SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
Download to read offline
1

รายงาน
เรื่องคอมพิวเตอร์
เสนอ
อาจารย์ จุฑารัตน์ ใจบุญ
จัดทาโดย
นางสาวภัสรา
ไชยภักดี เลขที่ 29
นางสาวบุษยา ชัยรัตน์ เลขที่ 27
ชั้นม.4/4
โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์
อาเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
2

คานา
รายงานฉบับนี้จัดทาขึ้นเพื่อประกอบการเรียนการสอน ในรายวิชา คอมพิวเตอร์ชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 4โดยมีจุดประสงค์ เพื่อศึกษา ให้นักเรียนได้ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีเนื้อหาที่
เกี่ยวกับ การสื่อสารข้อมูล เครือข่ายคอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต สังคมออนไลน์ เพื่อให้นักเรียนศึกษาและ
เรียนรู้นอกห้องเรียน และสามารถนาความรู้มาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้
ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้อ่านไม่มากก็น้อย หากผิดพลาด
ประการใด ก็ ขออภัยไว้ ณ โอกาสนี้ด้วย

สมาชิกในกลุ่ม
3

สารบัญ
เรื่อง

หน้า

การสื่อสารข้อมูล
เครือข่ายคอมพิวเตอร์

1
4

อินเทอร์เน็ต

12

สังคมออนไลน์ (Social Media)

21

อ้างอิง

26
4

การสื่อสารข้อมูล
เทคโนโลยีการสื่อสารมีส่วนช่วยให้การดาเนินงานธุรกิจในปัจจุบันเป็นไปอย่างราบรื่น ช่วย
ให้การส่งข้อมูลในรูปแบบต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นทางโทรสาร โทรศัพท์ อีเมล์ โทรทัศน์ และอื่นๆ ไปยัง
จุดหมายที่อยู่ห่างไกลเป็นไปอย่างสะดวกและรวดเร็ว
เทคโนโลยีคมนาคมและการสื่อสารนามาประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการดาเนินงาน
ทางธุรกิจโดยมีวัตถุประสงค์หลัก 4 ประการดังนี้
1.เพื่อการสื่อสารทางธุรกิจที่ดีขึ้น ช่องทางการสื่อสารระหว่างบุคคลมีหลายรูปแบบเทคโนโลยี
คมนาคมช่วยให้การ ติดต่อสื่อสารรวดเร็ว ถูกต้อง และได้รับข้อมูลสะท้อนกลับอย่างทันที
2.เพื่อให้การดาเนินงานมีประสิทธิภาพสูงขึ้น โดยปกติการดาเนินงานทางธุรกิจมักจะมีการใช้
งาน ข้อมูลร่วมกันในแต่ละแผนก ซึ่งเทคโนโลยีโทรคมนาคมช่วยอานวยความสะดวกในการสื่อสารใช้
งานข้อมูลร่วมกัน ให้ความสะดวกในการบันทึกข้อมูลและประมวลผลข้อมูล ลดความซ้าซ้อน การ
ทางานที่ผิดพลาด ส่งผลให้การดาเนินธุรกิจมีความถูกต้องและมีประสิทธิ์ภาพสูงขึ้น
3.เพื่อการกระจายข้อมูลที่ดีขึ้น ช่วยให้การรับส่งข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์กระทาได้
อย่างสะดวก เครื่อง คอมพิวเตอร์ ปลายทางสามารถเรียกใช้ฐานข้อมูลกลางด้วยความเร็วรวด.
4.เพื่อการจัดการกระบวนการธุรกิจที่สะดวกขึ้น พัฒนาการทางอินเตอร์เน็ตช่วยให้การดาเนิน
ธุรกิจ ออนไลน์พัฒนามะ หยุดยั้งตามไปด้วย กระบวนการทางธุรกิจอัตโนมัติกระทาด้วยการ
สนับสนุน ของเทคโนโลยี คมนาคมที่ทันสมัย

พัฒนาการสื่อสารข้อมูล
ธรรมชาติของมนุษย์ต้องการอยู่รวมกันเป็นกลุ่มเพื่อดาเนินกิจกรรมต่างๆร่วมกัน ทาให้มีการ
ติดต่อสื่อสารระหว่างกันทางานสร้างสรรค์สังคมเพื่อให้สังคมมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นจากการดาเนินชีวิต
ร่วมกันทั้งในด้านครอบครัว ด้านการทางานตลอดจนสังคมและการเมืองทาให้ไม่สามารถหลีกเลี่ยงการ
พบปะแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างกันได้เมื่อมนุษย์มีความจะเป็นที่ต้องมีการติดต่อสื่อสาร
ระหว่างกันจึงมีการพัฒนาการหลายด้านที่ตอบสนองเพื่อให้ใช้งานได้ตามความต้องการ เช่น

1.การสื่อสารด้วยรหัส จากอดีตกาล การสื่อสารต้องอาศัยคนนาสารมีการถือเอกสารจากบุคคล
หนึ่งเดินทางส่งต่อให้กับผู้รับปลายทางต่อมามีการสร้างรหัสเฉพาะเพื่อรับรู้กันเฉพาะผู้รับและผู้ส่ง จน
5

เมื่อปีพ.ศ. 2379 แซมมวล มอร์ส ( Samuel Morse) สามารถส่งรหัสข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกด้วย
คลื่นวิทยุ เรียกว่ารหัส มอร์สซึ่งเป็นรหัสที่ใช้จุดและขีดเป็นสัญลักษณ์ในการส่งวิทยุทาให้เกิดการ
สื่อสารระยะไกล และในเวลาต่อมาสามารถขยายผลไปใช้ในกิจกรรมวิทยุและโทรทัศน์ นอกจากนี้
รหัส มอร์ส ยังใช้ในการสื่อสารด้วยโทรเลขเป็นระยะเวลานาน

2.การสื่อสารด้วยสายตัวนา ในปี พ.ศ. 2419 อเล็กซานเดอร์ แกรแฮมเบล ( Alexander Graham
Bell) ได้ประดิษฐ์ โทรศัพท์เพื่อการสื่อสารด้วยเสียงผ่ายทางสายตัวนาทองแดง พัฒนาการเทคโนโลยีนี้
ได้ก้าวหน้าขึ้นเป็นลาดับจากเริ่มต้นใช้การสลับสารด้วยคน ต่อมาใช้ระบบการสลับสายแบบอัตโนมัติ
ได้พัฒนาและใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวางปัจจุบันโครงข่ายตัวนาที่ใช้ในระบบโทรศัพท์เป็นโครงข่าย
ดิจิทัลจึงทาให้การส่งข้อมูลสามารถใช้ร่วมกับแบบอื่นร่วมได้
3.การสื่อสารโดยใช้คอมพิวเตอร์ การพัฒนาการทางด้านคอมพิวเตอร์เริ่มจากมีการประมวลผล
แบบรวมศูนย์ (centralized processing) เช่น ใช้เครื่องมินิคอมพิวเตอร์ หรือเครื่องเมนแฟรมเป็นเครื่อง
คอมพิวเตอร์แม่ข่าย (host) โดยเป็นศูนย์กลางให้ผู้ใช้ใช้งานได้หลายคนพร้อมกันแต่ละคนเปรียบเสมือน
เป็นสถานีปลายทางที่เรียกใช้ทรัพยากรหรือการคานวณจากศูนย์กลางและให้ คอมพิวเตอร์ตอบสนอง
ต่อการทางานนั้น

ต่อมาเมื่อมีการพัฒนาไมโครคอมพิวเตอร์ที่ทาให้สะดวกต่อการใช้งานส่วนบุคคลจนเรียก
เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ว่า พีซี ( Personal Computer : PC) การใช้ไมโครคอมพิวเตอร์แพร่หลายอย่าง
รวดเร็ว เพราะใช้งานง่าย ราคาไม่สูงมากสามารถจัดหามาใช้ได้ง่ายเมื่อมีการใช้งานกันมากบริษัทผู้ผลิต
6

คอมพิวเตอร์ต่างๆก็ปรับปรุงและพัฒนาเทคโนโลยีให้ตอบสนองความต้องการที่สามารถทางานร่วมกัน
เป็นกลุ่ม
เครือข่ายคอมพิวเตอร์จึงเป็นวิธีการหนึ่งและกาลังได้รับความนิยมสูงมากโดยเฉพาะ
เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพราะสามารถตอบสนองได้ตรงตามความต้องการในการติดต่อสื่อสารข้อมูล
ระหว่างกันได้สะดวกและมีการประยุกต์ใช้งานได้กว้างขวางเช่น การใช้ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ การ
โอนย้ายแฟ้มข้อมูลการสืบค้นและเรียกดูข่าว ผ่านระบบเว็บ การพูดคุย และส่งข้อความถึงกันเป็นต้น

4.การสื่อสารโดยใช้ดาวเทียม ดาวเทียมได้รับการส่งให้โคจรรอบโลกโดยมีเครื่องถ่ายทอด
สัญญาณติดไปด้วยการเคลื่อนที่ของ ดาวเทียมที่เคลื่อนไปพร้อมกับการหมุนของโลกทาให้คนบน
พื้นโลกเห็นดาวเทียมอยู่คงที่การสื่อสารผ่านดาวเทียมทาได้โดยสถานีภาคพื้นดินที่ต้องการสื่อสารจะส่ง
ข้อมูลมาที่ดาวเทียมและดาวก็จะส่งข้องมูลต่อไปยังสถานีภาคพื้นดินปลายทางแห่งหนึ่งหรือหลายแห่งก็
ได้การับสัญญาณจะครอบคลุมพื้นที่ที่ดาวเทียมโคจรอยู่ซึ่งจะมีบริเวณกว้างมากทาให้ไม่มีอุปสรรค
ทางด้านภูมิศาสตร์และเหมาะกับพื้นที่ที่ไม่สามารถติดตั้งสายได้ เช่น แนวเขาบังสัญญาณ หรือเกาะที่อยู่
กลางทะเล เป็นต้น

