 
Changes in 2015 2016 criteria การปรับเปลี่ยนเกณฑ์ 2015-2016
Changes in 2015 2016 criteria การปรับเปลี่ยนเกณฑ์ 2015-2016Changes in 2015 2016 criteria การปรับเปลี่ยนเกณฑ์ 2015-2016
Changes in 2015 2016 criteria การปรับเปลี่ยนเกณฑ์ 2015-2016
 
Operations from role models การปฏิบัติการที่เป็นเลิศ
Operations from role models การปฏิบัติการที่เป็นเลิศOperations from role models การปฏิบัติการที่เป็นเลิศ
Operations from role models การปฏิบัติการที่เป็นเลิศ
 
Baldrige excellence builder กรอบความเป็นเลิศ 2015-2016
Baldrige excellence builder กรอบความเป็นเลิศ 2015-2016Baldrige excellence builder กรอบความเป็นเลิศ 2015-2016
Baldrige excellence builder กรอบความเป็นเลิศ 2015-2016
 
TQAADLIwooddy2001
TQAADLIwooddy2001TQAADLIwooddy2001
TQAADLIwooddy2001
 
Strategy from role models การเรียนรู้กลยุทธ์จากต้นแบบ
Strategy from role models การเรียนรู้กลยุทธ์จากต้นแบบStrategy from role models การเรียนรู้กลยุทธ์จากต้นแบบ
Strategy from role models การเรียนรู้กลยุทธ์จากต้นแบบ
 
Tint strategic-publish
Tint strategic-publishTint strategic-publish
Tint strategic-publish
 
2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ
2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ
2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ
 
Baldrige award winners 2019
Baldrige award winners 2019Baldrige award winners 2019
Baldrige award winners 2019
 
Progress level criteria for performance excellence เกณฑ์สู่ความเป็นเลิศขั้นก้...
Progress level criteria for performance excellence เกณฑ์สู่ความเป็นเลิศขั้นก้...Progress level criteria for performance excellence เกณฑ์สู่ความเป็นเลิศขั้นก้...
Progress level criteria for performance excellence เกณฑ์สู่ความเป็นเลิศขั้นก้...
 
Leadership practices of ipm การนำองค์กรของ IPM
Leadership practices of ipm การนำองค์กรของ IPM Leadership practices of ipm การนำองค์กรของ IPM
Leadership practices of ipm การนำองค์กรของ IPM
 
Hr Mis Nu MBA Logistics
Hr  Mis Nu  MBA  LogisticsHr  Mis Nu  MBA  Logistics
Hr Mis Nu MBA Logistics
 
บริหารเวลา
บริหารเวลาบริหารเวลา
บริหารเวลา
 

Similar to ภาพรวมของการพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (New)

Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007wutichai
 
Introduction to performance excellence ก้าวสู่ความเป็นเลิศ
Introduction to performance excellence ก้าวสู่ความเป็นเลิศIntroduction to performance excellence ก้าวสู่ความเป็นเลิศ
Introduction to performance excellence ก้าวสู่ความเป็นเลิศmaruay songtanin
 
Food supply chain and Transportation
Food supply chain and TransportationFood supply chain and Transportation
Food supply chain and TransportationPunyapon Tepprasit
 
Dr Danai Thieanphut -BioData
Dr Danai Thieanphut -BioDataDr Danai Thieanphut -BioData
Dr Danai Thieanphut -BioDataDrDanai Thienphut
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practicevorravan
 
TQA & PMQA กับการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
TQA & PMQA กับการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพTQA & PMQA กับการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
TQA & PMQA กับการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพssuserbaf627
 
2015 lesson 1 history and current concept of management
2015 lesson 1 history and current concept of management2015 lesson 1 history and current concept of management
2015 lesson 1 history and current concept of managementWatcharin Chongkonsatit
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3arsad20
 
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558L.P.N. Development PCL.
 
โครงการหนึ่งช่วยเก้า2
โครงการหนึ่งช่วยเก้า2โครงการหนึ่งช่วยเก้า2
โครงการหนึ่งช่วยเก้า2kruliew
 
โครงการหนึ่งช่วยเก้า
โครงการหนึ่งช่วยเก้าโครงการหนึ่งช่วยเก้า
โครงการหนึ่งช่วยเก้าkruliew
 
การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย
การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทยการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย
การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทยPunyapon Tepprasit
 

Similar to ภาพรวมของการพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (New) (20)

Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
 
Introduction to performance excellence ก้าวสู่ความเป็นเลิศ
Introduction to performance excellence ก้าวสู่ความเป็นเลิศIntroduction to performance excellence ก้าวสู่ความเป็นเลิศ
Introduction to performance excellence ก้าวสู่ความเป็นเลิศ
 
Food supply chain and Transportation
Food supply chain and TransportationFood supply chain and Transportation
Food supply chain and Transportation
 
Planning with PDCA
Planning with PDCAPlanning with PDCA
Planning with PDCA
 
QA forstudent 300511
QA forstudent 300511QA forstudent 300511
QA forstudent 300511
 
Focus 7-55
Focus 7-55Focus 7-55
Focus 7-55
 
Dr Danai Thieanphut -BioData
Dr Danai Thieanphut -BioDataDr Danai Thieanphut -BioData
Dr Danai Thieanphut -BioData
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55
แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55
แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55
 
TQA & PMQA กับการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
TQA & PMQA กับการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพTQA & PMQA กับการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
TQA & PMQA กับการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
 
2015 lesson 1 history and current concept of management
2015 lesson 1 history and current concept of management2015 lesson 1 history and current concept of management
2015 lesson 1 history and current concept of management
 
L1
L1L1
L1
 
Chapter1 kc
Chapter1 kcChapter1 kc
Chapter1 kc
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3
 
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนปี 2558
 
Plans
PlansPlans
Plans
 
โครงการหนึ่งช่วยเก้า2
โครงการหนึ่งช่วยเก้า2โครงการหนึ่งช่วยเก้า2
โครงการหนึ่งช่วยเก้า2
 
โครงการหนึ่งช่วยเก้า
โครงการหนึ่งช่วยเก้าโครงการหนึ่งช่วยเก้า
โครงการหนึ่งช่วยเก้า
 
การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย
การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทยการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย
การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย
 
Hr Mis Nu
Hr  Mis NuHr  Mis Nu
Hr Mis Nu
 

More from M.L. Kamalasana

คำว่า หน้าที่
คำว่า หน้าที่คำว่า หน้าที่
คำว่า หน้าที่M.L. Kamalasana
 
คุณสมบัตินายทหารเรือไทย
คุณสมบัตินายทหารเรือไทยคุณสมบัตินายทหารเรือไทย
คุณสมบัตินายทหารเรือไทยM.L. Kamalasana
 
