SlideShare a Scribd company logo
1 of 88
Download to read offline
Pix source: Bantita Rodkred, PMAC 2017 World Art Contest, 14-17 years old
โครงสร้างของระบบสุขภาพ (Structure of Health Systems)
ผศ.นพ.บวรศม ลีระพันธ์
RACM 302: Community Medicine
28 พ.ย. 60
https://www.slideshare.net/borwornsom/structure-of-health-systems
Learning Objectives of RACM302: Health Systems
RACM302: 5 (+2) Learning Objectives
1. สุขภาพและปัจจัยกำหนดสุขภาพ
2. ระบบสุขภาพและระบบบริการสุขภาพ
3. การสร้างเสริมสุขภาพ
4. ศักยภาพชุมชนในการพัฒนาสุขภาพ
5. บทบาทแพทย์ต่อผู้ป่วยและสังคม
6. [เครื่องมือทางระบาดวิทยา: QUAN]
7. [เครื่องมือศึกษาชุมชน: QUAL]
Source: www.facebook.com/pages/เครื่องมือ-7-ชิ้น-วิถีชุมชน/341466792618644
Research Methods & Tools
• QUAN: ระบาดวิทยาและชีวสถิติ
เช่น “cross-sectional survey”
• QUAL: การวิจัยเชิงคุณภาพเพื่อ
สังเคราะห์บทเรียนจากการเรียนรู้
ภาคสนาม เช่น “การประยุกต์ใช้
เครื่องมือ 7 ชิ้นเพื่อศึกษาวิถีชุมชน”
Ø“Up and down the ladder of abstraction”
Source: influxentrepreneur.com/wendyelwell/
Learning Community Medicine
นามธรรม (abstract):
• แนวคิด (concepts)
• ทฤษฎี (theories)
• หลักการ (principles)
• กลยุทธ์ (strategies)
รูปธรรม (concrete):
• การเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล (data)
• กรณีศึกษา (case studies)
• การทำงานภาคสนาม (fieldwork)
• การนำเสนองาน (presentations)
1) แนวคิดเบื้องต้นเรื่องระบบ (basic concepts of systems)
– การวิเคราะห์ระบบ (systems analysis)
– การคิดเชิงระบบ (systems thinking)
2) โครงสร้างของระบบสุขภาพ (structure of health systems)
– องค์ประกอบหลัก (Building Blocks) ของระบบบริการสุขภาพ
– การออกแบบบริการสุขภาพ (design and delivery of health services)
– ปัจจัยกำหนดสุขภาพด้านสังคม (Social Determinants of Health: SDH)
3) การเรียนรู้จากกรณีศึกษา (case studies)
Outline
Pix source: online.wsj.com
ตัวอย่างประเด็นด้านระบบสุขภาพในชีวิตแพทย์
(Health Systems Issues)
Pix source: online.wsj.com
การอภิบาลระบบสุขภาพ (Health Systems Governance)
Pix Source: www.hfocus.org/contrast
Health Policy Debates?
การอภิบาลระบบสุขภาพ (Health Systems Governance)
Pix Source: www.hfocus.org/content/2017/11/14846; www.facebook.com-TaxBugnoms-posts-2093916907300381.html
Health Policy Debates?
หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (Universal Health Coverage)
Challenges in Thai UHC?
Pix Source: www.hfocus.com
Pix source: http://techsauce.co/news/ringmd-connects-patients-doctors-around-the-world-24-7/; Lewis G. Sandy (2010).
AcademyHealth 2010 Annual Research Meeting June 29, 2010;
การจัดการระบบบริบาลสุขภาพ (Healthcare Management)
Health Informatics &
Care Coordination?
Health-seeking Behaviors?
Source: www.facebook.com/www.jantrai; http://pantip.com/topic/30923133
ความแตกฉานด้านสุขภาพ (Health Literacy)
Pix Source: www.bangkokpost.com, www.kapook,com
สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (Supportive Environment)
Social Norms??
Source: www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMp1510082?query=featured_home&
ระบบสุขภาพโลก (Global Health)
United Nation’s SDGs
Source: WHO (2000). The World Health Report 2000; Pix source: Modified from: buelahman.files.wordpress.com
The World Health Report 2000:
• The WHO’s first major analysis of the world’s healthcare systems.
• Health systems of all member states were analyzed and ranked by eight measures that
explain how health systems perform.
• Thailand was ranked the 47th on the overall health systems performance.
Japan
(10th)
Thailand
(47th)
China
(144th)
Germany
(25th)
Japan
(10th)
Canada
(30th)
USA
(37th)
UK
(18th)
Swiss
(20th)
Mexico
(61th)
France
(1st)
India
(144th)
Israel
(28th)
Italy
(2nd) Australia
(32nd)
“ระบบสุขภาพ/ระบบบริการสุขภาพที่พึงประสงค์
มีหน้าตาอย่างไร? ทำงานอย่างไร? มีคุณสมบัติเป็นอย่างไร?”
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบสุขภาพ
(Structure & Functions of Health Systems)
Pix source: www.free-ed.net/free-ed/HealthCare/Physiology/default.asp
— Structure &
Organizations
• Patient Care Teams
• PCUs/Clinics
• Hospitals
• Systems/Networks
• Governance Bodies
— Functions & Systems
Building Blocks
• Managing/Governing
• Financing
• Creating Resources
• Delivering Services
• Achieving Goals
“Anatomy of Health Systems” “Physiology of Health Systems”
(Structure = What) (Functions = How)
โครงสร้างของระบบสุขภาพ
(Structure of Health Systems)
Pix source: online.wsj.com
Case Study #1
โรงพยาบาลลำสนธิ อำเภอลำสนธิ จังหวัดลพบุรี
(14 min)
Pix source: online.wsj.com
Question #1
ระบบสุขภาพของอำเภอลำสนธิ จังหวัดลพบุรี
ประกอบไปด้วยใคร/องค์กรใด/อะไรบ้าง?
(1 min)
Question #2
ระบบสุขภาพอำเภอลำสนธิ จังหวัดลพบุรี
มีโครงสร้างอะไรซึ่งทำให้เกิดกระบวนการทำงานที่เหมาะสม
สำหรับการดูแลสุขภาพประชาชนในอำเภอลำสนธิ?
(1 min)
Health & Health Determinants
Health
System
Health & Health Determinants
= Health Services Systems
(“Traditional Health Sector
of Health Systems”)
SDH
Systems Analysis & Systems Thinking
Source: Scheerens and Bosker 1997 “IPO”
การทำหน้าที่ของระบบสุขภาพ (functions of health systems)
โครงสร้างของ
ระบบสุขภาพ
(structure of
health systems)
(= How)
(= What)
เป้าหมาย
ของระบบ
สุขภาพ
(goals of
health
systems)
=“ในระบบ”
=“นอกระบบ”
=“เกณฑ์การจำแนกใน-นอกระบบ”
Six Building Blocks of
Health Services Systems
Health
Services
System
Health System
“IPO”
• หน้าที่ของระบบสุขภาพ ได้แก่ การทำงานขององค์ประกอบต่างๆ
ภายในระบบสุขภาพเพื่อพัฒนาสุขภาพของประชาชนในทุกมิติ โดยมี
“เป้าหมายร่วม” (mutual goals) ได้แก่
1. การทำให้สุขภาวะของประชาชนให้ดีขึ้น (improving health status)
2. การป้องกันความเสี่ยงทางการเงินและความเสี่ยงทางสังคมของประชาชน
(financial and social risk protection)
3. การตอบสนองความต้องการด้านสุขภาพในแต่ละบริบทได้เหมาะสม
(responsiveness) เพื่อทำให้ประชาชนรวมทั้งผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในระบบ
สุขภาพมีความพึงพอใจ (satisfaction)
Functions of Health Systems
Source: WHO (2000); Roberts MJ, Hsiao W, Berman P, Reich MR (2004)
1. ระบบบริการสุขภาพ (health services systems)
– ประเภทของการจัดบริการสุขภาพ (type of health services)
– ระดับของระบบบริการสุขภาพ (level of health services)
– ประเภทขององค์กรผู้ให้การบริการสุขภาพ (type of healthcare organizations)
– องค์ประกอบพื้นฐาน (“Building Blocks”) ในการทำหน้าที่ของระบบบริการสุขภาพ
2. ปัจจัยกำหนดสุขภาพด้านสังคม (social determinants of
health: SDH)
– ปัจจัยกำหนดสุขภาพด้านปัจเจก
– ปัจจัยกำหนดสุขภาพด้านสิ่งแวดล้อม
Structure of Health Systems
1. การจัดบริการสุขภาพ (Delivery of Health Services)
2. ทรัพยากรบุคคลด้านสุขภาพ (Human Resources for Health)
3. ระบบการคลังสุขภาพ
4. ผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยีสุขภาพ (Essential Medical Products,
Vaccines and Technologies)
5. สารสนเทศสุขภาพ (Health Information)
6. ภาวะผู้นำและการอภิบาลระบบสุขภาพ (Leadership and Governance)
Six Building Blocks of
Health Services Systems
Source:	1-6
WHO	(2007)	Strengthening	health	systems	to	improve	health	outcomes:	7
WHO’s	framework	for	action;	Commission	on	Social	
Determinants	of	Health	(2008)	Closing	the	gap	in	a	generation:	health	equity	through	action	on	the	social	determinants	of	health.	
“คน”
“เงิน”
“ของ”
“ข้อมูล”
“การจัดการองค์กร”
“การจัดการระบบ”
• “การจัดบริการสุขภาพ” (delivery of
services) เป็นระบบย่อยหรือองค์ประกอบ
พื้นฐานของระบบบริการสุขภาพซึ่งทำหน้าที่
จัดระบบให้มีบริการสุขภาพครอบคลุมทั้งการ
จัดบริการสุขภาพในระดับบุคคลและระดับกลุ่ม
ประชากร โดยการออกแบบระบบการดูแล
สุขภาพให้เหมาะสมกับความต้องการของกลุ่ม
ประชากรที่มีความเจ็บป่วยในรูปแบบต่างๆ
(care design) เหมาะสมกับประเภทของ
หน่วยบริการสุขภาพ (type of services
delivery) และระดับของหน่วยบริการสุขภาพ
(level of services delivery)
1) Delivery of Health Services
Pix source: www.wpro.who.int/topics/health_services/en/
• ความครอบคลุมและคุณภาพของบริการ
สุขภาพขึ้นอยู่กับทรัพยากรสุขภาพที่มีอยู่
รวมทั้งวิธีการจัดองค์กรและวิธีการบริหาร
จัดการบริการสุขภาพ (“how services are
organized and managed”)
จำแนกโดยความเป็นเจ้าของของหน่วยบริการสุขภาพ :
1) หน่วยงานผู้ให้บริการสุขภาพภาครัฐ
(state healthcare organizations)
2) หน่วยงานผู้ให้บริการสุขภาพภาคเอกชนที่ไม่แสวงหากำไร
(not-for-profit private healthcare organizations)
3) หน่วยงานผู้ให้บริการสุขภาพภาคเอกชนที่แสวงหากำไร
(for-profit private healthcare organizations)
Types of Health Services
(#1 By Ownership of Healthcare Organizations)
จำแนกโดยหน้าที่ของบริการสุขภาพ :
1. บริการส่งเสริมสุขภาพ (health promotion services)
2. บริการป้องกันโรค (disease prevention services)
3. บริการรักษาโรค (medical treatments services)
4. บริการฟื้นฟูสภาพ (rehabilitation services)
“Type” of Health Services
(#2 By Functions of Services)
จำแนกโดยระดับของทรัพยากรที่ใช้ในการจัดบริการสุขภาพ :
1. บริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ (primary care services)
2. บริการสุขภาพระดับทุติยภูมิ (secondary care services)
3. บริการสุขภาพระดับตติยภูมิ (tertiary care services)
– supra-tertiary care services
– quaternary care
“Type” of Health Services
(#3 By Level of Health Resources)
จำแนกโดยการออกแบบระบบการดูแลให้เหมาะสมกับความเจ็บป่วย :
1) การดูแลผู้ป่วยระยะเฉียบพลัน (acute care):
– hospitals, medical centers, inpatient care
2) การดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน (emergency care):
– emergency department (ED/ER), prehospital care (ambulance)
3) การดูและระยะกึ่งเฉียบพลัน (sub-acute care):
– rehabilitation wards, rehabilitation centers
4) การดูแลหลัก/การดูแลปฐมภูมิ (primary care):
– health centers, primary care clinics,, primary care units (PCUs)
Types of Health Services
(#4 By Population’s Health Needs & Care Design)
จำแนกโดยการออกแบบระบบการดูแลให้เหมาะสมกับความเจ็บป่วย :
5) การดูแลผู้ป่วยระยะเรื้อรัง (chronic care) และการดูแลผู้ป่วยนอก
(ambulatory care):
– primary care clinics, outpatient clinics, home health care
6) การดูแลระยะยาว (long-term care):
– nursing home, home care agencies, adult day services,
community-based residential
7) การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง (palliative care) และ
การดูแลระยะสุดท้าย (end-of-life care):
– palliative ward, home health care, hospice services
Types of Health Services
(#3 By Population’s Health Needs & Care Design)
• การดูแลผู้ป่วยระยะเฉียบพลัน” (acute care) :
– เป็นการออกแบบบริการสุขภาพเพื่อทำหน้าที่ดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะความเจ็บป่วย
ระยะเฉียบพลัน ซึ่งอาจจำเป็นต้องรับไว้รักษาในโรงพยาบาลแบบค้างคืน
(admission) เนื่องจากผู้ป่วยต้องการการวินิจฉัยโรครวมทั้งการดูแลรักษาที่
เร่งด่วนและทันเวลา
– ได้แก่ การดูแลในโรงพยาบาล (hospital care) รวมถึงการดูแลในระยะวิฤต
(crirical care) ภายในหอบริบาลผู้ป่วยหนัก (intensive care unit: ICU)
#1 Acute Care
Source: Starfield (1992, 1998)
Source: W. Simpson del.; E. Walker lith.; Day & Son, Lithrs. to the Queen.
Pix source: http://en.wikipedia.org/wiki/History_of_hospitals#mediaviewer/File:Hospital_at_Scutari_2a.jpg
“Hospital at Scutari” - A ward of the hospital at Scutari where
Florence Nightingale worked and helped to restructure the modern hospital
“Level” of Healthcare Delivery Systems:
(Mainly Acute Care)
การสาธารณสุขมูลฐาน/Primary Health Care
(population-level, public health-type functions)
Community
(Self-care)
Primary Care Services
(family doctor-type services)
Secondary Care Services
Tertiary Care Services
(Supra-tertiary/Quaternary Care Services)
2
3
1
ระบบส่งต่อ
(Referral systems)
• การดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน (emergency care)
– เป็นการออกแบบบริการสุขภาพเพื่อทำหน้าที่ดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน ซึ่งต้องการการ
วินิจฉัยโรคและการรักษาพยาบาลที่ทันเวลา มีประสิทธิภาพ ซึ่งหากผู้ป่วยที่หากไม่ได้
รับการรักษาที่ถูกต้องทันทีอาจมีปัญหาถึงขั้นมีการบาดเจ็บถาวรหรือเสียชีวิตได้
– จำเป็นต้องมีการบริหารจัดการเชิงระบบให้สามารถจัดบริการสุขภาพให้แก่ผู้ป่วย
ฉุกเฉิน เราเรียกระบบบริการสุขภาพที่ให้การบริการผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉินว่า
“ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน” (emergency medical services system: EMS)
เชื่อมต่อกระบวนการทำงานอย่างครบวงจร ได้แก่ ซึ่งประกอบไปด้วยการดูแลก่อนถึง
โรงพยาบาล การดูแลผู้ป่วยที่แผนกฉุกเฉิน การดูแลเฉพาะทางและการฟื้นฟูสภาพ
และการสร้างความตระหนักเพื่อป้องกันเหตุฉุกเฉินในอนาคต
#2 Emergency Care
Source: www.imdb.com; ambulance_emergency-medical-services_abl-van_2_carryboy; www.admissionpremium.com/u-review/th/edu/34256
• การดูและระยะกึ่งเฉียบพลัน (sub-acute care/intermediate care):
– เป็นการออกแบบบริการสุขภาพเพื่อทำหน้าที่ฟื้นฟูสภาพสมรรถภาพ
(rehabilitation) ของผู้ป่วยที่พ้นจากความเจ็บป่วยระยะเฉียบพลันแล้ว แต่ยังคง
มีการทำหน้าที่ของร่างกายที่ไม่สมบูรณ์ และยังจำเป็นต้องได้รับการดูแลทาง
สุขภาพ
– ได้แก่ การทำกายภาพบำบัด (physiotherapy) ในโรงพยาบาล การฟื้นฟู
สมรรถภาพโดยชุมชน (community-based rehabilitation: CBR) เป็นต้น
#3 Sub-Acute Care/Intermediate Care
Source: www.rehabcenternearme.com/find-alcohol-rehab-centers-works-best/; ptsut2010.blogspot.com/2010/11/blog-post_26.html;
http://www.mottchildren.org/our-locations/mott-pediatric-rehabilitation-center; http://www.กายภาพบําบัด.com/article/126/
• การดูแลระยะเรื้อรัง (chronic care)
– เป็นการออกแบบบริการสุขภาพเพื่อทำหน้าที่ดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะความเจ็บป่วยหรือ
ความบกพร่องของการทำหน้าที่ของร่างกายและจิตใจเป็นระยะเวลานานกว่าหนึ่งปี ซึ่ง
ส่งผลต่อการดำรงชีวิตประจำวันของผู้ป่วย และมีความต้องการบริการสุขภาพเพื่อดูแล
ปัญหาสุขภาพอย่างต่อเนื่อง
– หลักการดูแลสำคัญ ได้แก่ การเสริมสร้างพลังอำนาจให้ผู้ป่วย (empowerment) และ
การปฏิรูปการจัดบริการสุขภาพให้แตกต่างจากการดูแลระยะเฉียบพลัน เช่น การ
ออกแบบทีมผู้ดูแลโรคเรื้อรัง การจัดระบบการคลังสุขภาพ ระบบสารสนเทศสุขภาพ
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจทางคลินิก และนโยบายและทรัพยากรในชุมชนที่จะช่วย
ให้เกิดระบบสนับสนุนและการจัดการตนเอง
– ตัวอย่างเช่น การดูแลผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาล การดูแลในหน่วยบริการสุขภาพ
ปฐมภูมิ (รวมทั้งคลินิกแพทย์) เป็นต้น
#4 Chronic Care
Disability-Adjusted Year Lost (2004)
Injury
NCD
Infection
0-4	5-14	15-29	30-44	45-59	60-69	70-79	80+				0-4	5-14	15-29	30-44	45-59	60-69	70-79	80+
Males																																																											Females
1,600
1,400
1,200
1,000
800
600
400
200
0
Sour
Source: Adapted from: WHO (2008), http://www.who.int/healthinfo/global_burden_disease
Chronic Care Model (CCM)
Figure	Source:	www.improvingchroniccare.org
CCM Elements
Source: Coleman et al. (2009)
Chronic Care Model (CCM)
Source: Coleman et al. (2009)
• การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง (palliative care):
– เป็นการออกแบบบริการสุขภาพเพื่อทำหน้าที่ดูแลผู้ป่วยที่มีความเจ็บป่วยรุนแรง
(serious illness) ซึ่งอาจรักษาไม่หายหรือมีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิต ดูแลครอบคลุม
ถึงผู้ดูแลผู้ป่วยซึ่งเป็นญาติหรือสมาชิกในครอบครัวของผู้ป่วย รวมทั้งมีเป้าหมายของ
การดูแลสุขภาพของผู้ป่วยและครอบครัวเพื่อการเพิ่มคุณภาพชีวิตและเลือกวิธีการ
รักษาพยาบาลโดยไม่ได้ขึ้นอยู่กับการพยากรณ์โรคแต่เพียงอย่างเดียว
– ตัวอย่างเช่น การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองภายในโรงพยาบาล และการดูแล
ผู้ป่วยแบบประคับประคองที่บ้านหรือในชุมชน เป็นต้น
– ครอบคลุม “การดูแลในระยะสุดท้ายของชีวิต” (end-of-life care or hospice care)
ซึ่งรวมถึงการดูแลสมาชิกภายในครอบครัวของผู้ป่วยซึ่งต้องรับมือจัดการกับความตาย
และความสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก
#5 Palliative Care & End-of-Life Care
Conceptual Framework of Palliative Care
• Care provided based on patient and family needs & goals and
independent of prognosis
• Goal = quality of life (not to cure or to extend life)
“Critical illness” “Dying”
What the Dying Want?
Pix source: marionete.blog.cz; www.adintrend.com
Source: NEJM 2014;370(26):2457-60.
End-of-Life Care
(Hospice Care)
Pix source: www.noelhastings.org
Intensive Care vs. End-of-Life Care?
Pix source: www.noelhastings.org; www.dailymail.co.uk
End-of-Life Care (Hospice Care)
“Till Death Do Us Part”
Being Mortal: Medicine and What Matters in the End
Pix source: www.facebook.com/Openworlds/photos/
“Begin with the End in Mind”
• การดูแลระยะยาว” (long-term care):
– เป็นการออกแบบบริการสุขภาพเพื่อซึ่งมีวัตถุประสงค์ทำให้ผู้ที่สูญเสียหรือผู้ที่เสี่ยงที่จะสูญเสีย
สมรรถนะอย่างมีนัยสำคัญและอย่างต่อเนื่อง (โดยเฉพาะผู้สูงอายุหรือผู้พิการ) สามารถดำรง
ไว้ซึ่งสมรรถนะในการปฏิบัติหน้าที่ต่างๆ ที่เกี่ยวพันกับสิทธิและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน รวมทั้ง
เกียรติและศักดิ์ศรีของตนเอง
– ตัวอย่างเช่น การดูแลระยะยาวของผู้สูงอายุในสถานดูแลผู้สูงอายุ (nursing home)
– ขอบเขตบริการของการดูแลระยะยาวครอบคลุมบริการใน 3 ด้านใน “care cycle” ได้แก่
1. การจัดบริการด้านสังคม (social services) เช่น การดูแลการปฏิบัติกิจวัตรส่วนบุคคล
พื้นฐาน (activities of daily living: ADL) เช่น การกิน การแต่งตัว การเข้าห้องน้ำ
2. การจัดบริการด้านสุขภาพ (health services) เช่น บริการทางการพยาบาล/การแพทย์
3. การบริการจัดการการดูแล (management services) เช่น การประสานงานและการ
จัดการนัดหมาย บูรณาการของการบริการด้านสังคมและด้านสุขภาพสำหรับผู้ป่วย
#6 Long-term Care
Range/Scope of Long-Term Care
Source: Adapted from Feldman, Nadash & Gursen (2008)
1) Chronic Care
2) Palliative Care
3) Rehabilitative Services
• Activities of Daily Living (ADL)
• Instrumental Activities of Daily Living (IADL)
4) Supportive services
• Care plans, appointment arrangement
• Coordination between providers & patients-caregivers
• Logistics and supply of necessities
5) Care Management
Life Expectancy vs. Fertility
Pix source: www.gapminder.org/world
Life Expectancy vs. Fertility
Pix source: www.gapminder.org/world
Dealing with the Care Cycle
Source: Tishihiko Hasegawa (2013)
Where Are the Elderly Currently Living?
Pix source: www.thetimes.co.uk/tto/health/news/article3609174.ece
• “การดูแลหลัก/การบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ” (primary care) เป็นการ
จัดบริการสุขภาพหลักสำหรับประชาชนซึ่งมีหลักการที่สำคัญ 4 ประการ ได้แก่
1) การทำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพเมื่อมีปัญหาสุขภาพใหม่เกิดขึ้น หรือเรียกว่า
เป็น “บริการด่านแรก” (first contract, accessibility of care)
2) การสร้างความต่อเนื่องของการบริการสุขภาพ (continuity of care) ให้การดูแลต่อเนื่องทั้ง
ชีวิต ไม่ใช่เพียงแค่ให้การดูแลความเจ็บป่วยในแต่ละครั้ง