5.การสื่อสารด้วยระบบไร้สาย การสื่อสารผ่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ กาลังได้รับความนิยมเพราะ
โทรศัพท์แบบเคลื่อนที่มีความสะดวก คล่องตัว การสื่อสารแบบนี้ใช้คลื่นสัญญาณวิทยุโดยผู้ใช้จะติดต่อ
กับศูนย์กลางสถานีรับส่งการสื่อสารวิธีนี้มีการวางเป็นเซลครอบพื้นที่ต่างๆ ไว้จึงเรียกระบบ
โทรศัพท์ไร้สายแบบนี้ว่า เซลลูลาร์โฟน (cellular phone) พัฒนาการของระบบไร้สายยังได้รับการนามา
ประยุกต์ใช้ในด้านต่างๆ อีกหลายอย่างเช่น ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์หรือที่เรียกว่า แลนไร้สาย
และระบบการส่งข้อความ (paging) เป็นต้น
7

เครือข่ายคอมพิวเตอร์
การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและความสาคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับการใช้
งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหล่านั้นถึงกับเพื่อเพิ่มขีด
ความสามารถของระบบให้สูงขึ้น เพิ่มการใช้งานด้านต่าง ๆ และลดต้นทุนระบบโดยรวมลง มีการแบ่ง
ใช้งานอุปกรณ์และข้อมูลต่าง ๆ ตลอดจนสามารถทางานร่วมกันได้
สิ่งสาคัญที่ทาให้ระบบข้อมูลมีขีดความสามารถเพิ่มขึ้น คือ การโอนย้ายข้อมูลระหว่างกัน และ
การเชื่อมต่อหรือการสื่อสาร การโอนย้ายข้อมูลหมายถึงการนาข้อมูลมาแบ่งกันใช้งาน หรือการนา
ข้อมูลไปใช้ประมวลผลในลักษณะแบ่งกันใช้ทรัพยากร เช่น แบ่งกันใช้ซีพียู แบ่งกันใช้ฮาร์ดดิสก์ แบ่ง
กันใช้โปรแกรม และแบ่งกันใช้อุปกรณ์อื่น ๆ ที่มีราคาแพงหรือไม่สามารถจัดหาให้ทุกคนได้ การ
เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นเครือข่ายจึงเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งานให้กว้างขวางและมากขึ้นจาก
เดิม
การเชื่อมต่อในความหมายของระบบเครือข่ายท้องถิ่น ไม่ได้จากัดอยู่ที่การเชื่อมต่อระหว่าง
เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ แต่ยังรวมไปถึงการเชื่อมต่ออุปกรณ์รอบข้าง เทคโนโลยีที่ก้าวหน้าทาให้การ
ทางานเฉพาะมีขอบเขตกว้างขวางยิ่งขึ้น มีการใช้เครื่องบริการแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บรวบควมแฟ้มข้อมูล
ต่างๆ มีการทาฐานข้อมูลกลาง มีหน่วยจัดการระบบสือสารหน่วยบริการใช้เครื่องพิมพ์ หน่วยบริการ
การใช้ซีดี หน่วยบริการปลายทาง และอุปกรณ์ประกอบสาหรับต่อเข้าในระบบเครือข่ายเพื่อจะทางาน
เฉพาะเจาะจงอย่างใดอย่างหนึ่ง ในรูป เป็นตัวอย่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่จัดกลุ่มเชื่อมโยงเป็นระบบ

ตัวอย่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่จัดกลุ่มอุปกรณ์รอบข้างเชื่อมโยงเป็นระบบ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ก่อให้เกิดความสามารถในการปฎิบัติการร่วมกัน ซึ่งหมายถึงการให้
อุปกรณ์ทุกชิ้นที่ต่ออยู่บนเครือข่ายทางานร่วมกันได้ทั้งหมดในลักษณะที่ประสานรวมกัน โดยผู้ใช้เห็น
เสมือนใช้งานในอุปกรณ์เดียวกัน จึงเป็นวิธีการในการนาเอาอุปกรณ์ต่างชนิดจานวนมาก มารวมกันเป็น
เสมือนระบบเดียวกัน ทั้ง ๆ ที่อุปกรณ์เหล่านั้นอาจจะมาจากต่างยี่ห้อ ต่างบริษัท ก็ได้
8

ความหมายของระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ( Computer Network) หมายถึงการนาเครื่องคอมพิวเตอร์ มา
เชื่อมต่อเข้าด้วยกัน โดยอาศัยช่องทางการสื่อสารข้อมูล เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างเครื่อง
คอมพิวเตอร์ และการใช้ทรัพยากรของระบบร่วมกัน (Shared Resource) ในเครือข่ายนั้น

รูปแสดงระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มีองค์ประกอบที่สาคัญ เพื่อการเชื่อมต่อเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ได้แก่ คอมพิวเตอร์แม่ข่าย ( File Server) ช่องทางการสื่อสาร ( Communication Chanel) สถานีงาน
(Workstation or Terminal) และ อุปกรณ์ในเครือข่าย (Network Operation System)
คอมพิวเตอร์แม่ข่าย
คอมพิวเตอร์แม่ข่าย หมายถึงคอมพิวเตอร์ ที่ทาหน้าที่เป็นผู้ให้บริการทรัพยากร ( Resources)
ต่าง ๆ ซึ่งได้แก่ หน่วยประมวลผล หน่วยความจา หน่วยความจาสารอง ฐานข้อมูล และ โปรแกรมต่าง
ๆ เป็นต้น ในระบบเครือข่ายท้องถิ่น (LAN) มักเรียกว่าคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ในระบบเครือข่ายระยะไกล
ที่ใช้เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ หรือ มินิคอมพิวเตอร์เป็นศูนย์กลางของเครือข่าย เรานิยมเรียกว่า
Host
Computer และเรียกเครื่องที่รอรับบริการว่าลูกข่ายหรือสถานีงาน
ช่องทางการสื่อสาร
ช่องทางการสื่อสาร หมายถึง สื่อกลางหรือเส้นทางที่ใช้เป็นทางผ่าน ในการรับส่งข้อมูล
ระหว่างผู้รับ ( Receiver) และผู้ส่งข้อมูล ( Transmitter) ปัจจุบันมีช่องทางการสื่อสาร สาหรับการ
เชื่อมต่อเครือข่าย คอมพิวเตอร์มีหลายประเภทคือ สายโทรศัพท์แบบสายคู่ตีเกลียวไม่มีฉนวนหุ้ม (UTP)
สายคู่ตีเกลียว แบบมีฉนวนหุ้ม (STP) สายโคแอคเชียล สายใยแก้วนาแสง คลื่นไมโครเวป และดาวเทียม
เป็นต้น
9

รูปแสดงช่องทางการสื่อสารโดยใช้จานรับดาวเทียม
สถานีงาน
สถานีงาน (Workstation or Terminal) หมายถึง อุปกรณ์หรือเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ที่
เชื่อมต่อ กับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทาหน้าที่เป็นสถานีปลายทางหรือสถานีงาน ที่ได้รับการบริการจาก
เครื่อง คอมพิวเตอร์แม่ข่าย เรียกว่าเป็นคอมพิวเตอร์ลูกข่าย (Workstation) ในระบบเครือข่ายระยะใกล้
มักมีหน่วยประมวลผล หรือซีพียูของตนเอง ในระบบที่ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เมนเฟรม เป็นศูนย์กลาง
เรียกสถานีปลายทางว่าเทอร์มินอล ( Terminal) ประกอบด้วยจอภาพและแป้นพิมพ์เท่านั้น ไม่มีหน่วย
ประมวลกลางของตัวเอง ต้องใช้หน่วยประมวลผลของคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางหรือ Host
อุปกรณ์ในเครือข่าย
การ์ดเชื่อมต่อเครือข่าย (Network Interface Card :NIC) หมายถึง แผงวงจรสาหรับ ใช้ในการ
เชื่อมต่อสายสัญญาณของเครือข่าย ติดตั้งไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นเครื่องแม่ข่าย และเครื่องที่เป็น
ลูกข่าย หน้าที่ของการ์ดนี้คือแปลงสัญญาณจากคอมพิวเตอร์ส่งผ่านไปตามสายสัญญาณ ทาให้
คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกันได้

รูปแสดงการ์ดเชื่อมต่อเครือข่าย
10

องค์ประกอบของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
โมเด็ม ( Modem : Modulator Demodulator)หมายถึง อุปกรณ์สาหรับการแปลงสัญญาณ
ดิจิตอล (Digital) จากคอมพิวเตอร์ด้านผู้ส่ง เพื่อส่งไปตามสายสัญญาณข้อมูลแบบอนาลอก( Analog)
เมื่อถึงคอมพิวเตอร์ด้านผู้รับ โมเด็มก็จะทาหน้าที่แปลงสัญญาณอนาลอก ให้เป็นดิจิตอลนาเข้าสู่เครื่อง
คอมพิวเตอร์ เพื่อทาการประมวลผล โดยปกติจะใช้โมเด็มกับระบบเครือข่ายระยะไกล โดยการใช้
สายโทรศัพท์เป็นสื่อกลาง เช่น เครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นต้น

รูปแสดงการใช้โมเด็มในการติดต่อเครือข่ายระยะไกล
ฮับ ( Hub)คือ อุปกรณ์เชื่อมต่อที่ใช้เป็นจุดรวม และ แยกสายสัญญาณ เพื่อให้เกิดความสะดวก
ในการเชื่อมต่อของเครือข่ายแบบดาว ( Star) โดยปกติใช้เป็นจุดรวมการเชื่อมต่อสายสัญญาณระหว่าง
File Server กับ Workstation ต่าง ๆ

แสดงฮับที่ใช้เป็นจุดเชื่อมต่อและจุดแยกของสาย
ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเครือข่าย
ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเครือข่าย หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่ทาหน้าที่ จัดการระบบเครือข่ายของ
คอมพิวเตอร์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่ออยู่กับเครือข่าย สามารถติดต่อสื่อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูลกัน
ได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ ทาหน้าที่จัดการด้านการรักษาความปลอดภัย ของระบบเครือข่าย
และยังมีหน้าที่ควบคุม การนาโปรแกรมประยุกต์ ด้านการติดต่อสื่อสาร มาทางานในระบบเครือข่ายอีก
ด้วย นับว่าซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเครือข่าย มีความสาคัญต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างยิ่ง ตัวอย่าง
11