การสงครามของไทยยุคปัจจุบัน
การสงครามของไทยยุคปัจจุบันการสงครามของไทยยุคปัจจุบัน
การสงครามของไทยยุคปัจจุบันM.L. Kamalasana
 
บรรยายยานบินเบาะอากาศ
บรรยายยานบินเบาะอากาศบรรยายยานบินเบาะอากาศ
บรรยายยานบินเบาะอากาศM.L. Kamalasana
 
Camara for uav jan2012 eas 021
Camara for uav jan2012 eas 021Camara for uav jan2012 eas 021
Camara for uav jan2012 eas 021M.L. Kamalasana
 
ชลัมพ์ Theory ยานเบาะอากาศ
ชลัมพ์ Theory ยานเบาะอากาศชลัมพ์ Theory ยานเบาะอากาศ
ชลัมพ์ Theory ยานเบาะอากาศM.L. Kamalasana
 
คู่มือการใช้งาน Narai uav ฉบับแก้ไข pdf.
คู่มือการใช้งาน  Narai uav ฉบับแก้ไข pdf.คู่มือการใช้งาน  Narai uav ฉบับแก้ไข pdf.
คู่มือการใช้งาน Narai uav ฉบับแก้ไข pdf.M.L. Kamalasana
 
แถลง Uav กลุ่ม 3 ทอ.
แถลง Uav กลุ่ม 3 ทอ.แถลง Uav กลุ่ม 3 ทอ.
แถลง Uav กลุ่ม 3 ทอ.M.L. Kamalasana
 
ยกภูเขาไปอ่าว
ยกภูเขาไปอ่าวยกภูเขาไปอ่าว
ยกภูเขาไปอ่าวM.L. Kamalasana
 

More from M.L. Kamalasana (15)

Balancescorecard
BalancescorecardBalancescorecard
Balancescorecard
 
คำว่า หน้าที่
คำว่า หน้าที่คำว่า หน้าที่
คำว่า หน้าที่
 
Technic
TechnicTechnic
Technic
 
Defense 120217
Defense  120217Defense  120217
Defense 120217
 
คุณสมบัตินายทหารเรือไทย
คุณสมบัตินายทหารเรือไทยคุณสมบัตินายทหารเรือไทย
คุณสมบัตินายทหารเรือไทย
 
การสงครามของไทยยุคปัจจุบัน
การสงครามของไทยยุคปัจจุบันการสงครามของไทยยุคปัจจุบัน
การสงครามของไทยยุคปัจจุบัน
 
World war 2
World war 2World war 2
World war 2
 
บรรยายยานบินเบาะอากาศ
บรรยายยานบินเบาะอากาศบรรยายยานบินเบาะอากาศ
บรรยายยานบินเบาะอากาศ
 
Camara for uav jan2012 eas 021
Camara for uav jan2012 eas 021Camara for uav jan2012 eas 021
Camara for uav jan2012 eas 021
 
ชลัมพ์ Theory ยานเบาะอากาศ
ชลัมพ์ Theory ยานเบาะอากาศชลัมพ์ Theory ยานเบาะอากาศ
ชลัมพ์ Theory ยานเบาะอากาศ
 
คู่มือการใช้งาน Narai uav ฉบับแก้ไข pdf.
คู่มือการใช้งาน  Narai uav ฉบับแก้ไข pdf.คู่มือการใช้งาน  Narai uav ฉบับแก้ไข pdf.
คู่มือการใช้งาน Narai uav ฉบับแก้ไข pdf.
 
แถลง Uav กลุ่ม 3 ทอ.
แถลง Uav กลุ่ม 3 ทอ.แถลง Uav กลุ่ม 3 ทอ.
แถลง Uav กลุ่ม 3 ทอ.
 
Cg vs n
Cg vs nCg vs n
Cg vs n
 
Mega trend
Mega trendMega trend
Mega trend
 
ยกภูเขาไปอ่าว
ยกภูเขาไปอ่าวยกภูเขาไปอ่าว
ยกภูเขาไปอ่าว
 

ภาพรวมของการพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (New)