3) การสร้างความเชื่อมโยงกับหน่วยบริการสุขภาพอื่นๆ หรือผู้ให้บริการสุขภาพประเภทอื่นๆ
(coordination of care)
4) การให้บริการสุขภาพที่มีความครบถ้วนครอบคลุม (comprehensiveness of care)
โดยผู้ให้บริการสุขภาพหลักทำหน้าที่ประสานงานและส่งปรึกษาผู้เชื่ยวชาญในการดูแลสุขภาพ
ด้านต่างๆ เมื่อมีความจำเป็น
• Primacy care as “a care design” vs. as “a level” of health services
#7 Primary Care
Source: Starfield (1992, 1998)
Source: www.beunghos.net/index.php/cupbeung/; www.healthsmart.com/SolutionsAndServices/PrimaryCareClinics.aspx;
http://www.straitstimes.com/singapore/health/new-technologies-to-build-future-hospitals-and-polyclinics-faster-and-better
Primary Care in Different Settings?
Source: Macagba, R. L. (1985). Hospitals and Primary Health Care: An International Study from the International Hospital
Federation. In M. Hardie (Ed.), World-wide survey on the Role of Hospitals in Primary Health Care. London: International Hospital
Federation.
Primary Care vs. Primary Health Care
(การดูแลหลัก/การบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ vs. การสาธารณสุขมูลฐาน)
Source: Muldoon LK, Hogg WE, Levitt M. Primary care (PC) and primary health care (PHC). What is the difference? Can J Public Health. 2006;97.
Self-Care & Health Literacy
(General Population, Community Health Volunteers)
Pix source: http://banhangmaew.blogspot.com/p/blog-page_29.html; https://www.safetyandquality.gov.au/publications/health-literacy-infographics/
Primary Care vs. Primary Health Care
(การดูแลหลัก/การบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ vs. การสาธารณสุขมูลฐาน)
Pix source: www.bangkokhospital.com/
Primary Care Clinic
Hospital
Primary Care in Private Sector
Pix source: WHO (2008) The World Health Report 2008, Figure 3.1
Characteristics of Primary Care
Pix source: WHO (2008) The World Health Report 2008, Figure 3.5
Care Coordination: Primary Care Team
• “ทรัพยากรบุคคลด้านสุขภาพ” (health workforce) เป็นองค์ประกอบพื้นฐาน
หรือระบบย่อยซึ่งทำหน้าที่สร้าง พัฒนา และใช้บุคลากรทางสุขภาพเพื่อให้สามารถ
ทำงานตอบสนองต่อปัญหาในระบบสุขภาพได้อย่างดี มีความเป็นธรรม มี
ประสิทธิภาพ สามารถก่อให้เกิดผลลัพธ์ทางสุขภาพที่ดีที่สุดเท่าที่ทรัพยากรมีอยู่
2) Human Resources for Health
Pix source: www.wpro.who.int/topics/human_resources_health/en/
Source: Adapted from Whole Systems Partnership (2017). The Strategic Workforce integrated Planning & evaluation (SWiPe®) Framework
Strategic Planning of HRH: Thailand
Q1
•“Who will need care?”
•To identify population cohorts of need
Q2
•“What are we trying to change?”
•To determine outcomes of service
transformation
Q3
•“What care functions will be needed?”
•To identify care functions as groupings of
activities/tasks
Q4
•“How much of each care function will be?”
•To quantify intensity and frequency of care
functions
Q5
•“What skills will we need for care functions?”
•To vision the skill mix of the future workforce
Q6
•“Who is providing care right now?”
•To determine the workforce baseline
Q7
•“What is the most effective
strategy?”
•To secure the future workforce:
recruitment & retention
Q8
•“How much will it cost?”
•To quantify the future resource
requirement
Q9
•“Which plan will we go for?”
•To use modeling to help policy
decision-making process
Q10
•“What does it mean for service
delivery?”
•To implement the skill mix into
staff and team plans
#1 ความต้องการด้านสุขภาพของประชากร (Population health needs)
#2 การปฏิรูประบบบริการสุขภาพ (Services transformation)
#3 การพัฒนากำลังคน (Workforce development)
• “ผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยีทางสุขภาพ” (medical products, vaccines and
technologies) เป็นองค์ประกอบพื้นฐานหรือระบบย่อยซึ่งทำหน้าที่ผลิต กระจาย
และเลือกใช้ผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยีทางสุขภาพบนพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
(health technology assessment, HTA) เพื่อใช้ผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยีทาง
สุขภาพที่มีคุณภาพ ประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ปลอดภัย และประชาชนสามารถ
เข้าถึงได้อย่างเป็นธรรม
3) Essential Medical Products,
Vaccines and Technologies
Pix source: www.wpro.who.int/topics/essential_medicines/en/
Health Technology Assessment (HTA)
• Developing methods to routinely collect and assess clinical outcomes
Source: HISRO (2012); Pix source: www.hitap.net/en/
• “สารสนเทศสุขภาพ” (health information) เป็นองค์ประกอบพื้นฐานหรือระบบ
ย่อยซึ่งทำหน้าที่สร้างข้อมูลและสารสนเทศที่สามารถสนับสนุนให้เกิดการบริการที่ดี
มีการวิเคราะห์ การกระจายและการใช้ข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยสุขภาพ (health
determinants) สมรรถภาพของระบบสุขภาพ (health system performance)
และสถานะสุขภาพ (health status) ซึ่งเชื่อถือได้ (reliable) และทันเวลา (timely)
4) Health Information
Pix source: www.wpro.who.int/topics/health_information/en/
Pix source: http://techsauce.co/news/ringmd-connects-patients-doctors-around-the-world-24-7/; Lewis G. Sandy (2010).
AcademyHealth 2010 Annual Research Meeting June 29, 2010;
Health Informatics & Health IT:
EMR, PHR, COPE, CDSS, etc.
• “การคลังสุขภาพ” (health financing) เป็นองค์ประกอบพื้นฐานหรือระบบย่อยซึ่ง
ทำหน้าที่หาเงินทุนให้ได้อย่างพอเพียง เพื่อเป็นหลักประกันในการเข้าถึงบริการ
สุขภาพของประชาชนที่ต้องการรับบริการสุขภาพที่จำเป็น รวมทั้งป้องกันการ
ล้มละลายหรือความเสี่ยงทางการเงินจากการใช้บริการสุขภาพของผู้รับบริการและ
สร้างแรงจูงใจในการให้บริการของผู้ให้บริการสุขภาพให้ผู้ให้บริการสุขภาพจัดบริการ
สุขภาพที่มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ และความเป็นธรรม
5) Health Financing
Pix source: http://www.wpro.who.int/topics/health_financing/en/
The National Committee on
Resource Mobilization for
Sustainable UHC (2015)
• Sustainability
• Adequacy
• Fairness
• Efficiency
The National Committee on
the Development of
National Health Security
Systems (2016)
• Sustainability & Adequacy
• Fairness
• Systems Efficiency &
Resource Distribution
• Effectiveness & Efficiency
of Health Services
Source: http://ihppthaigov.net/document/safe/SAFE(ENG)Feb2016.pdf
• “ภาวะผู้นำและการอภิบาลระบบ” (leadership and governance) เป็น
องค์ประกอบพื้นฐานหรือระบบย่อยซึ่งทำหน้าที่กำหนดทิศทาง นโยบาย กลยุทธ์
สำหรับการจัดบริการสุขภาพทั้งระบบ การจัดสรร การกระจาย และการเลือกใช้
ทรัพยากรสุขภาพ มีการจัดทำกฎเกณฑ์ ดำเนินการตามกฎเกณฑ์ และกำกับติดตาม
ระบบบริการสุขภาพ รวมทั้งมีระบบภาระความรับผิดชอบ (accountability
systems) ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายในระบบสุขภาพ
6) Leadership and governance
Pix source: http://www.wpro.who.int/topics/governance/en/
#5 Decentralization
Source: HISRO (2012).
Source: HISRO (2012); Pix Source: www.bumrungrad.com/en/clinics-and-centers
Thailand’s 13 Regional Healthcare Governance Structure
(since 2012)
Governance of Regional Health Systems
Governance of District Health Systems
• ระบบการบังคับบัญชา/สั่งการตามระบบราชการ (ส่วนกลาง, ส่วนภูมิภาค, ส่วนท้องถิ่น)
VS. ระบบประสานงาน (เช่น ระบบสุขภาพอำเภอ)
กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทย
สํานักงาน
ปลัดสธ.กรมฯ
(อธิบดี)
ศูนย์วิชาการ
(ผอ.ศูนย์ฯ เขต)
ทีHว่าการจังหวัด
(ผู้ว่าราชการจังหวัด)
สํานักงาน
สาธารณสุขอําเภอ
(สสอ.)
รพ.สต. (สอ.)
(ผอ.รพ.สต.)
ทีHว่าการอําเภอ
(นายอําเภอ)
สํานักงาน
สาธารณสุขจังหวัด
(นพ.สสจ.)
รพศ., รพท.
(ผอ.รพ.)
รพช.
(ผอ.รพ.)
เทศบาล, อบต.
(นายกเทศมนตรี)
- คณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขระดับอำเภอ (คปสอ.)
- คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)
เอกชน
Relevancy
Governance of Health Systems:
Social Accountability
Source: https-//dhdcblog.files.wordpress.com/2015/03/pic_1
ปัจจัยกำหนดสุขภาพด้านสังคม
(Social Determinant of Health: SDH)
Pix source: online.wsj.com
“องค์ประกอบของระบบสุขภาพซึ่งอยู่นอกเหนือ
ขอบเขตของระบบบริการสุขภาพได้แก่อะไรบ้าง?”
Health & Health Determinants
= Health Services Systems
(“Traditional Health Sector
of Health Systems”)
SDH
Six Building Blocks of
Health Services Systems
Health
Services
System
Health System
“IPO”
Stakeholders in Thai Health System
Pix source: www.nationalhealth.or.th
Pix Source: www.bangkokpost.com, www.kapook,com
5E: Education, Traffic Engineering, Law Enforcement,
Public Empowerment, Emergency Medical Services
“ระบบบริการสุขภาพทำงานร่วมกับ
ปัจจัยกำหนดสุขภาพด้านสังคมอย่างไร?”
(next class)
1) แนวคิดเบื้องต้นเรื่องระบบ (basic concepts of systems)
– การวิเคราะห์ระบบ (systems analysis)
– การคิดเชิงระบบ (systems thinking)
2) โครงสร้างของระบบสุขภาพ (structure of health systems)
– องค์ประกอบหลัก (Building Blocks) ของระบบบริการสุขภาพ
– การออกแบบบริการสุขภาพ (design and delivery of health services)
– ปัจจัยกำหนดสุขภาพด้านสังคม (Social Determinants of Health: SDH)
3) การเรียนรู้จากกรณีศึกษา (case studies)
Summary
Pix source: online.wsj.com
Health Systems Exercise:
Module I
Pix source: online.wsj.com
Ø“Experience, not explanation.”
Picture source: commonsenseatheism.com; variety.thaiza.com
Learning Community Medicine
EXPERIENCE
นศพ.จะเรียนรู้ “โครงสร้าง” และ “การทำหน้าที่” ของระบบสุขภาพไทย
จากการเรียนรู้และการทำงานในภาคสนาม (fieldwork) ได้อย่างไร?
Pix source: ecrins2010.blogspot.com