ซอฟต์แวร์ประเภทนี้ได้แก่ ระบบปฏิบัติการ Windows NT , Linux , Novell Netware , Windows XP
,Windows 2000 , Solaris , Unix เป็นต้น

แสดงซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเครือข่าย
โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (TOPOLOGY)
การนาเครื่องคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อกันเพื่อประโยชน์ของการสื่อสารนั้น สามารถกระทาได้
หลายรูปแบบ ซึ่งแต่ละแบบก็มีจุดเด่นที่แตกต่างกันไป โดยทั่วไปแล้วโครงสร้างของเครือข่าย
คอมพิวเตอร์สามารถจาแนกตามลักษณะของการเชื่อมต่อดังต่อไปนี้
1. โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบบัส ( bus topology)จะประกอบด้วย สายส่งข้อมูลหลัก
ที่ใช้ส่งข้อมูลภายในเครือข่าย เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง จะเชื่อมต่อเข้ากับสายข้อมูลผ่านจุด
เชื่อมต่อ เมื่อมีการส่งข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์หลายเครื่องพร้อมกัน จะมีสัญญาณข้อมูลส่งไป
บนสายเคเบิ้ล และมีการแบ่งเวลาการใช้สายเคเบิ้ลแต่ละเครื่อง ข้อดีของการเชื่อมต่อแบบบัส คือ ใช้สื่อ
นาข้อมูลน้อย ช่วยให้ประหยัดค่าใช้จ่าย และถ้าเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งเสียก็จะไม่ส่งผล
ต่อการทางานของระบบโดยรวม แต่มีข้อเสียคือ การตรวจจุดที่มีปัญหา กระทาได้ค่อนข้างยาก และถ้ามี
จานวนเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายมากเกินไป จะมีการส่งข้อมูลชนกันมากจนเป็นปัญหา

2. โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบวงแหวน ( ring topology)มีการเชื่อมต่อระหว่างเครื่อง
คอมพิวเตอร์โดยที่แต่ละการเชื่อมต่อจะมีลักษณะเป็นวงกลม การส่งข้อมูลภายในเครือข่ายนี้ก็จะเป็น
วงกลมด้วยเช่นกัน ทิศทางการส่งข้อมูลจะเป็นทิศทางเดียวกันเสมอ จากเครื่องหนึ่งจนถึงปลายทาง ใน
กรณีที่มีเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งขัดข้อง การส่งข้อมูลภายในเครือข่ายชนิดนี้จะไม่
สามารถทางานต่อไปได้ ข้อดีของโครงสร้าง เครือข่ายแบบวงแหวนคือ ใช้สายเคเบิ้ลน้อย และถ้าตัด
12

เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เสียออกจากระบบ ก็จะไม่ส่งผลต่อการทางานของระบบเครือข่ายนี้ และจะไม่มี
การชนกันของข้อมูลที่แต่ละเครื่องส่ง

3. โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบดาว (star topology)ภายในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
จะต้องมีจุกศูนย์กลางในการควบคุมการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ หรือ ฮับ ( hub) การสื่อสารระหว่างเครื่อง
คอมพิวเตอร์ต่างๆ จะสื่อสารผ่านฮับก่อนที่จะส่งข้อมูลไปสู่เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ โครงสร้าง
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ แบบดาวมีข้อดี คือ ถ้าต้องการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เครื่องใหม่ก็สามารถทาได้ง่าย
และไม่กระทบต่อเครื่องคอมพิวเตอร์อื่นๆ ในระบบ ส่วนข้อเสีย คือ ค่าใช้จ่ายในการใช้สายเคเบิ้ลจะ
ค่อนข้างสูง และเมื่อฮับไม่ทางาน การสื่อสารของคอมพิวเตอร์ทั้งระบบก็จะหยุดตามไปด้วย
13

การรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ สามารถแบ่งเป็น 2 ประเภทหลัก ได้แ ก่การรับส่งข้อมูล
แบบใช้สายและการรับส่งข้อมูลแบบไร้สาย ดังนี้
การรับส่งข้อมูลแบบใช้สาย
การส่งข้อมูลแบบใช้สาย แบ่งออกตามชนิดของสายสื่อสารได้ 3 ชนิด ดังนี้
1.) สายตีเกลียวคู่ ประกอบด้วยเส้นทองแดง 2 เส้นที่หุ้มด้วยฉนวนพลาสติก พันบิดกันเป็น
เกลียวเพื่อลดการบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า จากสายข้างเคียงภายในเคเบิลเดียวกันหรือจากภายนอก
เนื่องจากสายตีเกลียวคู่นี้ยอมให้สัญญาณไฟฟ้าความถี่สูงผ่านได้สาหรับอัตราการส่งข้อมูลผ่านสายตี
เกลียวคู่จะขึ้นอยู่กับความหนาของสาย คือสายทองแดงที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางกว้าง จะสามารถส่ง
สัญญาณไฟฟ้ากาลังแรงได้ทาให้ส่งข้อมูลได้อัตราเร็วสูง โดยทั่วไปใช้สาหรับการส่งข้อมูลแบบดิจิทัล
สามารถส่งได้ถึง 100 เมกะบิตต่อวินาที ในระยะทางไม่เกินร้อยเมตรเนื่องจากมีราคาไม่แพงมาก ใช้ส่ง
ข้อมูลได้ดีจึงมีการใช้งานอย่างกว้างขวางสายตีเกลียวคู่มี 2 ชนิด ดังนี้
1.1) สายเกลียวคู่แบบไม่ป้องกันสัญญาณรบกวนหรือชนิดไม่หุ้มฉนวน ( Un-shielded
Twisted Pair : UTP)เป็นสายตีเกลียวคู่ที่ไม่มีฉนวนชั้นนอกทาให้สะดวกในการโค้งงอแต่
สามารถป้องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้น้อยกว่าสายตีเกลียวคู่ชนิดหุมฉนวน
(STP) ใช้ในระบบวงจรโทรศัพท์แบบดั้งเดิมปัจจุบันมีการปรับคุณสมบัติให้ดีขึ้น สามารถใช้
กับสัญญาณความถี่สูงได้และเนื่องจากมีราคาสูงจึงนิยมใช้ในการเชื่อมต่ออุปกรณ์ในเครือข่าย
1.2) สายตีเกลียวคู่แบบป้องกันสัญญาณรบกวนหรือชนิดหุ้มฉนวน (
Shielded
Twisted Pair : STP) เป็นสายตีเกลียวคู่ที่ชั้นนอกหุ้มด้วยลวดถักที่หนาเพื่อป้องกันการรบกวน
ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ารองรับความถี่ของการส่งข้อมูลได้สูงกว่าสายตีเกลียวคู่แบบไม่ป้องกัน
สัญญาณรบกวน แต่มีราคาแพงกว่า
2. สายโคแอกซ์ (coaxial cable)มีลักษณะเช่นเดียวกับสายที่ต่อมาจากเสาอากาศประกอบด้วย
ลวดทองแดงที่เป็นแกนหลักหุ้มด้วยฉนวนชั้นหนึ่ง เพื่อป้องกันกระแสไฟฟ้ารั่วจากนั้นจะหุ้มด้วยตัวนา
ซึ่งทาจากลวดทองแดงถักเป็นเปียเพื่อป้องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และสัญญาณรบกวน
อื่นๆก่อนจะหุ้มด้วยฉนวนพลาสติกสัญญาณไฟฟ้าสามารถผ่านได้สูงมากนิยมใช้เป็นช่องสื่อสาร
สัญญาณเชื่อมโยงผ่านใต้ทะเลและใต้ดินสายโคแอกซ์ที่ใช้ทั่วไปมี 2 ชนิด คือ 50 โอห์มซึ่งใช้ส่งข้อมูล
สัญญาณดิจิทัล และชนิด 75 โอห์มซึ่งใช้ส่งข้อมูลสัญญาณอะนาล็อก
3. สายใยแก้วนาแสง (fiber optic cable)หรือเส้นใยแก้วนาแสงแกนกลางของสายประกอบด้วย
เส้นใยแก้วหรือเส้นพลาสตกขนาดเล็กภายในกลวงหลายๆเส้น อยู่รวมกัน เส้นใยแต่ละเส้นมีขนาดเล็ก
ประมาณเส้นผมของมนุษย์เส้นใยแต่ละเส้นห่อหุ้มด้วยเส้นใยอีกชนิดหนึ่งก่อนจะหุ้มชั้นนอกสุดด้วย
ฉนวนการส่งข้อมูลผ่านทางสื่อกลางชนิดนี้จะแตกต่างจากชนิดอื่นๆซึ่งจะใช้เลเซอร์วิ่งผ่านกลวงของ
14