  • 2. รางวัลด้านคคุุณภภาาพของนนาานนาาปรระะเเททศ 2 1951 1984 1987 1988 1991 1994 1995 1999 2001 Japan Canada USA Australia EU Singapore Japan USA Thailand Deming Prize Canada Award Malcolm Baldrige National Quality Award Australian Business Excellence Awards European Foundation Quality Management Singapore Quality Award Japan Quality Award MBNQA : Education and Healthcare Thailand Quality Award QQuuaalliittyy PPeerrffoorrmmaannccee // OOrrggaanniizzaattiioonnaall EExxcceelllleennccee
  • 3. กกาารพพัฒัฒนนาาคคุุณภภาาพกกาารบรริิหหาารจจัดัดกกาารภภาาครรััฐ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ เป็นการนำา กรอบการดำาเนินการตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และ วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 รวมทั้งหลักเกณฑ์ และแนวคิดของรางวัลคุณภาพแห่งชาติของประเทศสหรัฐอเมริกา The Malcolm Baldrige National Quality Award (MBNQA) และ Thailand Quality Award (TQA) มาศึกษา วิเคราะห์ และเปรียบเทียบ เพื่อพัฒนาเป็นเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ และนำาเกณฑ์ดังกล่าวไปส่งเสริมให้ส่วนราชการใช้ในการ ยกระดับและพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงาน ซึ่งเป็นการดำาเนินงาน ที่สอดรับกับกลยุทธ์หลักในการสร้างความเป็นเลิศในระบบ ราชการ ตามประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 ด้านการพัฒนาระบบ ราชการของแผน การบริหารราชการแผ่นดิน 3
  • 4. ววััตถถุปุปรระะสงคค์์ กกาารพพััฒนนาาคคุุณภภาาพกกาารบรริหิหาารจจัดัดกกาารภภาาครรััฐ • เพื่อยกระดับคุณภาพการปฏิบัติงานของภาครัฐให้สอดคล้อง กับพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 • เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐนำาไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการของหน่วยงานสู่ระดับมาตรฐาน สากล • เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการประเมินตนเอง และเป็น บรรทัด-ฐานการติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการของ หน่วยงานภาครัฐ 4
  • 5. เชื่อความเชอื่มโยงของกกาารพพัฒัฒนนาารระะบบรราาชกกาาร ตตัวัวผลลักักดดันันใใหห้้เเกกิดิดผลลลัพัพธธ์์ การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ การให้ความ สำาคัญกับผู้รับ บริการและผู้ มีส่วนได้ส่วน 5 กกับับเเกกณฑฑ์์ คคุุณภภาาพกกาารบรริิหหาารจจัดัดกกาารภภาาครรัฐัฐ ผลลลัพัพธธ์์ ปรระะสสิิทธธิิผล คคุณุณภภาาพ ปรระะสสิทิทธธิภิภาาพ พพัฒัฒนนาาองคค์ก์กร การมุ่งเน้น ทรัพยากร บุคคล การจัดการ กระบวนการ การนำา องค์กร เสีย กกาารววััด กกาารววิเิเคครราาะะหห์ ์ แแลละะกกาารจจัดัดกกาารคววาามรรูู้้ พรฎ.. 1. เกิดประโยชน์สุข ของประชาชน 2. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อ ภารกิจของรัฐ 3. ประสิทธิภาพและ คุ้มค่า 4. ลดขั้นตอนการ ปฏิบัติงาน 5. ปรับปรุงภารกิจ ของส่วนราชการ 6. อำานวยความ สะดวกให้กับ ประชาชน 7. ประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ
  • 6. ตตัวัวผลลักักดดันันใใหห้เ้เกกิดิดผลลลัพัพธธ์์ การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ การให้ ความ สำาคัญกับ ผู้รับ บริการ และผู้มีส่วน ได้ส่วนเสีย 6 การประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment) การนำา องค์กร พรฎ.. บูรณาการเครื่องมือและโครงการ ต่าง ๆ ในการพัฒนาระบบราชการ (Management Tools and Projects) 1 ส่วนราชการทราบจุดแข็งและ โอกาสในการปรับปรุง 2 ผลลลัพัพธธ์์ สรร้า้างแแผผนปรรับับปรรุุง การมุ่งเน้น ทรัพยากร บุคคล 3 ดำาเนินการปรับปรุง 4 ปรระะโโยยชนน์์ตต่อ่อสส่่วนรราาชกกาารใในนกกาารนนำาำาไไปป ใใชช้้ ปรระะสสิทิทธธิผิผล คคุณุณภภาาพ ปรระะสสิทิทธธิภิภาาพ พพัฒัฒนนาาองคค์ก์กร การจัดการ กระบวนการ กกาารววัดัด กกาารววิเิเคครราาะะหห์ ์ แแลละะกกาารจจัดัดกกาารคววาามรรูู้้ 1. เกิดประโยชน์สุข ของประชาชน 2. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อ ภารกิจของรัฐ 3. ประสิทธิภาพและ คุ้มค่า 4. ลดขั้นตอนการ ปฏิบัติงาน 5. ปรับปรุงภารกิจ ของส่วนราชการ 6. อำานวยความ สะดวกให้กับ ประชาชน 7. ประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ
  • 7. และ/หรือได้รับการ ประกาศเกียรติคุณ การนำา องค์กร ตตัวัวผลลักักดดันันใใหห้เ้เกกิดิดผลลลัพัพธธ์์ การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ การให้ความ สำาคัญกับผู้รับ บริการและผู้มี ส่วนได้ส่วน เสีย กกาารววัดัด กกาารววิเิเคครราาะะหห์ ์ แแลละะกกาารจจัดัดกกาารคววาามรรูู้้ 7 การพัฒนา คุณภาพการ บริหารจัดการ การพัฒนา คุณภาพการ บริหารจัดการ ภาครัฐ ภาครัฐ สมัครเข้ารับ รางวัล PMQA Yes No ได้รับรางวัล ได้รับรายงานป้อน กลับ การแบ่งปันวิธีการ ปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice Sharing) การประเมินองค์กรด้วยตนเอง 1 (Self-Assessment) พรฎ.. 1. เกิดประโยชน์สุข ของประชาชน 2. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อ ภารกิจของรัฐ 3. ประสิทธิภาพและคุ้ม ค่า 4. ลดขั้นตอนการ ปฏิบัติงาน 5. ปรับปรุงภารกิจของ ส่วนราชการ 6. อำานวยความสะดวก ให้กับประชาชน 7. ประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ บูรณาการเครื่องมือและโครงการ ต่าง ๆ ในการพัฒนาระบบ ราชการ (Management Tools and Projects) ส่วนราชการทราบจุดแข็งและ 2 โอกาสในการปรับปรุง ผลลลัพัพธธ์์ ปรระะสสิทิทธธิผิผล คคุณุณภภาาพ ปรระะสสิทิทธธิภิภาาพ พพัฒัฒนนาาองคค์ก์กร การมุ่งเน้น ทรัพยากร บุคคล การจัดการ กระบวนการ ดดำาำาเเนนินินกกาารปรรัับปรรุุง 3 สรร้้าางแแผผนปรรับับปรรุุง 4