More Related Content

What's hot

แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561
แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561
แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561Kamol Khositrangsikun
 
Thai Informatics Year in Review 2017 (Boonchai Kijsanayotin)
Thai Informatics Year in Review 2017  (Boonchai Kijsanayotin)Thai Informatics Year in Review 2017  (Boonchai Kijsanayotin)
Thai Informatics Year in Review 2017 (Boonchai Kijsanayotin)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำNickson Butsriwong
 
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพการปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพsoftganz
 
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoonหลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoonSuradet Sriangkoon
 
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยองค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยVorawut Wongumpornpinit
 
8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพWatcharin Chongkonsatit
 
Overview of Health Informatics (October 4, 2021)
Overview of Health Informatics (October 4, 2021)Overview of Health Informatics (October 4, 2021)
Overview of Health Informatics (October 4, 2021)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยsoftganz
 
โภชนบำบัด
โภชนบำบัดโภชนบำบัด
โภชนบำบัดnoppadolbunnum
 
สุขภาพและระบบประกันสุขภาพ (Health &healthcare system) by pitsanu duangkartok
สุขภาพและระบบประกันสุขภาพ (Health &healthcare system) by pitsanu duangkartokสุขภาพและระบบประกันสุขภาพ (Health &healthcare system) by pitsanu duangkartok
สุขภาพและระบบประกันสุขภาพ (Health &healthcare system) by pitsanu duangkartokpitsanu duangkartok
 
Integrating Health Information for National Health Systems Reform (October 30...
Integrating Health Information for National Health Systems Reform (October 30...Integrating Health Information for National Health Systems Reform (October 30...
Integrating Health Information for National Health Systems Reform (October 30...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition techno UCH
 
Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0
Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0
Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0Nawanan Theera-Ampornpunt
 
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทย
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทยการขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทย
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทยAuamporn Junthong
 

What's hot (20)

แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561
แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561
แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561
 
Thai Informatics Year in Review 2017 (Boonchai Kijsanayotin)
Thai Informatics Year in Review 2017  (Boonchai Kijsanayotin)Thai Informatics Year in Review 2017  (Boonchai Kijsanayotin)
Thai Informatics Year in Review 2017 (Boonchai Kijsanayotin)
 
Health care system 2018
Health care system 2018Health care system 2018
Health care system 2018
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
 
Thailand 4.0 and Thailand's Public Health
Thailand 4.0 and Thailand's Public HealthThailand 4.0 and Thailand's Public Health
Thailand 4.0 and Thailand's Public Health
 
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพการปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
 
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoonหลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
 
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยองค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
 
8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ
 
Overview of Health Informatics (October 4, 2021)
Overview of Health Informatics (October 4, 2021)Overview of Health Informatics (October 4, 2021)
Overview of Health Informatics (October 4, 2021)
 
Hospital Informatics (November 26, 2021)
Hospital Informatics (November 26, 2021)Hospital Informatics (November 26, 2021)
Hospital Informatics (November 26, 2021)
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
 
โภชนบำบัด
โภชนบำบัดโภชนบำบัด
โภชนบำบัด
 
Airway (Thai)
Airway (Thai)Airway (Thai)
Airway (Thai)
 
สุขภาพและระบบประกันสุขภาพ (Health &healthcare system) by pitsanu duangkartok
สุขภาพและระบบประกันสุขภาพ (Health &healthcare system) by pitsanu duangkartokสุขภาพและระบบประกันสุขภาพ (Health &healthcare system) by pitsanu duangkartok
สุขภาพและระบบประกันสุขภาพ (Health &healthcare system) by pitsanu duangkartok
 
Introduction2 publichealth
Introduction2 publichealthIntroduction2 publichealth
Introduction2 publichealth
 
Integrating Health Information for National Health Systems Reform (October 30...
Integrating Health Information for National Health Systems Reform (October 30...Integrating Health Information for National Health Systems Reform (October 30...
Integrating Health Information for National Health Systems Reform (October 30...
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0
Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0
Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0
 
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทย
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทยการขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทย
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทย
 

Similar to Structure of Health Systems

Research Agenda in HPSR & Community Medicine
Research Agenda in HPSR & Community Medicine Research Agenda in HPSR & Community Medicine
Research Agenda in HPSR & Community Medicine Borwornsom Leerapan
 
The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control ...
The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control ...The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control ...
The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control ...Borwornsom Leerapan
 
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Enabling Patient Centered Care through Information and Technology (September ...
Enabling Patient Centered Care through Information and Technology (September ...Enabling Patient Centered Care through Information and Technology (September ...
Enabling Patient Centered Care through Information and Technology (September ...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพการทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพThira Woratanarat
 
ATM in Healthcare: ฝันที่เมื่อไหร่จะเป็นจริง
ATM in Healthcare: ฝันที่เมื่อไหร่จะเป็นจริงATM in Healthcare: ฝันที่เมื่อไหร่จะเป็นจริง
ATM in Healthcare: ฝันที่เมื่อไหร่จะเป็นจริงNawanan Theera-Ampornpunt
 
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (June 9, 2016)
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (June 9, 2016)ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (June 9, 2016)
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (June 9, 2016)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
RACM 302: Health Informatics (December 4, 2017)
RACM 302: Health Informatics (December 4, 2017)RACM 302: Health Informatics (December 4, 2017)
RACM 302: Health Informatics (December 4, 2017)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
RACM 302: Health Systems IV - Health Informatics (December 6, 2016)
RACM 302: Health Systems IV - Health Informatics (December 6, 2016)RACM 302: Health Systems IV - Health Informatics (December 6, 2016)
RACM 302: Health Systems IV - Health Informatics (December 6, 2016)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลNawanan Theera-Ampornpunt
 

Similar to Structure of Health Systems (20)

Health Systems IV: Health Informatics
Health Systems IV: Health InformaticsHealth Systems IV: Health Informatics
Health Systems IV: Health Informatics
 
Research Agenda in HPSR & Community Medicine
Research Agenda in HPSR & Community Medicine Research Agenda in HPSR & Community Medicine
Research Agenda in HPSR & Community Medicine
 
Primary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao TPrimary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao T
 
The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control ...
The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control ...The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control ...
The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control ...
 
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
 
Enabling Patient Centered Care through Information and Technology (September ...
Enabling Patient Centered Care through Information and Technology (September ...Enabling Patient Centered Care through Information and Technology (September ...
Enabling Patient Centered Care through Information and Technology (September ...
 