เส้นใยแต่ละเส้นและอาศัยหลักการหักเหของแสง โดยใช้เส้นใยชั้นนอกเป้นกระจกสะท้อนแสงสามารถ
ส่งข้อมูลด้วยอัตราความหนาแน่นของสัญญาณข้อมูลที่สูงมากและไม่มีการก่อกวนของคลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้าทาให้สามารถส่งข้อมูลทั้งตัวอักษรภาพ กราฟิก เสียง หรือวีดิทัศน์ได้ในเวลาเดียวกันแต่
ยังมีข้อเสียเนื่องจากการบิดงอของสายสัญญาณจะทาให้เส้นใยหักจึงไม่สามารถใช้สื่อกลางนี้เดินทาง
ตามมุมตึกได้ สายใยแก้ว นาแสงมีลีกษณะพิเศษที่ใช้สาหรับเชื่อมโยงแบบจุดไปจุดจึงเหมาะที่จะใช้กับ
การเชื่อมโยงระหว่างอาคารกับอาคารหรือระหว่างเมืองกับเมือง
การรับส่งข้อมูลแบบไร้สาย
การส่งข้อมูลแบบไร้สายอาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นสื่อกลางนาสัญญาณซึ่งสามารถแบ่งตาม
ช่วงความถี่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้ 4 ชนิด ดังนี้
1. อินฟราเรด (Intrared)เป็นลักษณะของคลื่นที่ใช้ในการส่งข้อมูลระยะใกล้ๆ ในช่วงความถี่ที่
แคบมากใช้ช่องทงสื่อสารน้อยมักใช้กับการสื่อสารข้อมูลที่ไม่มีสิ่งกีดขวางระหว่างตัวส่งกับตัวรับ
สัญญาณโดยต้องใช้วิธีการสื่อสารตามแนวเส้นตรง ระยะทางไม่เกิน 1 – 2 เมตรความเร็วประมาณ 4 16
เมกกะบิตต่อนาที เช่น การส่งสัญญาณจากรีโมตคอนโทรลไปยังโทรทัศน์ การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
สองเครื่องโดยผ่านพอร์ตไออาร์ดีเอ เป็นต้น
2. คลื่นวิทยุ (radio frequency) ใช้ส่งสัญญาณไปในอากาศ โดยมีตัวกระจายสัญญาณส่งไปยัง
ตัวรับสัญญาณและใช้คลื่นวิทยุในช่วงความถี่ต่างๆ กัน มีความเร็วต่าประมาณ 2 เมกกะบิตต่อนาที เช่น
การสื่อสารในระบบวิทยุเอฟเอ็ม (Frequency Modulation : FM) เอเอ็ม ( Amplitude Modulation :
AM) การสื่อสารโดยใช้ระบบไร้สายและบลูทูท
3. ไมโครเวฟ ( microwave)จะใช้การส่งสัญญาณคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไปในอากาศพร้อมกับ
ข้อมูลที่ต้องการส่งและต้องมีสถานีที่ทาหน้าที่ส่งและรับข้อมูลและเนื่องจากสัญญาณไมโครเวฟจะ
เดินทางเป็นเส้นตรงไม่สามารถเลี้ยวหรือโค้งตามขอบโลกได้ จึงต้องมีการตั้งสถานีรับ – ส่งข้อมูลเป็น
ระยะๆและส่งข้อมูลต่อกันเป็นทอดๆ ระหว่างสถานีต่อสถานี จนกว่าจะถึงสถานีปลายทางและแต่ละ
สถานีจะตั้งอยู่ในที่สูง เช่น ดาดฟ้าของตึกสูล ยอดเขา เป็นต้นเพื่อหลีกเลี่ยงการชนสิ่งกีดขวางในแนว
การเดินทางของสัญญาณเหมาะกับการส่งข้อมูลในพื้นที่ห่างไกล และทุรกันดาร
4. ดาวเทียม (satellite) เป็นสถานีรับส่งสัญญาณไมโครเวฟบนดาดฟ้าซึ่งได้รับการพัฒนาขึ้นมา
เพื่อหลีกเลียงข้อจากัดของสถานีรับ – ส่งไมโครเวฟบนผิวโลก เพื่อใช้เป็นสถานีรับ – ส่ง สัญญาณ
ไมโครเวฟบนอวกาศและทวนสัญญาณในแนวโคจรของโลก ซึ่งจะต้องมีสถานีภาคพื้นดินทาหน้าที่รับ
และส่งสัญญาณขึ้นไปบนดาวเทียมที่โคจรอยู่สูงจากพื้นโลกประมาณ
35,600 ไมล์โดยดาวเทียม
เหล่านั้นจะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่เท่ากับการหมุนของโลกจึงเสมือนกับดาวเทียมนั้นอยู่นิ่งกับที่ขณะที่
โลกหมุนรอบตัวเองทาให้การส่งสัญญาณไมโครเวฟจากสถานีหนึ่งขึ้นไปบนดาวเทียมและการกระจาย
สัญญาณจากดาวเทียมลงมายังสถานีตามจุดต่างๆ บนผิวโลกเป็นไปอย่างแม่นยา
15

อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต (Internet) มาจากคาว่า Inter Connection Network หมายถึง เครือข่ายของเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ ระบบต่าง ๆ ที่เชื่อมโยงกัน ลักษณะของระบบอินเทอร์เน็ต เป็นเสมือนใยแมงมุม ที่
ครอบคลุมทั่วโลก ในแต่ละจุดที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตนั้น สามารถสื่อสารกันได้หลายเส้นทาง โดยไม่
กาหนดตายตัว และไม่จาเป็นต้องไปตามเส้นทางโดยตรง อาจจะผ่าน จุดอื่น ๆ หรือ เลือกไปเส้นทางอื่น
ได้หลาย ๆ เส้นทาง ดังรูป

อินเทอร์เน็ตในปัจจุบัน ถูกพัฒนามาจากโครงการวิจัยทางการทหารของกระทรวงกลาโหมของ
ประเทศ สหรัฐอเมริกา คือ Advanced Research Projects Agency (ARPA) ในปี 1969 โครงการนี้เป็น
การวิจัยเครือข่ายเพื่อ การสื่อสารของการทหารในกองทัพอเมริกา หรืออาจเรียกสั้นๆ ได้ว่า ARPA Net
ในปี ค.ศ. 1970 ARPA Net ได้มีการพัฒนาเพิ่มมากขึ้นโดยการเชื่อมโยงเครือข่ายร่วมกับมหาวิทยาลัย
ชั้นนาของอเมริกา คือ มหาวิทยาลัยยูทาห์ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียที่ซานตาบาบารา มหาวิทยาลัย
แคลิฟอร์เนียที่ลอสแองเจลิส และสถาบันวิจัยของมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด และหลังจากนั้นเป็นต้นมา
ก็มีการใช้ อินเทอร์เน็ตกันอย่างแพร่หลายมากขึ้น
สาหรับในประเทศไทย อินเทอร์เน็ตเริ่มมีการใช้ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2530 ที่มหาวิยาลัยสงขลา
นครินทร์ โดยได้รับความช่วยเหลือจากโครงการ IDP (The International Development Plan) เพื่อให้
มหาวิทยาลัยสามารถติต่อสื่อสารทาง อีเมล์ กับมหาวิทยาลัยเมลเบิร์นในออสเตรเลียได้ ได้มีการติดตั้ง
ระบบอี เมล์ ขึ้นครั้งแรก โดยผ่านระบบโทรศัพท์ ความเร็วของโมเด็มที่ใช้ในขณะนั้นมีความเร็ว 2,400
บิต/วินาที จนกระทั่งวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2531 ได้มีการส่งอีเมล์ฉบับแรกที่ติดต่อระหว่างประเทศไทย
16

กับมหาวิทยาลัยเมลเบิร์น มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์จึงเปรียบเสมือนประตูทางผ่าน ( Gateway) ของ
ไทยที่เชื่อมต่อไปยังออสเตรเลียในขณะนั้น
ในปี พ.ศ. 2533 ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ( NECTEC) ได้
เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ของสถาบันการศึกษาของรัฐ โดยมีชื่อว่า เครือข่ายไทยสาร (Thai Social/Scientific
Academic and Research Network : ThaiSARN) ประกอบด้วย มหาวิยาลัยสงขลานครินทร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เพื่อให้บริการอินเทอร์เน็ตภายในประเทศ เพื่อการศึกษาและวิจัย
ในปี พ.ศ. 2538 ได้มีการบริการอินเทอร์เน็ตเชิงพาณิชย์ขึ้น เพื่อให้บริการแก่ประชาชน และ
ภาคเอกชนต่างๆ ที่ต้องการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต โดยมีบริษัทอินเทอร์เน็ตไทยแลนด์
(Internet
Thailand) เป็นผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต (Internet Service Provider: ISP) เป็นบริษัทแรก เมื่อมีคนนิยมใช้
อินเทอร์เน็ตเพิ่มมากขึ้น บริษัทที่ให้บริการอินเทอร์เน็ตจึงได้ก่อตั้งเพิ่มขึ้นอีกมากมาย

พัฒนาการของ Internet

ปี พ.ศ. 2500 (1957) โซเวียดได้ปล่อยดาวเทียม Sputnik ทาให้สหรัฐอเมริกาได้ตระหนักถึง
ปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้น ดังนั้น ค..ศ. 2512 (1969) กองทัพสหรัฐต้องเผชิญหน้ากับความเสี่ยงทาง
การทหารและความเป็นไปได้ในการถูกโจมตีด้วยอาวุธปรมาณู หรือนิวเคลียร์การถูกทาลายล้าง ศูนย์
คอมพิวเตอร์และระบบการสื่อสารข้อมูลอาจทาให้เกิดปัญหาทางการรบ และในยุคนี้ ระบบ
คอมพิวเตอร์ที่มีหลากหลายมากมายหลายแบบ ทาให้ไม่สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสารและ
โปรแกรมกันได้ จึงมีแนวความคิด ในการวิจัยระบบที่สามารถเชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์ และ
แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างระบบที่แตกต่างกันได้ตลอดจนสามารถรับส่งข้อมูลระหว่างกันได้อย่างไม่
ผิดพลาดแม้ว่าคอมพิวเตอร์บางเครื่อง หรือสายรับส่งสัญญาณเสียดายหรือถูกทาลายกระทรวงกลาโหม
อเมริกัน (DoD = Department of Defense) ได้ให้ทุนที่มีชื่อว่า DARPA (Defense Advanced Research
Project Agency) ภายใต้การควบคุมของ Dr. J.C.R. Lickliderได้ทาการทดลองระบบเครือข่ายที่มีชื่อว่า
17