  • 8. ขขั้นั้นตอนกกาารดดำาำาเเนนินินกกาารตตาามแแนนวททาาง กกาารพพััฒนนาาคคุณุณภภาาพกกาารบรริหิหาาร จจัดัดกกาารภภาาครรััฐ 8 น ระดับ 1 จัดประชุม ให้ความรู้ ระดับ 1 จัดประชุม ให้ความรู้ ระดับ 2 จัดตั้ง คณะทำางาน และแผน การดำาเนินการ ระดับ 2 จัดตั้ง คณะทำางาน และแผน การดำาเนินการ ระดับ 3 จัดอบรม ผู้ตรวจ ประเมิน ภายใน ระดับ 3 จัดอบรม ผู้ตรวจ ประเมิน ภายใน ระดับ 4 จัดทำา “ลักษณะ สำาคัญ ขององค์กร” ระดับ 4 จัดทำา “ลักษณะ สำาคัญ ขององค์กร” ระดับ 5 ระดับ 5 จัดทำารายงาน จัดทำารายงาน ผลการ ดำาเนินการ เบื้องต้น ผลการ ดำาเนินการ เบื้องต้น ปรับปรุง รายงาน ผลการ ดำาเนินการ ปรับปรุง รายงาน ผลการ ดำาเนินการ ดำาเนินการ ปรับปรุงแก้ไข ตามแผน การปรับปรุง ดำาเนินการ ปรับปรุงแก้ไข ตามแผน การปรับปรุง จัดทำาแผน ปรับปรุงแก้ไข ตามลำาดับ ความสำาคัญ จัดทำาแผน ปรับปรุงแก้ไข ตามลำาดับ ความสำาคัญ วิเคราะห์ โอกาสในการ ปรับปรุง และจัดลำาดับ วิเคราะห์ โอกาสในการ ปรับปรุง และจัดลำาดับ ดำาเนินการ ประเมิน องค์กร ดำาเนินการ ประเมิน องค์กร ปปีี 22554499 ปปีี 22555500 ประเมินและปรับปรุง กระบวนการประเมินองค์กร ด้วยตนเอง
  • 10. เเกกณฑฑ์์คคุุณภภาาพกกาารบรริหิหาารจจััดกกาารภภาาครรััฐ ลักษณะสำาคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย ความสำาคัญกับ ผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 10 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 6. การจัดการ กระบวนการ 3. การให้ 4. การวัด การวิเคราะหห์ ์ แแลละะกกาารจจััดกกาารคววาามรรูู้้ 1. การนำา องค์กร 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 7. ผลลัพธ์ การดำาเนินการ
  • 11. ลักษณณะะสสำาำาคคััญของเเกกณฑฑ์ค์คุุณภภาาพ กกาารบรริหิหาารจจัดัดกกาารภภาาครรััฐ 11 • เกณฑ์มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ ครอบคลุมทั้งกระบวนการและผลลัพธ์ • เกณฑ์สามารถปรับใช้ได้ตามภารกิจของหน่วยงาน เพื่อเสริมสร้างให้ส่วนราชการทำาการปรับปรุง ทั้งอย่าง ค่อยเป็นค่อยไปและอย่างก้าวกระโดด • เกณฑ์มีความเชื่อมโยงและสอดคล้องกันภายในเกณฑ์เพื่อให้ เกิดการบูรณาการ เชื่อมโยงและใช้ตัวชี้วัดที่มาจากยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ และกระบวนการ ซึ่งจะเชื่อมโยงกับผลลัพธ์การดำาเนินการ โดยรวม และระหว่างหัวข้อต่าง ๆ ในเกณฑ์
  • 12. ความเชื่อมโยงของการพัฒนาคุณภภาาพกกาารบรริหิหาารจจัดัดกกาารภภาาค คำารับรองการปฏิบัติ ราชการ ลักษณะสำาคัญขององค์กร สภาพ แวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 3. การให้ความสำาคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 12 รรััฐ กกับับสสิ่งิ่งทที่สี่ส่ว่วนรราาชกกาารดดำาำาเเนนินินกกาารอยยูู่่ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 6. การจัดการ กระบวนการ 44.. กกาารววัดัด กกาารววิเิเคครราาะะหห์ ์ แแลละะกกาารจจัดัดกกาารคววาามรรูู้้ 1. การนำา องค์กร 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 7. ผลลัพธ์ การดำาเนินการ Knowledge Management e-government MIS การปรับ กระบวนทัศน์ (I am Ready) แผนแม่บทด้าน ทรัพยากรบุคคล 3-5 ปี (Competency) การลดขั้นตอน และระยะเวลา การปฏิบัติงาน แผนปฏิบัติ ราชการ 4 ปี (แผนบริหาร ราชการ แผ่นดิน) Vision Mission Strategic เป้าประสงค์ ระบบควบคุม ภายใน Blueprint for Change Redesign Process Capacity Building ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล คุณภาพ พัฒนา องค์กร
  • 13. เเกกณฑฑ์์คคุุณภภาาพกกาารบรริหิหาารจจััดกกาารภภาาครรััฐ ลักษณะสำาคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย ความสำาคัญกับ ผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 13 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 6. การจัดการ กระบวนการ 3. การให้ 4. การวัด การวิเคราะหห์ ์ แแลละะกกาารจจััดกกาารคววาามรรูู้้ 1. การนำา องค์กร 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 7. ผลลัพธ์ การดำาเนินการ
  • 14. ลลัักษณณะะสสำาำาคคัญัญขององคค์ก์กร 22 ขข้้อ 1. การนำาองค์กร 1.1 การนำาองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม 14 ก. การกำาหนด ทิศทางของ ส่วนราชการ (1) (2) 77 หมวด 1177 หหัวัวขข้้อ 30 ประเด็น ที่ควร พิจารณา ค. การทบทวน ผลการดำาเนินการ ขององค์กร 9900 คคำาำาถถาาม องคค์์ปรระะกอบของเเกกณฑฑ์์ ข. การกำากับ ดูแลตนเองที่ดี
  • 15. ปรระะเเภภทคคำาำาถถาาม :: ออะะไไรร // อยย่า่างไไรร คคำาำาถถาาม เเปปรรียียบเเสสมมืือนขข้อ้อชชี้แี้แนนะะใใหห้พ้พิิจจาารณณาาใในนกกาารปฎฎิิบบัตัติงิงาาน 15 อะไร (WHAT)  ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับกระบวนการหลักและวิธีปฏิบัติงาน ของกระบวนการนั้น  ผล แผนงาน เป้าประสงค์ วัตถุประสงค์ หรือตัวชี้วัดที่สำาคัญ อย่างไร (HOW)  ให้ข้อมูลของกระบวนการที่สำาคัญ เช่น วิธีการ ตัวชี้วัด การนำา ไปปฏิบัติ และปัจจัยด้านการประเมินผล การปรับปรุงและการ เรียนรู้