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพการทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
 
ATM in Healthcare: ฝันที่เมื่อไหร่จะเป็นจริง
ATM in Healthcare: ฝันที่เมื่อไหร่จะเป็นจริงATM in Healthcare: ฝันที่เมื่อไหร่จะเป็นจริง
ATM in Healthcare: ฝันที่เมื่อไหร่จะเป็นจริง
 
ATMinHealthcare
ATMinHealthcareATMinHealthcare
ATMinHealthcare
 
Physical Therapy in Community_Padkao T
Physical Therapy in Community_Padkao TPhysical Therapy in Community_Padkao T
Physical Therapy in Community_Padkao T
 
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (June 9, 2016)
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (June 9, 2016)ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (June 9, 2016)
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (June 9, 2016)
 
Access&quality of care
Access&quality of careAccess&quality of care
Access&quality of care
 
Physical Therapy in Community_Padkao T
Physical Therapy in Community_Padkao TPhysical Therapy in Community_Padkao T
Physical Therapy in Community_Padkao T
 
RACM 302: Health Informatics (December 4, 2017)
RACM 302: Health Informatics (December 4, 2017)RACM 302: Health Informatics (December 4, 2017)
RACM 302: Health Informatics (December 4, 2017)
 
RACM 302: Health Systems IV - Health Informatics (December 6, 2016)
RACM 302: Health Systems IV - Health Informatics (December 6, 2016)RACM 302: Health Systems IV - Health Informatics (December 6, 2016)
RACM 302: Health Systems IV - Health Informatics (December 6, 2016)
 
NCD 4.0
NCD 4.0NCD 4.0
NCD 4.0
 
G health system.pdf
G health system.pdfG health system.pdf
G health system.pdf
 
Thai2009 2
Thai2009 2Thai2009 2
Thai2009 2
 
Thai Informatics Year In Review 2015
Thai Informatics Year In Review 2015Thai Informatics Year In Review 2015
Thai Informatics Year In Review 2015
 
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
 

More from Borwornsom Leerapan

Introduction to Mixed-Methods Research (MMR)
Introduction to Mixed-Methods Research (MMR) Introduction to Mixed-Methods Research (MMR)
Introduction to Mixed-Methods Research (MMR) Borwornsom Leerapan
 
The Last Mile of UHC in Thailand: Do We Reach the Vulnerable?
The Last Mile of UHC in Thailand: Do We Reach the Vulnerable?The Last Mile of UHC in Thailand: Do We Reach the Vulnerable?
The Last Mile of UHC in Thailand: Do We Reach the Vulnerable?Borwornsom Leerapan
 
Integrated healthcare systems for family physicians
Integrated healthcare systems for family physicians Integrated healthcare systems for family physicians
Integrated healthcare systems for family physicians Borwornsom Leerapan
 
Development of Primary Care Systems in Bangkok: Opportunities and Challenges
Development of Primary Care Systems in Bangkok: Opportunities and ChallengesDevelopment of Primary Care Systems in Bangkok: Opportunities and Challenges
Development of Primary Care Systems in Bangkok: Opportunities and ChallengesBorwornsom Leerapan
 
Strengthening Health Systems: Lessons Learned from 2nd Decade of Thailand’s U...
Strengthening Health Systems: Lessons Learned from 2nd Decade of Thailand’s U...Strengthening Health Systems: Lessons Learned from 2nd Decade of Thailand’s U...
Strengthening Health Systems: Lessons Learned from 2nd Decade of Thailand’s U...Borwornsom Leerapan
 
Harmonizing Healthcare Financing for Health Equity: Case Studies of Cross-sub...
Harmonizing Healthcare Financing for Health Equity: Case Studies of Cross-sub...Harmonizing Healthcare Financing for Health Equity: Case Studies of Cross-sub...
Harmonizing Healthcare Financing for Health Equity: Case Studies of Cross-sub...Borwornsom Leerapan
 
Governance of health screening in Thailand 2015.6.4
Governance of health screening in Thailand 2015.6.4Governance of health screening in Thailand 2015.6.4
Governance of health screening in Thailand 2015.6.4Borwornsom Leerapan
 
Introduction to Patient Safety 2015.4.28
Introduction to Patient Safety 2015.4.28Introduction to Patient Safety 2015.4.28
Introduction to Patient Safety 2015.4.28Borwornsom Leerapan
 
Leadership in Disease Control Workshop: Overview of Policy Process 2015.4.21
Leadership in Disease Control Workshop: Overview of Policy Process 2015.4.21Leadership in Disease Control Workshop: Overview of Policy Process 2015.4.21
Leadership in Disease Control Workshop: Overview of Policy Process 2015.4.21Borwornsom Leerapan
 
Leadership in Disease Control Workshop: Strategic Management 2015.4.20 updated
Leadership in Disease Control Workshop: Strategic Management 2015.4.20 updatedLeadership in Disease Control Workshop: Strategic Management 2015.4.20 updated
Leadership in Disease Control Workshop: Strategic Management 2015.4.20 updatedBorwornsom Leerapan
 
2015.3.26 Wrap-up lesson learned from Community Medicine coursework
2015.3.26 Wrap-up lesson learned from Community Medicine coursework2015.3.26 Wrap-up lesson learned from Community Medicine coursework
2015.3.26 Wrap-up lesson learned from Community Medicine courseworkBorwornsom Leerapan
 
2015.3.18 preparation for poster & oral presentation
2015.3.18 preparation for poster & oral presentation2015.3.18 preparation for poster & oral presentation
2015.3.18 preparation for poster & oral presentationBorwornsom Leerapan
 
2015.3.2 Testing measurement tools for quantitative study of the community fi...
2015.3.2 Testing measurement tools for quantitative study of the community fi...2015.3.2 Testing measurement tools for quantitative study of the community fi...
2015.3.2 Testing measurement tools for quantitative study of the community fi...Borwornsom Leerapan
 
Preparation for the fieldwork 2015.2.27
Preparation for the fieldwork 2015.2.27Preparation for the fieldwork 2015.2.27
Preparation for the fieldwork 2015.2.27Borwornsom Leerapan
 
Intro to Economic Evaluation for Family Physicians 2015.2.25
Intro to Economic Evaluation for Family Physicians 2015.2.25Intro to Economic Evaluation for Family Physicians 2015.2.25
Intro to Economic Evaluation for Family Physicians 2015.2.25Borwornsom Leerapan
 
Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25
Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25
Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25Borwornsom Leerapan
 
Teamwork & Leadership for medical students 2015.2.24
Teamwork & Leadership for medical students 2015.2.24Teamwork & Leadership for medical students 2015.2.24
Teamwork & Leadership for medical students 2015.2.24Borwornsom Leerapan
 
Primary care policy & systems 2014.12.17
Primary care policy & systems 2014.12.17Primary care policy & systems 2014.12.17
Primary care policy & systems 2014.12.17Borwornsom Leerapan
 
Informatics for Health Policy and Systems Research: Lessons Learned from a St...
Informatics for Health Policy and Systems Research: Lessons Learned from a St...Informatics for Health Policy and Systems Research: Lessons Learned from a St...
Informatics for Health Policy and Systems Research: Lessons Learned from a St...Borwornsom Leerapan
 

More from Borwornsom Leerapan (20)

Introduction to Mixed-Methods Research (MMR)
Introduction to Mixed-Methods Research (MMR) Introduction to Mixed-Methods Research (MMR)
Introduction to Mixed-Methods Research (MMR)
 
The Last Mile of UHC in Thailand: Do We Reach the Vulnerable?
The Last Mile of UHC in Thailand: Do We Reach the Vulnerable?The Last Mile of UHC in Thailand: Do We Reach the Vulnerable?
The Last Mile of UHC in Thailand: Do We Reach the Vulnerable?
 
Integrated healthcare systems for family physicians
Integrated healthcare systems for family physicians Integrated healthcare systems for family physicians
Integrated healthcare systems for family physicians
 
Development of Primary Care Systems in Bangkok: Opportunities and Challenges
Development of Primary Care Systems in Bangkok: Opportunities and ChallengesDevelopment of Primary Care Systems in Bangkok: Opportunities and Challenges
Development of Primary Care Systems in Bangkok: Opportunities and Challenges
 
Strengthening Health Systems: Lessons Learned from 2nd Decade of Thailand’s U...
Strengthening Health Systems: Lessons Learned from 2nd Decade of Thailand’s U...Strengthening Health Systems: Lessons Learned from 2nd Decade of Thailand’s U...
Strengthening Health Systems: Lessons Learned from 2nd Decade of Thailand’s U...
 
Harmonizing Healthcare Financing for Health Equity: Case Studies of Cross-sub...
Harmonizing Healthcare Financing for Health Equity: Case Studies of Cross-sub...Harmonizing Healthcare Financing for Health Equity: Case Studies of Cross-sub...
Harmonizing Healthcare Financing for Health Equity: Case Studies of Cross-sub...
 
Governance of health screening in Thailand 2015.6.4
Governance of health screening in Thailand 2015.6.4Governance of health screening in Thailand 2015.6.4
Governance of health screening in Thailand 2015.6.4
 
Introduction to Patient Safety 2015.4.28
Introduction to Patient Safety 2015.4.28Introduction to Patient Safety 2015.4.28
Introduction to Patient Safety 2015.4.28
 
Leadership in Disease Control Workshop: Overview of Policy Process 2015.4.21
Leadership in Disease Control Workshop: Overview of Policy Process 2015.4.21Leadership in Disease Control Workshop: Overview of Policy Process 2015.4.21
Leadership in Disease Control Workshop: Overview of Policy Process 2015.4.21
 
Leadership in Disease Control Workshop: Strategic Management 2015.4.20 updated
Leadership in Disease Control Workshop: Strategic Management 2015.4.20 updatedLeadership in Disease Control Workshop: Strategic Management 2015.4.20 updated
Leadership in Disease Control Workshop: Strategic Management 2015.4.20 updated
 
2015.3.26 Wrap-up lesson learned from Community Medicine coursework
2015.3.26 Wrap-up lesson learned from Community Medicine coursework2015.3.26 Wrap-up lesson learned from Community Medicine coursework
2015.3.26 Wrap-up lesson learned from Community Medicine coursework
 
2015.3.18 preparation for poster & oral presentation
2015.3.18 preparation for poster & oral presentation2015.3.18 preparation for poster & oral presentation
2015.3.18 preparation for poster & oral presentation
 
2015.3.3 Research ethics
2015.3.3 Research ethics2015.3.3 Research ethics
2015.3.3 Research ethics
 
2015.3.2 Testing measurement tools for quantitative study of the community fi...
2015.3.2 Testing measurement tools for quantitative study of the community fi...2015.3.2 Testing measurement tools for quantitative study of the community fi...
2015.3.2 Testing measurement tools for quantitative study of the community fi...
 
Preparation for the fieldwork 2015.2.27
Preparation for the fieldwork 2015.2.27Preparation for the fieldwork 2015.2.27
Preparation for the fieldwork 2015.2.27
 
Intro to Economic Evaluation for Family Physicians 2015.2.25
Intro to Economic Evaluation for Family Physicians 2015.2.25Intro to Economic Evaluation for Family Physicians 2015.2.25
Intro to Economic Evaluation for Family Physicians 2015.2.25
 
Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25
Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25
Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25
 
Teamwork & Leadership for medical students 2015.2.24
Teamwork & Leadership for medical students 2015.2.24Teamwork & Leadership for medical students 2015.2.24
Teamwork & Leadership for medical students 2015.2.24
 
Primary care policy & systems 2014.12.17
Primary care policy & systems 2014.12.17Primary care policy & systems 2014.12.17
Primary care policy & systems 2014.12.17
 
Informatics for Health Policy and Systems Research: Lessons Learned from a St...
Informatics for Health Policy and Systems Research: Lessons Learned from a St...Informatics for Health Policy and Systems Research: Lessons Learned from a St...
Informatics for Health Policy and Systems Research: Lessons Learned from a St...
 