DARPA Network และต่อมาได้กลายสภาพเป็น ARPANet (Advanced Research Projects Agency
Network) และต่อได้มาพัฒนาเป็น INTERNET ในที่สุด
การเริ่มต้นของเครือข่ายนี้ เริ่มในเดือน ธันวาคม 2512 (1969) จานวน 4 มหาวิทยาลัย ได้แก่
 มหาวิทยาลัยยูทาห์
 มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียที่ซานตาบาบารา
 มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียที่ลอสแองเจลิส
 สถาบันวิจัยของมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด
และขยายต่อไปเรื่อยๆ เป็น 50 จุดในปี พ.ศ. 2515 จนเป็นหลายล้านแห่งทั่วโลกทีเดียวงานหลัก
ของเครือข่ายนี้ คือการค้นคว้าและวิจัยทางทหารซึ่งอาศัยมาตรฐานการรับส่งข้อมูลเดียวกันที่เรียกว่า
Network Control Protocol (NCP) ทาหน้าที่ควบคุมการรับส่งข้อมูล การตรวจสอบความผิดพลาดใน
การส่งข้อมูลและตัวกลางที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องเข้าด้วยกันและมาตรฐานนี้ก็มีจุดอ่อนในการ
ขยายระบบ จนต้องมีการพัฒนามาตรฐานใหม่
พ.ศ. 2525 ได้มีมาตรฐานใหม่ออกมา คือ Transmission Control Protocol/Internet Protocol
(TCP/IP) อันเป็นก้าวสาคัญของอินเทอร์เน็ตเนื่องจากมาตรฐานนี้ทาให้คอมพิวเตอร์ต่างชนิดกัน
สามารถรับส่งข้อมูลไปมาระหว่างกันได้เปรียบเสมือนเป็นหัวใจของอินเทอร์เน็ตเลยก็ว่าได้

จากระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ที่มีอยู่ในยุคนั้นไม่สามารถตอบสนองการสื่อสารได้
บริษัทเบลล์ (Bell) ได้ให้ทุนการศึกษาแก่ห้องทดลองที่มีชื่อเสียงที่สุดแห่งหนึ่ง ในสมัยต่อมา คือ Bell's
Lab ให้ทดลองสร้างระบบปฏิบัติการแห่งอนาคต (ของคนในยุคนั้น) เดนนิสริสซีและ เคเน็ตทอมสันได้
ออกแบบ และพัฒนาระบบที่มีชื่อว่า UNIX ขึ้นและแพร่หลายอย่างรวดเร็ว พร้อมๆกับการแพร่หลาย
ของระบบ Internet เนื่องจากความสามารถ ในการสื่อสารของ UNIX และมีการนา TCP/IP มาเป็นส่วน
หนึ่งของระบบปฏิบัติการนี้ด้วย
18

พ.ศ. 2529 มูลนิธิวิทยาลัยศาสตร์แห่งชาติสหรัฐอเมริกา ( National Science Foundation - NSF)
ได้วางระบบเครือข่ายขึ้นมาอีกระบบหนึ่ง เรียกว่า NSFNetซึ่งประกอบด้วยซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ 5
เครื่องใน 5 รัฐเชื่อมต่อเพื่อประโยชน์ทางการศึกษา และค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์และมีการใช้มาตรฐาน
TCP/IP เป็นมาตรฐานหลักในการรับส่งข้อมูลส่งผลให้การใช้งานเครือข่ายเป็นไปอย่างรวดเร็ว
หลังจากนั้นก็มีเครือข่ายอื่นๆ เกิดขึ้นมาเช่น UUNET, UUCP, BitNet, CSNetเป็นต้น และต่อมา
ได้เชื่อมต่อกัน โดยมี NSFNetเป็นเครือข่ายหลักซึ่งเปรียบเสมือนกระดูกสันหลังของเครือข่าย
(Backbone)
ในปี พ.ศ. 2530 เครือข่าย ARPANET ได้รวมกับ NSFNET และลดบทบาทตัวเองลงมา
เปลี่ยนไปใช้บทบาทของ NSFNetแทนและเลิกระบบ ARPANET ในปีพ.ศ. 2534
ในปัจจุบัน Internet เป็นการต่อโยงทางตรรกะ ( Logic) ของระบบคอมพิวเตอร์นับล้าน ๆ
เครื่อง และโยงกับระบบ Wide Area Network (WAN) ต่างๆเช่น MILNET, NSFNET, CSNET,
BITNET หรือแม้แต่เครือข่ายทางธุรกิจ เช่น IBMNET, Compuserve Net และอื่น ๆภายใต้โปรโตคอล ที่
มีชื่อว่า TCP/IP โดยที่ขนาดของเครือข่ายครอบคลุมไปทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทยและมีการขยาย
ขอบเขตออกไปอย่างไม่หยุดยั้ง

ระบบ Internet เป็นการนาเครือข่ายขนาดใหญ่ที่สุดของโลก ที่มีการต่อเสมือนกับ ใยแมงมุม
หรือ World Wide Web หรือเรียกย่อๆ ว่า WWW (มีการบัญญัติศัพท์ว่า เครือข่ายใยพิภพ) ในระบบนี้เรา
สามารถเปรียบเทียบ Internet ได้ สองลักษณะคือลักษณะทางกายภาพ และทางตรรกะ ในทางกายภาพ
(Physical) นั้น Internet เป็นเครือข่ายที่รับอิทธิพลจาก เครือข่ายโทรศัพท์โดยตรง ในสหรัฐอเมริกา
บริษัทที่เป็นผู้ให้บริการ Internet ก็เป็นบริษัทที่ทาธุรกิจ ทางโทรศัพท์เช่น MCI, AT&T, BELL เป็นต้น
และอีกลักษณะหนึ่งที่เป็นความเด่นของระบบคือลักษณะทางตรรกะ หรือ LOGICAL CONNECTION
ที่เป็นเสมือนใยแมงมุม ครอบคลุมโลกไว้
19

บริการต่างๆ บนอินเตอร์เน็ต
บริการบนอินเทอร์เน็ตมีหลายประเภทเพื่ออานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ได้เลือกใช้ให้
เหมาะสมกับลักษณะงานซึ่งในที่นี้จะยกตัวอย่างบริการบนอินเทอร์เน็ตที่สาคัญดังนี้
1.บริการด้านการสื่อสาร
1.1 ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์( electronic mail)หรือเรียกกันโดยทั่วไปว่าอีเมล์ (E-mail)
ถือได้ว่าเป็นกิจกรรมประจาวันของผู้ใช้อินเตอร์เน็ตซึ่งการส่งและรับจดหมายหรือข้อความถึง
กันได้ทั่วโลกนี้จาเป็นจะต้องมีที่อยู่อีเมล์ ( e-mail address หรือ e-mail account) เพื่อใช้เป็น
กล่องรับจดหมายที่อยู่ของอีเมล์จะประกอบ ด้วยส่วนประกอบสาคัญ 2 ส่วน คือชื่อผู้ใช้ (User
name) และชื่อโดเมน(Domain name) ซึ่งเป็นชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีรายชื่อของผู้ใช้อีเมล์โดย
ชื่อผู้ใช้และชื่อโดเมนจะคั่นด้วยเครื่องหมาย
@(อ่านว่า แอ็ท) เช่น
Sriprai@sukhothai.siamu.ac.th จะมีผู้ใช้อีเมล์ชื่อ Sripraiที่มีอยู่อีเมล์ ที่เครื่องคอมพิวเตอร์ชื่อ
sukhothaiของมหาวิทยาลัยสยาม(siamu) ซึ่งเป็นสถาบันการศึกษา (ac) ในประเทศไทย (th)

ในการรับ-ส่งจดหมายโดยผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตนั้นได้มีการพัฒนาโปรแกรมที่ใช้
สาหรับอีเมล์อยู่หลายโปรแกรมเช่น โปรแกรม Microsoft Outlook Express โปรแกรม
Netscape Mail เป็นต้นนอกจากนี้ผู้ใช้ยังสามารถลงทะเบียนเพื่อขอรับที่อยู่อีเมล์ได้ฟรีจาก
เว็บไซต์ที่ให้บริการที่อยู่อีเมล์ฟรีเว็บไซต์ที่เป็นที่รู้จักและนิยม
โดยทั่วไปแล้วส่วนประกอบหลัก ๆ ของอีเมล์จะประกอบด้วยส่วนหัว ( header) และ
ส่วนข้อความ (message)
1.2 รายชื่อกลุ่มสนทนา (mailing lists) เป็นกลุ่มสนทนาประเภทหนึ่งบนอินเทอร์เน็ตที่
มีการติดต่อสื่อสารและการส่งข่าวสารให้กับสมาชิกตามรายชื่อและที่อยู่ของสมาชิกที่มีอยู่ใน
รายการซึ่งในปัจจุบันมีกลุ่ม mailing lists ที่แตกต่างกันตามความสนใจจานวนมากการเข้าไปมี
ส่วนร่วมในกลุ่มสนทนาประเภทนี้
20

ผู้ใช้จะต้องสมัครสมาชิกก่อนด้วยการแจ้งความประสงค์และส่งชื่อและที่อยู่เพื่อการลง
ทะเบียบไปยัง subscription address ของ mailing lists ตัวอย่าง mailing list เช่น ทัวร์ออนไลน์
(tourbus@listserv.aol.com)
1.3 กระดานข่าว (usenet) เป็นการรวบรวมของกลุ่มข่าวหรือ newsgroup ซึ่งเป็นกลุ่ม
ผู้สนใจที่ต้องการจะติดต่อและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผู้ใช้อินเทอร์เน็ตคนอื่น ๆ กลุ่มของ
newsgroup ในปัจจุบันมีมากกว่า 10,000 กลุ่มที่มีความสนใจในหัวข้อที่แตกต่างกันเช่นกลุ่ม
ผู้สนใจศิลปะ กลุ่มคอมพิวเตอร์ กลุ่มผู้ชื่นชอบภาพยนต์ เป็นต้น

การส่งและรับแหล่งข่าวจาก usenetจะใช้โปรแกรมสาหรับอ่านข่าวเพื่อไปดึงชื่อของ
กลุ่มข่าวหรือหัวข้อจากเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ผู้ใช้เข้าไปขอใช้บริการ
เช่นเดียวกับระบบชื่อโดเมน (DNS) กลุ่มข่าวจะมีการตั้งชื่อเพื่อใช้เป็นแบบมาตรฐาน
ซึ่งชื่อกลุ่มจะประกอบด้วยส่วนประกอบหลักๆ คือ ชื่อหัวข้อกลุ่มข่าวหลัก (major topic) ชื่อ
กลุ่มข่าวย่อย (subtopic) และประเภทของกลุ่มข่าวย่อย (division of subtopic) ตัวอย่างเช่น
1.4 การสนทนาออนไลน์( On-line chat)เป็นบริการหนึ่งบนอินเทอร์เน็ตที่ช่วยให้ผู้ใช้
สามารถคุยโต้ตอบกับผู้ใช้คนอื่นๆ ได้ในเวลาเดียวกัน ( real-time) การสนทนาหรือ chat
(Internet Relay Chat หรือ IRC)ได้มีการพัฒนาไปอย่างต่อเนื่องปัจจุบันการสนทนาระหว่าง
บุคคลหรือ กลุ่มบุคคลสามารถใช้
ภาพกราฟิก ภาพการ์ตูนหรือภาพเคลื่อนไหวต่าง ๆ แทนตัวผู้สนทนาได้นอกจากการ
สนทนาแล้ว ผู้ใช้ยังสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลและไฟล์ได้อีกด้วย
21