  • 16. ตตัวัวอยย่า่างคคำาำาถถาาม ““ออะะไไรร”” - พันธกิจหรือหน้าที่ตามกฎหมายของส่วนราชการ คืออะไรบ้าง - กระบวนการ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด และเป้าหมาย ของส่วนราชการในการจัดการกับผลกระทบ ในทางลบที่เกิดขึ้นคืออะไร - ตัวชี้วัดสำาคัญที่ผู้บริหารของส่วนราชการทบทวน เป็นประจำามีอะไรบ้าง 16
  • 17. ตตัวัวอยย่า่างคคำาำาถถาาม ““อยย่า่างไไรร”” (1)-ผู้บริหารของส่วนราชการ ดำาเนินการอย่างไรในการกำาหนด ในเรื่องวิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ระยะสั้นและระยะยาว ค่านิยม และผลการดำาเนินการ ที่คาดหวังไว้ รวมทั้ง การถ่ายทอด ให้บุคลากรในส่วนราชการนำาไป ปฏิบัติในการกำาหนด ผลการดำาเนินการดังกล่าว ผู้บริหารของส่วนราชการได้คำานึงถึงความต้องการหรือผล ประโยชน์ของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยยึดหลัก ความโปร่งใสและความชัดเจนอย่างไร -ผู้บริหารของส่วนราชการดำาเนินการอย่างไรในการสื่อสาร ในเรื่องดังกล่าวแบบ 2 ทิศทาง อย่างชัดเจนและเป็น รูปธรรมไปสู่บุคลากรทุกคน รวมทั้งผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ที่สำาคัญ โดยผ่านระบบการนำาองค์กร 17
  • 18. ตัวอักษรที่เป็นตัวเข้มและเอียง เช่น “ผู้บริหารของส่วนราชการ ” จะมี คำาอธิบายเพิ่มเติมที่ “หมายเหตุ” ซึ่งปรากฏอยู่ที่ท้ายของเกณฑ์แต่ละ 18 หัวข้อ โดยมีจุดประสงค์ 3 ประการ ดังนี้ (1) อธิบายข้อกำาหนดของแต่ละหัวข้อให้ชัดเจน ซึ่งใช้เฉพาะการดำาเนิน การตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (2) แนะนำาวิธีการตอบในแต่ละหัวข้อของเกณฑ์ (3) ชี้ให้เห็นความเชื่อมโยงที่สำาคัญกับหัวข้ออื่น เครื่องหมายดอกจัน “(*)” ที่ปรากฏอยู่ที่ท้ายของคำาถาม หมายถึง ให้ส่วนราชการตอบตามความเหมาะสมตามภารกิจของส่วนราชการนั้น
  • 19. เเกกณฑฑ์์คคุุณภภาาพกกาารบรริหิหาารจจััดกกาารภภาาครรััฐ ลักษณะสำาคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย ความสำาคัญกับ ผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 19 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 6. การจัดการ กระบวนการ 3. การให้ 4. การวัด การวิเคราะหห์ ์ แแลละะกกาารจจััดกกาารคววาามรรูู้้ 1. การนำา องค์กร 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 7. ผลลัพธ์ การดำาเนินการ
  • 20. ลลักักษณณะะสสำาำาคคััญขององคค์์กร • ทำาให้เข้าใจถึงส่วนราชการและสิ่งที่ส่วนราชการนั้นเห็นว่า มีความสำาคัญ • ช่วยในการระบุข้อมูลสำาคัญที่อาจขาดหายไป และทำาให้เกิด การมุ่งเน้นที่ผลสำาเร็จของกระบวนการ และผลลัพธ์การ 20 ดำาเนินการ • เป็นจุดเริ่มต้นที่เหมาะสมในการตรวจประเมินองค์กรด้วยตนเอง หากพบว่า เรื่องใดมีข้อมูลไม่เพียงพอหรือข้อมูลขัดแย้งกัน ส่วนราชการสามารถนำาเรื่องนั้นไปจัดทำาแผนปฏิบัติการ เพื่อแก้ไขปรับปรุง โดยยังไม่ต้องประเมินตนเองต่อไป
  • 21. ลลัักษณณะะสสำาำาคคัญัญขององคค์์กร 11.. ลลักักษณณะะองคค์์กร 22.. คววาามทท้้าาททาายตต่อ่อองคค์ก์กร 21 ก. สภาพการ แข่งขัน ข. ความท้าทาย เชิงยุทธศาสตร์ ค. ระบบ การปรับปรุง ผลการ ดำาเนินการ ก. ลักษณะพื้นฐาน ของส่วนราชการ ข. ความสัมพันธ์ ภายในและ ภายนอกองค์กร
  • 23. เเกกณฑฑ์์คคุุณภภาาพกกาารบรริหิหาารจจััดกกาารภภาาครรััฐ ลักษณะสำาคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ ความสำาคัญกับ ผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 23 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 6. การจัดการ กระบวนการ 3. การให้ 1. การนำา องค์กร 4. การวัด การวิเคราะหห์ ์ แแลละะกกาารจจัดัดกกาารคววาามรรูู้้ 7. ผลลัพธ์ การดำาเนินการ
  • 24. มมิติติิกรระะบวนกกาาร ““กรระะบวนกกาาร’’’’ หมายถึง วิธีที่องค์กรใช้และ ปรับปรุง เพื่อตอบสนองข้อกำาหนดต่างๆ ของหัวข้อ ในหมวด 1-6 ปัจจัยทั้ง 4 ที่ใช้ประเมินกระบวนการ 24 ได้แก่  แนวทาง (Approach - A)  การถ่ายทอดเพื่อนำาไปปฏิบัติ (Deployment - D)  การเรียนรู้ (การทบทวนและปรับปรุง) (Learning - L)  การบูรณาการ (Integration - I)
  • 25. แนวทาง (Approach) 25 ““แนวทาง ”” หมายถึง  วิธีการที่ใช้เพื่อให้กระบวนการบรรลุผล  ความเหมาะสมของวิธีการที่ตอบสนองข้อกำาหนดของหัวข้อ ต่างๆ  ความมีประสิทธิผลของการใช้วิธีการต่างๆ ของส่วนราชการ  ระดับของการที่แนวทางนั้นนำาไปใช้ซ้ำ้าได้ และอยู่บนพื้น ฐานของข้อมูลและสารสนเทศที่เชื่อถือได้ (ซึ้่งหมายถึง การดำาเนินการอย่างเป็นระบบ) แนวทางที่เป็นระบบ คือ แนวทางนั้นใช้ซ้ำ้าได้ และใช้ข้อมูล และสารสนเทศเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ หรืออาจกล่าวได้ว่า แนวทาง มีความเป็นระบบ เมื่อแนวทางนั้น มีการ ประเมิน การปรับปรุง นวัตกรรม และการแลกเปลี่ยน ซึ้่งจะส่งผล ให้แนวทางนั้นมีระดับการพัฒนามากขึ้น
  • 26. การนำาไปปฏิบัติ (Deployment) ““การนำาไปปฏิบัติิิ” ิหมายถึง ความครอบคลุมและทั่วถึง ของ  การใช้แนวทางเพื่อตอบสนองข้อกำาหนดต่างๆ ของหัวข้อ ที่มีความเกี่ยวข้องและสำาคัญต่อส่วนราชการ  การใช้แนวทางอย่างคงเส้นคงวา (Consistent)  การใช้แนวทางในทุกหน่วยงานที่ควรใช้ 26