Structure of Health Systems

  • 1. Pix source: Bantita Rodkred, PMAC 2017 World Art Contest, 14-17 years old โครงสร้างของระบบสุขภาพ (Structure of Health Systems) ผศ.นพ.บวรศม ลีระพันธ์ RACM 302: Community Medicine 28 พ.ย. 60 https://www.slideshare.net/borwornsom/structure-of-health-systems
  • 2. Learning Objectives of RACM302: Health Systems RACM302: 5 (+2) Learning Objectives 1. สุขภาพและปัจจัยกำหนดสุขภาพ 2. ระบบสุขภาพและระบบบริการสุขภาพ 3. การสร้างเสริมสุขภาพ 4. ศักยภาพชุมชนในการพัฒนาสุขภาพ 5. บทบาทแพทย์ต่อผู้ป่วยและสังคม 6. [เครื่องมือทางระบาดวิทยา: QUAN] 7. [เครื่องมือศึกษาชุมชน: QUAL] Source: www.facebook.com/pages/เครื่องมือ-7-ชิ้น-วิถีชุมชน/341466792618644 Research Methods & Tools • QUAN: ระบาดวิทยาและชีวสถิติ เช่น “cross-sectional survey” • QUAL: การวิจัยเชิงคุณภาพเพื่อ สังเคราะห์บทเรียนจากการเรียนรู้ ภาคสนาม เช่น “การประยุกต์ใช้ เครื่องมือ 7 ชิ้นเพื่อศึกษาวิถีชุมชน”
  • 3. Ø“Up and down the ladder of abstraction” Source: influxentrepreneur.com/wendyelwell/ Learning Community Medicine นามธรรม (abstract): • แนวคิด (concepts) • ทฤษฎี (theories) • หลักการ (principles) • กลยุทธ์ (strategies) รูปธรรม (concrete): • การเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล (data) • กรณีศึกษา (case studies) • การทำงานภาคสนาม (fieldwork) • การนำเสนองาน (presentations)
  • 4. 1) แนวคิดเบื้องต้นเรื่องระบบ (basic concepts of systems) – การวิเคราะห์ระบบ (systems analysis) – การคิดเชิงระบบ (systems thinking) 2) โครงสร้างของระบบสุขภาพ (structure of health systems) – องค์ประกอบหลัก (Building Blocks) ของระบบบริการสุขภาพ – การออกแบบบริการสุขภาพ (design and delivery of health services) – ปัจจัยกำหนดสุขภาพด้านสังคม (Social Determinants of Health: SDH) 3) การเรียนรู้จากกรณีศึกษา (case studies) Outline Pix source: online.wsj.com
  • 6. การอภิบาลระบบสุขภาพ (Health Systems Governance) Pix Source: www.hfocus.org/contrast Health Policy Debates?
  • 7. การอภิบาลระบบสุขภาพ (Health Systems Governance) Pix Source: www.hfocus.org/content/2017/11/14846; www.facebook.com-TaxBugnoms-posts-2093916907300381.html Health Policy Debates?
  • 8. หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (Universal Health Coverage) Challenges in Thai UHC? Pix Source: www.hfocus.com
  • 9. Pix source: http://techsauce.co/news/ringmd-connects-patients-doctors-around-the-world-24-7/; Lewis G. Sandy (2010). AcademyHealth 2010 Annual Research Meeting June 29, 2010; การจัดการระบบบริบาลสุขภาพ (Healthcare Management) Health Informatics & Care Coordination?
  • 10. Health-seeking Behaviors? Source: www.facebook.com/www.jantrai; http://pantip.com/topic/30923133 ความแตกฉานด้านสุขภาพ (Health Literacy)
  • 11. Pix Source: www.bangkokpost.com, www.kapook,com สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (Supportive Environment) Social Norms??
  • 13. Source: WHO (2000). The World Health Report 2000; Pix source: Modified from: buelahman.files.wordpress.com The World Health Report 2000: • The WHO’s first major analysis of the world’s healthcare systems. • Health systems of all member states were analyzed and ranked by eight measures that explain how health systems perform. • Thailand was ranked the 47th on the overall health systems performance. Japan (10th) Thailand (47th) China (144th) Germany (25th) Japan (10th) Canada (30th) USA (37th) UK (18th) Swiss (20th) Mexico (61th) France (1st) India (144th) Israel (28th) Italy (2nd) Australia (32nd)
  • 15. โครงสร้างและหน้าที่ของระบบสุขภาพ (Structure & Functions of Health Systems) Pix source: www.free-ed.net/free-ed/HealthCare/Physiology/default.asp — Structure & Organizations • Patient Care Teams • PCUs/Clinics • Hospitals • Systems/Networks • Governance Bodies — Functions & Systems Building Blocks • Managing/Governing • Financing • Creating Resources • Delivering Services • Achieving Goals “Anatomy of Health Systems” “Physiology of Health Systems” (Structure = What) (Functions = How)
  • 17. Case Study #1 โรงพยาบาลลำสนธิ อำเภอลำสนธิ จังหวัดลพบุรี (14 min) Pix source: online.wsj.com
  • 20. Health & Health Determinants Health System
  • 21. Health & Health Determinants = Health Services Systems (“Traditional Health Sector of Health Systems”) SDH
  • 22. Systems Analysis & Systems Thinking Source: Scheerens and Bosker 1997 “IPO” การทำหน้าที่ของระบบสุขภาพ (functions of health systems) โครงสร้างของ ระบบสุขภาพ (structure of health systems) (= How) (= What) เป้าหมาย ของระบบ สุขภาพ (goals of health systems) =“ในระบบ” =“นอกระบบ” =“เกณฑ์การจำแนกใน-นอกระบบ”
  • 23. Six Building Blocks of Health Services Systems Health Services System Health System “IPO”
  • 24. • หน้าที่ของระบบสุขภาพ ได้แก่ การทำงานขององค์ประกอบต่างๆ ภายในระบบสุขภาพเพื่อพัฒนาสุขภาพของประชาชนในทุกมิติ โดยมี “เป้าหมายร่วม” (mutual goals) ได้แก่ 1. การทำให้สุขภาวะของประชาชนให้ดีขึ้น (improving health status) 2. การป้องกันความเสี่ยงทางการเงินและความเสี่ยงทางสังคมของประชาชน (financial and social risk protection) 3. การตอบสนองความต้องการด้านสุขภาพในแต่ละบริบทได้เหมาะสม (responsiveness) เพื่อทำให้ประชาชนรวมทั้งผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในระบบ สุขภาพมีความพึงพอใจ (satisfaction) Functions of Health Systems Source: WHO (2000); Roberts MJ, Hsiao W, Berman P, Reich MR (2004)
  • 25. 1. ระบบบริการสุขภาพ (health services systems) – ประเภทของการจัดบริการสุขภาพ (type of health services) – ระดับของระบบบริการสุขภาพ (level of health services) – ประเภทขององค์กรผู้ให้การบริการสุขภาพ (type of healthcare organizations) – องค์ประกอบพื้นฐาน (“Building Blocks”) ในการทำหน้าที่ของระบบบริการสุขภาพ 2. ปัจจัยกำหนดสุขภาพด้านสังคม (social determinants of health: SDH) – ปัจจัยกำหนดสุขภาพด้านปัจเจก – ปัจจัยกำหนดสุขภาพด้านสิ่งแวดล้อม Structure of Health Systems
  • 26. 1. การจัดบริการสุขภาพ (Delivery of Health Services) 2. ทรัพยากรบุคคลด้านสุขภาพ (Human Resources for Health) 3. ระบบการคลังสุขภาพ 4. ผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยีสุขภาพ (Essential Medical Products, Vaccines and Technologies) 5. สารสนเทศสุขภาพ (Health Information) 6. ภาวะผู้นำและการอภิบาลระบบสุขภาพ (Leadership and Governance) Six Building Blocks of Health Services Systems Source: 1-6 WHO (2007) Strengthening health systems to improve health outcomes: 7 WHO’s framework for action; Commission on Social Determinants of Health (2008) Closing the gap in a generation: health equity through action on the social determinants of health. “คน” “เงิน” “ของ” “ข้อมูล” “การจัดการองค์กร” “การจัดการระบบ”
  • 27. • “การจัดบริการสุขภาพ” (delivery of services) เป็นระบบย่อยหรือองค์ประกอบ พื้นฐานของระบบบริการสุขภาพซึ่งทำหน้าที่ จัดระบบให้มีบริการสุขภาพครอบคลุมทั้งการ จัดบริการสุขภาพในระดับบุคคลและระดับกลุ่ม ประชากร โดยการออกแบบระบบการดูแล สุขภาพให้เหมาะสมกับความต้องการของกลุ่ม ประชากรที่มีความเจ็บป่วยในรูปแบบต่างๆ (care design) เหมาะสมกับประเภทของ หน่วยบริการสุขภาพ (type of services delivery) และระดับของหน่วยบริการสุขภาพ (level of services delivery) 1) Delivery of Health Services Pix source: www.wpro.who.int/topics/health_services/en/ • ความครอบคลุมและคุณภาพของบริการ สุขภาพขึ้นอยู่กับทรัพยากรสุขภาพที่มีอยู่ รวมทั้งวิธีการจัดองค์กรและวิธีการบริหาร จัดการบริการสุขภาพ (“how services are organized and managed”)
  • 28. จำแนกโดยความเป็นเจ้าของของหน่วยบริการสุขภาพ : 1) หน่วยงานผู้ให้บริการสุขภาพภาครัฐ (state healthcare organizations) 2) หน่วยงานผู้ให้บริการสุขภาพภาคเอกชนที่ไม่แสวงหากำไร (not-for-profit private healthcare organizations) 3) หน่วยงานผู้ให้บริการสุขภาพภาคเอกชนที่แสวงหากำไร (for-profit private healthcare organizations) Types of Health Services (#1 By Ownership of Healthcare Organizations)
  • 29. จำแนกโดยหน้าที่ของบริการสุขภาพ : 1. บริการส่งเสริมสุขภาพ (health promotion services) 2. บริการป้องกันโรค (disease prevention services) 3. บริการรักษาโรค (medical treatments services) 4. บริการฟื้นฟูสภาพ (rehabilitation services) “Type” of Health Services (#2 By Functions of Services)
  • 30. จำแนกโดยระดับของทรัพยากรที่ใช้ในการจัดบริการสุขภาพ : 1. บริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ (primary care services) 2. บริการสุขภาพระดับทุติยภูมิ (secondary care services) 3. บริการสุขภาพระดับตติยภูมิ (tertiary care services) – supra-tertiary care services – quaternary care “Type” of Health Services (#3 By Level of Health Resources)
  • 31. จำแนกโดยการออกแบบระบบการดูแลให้เหมาะสมกับความเจ็บป่วย : 1) การดูแลผู้ป่วยระยะเฉียบพลัน (acute care): – hospitals, medical centers, inpatient care 2) การดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน (emergency care): – emergency department (ED/ER), prehospital care (ambulance) 3) การดูและระยะกึ่งเฉียบพลัน (sub-acute care): – rehabilitation wards, rehabilitation centers 4) การดูแลหลัก/การดูแลปฐมภูมิ (primary care): – health centers, primary care clinics,, primary care units (PCUs) Types of Health Services (#4 By Population’s Health Needs & Care Design)