การใช้งาน IRC ผู้ใช้จะต้องติดต่อไปยังเครื่องที่เป็นไออาร์ซีเซิร์ฟเวอร์ ( IRC server) ที่
มีการแบ่งห้องสนทนาเป็นกลุ่ม ๆ ที่เรียกว่า แชนแนล ( channel) โดยผู้ใช้จะต้องมีโปรแกรม
เพื่อใช้สาหรับการสนทนา (ซึ่งสามารถดาวน์โหลดฟรีจากอินเทอร์เน็ต)เมื่อผู้ใช้ติดต่อกับเครื่อง
เซิร์ฟเวอร์ได้แล้วก็จะเลือกกลุ่มสนทนาหรือหัวข้อสนทนาที่สนใจ และเริ่มสนทนาได้ตาม
ความต้องการตัวอย่างโปรแกรมสนทนาออนไลน์ที่นิยมใช้กัน ในปัจจุบัน เช่น ICQ(I Seek
You) และ mIRC

การสนทนาผ่านระบบอินเทอร์เน็ตได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องในปัจจุบันผู้ใช้
สามารถใช้สื่อประสม (multimedia) ประกอบด้วย เสียงพูดและภาพเคลื่อนไหวโดยใช้อุปกรณ์
ต่าง ๆ เช่น ไมโครโฟน ลาโพง กล้องวีดีโอและอื่น ๆ เพื่ออานวยความสะดวกและเพื่อ
ประสิทธิภาพของการสนทนาให้ดียิ่งขึ้น ในส่วนของโปรแกรมได้มีการพัฒนาโปรแกรมเพื่อ
การสนทนาออนไลน์ที่มีคุณภาพเช่น โปรแกรม Microsoft NetMeeting ที่สามารถสนทนากัน
ไปพร้อมๆกับมองเห็นภาพของคู่สนทนาได้ด้วย
1.5 เทลเน็ต (telnet)เป็นบริการที่ให้ผู้ใช้สามารถใช้บริการเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ตั้งอยู่
ระยะไกลโดยจะใช้การจาลองเครื่องคอมพิวเตอร์ที่กาลังใช้งานอยู่ให้เป็นจอภาพ ของเครื่อง
คอมพิวเตอร์ระยะไกลเครื่องนั้นการทางานในลักษณะนี้จะช่วยประหยัดทั้งเวลาและค่าใช้จ่าย
ในกรณีที่ต้องเดินทางไปใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ระยะไกล
22

การใช้งานเทลเน็ตจะเป็นการแสดงข้อความตัวอักษร (text mode) โดยปกติการเข้าไป
ใช้บริการเครื่องคอมพิวเตอร์ ระยะไกลจาเป็นต้องมีรายชื่อผู้ใช้และรหัสผ่านแต่ก็มีบาง
หน่วยงานที่อนุญาติให้เข้าใช้บริการโดยไม่ต้องระบุรหัสผ่านเพื่อเป็นการให้บริการข้อมูลแก่
ลูกค้าทั่วๆ ไป
2.บริการด้านข้อมูลต่าง ๆ
2.1 การขนถ่ายไฟล์( file transfer protocol)หรือที่เรียกสั้น ๆว่า เอฟทีพี ( FTP) เป็น
บริการที่ใช้สาหรับการแลกเปลี่ยนไฟล์ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ทางอินเตอร์เน็ตเครื่อง
คอมพิวเตอร์ที่ให้บริการไฟล์จะเรียกว่าเอฟทีพีเซิร์ฟเวอร์ (FTP sever หรือ FTP site)
ข้อมูลที่ให้บริการขนถ่ายไฟล์จะมีลักษณะหลายรูปแบบได้แก่ข้อมูลสถิติ งานวิจัย
บทความ เพลง ข่าวสารทั่วไป หรือโปรแกรมฟรีแวร์ (freeware) ที่สามารถดาวน์โหลดและใช้
โปรแกรมฟรี
ในบางครั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการขนถ่ายไฟล์จะให้บริการเฉพาะบุคคลที่มี
บัญชีรายชื่ออยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์เท่านั้นแต่ก้ฒีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการขนถ่ายไฟล์
จานวนมากอนุญาตให้ผู้ใช้ทั่วไปได้เข้าไปใช้บริการถึงแม้ว่าในบางครั้งจะไม่อนุญาตให้ขนถ่าย
ไฟล์ทั้งหมดก็ตาม

2.2 โกเฟอร์ ( gopher)เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่ให้บริการข้อมูลในลักษณะของการ
ค้นหาจากเมนู(menu-based search) จากเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการข้อมูลโปรแกรมโกเฟอร์
พัฒนาโดยมหาวิทยาลัย Minnesota ในปี ค.ศ. 1991 เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการฐานข้อมูล
จะเป็นลักษณะของเมนูลาดับชั้น (hierarchy) เพื่อเชื่อมโยงไปยังแหล่งข้อมูลอื่น ๆที่กระจายกัน
อยู่หลายแหล่งได้
23

2.3 อาร์ซี (archie) เป็นการเข้าใช้บริการค้นหาข้อมูลจากเครื่องแม่ข่ายที่เป็นอาร์ซีเซิร์ฟเวอร์
(archiesever )ซึ่งเป็นแหล่งที่ช่วยให้ผู้ใช้ค้นหาสถานที่ของข้อมูลจากนั้นก็จะไปค้นข้อมูลโดยตรงจาก
สถานที่นั้นต่อไป
2.4 WAIS (Wide Area Information Severs)เป็นบริการค้นหาข้อมูลจากศูนย์ข้อมูลที่อยู่บน
อินเทอร์เน็ตที่ได้รวบรวมข้อมูลและดรรชนีสาหรับสืบค้นข้อมูลจากฐานข้อมูลต่างๆเพื่ออานวยความ
สะดวกให้แก่ผู้ใช้เพื่อสามารถเข้าไปยังข้อมูลที่ต้องการและสามารถเชื่อมโยงไปยังศูนย์ข้อมูล WAIS
อื่นๆ ได้ด้วย
2.5 veronicaย่อมาจาก very easy rodent-oriented net-wide index to computerized archives
เป็นบริการที่รวบรวมข้อมูลเพื่อช่วยอานวยความสะดวกในการค้นหาสิ่งที่ต้องการได้อย่างรวดเร็ว
2.6 การค้นหาข้อมูลโดยใช้เว็บเบราเซอร์อินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายใยแมงมุมที่มีการเชื่อมโยง
แหล่งข้อมูลที่กระจัดกระจายอยู่ทั่วโลกการค้นหาข้อมูลจากแหล่งต่างๆถ้าผู้ใช้ไม่ทราบที่อยู่ของ
เว็บไซต์ก็สามารถค้นหาแหล่งข้อมูลโดยใช้บริการค้นหาข้อมูลต่างๆที่ได้กล่าวมาแล้ว

ปัจจุบันการค้นหาข้อมูลที่ต้องการเป็นเรื่องที่กระทาได้สะดวกและรวดเร็วการพัฒนาเว็บไซต์
ที่ช่วยสืบค้นแหล่งข้อมูลที่เรียกว่า เครื่องค้นหา ( search engine) ช่วยให้การค้นหาทั้งในรูปของ
ข้อความและกราฟิกกระทาได้โดยง่าย
24

สังคมออนไลน์ (Social Media)
Social Media คืออะไร
สาหรับในยุคนี้ เราคงจะหลีกเลี่ยงหรือหนีคาว่า Social Media ไปไม่ได้ เพราะไม่ว่าจะไปที่
ไหน ก็จะพบเห็นมันอยู่ตลอดเวลา ซึ่งหลายๆ คนก็อาจจะยังสงสัยว่า “Social Media” มันคืออะไรกันแน่
วันนี้เราจะมารู้จักความหมายของมันกันครับ
คาว่า “Social” หมายถึง สังคม ซึ่งในที่นี้จะหมายถึงสังคมออนไลน์ ซึ่งมีขนาดใหม่มากใน
ปัจจุบัน
คาว่า “Media” หมายถึง สื่อ ซึ่งก็คือ เนื้อหา เรื่องราว บทความ วีดีโอ เพลง รูปภาพ เป็นต้น
ดังนั้นคาว่า Social Media จึงหมายถึง สื่อสังคมออนไลน์ที่มีการตอบสนองทางสังคมได้หลาย
ทิศทาง โดยผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต พูดง่ายๆ ก็คือเว็บไซต์ที่บุคคลบนโลกนี้สามารถมีปฏิสัมพันธ์
โต้ตอบกันได้นั่นเอง
พื้นฐานการเกิด Social Media ก็มาจากความต้องการของมนุษย์หรือคนเราที่ต้องการ
ติดต่อสื่อสารหรือมีปฏิสัมพันธ์กัน จากเดิมเรามีเว็บในยุค 1.0 ซึ่งก็คือเว็บที่แสดงเนื้อหาอย่างเดียว
บุคคลแต่ละคนไม่สามารถติดต่อหรือโต้ตอบกันได้ แต่เมื่อเทคโนโลยีเว็บพัฒนาเข้าสู่ยุค 2.0 ก็มีการ
พัฒนาเว็บไซต์ที่เรียกว่า web application ซึ่งก็คือเว็บไซต์มีแอพลิเคชันหรือโปรแกรมต่างๆ ที่มีการ
โต้ตอบกับผู้ใช้งานมากขึ้น ผู้ใช้งานแต่ละคนสามารถโต้ตอบกันได้ผ่านหน้าเว็บ
เว็บไซต์ ที่ให้บริการ Social Network หรือ Social Media
Google Group - เว็บไซต์ในรูปแบบSocial Networking