  • 27. การเรียนรู้ (การทบทวนและปรับปรุง) (Learning) ““การเรียนรู้”” (การทบทวนและปรับปรุง) หมายถึง  การปรับปรุงแนวทางให้ดีขึ้น โดยใช้วงจรการประเมิน 27 และการปรับปรุง  การกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างก้าวกระโดด ของแนวทาง โดยใช้นวัตกรรม  การแบ่งปันความรู้จากการปรับปรุงที่ดีขึ้นและนวัตกรรม กับหน่วยงานและกระบวนการอื่นที่เกี่ยวข้องภายใน ส่วนราชการ
  • 28. การบูรณาการ (Integration) ““การบูรณาการ ”” หมายถึง ความครอบคลุมและทั่วถึง 28 ของ  การใช้แนวทางที่สอดคล้องไปในแนวทางเดียวกันกับ ความต้องการของส่วนราชการตามที่ระบุไว้ในข้อกำาหนด ของหัวข้อต่างๆ ในเกณฑ์  การใช้ตัวชี้วัด สารสนเทศ และระบบการปรับปรุงที่ช่วย เสริมกระบวนการและหน่วยงานทั่วทั้งส่วนราชการ  แผนงาน กระบวนการ ผลลัพธ์ การวิเคราะห์ การเรียนรู้ และการปฏิบัติการ มีความสอดคล้องกลมกลืนกันทุก กระบวนการและหน่วยงาน เพื่อสนับสนุนเป้าประสงค์ระดับ องค์กร
  • 29. เเกกณฑฑ์์คคุุณภภาาพกกาารบรริหิหาารจจััดกกาารภภาาครรััฐ ลักษณะสำาคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย ความสำาคัญกับ ผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 29 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 6. การจัดการ กระบวนการ 3. การให้ 4. การวัด การวิเคราะหห์ ์ แแลละะกกาารจจััดกกาารคววาามรรูู้้ 1. การนำา องค์กร 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 7. ผลลัพธ์ การดำาเนินการ
  • 30. หมวด 11 กกาารนนำาำาองคค์ก์กร 30 ก. การกำาหนด ทิศทาง ของส่วน ราชการ 11..11 กกาารนนำาำาองคค์์กร 11..22 คววาามรรับับผผิดิดชอบตต่อ่อสสัังคม ค. การ ทบทวน ผล การดำาเนิน- การของ ส่วน ราชการ ข. การกำากับ ดูแล ตนเองที่ดี ก. ความ รับผิดชอบ ต่อสังคม ข. การดำาเนิน- การอย่างมี จริยธรรม ค. การให้ การ สนับสนุนต่อ ชุมชน ที่สำาคัญ • การกำาหนดวิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ ค่านิยม และผลการดำาเนิน การ และสื่อสาร และ ถ่ายทอด ไปสู่การปฏิบัติ • การสร้างบรรยากาศ ให้เกิดการกระจายอำา นาจการตัดสินใจ นวัตกรรม ความ คล่องตัว การเรียนรู้ ถูกต้องตามกฎหมาย และจริยธรรม • ความรับผิดชอบ ด้านการดำาเนิน การ ด้านการเงิน และการ ปกป้องผล ประโยชน์ ของประเทศ • การทบทวน ผลการดำาเนินการ และใช้มาประเมิน ความสำาเร็จ และตอบสนอง ความต้องการ ที่เปลี่ยนแปลง ไป • ตัวชี้วัดที่ทบทวน และผลการทบทวน ที่ผานมา • การดำาเนินการ ในกรณีที่การ ปฏิบัติงาน มีผลกระ ทบ ต่อ สังคม • กระบวนการ ตัว ชี้วัด และ เป้าประสงค์ใน การจัดการความ เสี่ยง • การคาดการณ์ ล่วงหน้า และเตรียม การ เขิงรุก • การกำาหนดวิธี ปฏิบัติในการ ดำาเนินการอย่างมี จริยธรรม • การสนับสนุน และสร้าง ความเข้ม แข็งให้แก่ชุมชน ที่ สำาคัญ และการที่ผู้ บริหารและ บุคลากร มีส่วนร่วม ในการ พัฒนาชุมชน
  • 31. เเกกณฑฑ์์คคุุณภภาาพกกาารบรริหิหาารจจััดกกาารภภาาครรััฐ ลักษณะสำาคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย ความสำาคัญกับ ผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 31 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 6. การจัดการ กระบวนการ 3. การให้ 4. การวัด การวิเคราะหห์ ์ แแลละะกกาารจจััดกกาารคววาามรรูู้้ 1. การนำา องค์กร 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 7. ผลลัพธ์ การดำาเนินการ
  • 32. หมวด 2 การววาางแแผผนเเชชิงิงยยุุทธศศาาสตรร์์ 32 22..11 กกาารจจัดัดททำาำายยุทุทธศศาาสตรร์์ ก. กระบวนการ จัดทำา ยุทธศาสตร์ 2.2 การถ่ายทอดกลยุทธ์หลัก เพื่อนำาไปปฏิบัติ ข. เป้าประสงค์ เชิง ยุทธศาสตร์ ก. การถ่ายทอด แผนปฏิบัติการ ไปสู่การ ปฏิบัติ ข. การคาดการณ์ ผลการดำาเนิน • กระบวนการวางแผน การ ยุทธศาสตร์ • การรวบรวม และวิเคราะห์ ข้อมูล และสารสนเทศ ที่ เกี่ยวข้อง • ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์เชิงยุทธ- ศาสตร์ กลยุทธ์หลัก ตารางเวลาในการ บรรลุ และลำาดับความ สำาคัญ • การให้ความสำาคัญกับ ความท้าทายต่อ องค์กร และความ สมดุลระหว่างความ ต้องการของผู้มีส่วน ได้ส่วนเสีย • การถ่ายทอดแผนปฏิบัติ การ ไปสู่การปฎิบัติ การ จัดสรรทรัพยากร และ ทำาให้ผล ที่เกิด ขึ้นยั่งยืน • แผนปฏิบัติการที่สำาคัญ และการดำาเนินการเพื่อ ตอบสนองการเปลี่ยนแปลง • แผนหลักด้านทรัพยากร บุคคล • ตัวชี้วัดผลการดำาเนินงาน และการทำาให้ระบบการ วัดผลเสริมให้ส่วนราชการ มุ่งไปในแนวทางเดียวกัน • การคาดการณ์ผลการ- ดำาเนินการ และ เปรียบเทียบกับเป้าประสงค์ เชิงยุทธ-ศาสตร์ ผลการ ดำาเนินการ ที่ผ่านมา ผลการดำาเนินการที่คาดไว้ ของคู่แข่ง และ ระดับเทียบเคียง
  • 33. เเกกณฑฑ์์คคุุณภภาาพกกาารบรริหิหาารจจััดกกาารภภาาครรััฐ ลักษณะสำาคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย ความสำาคัญกับ ผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 33 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 6. การจัดการ กระบวนการ 3. การให้ 4. การวัด การวิเคราะหห์ ์ แแลละะกกาารจจััดกกาารคววาามรรูู้้ 1. การนำา องค์กร 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 7. ผลลัพธ์ การดำาเนินการ