  • 32. จำแนกโดยการออกแบบระบบการดูแลให้เหมาะสมกับความเจ็บป่วย : 5) การดูแลผู้ป่วยระยะเรื้อรัง (chronic care) และการดูแลผู้ป่วยนอก (ambulatory care): – primary care clinics, outpatient clinics, home health care 6) การดูแลระยะยาว (long-term care): – nursing home, home care agencies, adult day services, community-based residential 7) การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง (palliative care) และ การดูแลระยะสุดท้าย (end-of-life care): – palliative ward, home health care, hospice services Types of Health Services (#3 By Population’s Health Needs & Care Design)
  • 33. • การดูแลผู้ป่วยระยะเฉียบพลัน” (acute care) : – เป็นการออกแบบบริการสุขภาพเพื่อทำหน้าที่ดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะความเจ็บป่วย ระยะเฉียบพลัน ซึ่งอาจจำเป็นต้องรับไว้รักษาในโรงพยาบาลแบบค้างคืน (admission) เนื่องจากผู้ป่วยต้องการการวินิจฉัยโรครวมทั้งการดูแลรักษาที่ เร่งด่วนและทันเวลา – ได้แก่ การดูแลในโรงพยาบาล (hospital care) รวมถึงการดูแลในระยะวิฤต (crirical care) ภายในหอบริบาลผู้ป่วยหนัก (intensive care unit: ICU) #1 Acute Care Source: Starfield (1992, 1998)
  • 34. Source: W. Simpson del.; E. Walker lith.; Day & Son, Lithrs. to the Queen. Pix source: http://en.wikipedia.org/wiki/History_of_hospitals#mediaviewer/File:Hospital_at_Scutari_2a.jpg “Hospital at Scutari” - A ward of the hospital at Scutari where Florence Nightingale worked and helped to restructure the modern hospital
  • 35. “Level” of Healthcare Delivery Systems: (Mainly Acute Care) การสาธารณสุขมูลฐาน/Primary Health Care (population-level, public health-type functions) Community (Self-care) Primary Care Services (family doctor-type services) Secondary Care Services Tertiary Care Services (Supra-tertiary/Quaternary Care Services) 2 3 1 ระบบส่งต่อ (Referral systems)
  • 36. • การดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน (emergency care) – เป็นการออกแบบบริการสุขภาพเพื่อทำหน้าที่ดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน ซึ่งต้องการการ วินิจฉัยโรคและการรักษาพยาบาลที่ทันเวลา มีประสิทธิภาพ ซึ่งหากผู้ป่วยที่หากไม่ได้ รับการรักษาที่ถูกต้องทันทีอาจมีปัญหาถึงขั้นมีการบาดเจ็บถาวรหรือเสียชีวิตได้ – จำเป็นต้องมีการบริหารจัดการเชิงระบบให้สามารถจัดบริการสุขภาพให้แก่ผู้ป่วย ฉุกเฉิน เราเรียกระบบบริการสุขภาพที่ให้การบริการผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉินว่า “ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน” (emergency medical services system: EMS) เชื่อมต่อกระบวนการทำงานอย่างครบวงจร ได้แก่ ซึ่งประกอบไปด้วยการดูแลก่อนถึง โรงพยาบาล การดูแลผู้ป่วยที่แผนกฉุกเฉิน การดูแลเฉพาะทางและการฟื้นฟูสภาพ และการสร้างความตระหนักเพื่อป้องกันเหตุฉุกเฉินในอนาคต #2 Emergency Care
  • 38. • การดูและระยะกึ่งเฉียบพลัน (sub-acute care/intermediate care): – เป็นการออกแบบบริการสุขภาพเพื่อทำหน้าที่ฟื้นฟูสภาพสมรรถภาพ (rehabilitation) ของผู้ป่วยที่พ้นจากความเจ็บป่วยระยะเฉียบพลันแล้ว แต่ยังคง มีการทำหน้าที่ของร่างกายที่ไม่สมบูรณ์ และยังจำเป็นต้องได้รับการดูแลทาง สุขภาพ – ได้แก่ การทำกายภาพบำบัด (physiotherapy) ในโรงพยาบาล การฟื้นฟู สมรรถภาพโดยชุมชน (community-based rehabilitation: CBR) เป็นต้น #3 Sub-Acute Care/Intermediate Care
  • 40. • การดูแลระยะเรื้อรัง (chronic care) – เป็นการออกแบบบริการสุขภาพเพื่อทำหน้าที่ดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะความเจ็บป่วยหรือ ความบกพร่องของการทำหน้าที่ของร่างกายและจิตใจเป็นระยะเวลานานกว่าหนึ่งปี ซึ่ง ส่งผลต่อการดำรงชีวิตประจำวันของผู้ป่วย และมีความต้องการบริการสุขภาพเพื่อดูแล ปัญหาสุขภาพอย่างต่อเนื่อง – หลักการดูแลสำคัญ ได้แก่ การเสริมสร้างพลังอำนาจให้ผู้ป่วย (empowerment) และ การปฏิรูปการจัดบริการสุขภาพให้แตกต่างจากการดูแลระยะเฉียบพลัน เช่น การ ออกแบบทีมผู้ดูแลโรคเรื้อรัง การจัดระบบการคลังสุขภาพ ระบบสารสนเทศสุขภาพ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจทางคลินิก และนโยบายและทรัพยากรในชุมชนที่จะช่วย ให้เกิดระบบสนับสนุนและการจัดการตนเอง – ตัวอย่างเช่น การดูแลผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาล การดูแลในหน่วยบริการสุขภาพ ปฐมภูมิ (รวมทั้งคลินิกแพทย์) เป็นต้น #4 Chronic Care
  • 41. Disability-Adjusted Year Lost (2004) Injury NCD Infection 0-4 5-14 15-29 30-44 45-59 60-69 70-79 80+ 0-4 5-14 15-29 30-44 45-59 60-69 70-79 80+ Males Females 1,600 1,400 1,200 1,000 800 600 400 200 0 Sour Source: Adapted from: WHO (2008), http://www.who.int/healthinfo/global_burden_disease
  • 42. Chronic Care Model (CCM) Figure Source: www.improvingchroniccare.org
  • 44. Chronic Care Model (CCM) Source: Coleman et al. (2009)
  • 45. • การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง (palliative care): – เป็นการออกแบบบริการสุขภาพเพื่อทำหน้าที่ดูแลผู้ป่วยที่มีความเจ็บป่วยรุนแรง (serious illness) ซึ่งอาจรักษาไม่หายหรือมีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิต ดูแลครอบคลุม ถึงผู้ดูแลผู้ป่วยซึ่งเป็นญาติหรือสมาชิกในครอบครัวของผู้ป่วย รวมทั้งมีเป้าหมายของ การดูแลสุขภาพของผู้ป่วยและครอบครัวเพื่อการเพิ่มคุณภาพชีวิตและเลือกวิธีการ รักษาพยาบาลโดยไม่ได้ขึ้นอยู่กับการพยากรณ์โรคแต่เพียงอย่างเดียว – ตัวอย่างเช่น การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองภายในโรงพยาบาล และการดูแล ผู้ป่วยแบบประคับประคองที่บ้านหรือในชุมชน เป็นต้น – ครอบคลุม “การดูแลในระยะสุดท้ายของชีวิต” (end-of-life care or hospice care) ซึ่งรวมถึงการดูแลสมาชิกภายในครอบครัวของผู้ป่วยซึ่งต้องรับมือจัดการกับความตาย และความสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก #5 Palliative Care & End-of-Life Care
  • 46. Conceptual Framework of Palliative Care • Care provided based on patient and family needs & goals and independent of prognosis • Goal = quality of life (not to cure or to extend life) “Critical illness” “Dying”
  • 47. What the Dying Want? Pix source: marionete.blog.cz; www.adintrend.com
  • 49. Pix source: www.noelhastings.org Intensive Care vs. End-of-Life Care?
  • 50. Pix source: www.noelhastings.org; www.dailymail.co.uk End-of-Life Care (Hospice Care) “Till Death Do Us Part”
  • 51. Being Mortal: Medicine and What Matters in the End Pix source: www.facebook.com/Openworlds/photos/ “Begin with the End in Mind”
  • 52. • การดูแลระยะยาว” (long-term care): – เป็นการออกแบบบริการสุขภาพเพื่อซึ่งมีวัตถุประสงค์ทำให้ผู้ที่สูญเสียหรือผู้ที่เสี่ยงที่จะสูญเสีย สมรรถนะอย่างมีนัยสำคัญและอย่างต่อเนื่อง (โดยเฉพาะผู้สูงอายุหรือผู้พิการ) สามารถดำรง ไว้ซึ่งสมรรถนะในการปฏิบัติหน้าที่ต่างๆ ที่เกี่ยวพันกับสิทธิและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน รวมทั้ง เกียรติและศักดิ์ศรีของตนเอง – ตัวอย่างเช่น การดูแลระยะยาวของผู้สูงอายุในสถานดูแลผู้สูงอายุ (nursing home) – ขอบเขตบริการของการดูแลระยะยาวครอบคลุมบริการใน 3 ด้านใน “care cycle” ได้แก่ 1. การจัดบริการด้านสังคม (social services) เช่น การดูแลการปฏิบัติกิจวัตรส่วนบุคคล พื้นฐาน (activities of daily living: ADL) เช่น การกิน การแต่งตัว การเข้าห้องน้ำ 2. การจัดบริการด้านสุขภาพ (health services) เช่น บริการทางการพยาบาล/การแพทย์ 3. การบริการจัดการการดูแล (management services) เช่น การประสานงานและการ จัดการนัดหมาย บูรณาการของการบริการด้านสังคมและด้านสุขภาพสำหรับผู้ป่วย #6 Long-term Care
  • 53. Range/Scope of Long-Term Care Source: Adapted from Feldman, Nadash & Gursen (2008) 1) Chronic Care 2) Palliative Care 3) Rehabilitative Services • Activities of Daily Living (ADL) • Instrumental Activities of Daily Living (IADL) 4) Supportive services • Care plans, appointment arrangement • Coordination between providers & patients-caregivers • Logistics and supply of necessities 5) Care Management
  • 54. Life Expectancy vs. Fertility Pix source: www.gapminder.org/world
  • 55. Life Expectancy vs. Fertility Pix source: www.gapminder.org/world
  • 56. Dealing with the Care Cycle Source: Tishihiko Hasegawa (2013)
  • 57. Where Are the Elderly Currently Living? Pix source: www.thetimes.co.uk/tto/health/news/article3609174.ece
  • 58. • “การดูแลหลัก/การบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ” (primary care) เป็นการ จัดบริการสุขภาพหลักสำหรับประชาชนซึ่งมีหลักการที่สำคัญ 4 ประการ ได้แก่ 1) การทำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพเมื่อมีปัญหาสุขภาพใหม่เกิดขึ้น หรือเรียกว่า เป็น “บริการด่านแรก” (first contract, accessibility of care) 2) การสร้างความต่อเนื่องของการบริการสุขภาพ (continuity of care) ให้การดูแลต่อเนื่องทั้ง ชีวิต ไม่ใช่เพียงแค่ให้การดูแลความเจ็บป่วยในแต่ละครั้ง 3) การสร้างความเชื่อมโยงกับหน่วยบริการสุขภาพอื่นๆ หรือผู้ให้บริการสุขภาพประเภทอื่นๆ (coordination of care) 4) การให้บริการสุขภาพที่มีความครบถ้วนครอบคลุม (comprehensiveness of care) โดยผู้ให้บริการสุขภาพหลักทำหน้าที่ประสานงานและส่งปรึกษาผู้เชื่ยวชาญในการดูแลสุขภาพ ด้านต่างๆ เมื่อมีความจำเป็น • Primacy care as “a care design” vs. as “a level” of health services #7 Primary Care Source: Starfield (1992, 1998)