Wikipedia – เว็บไซต์ในรูปแบบข้อมูลอ้างอิง
25

MySpace – เว็บไซต์ในรูปแบบ Social Networking

Facebook –เว็บไซต์ในรูปแบบ Social Networking
26

MouthShut –เว็บไซต์ในรูปแบบ Product Reviews

Yelp –เว็บในรูปแบบ Product Reviews

Youmeo –เว็บที่รวม Social Network
27

Last. fm –เว็บเพลงส่วนตัว Personal Music

YouTube –เว็บไซต์ Social Networking และแชร์วิดีโอ

Avatars United –เว็บไซต์ในรูปแบบ Social Networking
28

Second Life – เว็บไซต์ในรูปแบบโลกเสมือนจริง Virtual Reality

Flickr – เว็บแชร์รูปภาพ
29

อ้างอิง
อัฎฐพร .2556. พัฒนาการสื่อสารข้อมูล. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา :http://kururat-01.blogspot.com/.
11 ธันวาคม 2556.
จริยา กรณีย์ . 2556. การใช้งานอินเตอร์เน็ตอย่างปลอดภัย. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา :
http://www.learners.in.th/blogs/posts/330030. 11 ธันวาคม 2556.
ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอาเภอพระยืน. 2556. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต.
[ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://202.143.137.109/araya/int.html. 11 ธันวาคม 2556.
Arm blog. 2556. การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา :
11 ธันวาคม 2556.
onatcha46203. 2556. เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ .[ออนไลน์]. แหล่งที่มา :
http://onatcha46203.blogspot.com/2012/06/blog-post_4944.html .11 ธันวาคม 2556.
Schoolnet. 2556. เครือข่ายคอมพิวเตอร์. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา :
http://www.school.net.th/library/snet1/hardware/network.html. 11 ธันวาคม 2556.
watyala. 2556. สังคมออนไลน์ (social Media).[ออนไลน์]. แหล่งที่มา :
http://watyala.wordpress.com/. 11 ธันวาคม 2556.

More Related Content

What's hot

เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
เรื่อง การสื่อสารข้อมูลเรื่อง การสื่อสารข้อมูล
เรื่อง การสื่อสารข้อมูลBanjamasJandeng21
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตnatlove220
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบญจมาศ คงดี
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์Onanong Phetsawat
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปกmanit2617
 
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายสื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายNote Narudaj
 
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการอินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการPrapaporn Boonplord
 
6 บทที่ 1 บทนำ
6 บทที่  1  บทนำ6 บทที่  1  บทนำ
6 บทที่ 1 บทนำAugusts Programmer
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานPiyanoot Ch
 
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6ครู อินดี้
 
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)Puangkaew Kingkaew
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตSarocha Makranit
 
ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์Kru.Mam Charoensansuay
 

What's hot (20)

Com
ComCom
Com
 
เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
เรื่อง การสื่อสารข้อมูลเรื่อง การสื่อสารข้อมูล
เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
 
รายงาน การสื่อสารข้อมูล
รายงาน การสื่อสารข้อมูลรายงาน การสื่อสารข้อมูล
รายงาน การสื่อสารข้อมูล
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
รายงาน[1]
รายงาน[1]รายงาน[1]
รายงาน[1]
 
รายงาน 55555
รายงาน 55555รายงาน 55555
รายงาน 55555
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายสื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
 
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการอินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
 
6 บทที่ 1 บทนำ
6 บทที่  1  บทนำ6 บทที่  1  บทนำ
6 บทที่ 1 บทนำ
 
รายงาน (1) (2)
รายงาน (1) (2)รายงาน (1) (2)
รายงาน (1) (2)
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
 
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 
ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

Similar to คอมพิวเตอร์2

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28sawalee kongyuen
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28babiesawalee
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)pimmeesri
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบญจมาศ คงดี
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Benjamas58
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์Pimrada Seehanam
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์KachonsakBunchuai41
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์Buzzer'Clup Her-Alone
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์Buzzer'Clup Her-Alone
 
Internet1
Internet1Internet1
Internet1mod2may
 
อาชกรรมคอมพิวเตอร์
อาชกรรมคอมพิวเตอร์อาชกรรมคอมพิวเตอร์
อาชกรรมคอมพิวเตอร์Jenjira2223
 
นางสาว จุฬาลักษณ์ สมรักษ์
นางสาว จุฬาลักษณ์ สมรักษ์นางสาว จุฬาลักษณ์ สมรักษ์
นางสาว จุฬาลักษณ์ สมรักษ์SoawakonJujailum
 
เรื่อง อินเทอร์เน็ต
เรื่อง อินเทอร์เน็ตเรื่อง อินเทอร์เน็ต
เรื่อง อินเทอร์เน็ตTeerayut43
 
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตอิ่' เฉิ่ม
 
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตอิ่' เฉิ่ม
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์laddawan wangkhamlun
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตkhemjiraacr2
 

Similar to คอมพิวเตอร์2 (20)

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์  เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Internet1
Internet1Internet1
Internet1
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
อาชกรรมคอมพิวเตอร์
อาชกรรมคอมพิวเตอร์อาชกรรมคอมพิวเตอร์
อาชกรรมคอมพิวเตอร์
 
นางสาว จุฬาลักษณ์ สมรักษ์
นางสาว จุฬาลักษณ์ สมรักษ์นางสาว จุฬาลักษณ์ สมรักษ์
นางสาว จุฬาลักษณ์ สมรักษ์
 