  • 34. หมวด 3 การให้ความสำาคัญกับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 34 3.1 ความรู้เกี่ยวกับ ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วน เสีย ก. ความรู้เกี่ยวกับผู้รับ บริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.2 ความสัมพันธ์ และความพึงพอใจของผู้รับ บริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก. การสร้างความสัมพันธ์ กับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วน เสีย ข. การวัดความพึงพอใจ ของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย • การกำาหนดหรือจำาแนกกลุ่มผู้ รับบริการฯ รวมถึงผู้รับบริการ ในอนาคต • การรับฟังและเรียนรู้ความ ต้องการและความคาดหวัง และนำาข้อมูลมาใช้ในการ วางแผนปฏิบัติงาน การปรับปรุงกระบวนการ และการพัฒนา บริการใหม่ ๆ • การสร้างความสัมพันธ์ กับผู้รับบริการฯ • กลไกการขอข้อมูล ขอรับบริการ หรือร้องเรียน การกำาหนดวิธี ปฏิบัติ และทำาให้มั่นใจว่า บุคลากรปฏิบัติตาม • กระบวนการจัดการข้อร้องเรียน และทำาให้มั่นใจว่าได้รับการ แก้ไข การรวบรวมและวิเคราะห์ เพื่อใช้ปรับปรุงการดำาเนินการ • การทำาให้แนวทางในการสร้าง ความสัมพันธ์และช่องทางติดต่อ เหมาะสมและทันสมัย • การวัดความพึงพอใจ และไม่พึงพอใจของผู้รับ บริการฯ แต่ละกลุ่ม และนำาผลไป ปรับปรุงการดำาเนินการ • การติดตามช้อมูลป้อนกลับ • การหาและใช้ข้อมูลเชิงเปรียบ เทียบด้านความพึงพอใจของผู้รับ บริการฯ • การทำาให้แนวทางการวัด ความพึงพอใจเหมาะสม และทันสมัย
  • 35. เเกกณฑฑ์์คคุุณภภาาพกกาารบรริหิหาารจจััดกกาารภภาาครรััฐ ลักษณะสำาคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย ความสำาคัญกับ ผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 35 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 6. การจัดการ กระบวนการ 3. การให้ 4. การวัด การวิเคราะหห์ ์ แแลละะกกาารจจััดกกาารคววาามรรูู้้ 1. การนำา องค์กร 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 7. ผลลัพธ์ การดำาเนินการ
  • 36. หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความ 36 รู้ 4.1 การวัดและวิเคราะห์ผล การดำาเนินการของส่วน ราชการ 4.2 การจัดการสารสนเทศ และความรู้ ก. ความพร้อม ใช้งานของ ข้อมูลและ สารสนเทศ ก. การวัดผลการ ดำาเนินการ ข. การ วิเคราะห์ผลการ ดำาเนินการ ข. การจัดการ ความรู้ • การเลือกและรวบรวม ข้อมูลและสารสนเทศ ที่สอดคล้อง และเชื่อม โยงกัน • การเลือกข้อมูล และสารสนเทศ เชิงเปรียบ เทียบ มาสนับสนุนการตัดสินใจ และ นวัตกรรม • การทำาให้ระบบการวัดผล เหมาะสมและทันสมัย และไวในการบ่งชี้ • การวิเคราะห์ ที่ให้ผู้ บริหาร นำาผลมาใช้ทบทวน ผลการ ดำาเนินการ และวางแผน เชิง ยุทธศาสตร์ • การสื่อสาร ผลการ วิเคราะห์ เพื่อ สนับสนุน การตัดสินใจ • การทำาให้ข้อมูล และสารสนเทศ พร้อมใช้งาน และ สามารถเข้าถึง • การทำาให้อุปกรณ์ ที่เกี่ยวกับ สารสนเทศเชื่อถือได้ ปลอดภัย และใช้งาน ง่าย • การทำาให้ข้อมูล และสารสนเทศ และอุปกรณ์ เหมาะสมและทันสมัย • การจัดการความรู้ • การทำาให้ข้อมูล และสารสนเทศ และความ รู้ มีความครอบคลุม รวดเร็ว ถูกต้อง ทัน สมัย เชื่อมโยง น่าเชื่อ ถือ สามารถเข้าถึง สามารถตรวจสอบ การ มีส่วนร่วมใน กระบวนการข้อมูล ปลอดภัย และรักษา ความลับ
  • 37. เเกกณฑฑ์์คคุุณภภาาพกกาารบรริหิหาารจจััดกกาารภภาาครรััฐ ลักษณะสำาคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย ความสำาคัญกับ ผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 37 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 6. การจัดการ กระบวนการ 3. การให้ 4. การวัด การวิเคราะหห์ ์ แแลละะกกาารจจััดกกาารคววาามรรูู้้ 1. การนำา องค์กร 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 7. ผลลัพธ์ การดำาเนินการ
  • 38. หมวด 5 การมงุ่เเนน้้นทรรััพยยาากรบบุคุคคล 5.2 การเรียนรู้ ของบุคลากร และการสร้างแรง 38 • การกำาหนด คุณลักษณะ และทักษะ • การสรรหาว่าจ้าง และรักษา บุคลากร • การเตรียม บุคลากรสำาหรับ ตำาแหน่งสำาคัญ และการสร้าง ความก้าวหน้า 55..11 รระะบบบงงาาน ก. การจัด และบริหาร งาน ค. การจ้างงาน และความก้าวหน้า ในหน้าที่การงาน ข. ระบบ การประเมิน ผลการปฏิบัติ งานของ บุคลากร ก. สภาพแวดล้อม ในการทำางาน ข. การให้การ สนับสนุนและสร้าง ความพึง-พอใจแก่ บุคลากร จูงใจ ก.. กกาารพพััฒนนาาบบุุคลลาากร 5.3 การสร้างความผาสุก และความพึงพอใจ ของบุคลากร ข. การสร้างแรงจูงใจ และการพัฒนา ความ ก้าวหน้าในหน้าที่การงาน • การจัด โครงสร้าง องค์กร และระบบ การ ทำางาน เพื่อส่งเสริม ความร่วมมือ ความคิดริเริ่ม การกระจายอำา นาจ การตัดสินใจ นวัตกรรม • การคำานึงถึง วัฒนธรรม และความ คิด ที่หลาก หลาย • การทำาให้ การ สื่อสาร การแลกเปลี่ยน ความรู้ หรือทักษะ • ระบบ การ ประเมินผล และการแจ้ง ผลเพื่อให้เกิด การ พัฒนา และ ปรับปรุงงาน • การยกย่อง ชมเชย การให้ รางวัลและสิ่ง จูงใจ • การส่งเสริมสุขอนามัย ความปลอดภัย การป้องกันภัย การปรับปรุง สภาพแวดล้อม และบุคลากรมี ส่วนร่วม • การทำาให้สถานที่ ทำางานเตรียมพร้อม ต่อภาวะฉุกเฉิน และภัยพิบัติ • การกำาหนดปัจจัย ความผาสุก ความพึง พอใจ และ แรงจูงใจ สำาหรับแต่ละกลุ่ม • การบริการ สวัสดิการ และ นโยบาย • การกำาหนดตัวชี้วัด และวิธีการประเมิน ที่เป็น ทางการ และไม่เป็นทางการ • การนำาผล การประเมิน มา กำาหนดลำาดับความ สำาคัญ ในการปรับปรุง • การหาความต้องการ ในการฝึกอบรม • การส่งเสริมการใช้ ความรู้และทักษะใหม่ • การจูงใจให้พนักงาน พัฒนาตนเองและใช้ ศักยภาพอย่างเต็มที่