  • 60. Primary Care in Different Settings? Source: Macagba, R. L. (1985). Hospitals and Primary Health Care: An International Study from the International Hospital Federation. In M. Hardie (Ed.), World-wide survey on the Role of Hospitals in Primary Health Care. London: International Hospital Federation.
  • 61. Primary Care vs. Primary Health Care (การดูแลหลัก/การบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ vs. การสาธารณสุขมูลฐาน) Source: Muldoon LK, Hogg WE, Levitt M. Primary care (PC) and primary health care (PHC). What is the difference? Can J Public Health. 2006;97.
  • 62. Self-Care & Health Literacy (General Population, Community Health Volunteers) Pix source: http://banhangmaew.blogspot.com/p/blog-page_29.html; https://www.safetyandquality.gov.au/publications/health-literacy-infographics/ Primary Care vs. Primary Health Care (การดูแลหลัก/การบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ vs. การสาธารณสุขมูลฐาน)
  • 63. Pix source: www.bangkokhospital.com/ Primary Care Clinic Hospital Primary Care in Private Sector
  • 64. Pix source: WHO (2008) The World Health Report 2008, Figure 3.1 Characteristics of Primary Care
  • 65. Pix source: WHO (2008) The World Health Report 2008, Figure 3.5 Care Coordination: Primary Care Team
  • 66. • “ทรัพยากรบุคคลด้านสุขภาพ” (health workforce) เป็นองค์ประกอบพื้นฐาน หรือระบบย่อยซึ่งทำหน้าที่สร้าง พัฒนา และใช้บุคลากรทางสุขภาพเพื่อให้สามารถ ทำงานตอบสนองต่อปัญหาในระบบสุขภาพได้อย่างดี มีความเป็นธรรม มี ประสิทธิภาพ สามารถก่อให้เกิดผลลัพธ์ทางสุขภาพที่ดีที่สุดเท่าที่ทรัพยากรมีอยู่ 2) Human Resources for Health Pix source: www.wpro.who.int/topics/human_resources_health/en/
  • 67. Source: Adapted from Whole Systems Partnership (2017). The Strategic Workforce integrated Planning & evaluation (SWiPe®) Framework Strategic Planning of HRH: Thailand Q1 •“Who will need care?” •To identify population cohorts of need Q2 •“What are we trying to change?” •To determine outcomes of service transformation Q3 •“What care functions will be needed?” •To identify care functions as groupings of activities/tasks Q4 •“How much of each care function will be?” •To quantify intensity and frequency of care functions Q5 •“What skills will we need for care functions?” •To vision the skill mix of the future workforce Q6 •“Who is providing care right now?” •To determine the workforce baseline Q7 •“What is the most effective strategy?” •To secure the future workforce: recruitment & retention Q8 •“How much will it cost?” •To quantify the future resource requirement Q9 •“Which plan will we go for?” •To use modeling to help policy decision-making process Q10 •“What does it mean for service delivery?” •To implement the skill mix into staff and team plans #1 ความต้องการด้านสุขภาพของประชากร (Population health needs) #2 การปฏิรูประบบบริการสุขภาพ (Services transformation) #3 การพัฒนากำลังคน (Workforce development)
  • 68. • “ผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยีทางสุขภาพ” (medical products, vaccines and technologies) เป็นองค์ประกอบพื้นฐานหรือระบบย่อยซึ่งทำหน้าที่ผลิต กระจาย และเลือกใช้ผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยีทางสุขภาพบนพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ (health technology assessment, HTA) เพื่อใช้ผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยีทาง สุขภาพที่มีคุณภาพ ประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ปลอดภัย และประชาชนสามารถ เข้าถึงได้อย่างเป็นธรรม 3) Essential Medical Products, Vaccines and Technologies Pix source: www.wpro.who.int/topics/essential_medicines/en/
  • 69. Health Technology Assessment (HTA) • Developing methods to routinely collect and assess clinical outcomes Source: HISRO (2012); Pix source: www.hitap.net/en/
  • 70. • “สารสนเทศสุขภาพ” (health information) เป็นองค์ประกอบพื้นฐานหรือระบบ ย่อยซึ่งทำหน้าที่สร้างข้อมูลและสารสนเทศที่สามารถสนับสนุนให้เกิดการบริการที่ดี มีการวิเคราะห์ การกระจายและการใช้ข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยสุขภาพ (health determinants) สมรรถภาพของระบบสุขภาพ (health system performance) และสถานะสุขภาพ (health status) ซึ่งเชื่อถือได้ (reliable) และทันเวลา (timely) 4) Health Information Pix source: www.wpro.who.int/topics/health_information/en/
  • 71. Pix source: http://techsauce.co/news/ringmd-connects-patients-doctors-around-the-world-24-7/; Lewis G. Sandy (2010). AcademyHealth 2010 Annual Research Meeting June 29, 2010; Health Informatics & Health IT: EMR, PHR, COPE, CDSS, etc.
  • 72. • “การคลังสุขภาพ” (health financing) เป็นองค์ประกอบพื้นฐานหรือระบบย่อยซึ่ง ทำหน้าที่หาเงินทุนให้ได้อย่างพอเพียง เพื่อเป็นหลักประกันในการเข้าถึงบริการ สุขภาพของประชาชนที่ต้องการรับบริการสุขภาพที่จำเป็น รวมทั้งป้องกันการ ล้มละลายหรือความเสี่ยงทางการเงินจากการใช้บริการสุขภาพของผู้รับบริการและ สร้างแรงจูงใจในการให้บริการของผู้ให้บริการสุขภาพให้ผู้ให้บริการสุขภาพจัดบริการ สุขภาพที่มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ และความเป็นธรรม 5) Health Financing Pix source: http://www.wpro.who.int/topics/health_financing/en/
  • 73. The National Committee on Resource Mobilization for Sustainable UHC (2015) • Sustainability • Adequacy • Fairness • Efficiency The National Committee on the Development of National Health Security Systems (2016) • Sustainability & Adequacy • Fairness • Systems Efficiency & Resource Distribution • Effectiveness & Efficiency of Health Services Source: http://ihppthaigov.net/document/safe/SAFE(ENG)Feb2016.pdf
  • 74. • “ภาวะผู้นำและการอภิบาลระบบ” (leadership and governance) เป็น องค์ประกอบพื้นฐานหรือระบบย่อยซึ่งทำหน้าที่กำหนดทิศทาง นโยบาย กลยุทธ์ สำหรับการจัดบริการสุขภาพทั้งระบบ การจัดสรร การกระจาย และการเลือกใช้ ทรัพยากรสุขภาพ มีการจัดทำกฎเกณฑ์ ดำเนินการตามกฎเกณฑ์ และกำกับติดตาม ระบบบริการสุขภาพ รวมทั้งมีระบบภาระความรับผิดชอบ (accountability systems) ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายในระบบสุขภาพ 6) Leadership and governance Pix source: http://www.wpro.who.int/topics/governance/en/
  • 75. #5 Decentralization Source: HISRO (2012). Source: HISRO (2012); Pix Source: www.bumrungrad.com/en/clinics-and-centers Thailand’s 13 Regional Healthcare Governance Structure (since 2012) Governance of Regional Health Systems
  • 76. Governance of District Health Systems • ระบบการบังคับบัญชา/สั่งการตามระบบราชการ (ส่วนกลาง, ส่วนภูมิภาค, ส่วนท้องถิ่น) VS. ระบบประสานงาน (เช่น ระบบสุขภาพอำเภอ) กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทย สํานักงาน ปลัดสธ.กรมฯ (อธิบดี) ศูนย์วิชาการ (ผอ.ศูนย์ฯ เขต) ทีHว่าการจังหวัด (ผู้ว่าราชการจังหวัด) สํานักงาน สาธารณสุขอําเภอ (สสอ.) รพ.สต. (สอ.) (ผอ.รพ.สต.) ทีHว่าการอําเภอ (นายอําเภอ) สํานักงาน สาธารณสุขจังหวัด (นพ.สสจ.) รพศ., รพท. (ผอ.รพ.) รพช. (ผอ.รพ.) เทศบาล, อบต. (นายกเทศมนตรี) - คณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขระดับอำเภอ (คปสอ.) - คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) เอกชน Relevancy
  • 77. Governance of Health Systems: Social Accountability Source: https-//dhdcblog.files.wordpress.com/2015/03/pic_1
  • 80. Health & Health Determinants = Health Services Systems (“Traditional Health Sector of Health Systems”) SDH
  • 81. Six Building Blocks of Health Services Systems Health Services System Health System “IPO”
  • 82. Stakeholders in Thai Health System Pix source: www.nationalhealth.or.th
  • 83. Pix Source: www.bangkokpost.com, www.kapook,com 5E: Education, Traffic Engineering, Law Enforcement, Public Empowerment, Emergency Medical Services
  • 85. 1) แนวคิดเบื้องต้นเรื่องระบบ (basic concepts of systems) – การวิเคราะห์ระบบ (systems analysis) – การคิดเชิงระบบ (systems thinking) 2) โครงสร้างของระบบสุขภาพ (structure of health systems) – องค์ประกอบหลัก (Building Blocks) ของระบบบริการสุขภาพ – การออกแบบบริการสุขภาพ (design and delivery of health services) – ปัจจัยกำหนดสุขภาพด้านสังคม (Social Determinants of Health: SDH) 3) การเรียนรู้จากกรณีศึกษา (case studies) Summary Pix source: online.wsj.com
  • 86. Health Systems Exercise: Module I Pix source: online.wsj.com
  • 87. Ø“Experience, not explanation.” Picture source: commonsenseatheism.com; variety.thaiza.com Learning Community Medicine EXPERIENCE
  • 88. นศพ.จะเรียนรู้ “โครงสร้าง” และ “การทำหน้าที่” ของระบบสุขภาพไทย จากการเรียนรู้และการทำงานในภาคสนาม (fieldwork) ได้อย่างไร? Pix source: ecrins2010.blogspot.com