  • 39. เเกกณฑฑ์์คคุุณภภาาพกกาารบรริหิหาารจจััดกกาารภภาาครรััฐ ลักษณะสำาคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย ความสำาคัญกับ ผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 39 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 6. การจัดการ กระบวนการ 3. การให้ 4. การวัด การวิเคราะหห์ ์ แแลละะกกาารจจััดกกาารคววาามรรูู้้ 1. การนำา องค์กร 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 7. ผลลัพธ์ การดำาเนินการ
  • 40. หมวด 66 กกาารจจัดัดกกาารกรระะบวนกกาาร 66..11 กรระะบวนกกาารทที่สี่สรร้้าางคคุณุณคค่า่า 66..22 กรระะบวนกกาารสนนัับสนนุนุน 40 ก.. กรระะบวนกกาารทที่สี่สรร้้าางคคุณุณคค่า่า ก.. กรระะบวนกกาารสนนัับสนนุนุน • การกำาหนดกระบวนการที่สร้างคุณค่า • การจัดทำาข้อกำาหนดที่สำาคัญของกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า • การออกแบบกระบวนการโดยนำาปัจจัยที่สำาคัญมา ประกอบ และบูรณาการกับส่วนราชการอื่น • การนำากระบวนการไปปฏิบัติให้บรรลุผลตามข้อกำาหนด ที่สำาคัญ • การลดค่าใช้จ่ายด้านการตรวจสอบ ทดสอบ และตรวจ ประเมิน และป้องกันไม่ใช้เกิดข้อผิดพลาด ทำางานซ้ำ้า และความสูญเสีย • การปรับปรุงกระบวนการให้ดีขึ้น และนำามาเผยแพร่ แลกเปลี่ยนภายในและระหว่างหน่วยงาน • การกำาหนดกระบวนการสนับสนุน • การจัดทำาข้อกำาหนดที่สำาคัญของกระบวนการสนับสนุน • การออกแบบกระบวนการโดยนำาปัจจัยที่สำาคัญมา ประกอบ และบูรณาการกับส่วนราชการอื่น • การนำากระบวนการไปปฏิบัติให้บรรลุผลข้อกำาหนด ที่สำาคัญ • การลดค่าใช้จ่ายด้านการตรวจสอบ ทดสอบ และตรวจ ประเมิน และป้องกันไม่ใช้เกิดข้อผิดพลาด ทำางานซ้ำ้า และความสูญเสีย • การปรับปรุงกระบวนการให้ดีขึ้น และนำามาเผยแพร่ แลกเปลี่ยนภายในและระหว่างหน่วยงาน
  • 42. มมิิตติผิผลลลัพัพธธ์์ ““ผลลลัพัพธธ์” ์หมายถึง ผลผลิต และผลลัพธ์ ขององค์กร ในการบรรลุตามข้อกำาหนดใน หัวข้อ 7.1 – 7.4 42
  • 43. เเกกณฑฑ์์คคุุณภภาาพกกาารบรริหิหาารจจััดกกาารภภาาครรััฐ ลักษณะสำาคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ ความสำาคัญกับ ผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 43 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 6. การจัดการ กระบวนการ 3. การให้ 1. การนำา องค์กร 4. การวัด การวิเคราะหห์ ์ แแลละะกกาารจจัดัดกกาารคววาามรรูู้้ 7. ผลลัพธ์ การดำาเนินการ
  • 44. ปปััจจจัยัย 44 ปรระะกกาารทที่ใี่ใชช้้ปรระะเเมมิินผลลลัพัพธธ์์  ระดับของผลการดำาเนินการในรอบปีที่ผ่านมา  อัตราการเปลี่ยนแปลง (เช่น ความลาดชันของแนวโน้ม ของข้อมูล) และความครอบคลุม (เช่น การถ่ายทอดเพื่อ นำาไปปฏิบัติและการแบ่งปันอย่างกว้างขวาง) ของการปรับปรุง ผลการดำาเนินการ  ผลการดำาเนินการของส่วนราชการเปรียบเทียบกับตัวเปรียบ เทียบ และ/หรือ ระดับเทียบเคียง ที่เหมาะสม  การเชื่อมโยงของตัววัดผลต่างๆ (มักแสดงผลตามกลุ่มที่จำาแนก ไว้) กับผลการดำาเนินการด้านผลผลิตและบริการ ผู้รับบริการ และ ผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย กระบวนการและแผนปฏิบัติการ ที่สำาคัญๆ ที่ได้ระบุไว้ใน “ลักษณะสำาคัญขององค์กร” และใน หัวข้อกระบวนการต่าง ๆ (ในหมวด 1-6) 44
  • 45. หมวด 77 ผลลลัพัพธธ์ก์กาารดดำาำาเเนนินินกกาาร 45 7.3 มิติ ด้านประสิทธิภาพ ของการปฏิบัติ ราชการ 7.1 มิติ ด้านประสิทธิผล ตามแผนปฏิบัติ ราชการ 7.2 มิติ ด้านคุณภาพ การให้บริการ 7.4 มิติ ด้านการพัฒนา องค์กร • ผลผลการดำาเนินการ ด้านการบรรลุความ สำาเร็จ ของ ยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติงาน • ผลการดำาเนินการ ด้านการบูรณาการ กับส่วนราชการที่ เกี่ยวข้องกันในการให้ บริการ หรือการ ปฏิบัติงาน (*) • ผลการดำาเนินการ ด้านความพึงพอใจ และไม่พึงพอใจ ของผู้รับ บริการ และผู้ มีส่วนได้ส่วนเสีย • ผลการดำาเนินการ ด้านการป้องกัน และปราบปรามการ ทุจริตและประพฤติมิชอบ • ผลการดำาเนินการ ด้านการมีส่วนร่วม ของ ประชาชน • ผลการดำาเนินการที่สำาคัญ อื่น ๆ ที่เกี่ยวกับผู้รับบริการ • ผลการดำาเนินการ ด้านประสิทธิภาพ ของการใช้งบ ประมาณ • ผลการปฏิบัติงานของ กระบวนการที่สร้างคุณค่า • ผลการปฏิบัติงานของ กระบวนการสนับสนุน • ผลการดำาเนินการ ด้านการเรียนรู้ และพัฒนาของ บุคลากร • ผลการดำาเนินการ ด้านความผาสุก ความพึงพอใจ และไม่พึง พอใจ ของบุคลากร • ผลการดำาเนินการ ด้านการจัดการความ รู้ • ผลการดำาเนินการ ด้านการพัฒนาระบบ ข้อมูลสารสนเทศ • ผลการดำาเนินการ ด้านการพัฒนา กฎหมาย
  • 46. แแหหลล่่งขข้อ้อมมููลเเพพิ่มิ่มเเตติมิม www.opdc.go.th สำานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ www.ftpi.or.th สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ www.tqa.or.th รางวัลคุณภาพแห่งชาติ Thailand Quality Award www.quality.nist.gov Malcolm Baldrige National Quality Award 46
  • 47. ตติดิดตต่อ่อสอบถถาาม สำานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ โทรศัพท์ 0-2356-9999 ต่อ 8841, 8985 โทรสาร 0-2281-8169 สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ ฝ่ายปรึกษาแนะนำาและฝึกอบรม โทรศัพท์ 0-2619-5500 ต่อ 545, 541- 543 โทรสาร 0-2619-8097 47