I smyresearch
I smyresearchI smyresearch
I smyresearch
 
เรื่อง อินเทอร์เน็ต
เรื่อง อินเทอร์เน็ตเรื่อง อินเทอร์เน็ต
เรื่อง อินเทอร์เน็ต
 
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
 
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 

คอมพิวเตอร์2

  • 1. 1 รายงาน เรื่องคอมพิวเตอร์ เสนอ อาจารย์ จุฑารัตน์ ใจบุญ จัดทาโดย นางสาวภัสรา ไชยภักดี เลขที่ 29 นางสาวบุษยา ชัยรัตน์ เลขที่ 27 ชั้นม.4/4 โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์ อาเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
  • 2. 2 คานา รายงานฉบับนี้จัดทาขึ้นเพื่อประกอบการเรียนการสอน ในรายวิชา คอมพิวเตอร์ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 4โดยมีจุดประสงค์ เพื่อศึกษา ให้นักเรียนได้ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีเนื้อหาที่ เกี่ยวกับ การสื่อสารข้อมูล เครือข่ายคอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต สังคมออนไลน์ เพื่อให้นักเรียนศึกษาและ เรียนรู้นอกห้องเรียน และสามารถนาความรู้มาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้ ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้อ่านไม่มากก็น้อย หากผิดพลาด ประการใด ก็ ขออภัยไว้ ณ โอกาสนี้ด้วย สมาชิกในกลุ่ม
  • 4. 4 การสื่อสารข้อมูล เทคโนโลยีการสื่อสารมีส่วนช่วยให้การดาเนินงานธุรกิจในปัจจุบันเป็นไปอย่างราบรื่น ช่วย ให้การส่งข้อมูลในรูปแบบต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นทางโทรสาร โทรศัพท์ อีเมล์ โทรทัศน์ และอื่นๆ ไปยัง จุดหมายที่อยู่ห่างไกลเป็นไปอย่างสะดวกและรวดเร็ว เทคโนโลยีคมนาคมและการสื่อสารนามาประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการดาเนินงาน ทางธุรกิจโดยมีวัตถุประสงค์หลัก 4 ประการดังนี้ 1.เพื่อการสื่อสารทางธุรกิจที่ดีขึ้น ช่องทางการสื่อสารระหว่างบุคคลมีหลายรูปแบบเทคโนโลยี คมนาคมช่วยให้การ ติดต่อสื่อสารรวดเร็ว ถูกต้อง และได้รับข้อมูลสะท้อนกลับอย่างทันที 2.เพื่อให้การดาเนินงานมีประสิทธิภาพสูงขึ้น โดยปกติการดาเนินงานทางธุรกิจมักจะมีการใช้ งาน ข้อมูลร่วมกันในแต่ละแผนก ซึ่งเทคโนโลยีโทรคมนาคมช่วยอานวยความสะดวกในการสื่อสารใช้ งานข้อมูลร่วมกัน ให้ความสะดวกในการบันทึกข้อมูลและประมวลผลข้อมูล ลดความซ้าซ้อน การ ทางานที่ผิดพลาด ส่งผลให้การดาเนินธุรกิจมีความถูกต้องและมีประสิทธิ์ภาพสูงขึ้น 3.เพื่อการกระจายข้อมูลที่ดีขึ้น ช่วยให้การรับส่งข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์กระทาได้ อย่างสะดวก เครื่อง คอมพิวเตอร์ ปลายทางสามารถเรียกใช้ฐานข้อมูลกลางด้วยความเร็วรวด. 4.เพื่อการจัดการกระบวนการธุรกิจที่สะดวกขึ้น พัฒนาการทางอินเตอร์เน็ตช่วยให้การดาเนิน ธุรกิจ ออนไลน์พัฒนามะ หยุดยั้งตามไปด้วย กระบวนการทางธุรกิจอัตโนมัติกระทาด้วยการ สนับสนุน ของเทคโนโลยี คมนาคมที่ทันสมัย พัฒนาการสื่อสารข้อมูล ธรรมชาติของมนุษย์ต้องการอยู่รวมกันเป็นกลุ่มเพื่อดาเนินกิจกรรมต่างๆร่วมกัน ทาให้มีการ ติดต่อสื่อสารระหว่างกันทางานสร้างสรรค์สังคมเพื่อให้สังคมมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นจากการดาเนินชีวิต ร่วมกันทั้งในด้านครอบครัว ด้านการทางานตลอดจนสังคมและการเมืองทาให้ไม่สามารถหลีกเลี่ยงการ พบปะแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างกันได้เมื่อมนุษย์มีความจะเป็นที่ต้องมีการติดต่อสื่อสาร ระหว่างกันจึงมีการพัฒนาการหลายด้านที่ตอบสนองเพื่อให้ใช้งานได้ตามความต้องการ เช่น 1.การสื่อสารด้วยรหัส จากอดีตกาล การสื่อสารต้องอาศัยคนนาสารมีการถือเอกสารจากบุคคล หนึ่งเดินทางส่งต่อให้กับผู้รับปลายทางต่อมามีการสร้างรหัสเฉพาะเพื่อรับรู้กันเฉพาะผู้รับและผู้ส่ง จน
  • 5. 5 เมื่อปีพ.ศ. 2379 แซมมวล มอร์ส ( Samuel Morse) สามารถส่งรหัสข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกด้วย คลื่นวิทยุ เรียกว่ารหัส มอร์สซึ่งเป็นรหัสที่ใช้จุดและขีดเป็นสัญลักษณ์ในการส่งวิทยุทาให้เกิดการ สื่อสารระยะไกล และในเวลาต่อมาสามารถขยายผลไปใช้ในกิจกรรมวิทยุและโทรทัศน์ นอกจากนี้ รหัส มอร์ส ยังใช้ในการสื่อสารด้วยโทรเลขเป็นระยะเวลานาน 2.การสื่อสารด้วยสายตัวนา ในปี พ.ศ. 2419 อเล็กซานเดอร์ แกรแฮมเบล ( Alexander Graham Bell) ได้ประดิษฐ์ โทรศัพท์เพื่อการสื่อสารด้วยเสียงผ่ายทางสายตัวนาทองแดง พัฒนาการเทคโนโลยีนี้ ได้ก้าวหน้าขึ้นเป็นลาดับจากเริ่มต้นใช้การสลับสารด้วยคน ต่อมาใช้ระบบการสลับสายแบบอัตโนมัติ ได้พัฒนาและใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวางปัจจุบันโครงข่ายตัวนาที่ใช้ในระบบโทรศัพท์เป็นโครงข่าย ดิจิทัลจึงทาให้การส่งข้อมูลสามารถใช้ร่วมกับแบบอื่นร่วมได้ 3.การสื่อสารโดยใช้คอมพิวเตอร์ การพัฒนาการทางด้านคอมพิวเตอร์เริ่มจากมีการประมวลผล แบบรวมศูนย์ (centralized processing) เช่น ใช้เครื่องมินิคอมพิวเตอร์ หรือเครื่องเมนแฟรมเป็นเครื่อง คอมพิวเตอร์แม่ข่าย (host) โดยเป็นศูนย์กลางให้ผู้ใช้ใช้งานได้หลายคนพร้อมกันแต่ละคนเปรียบเสมือน เป็นสถานีปลายทางที่เรียกใช้ทรัพยากรหรือการคานวณจากศูนย์กลางและให้ คอมพิวเตอร์ตอบสนอง ต่อการทางานนั้น ต่อมาเมื่อมีการพัฒนาไมโครคอมพิวเตอร์ที่ทาให้สะดวกต่อการใช้งานส่วนบุคคลจนเรียก เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ว่า พีซี ( Personal Computer : PC) การใช้ไมโครคอมพิวเตอร์แพร่หลายอย่าง รวดเร็ว เพราะใช้งานง่าย ราคาไม่สูงมากสามารถจัดหามาใช้ได้ง่ายเมื่อมีการใช้งานกันมากบริษัทผู้ผลิต
  • 6. 6 คอมพิวเตอร์ต่างๆก็ปรับปรุงและพัฒนาเทคโนโลยีให้ตอบสนองความต้องการที่สามารถทางานร่วมกัน เป็นกลุ่ม เครือข่ายคอมพิวเตอร์จึงเป็นวิธีการหนึ่งและกาลังได้รับความนิยมสูงมากโดยเฉพาะ เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพราะสามารถตอบสนองได้ตรงตามความต้องการในการติดต่อสื่อสารข้อมูล ระหว่างกันได้สะดวกและมีการประยุกต์ใช้งานได้กว้างขวางเช่น การใช้ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ การ โอนย้ายแฟ้มข้อมูลการสืบค้นและเรียกดูข่าว ผ่านระบบเว็บ การพูดคุย และส่งข้อความถึงกันเป็นต้น 4.การสื่อสารโดยใช้ดาวเทียม ดาวเทียมได้รับการส่งให้โคจรรอบโลกโดยมีเครื่องถ่ายทอด สัญญาณติดไปด้วยการเคลื่อนที่ของ ดาวเทียมที่เคลื่อนไปพร้อมกับการหมุนของโลกทาให้คนบน พื้นโลกเห็นดาวเทียมอยู่คงที่การสื่อสารผ่านดาวเทียมทาได้โดยสถานีภาคพื้นดินที่ต้องการสื่อสารจะส่ง ข้อมูลมาที่ดาวเทียมและดาวก็จะส่งข้องมูลต่อไปยังสถานีภาคพื้นดินปลายทางแห่งหนึ่งหรือหลายแห่งก็ ได้การับสัญญาณจะครอบคลุมพื้นที่ที่ดาวเทียมโคจรอยู่ซึ่งจะมีบริเวณกว้างมากทาให้ไม่มีอุปสรรค ทางด้านภูมิศาสตร์และเหมาะกับพื้นที่ที่ไม่สามารถติดตั้งสายได้ เช่น แนวเขาบังสัญญาณ หรือเกาะที่อยู่ กลางทะเล เป็นต้น 5.การสื่อสารด้วยระบบไร้สาย การสื่อสารผ่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ กาลังได้รับความนิยมเพราะ โทรศัพท์แบบเคลื่อนที่มีความสะดวก คล่องตัว การสื่อสารแบบนี้ใช้คลื่นสัญญาณวิทยุโดยผู้ใช้จะติดต่อ กับศูนย์กลางสถานีรับส่งการสื่อสารวิธีนี้มีการวางเป็นเซลครอบพื้นที่ต่างๆ ไว้จึงเรียกระบบ โทรศัพท์ไร้สายแบบนี้ว่า เซลลูลาร์โฟน (cellular phone) พัฒนาการของระบบไร้สายยังได้รับการนามา ประยุกต์ใช้ในด้านต่างๆ อีกหลายอย่างเช่น ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์หรือที่เรียกว่า แลนไร้สาย และระบบการส่งข้อความ (paging) เป็นต้น
  • 7. 7 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและความสาคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับการใช้ งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหล่านั้นถึงกับเพื่อเพิ่มขีด ความสามารถของระบบให้สูงขึ้น เพิ่มการใช้งานด้านต่าง ๆ และลดต้นทุนระบบโดยรวมลง มีการแบ่ง ใช้งานอุปกรณ์และข้อมูลต่าง ๆ ตลอดจนสามารถทางานร่วมกันได้ สิ่งสาคัญที่ทาให้ระบบข้อมูลมีขีดความสามารถเพิ่มขึ้น คือ การโอนย้ายข้อมูลระหว่างกัน และ การเชื่อมต่อหรือการสื่อสาร การโอนย้ายข้อมูลหมายถึงการนาข้อมูลมาแบ่งกันใช้งาน หรือการนา ข้อมูลไปใช้ประมวลผลในลักษณะแบ่งกันใช้ทรัพยากร เช่น แบ่งกันใช้ซีพียู แบ่งกันใช้ฮาร์ดดิสก์ แบ่ง กันใช้โปรแกรม และแบ่งกันใช้อุปกรณ์อื่น ๆ ที่มีราคาแพงหรือไม่สามารถจัดหาให้ทุกคนได้ การ เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นเครือข่ายจึงเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งานให้กว้างขวางและมากขึ้นจาก เดิม การเชื่อมต่อในความหมายของระบบเครือข่ายท้องถิ่น ไม่ได้จากัดอยู่ที่การเชื่อมต่อระหว่าง เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ แต่ยังรวมไปถึงการเชื่อมต่ออุปกรณ์รอบข้าง เทคโนโลยีที่ก้าวหน้าทาให้การ ทางานเฉพาะมีขอบเขตกว้างขวางยิ่งขึ้น มีการใช้เครื่องบริการแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บรวบควมแฟ้มข้อมูล ต่างๆ มีการทาฐานข้อมูลกลาง มีหน่วยจัดการระบบสือสารหน่วยบริการใช้เครื่องพิมพ์ หน่วยบริการ การใช้ซีดี หน่วยบริการปลายทาง และอุปกรณ์ประกอบสาหรับต่อเข้าในระบบเครือข่ายเพื่อจะทางาน เฉพาะเจาะจงอย่างใดอย่างหนึ่ง ในรูป เป็นตัวอย่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่จัดกลุ่มเชื่อมโยงเป็นระบบ ตัวอย่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่จัดกลุ่มอุปกรณ์รอบข้างเชื่อมโยงเป็นระบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ก่อให้เกิดความสามารถในการปฎิบัติการร่วมกัน ซึ่งหมายถึงการให้ อุปกรณ์ทุกชิ้นที่ต่ออยู่บนเครือข่ายทางานร่วมกันได้ทั้งหมดในลักษณะที่ประสานรวมกัน โดยผู้ใช้เห็น เสมือนใช้งานในอุปกรณ์เดียวกัน จึงเป็นวิธีการในการนาเอาอุปกรณ์ต่างชนิดจานวนมาก มารวมกันเป็น เสมือนระบบเดียวกัน ทั้ง ๆ ที่อุปกรณ์เหล่านั้นอาจจะมาจากต่างยี่ห้อ ต่างบริษัท ก็ได้
  • 8. 8 ความหมายของระบบเครือข่าย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ( Computer Network) หมายถึงการนาเครื่องคอมพิวเตอร์ มา เชื่อมต่อเข้าด้วยกัน โดยอาศัยช่องทางการสื่อสารข้อมูล เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างเครื่อง คอมพิวเตอร์ และการใช้ทรัพยากรของระบบร่วมกัน (Shared Resource) ในเครือข่ายนั้น รูปแสดงระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มีองค์ประกอบที่สาคัญ เพื่อการเชื่อมต่อเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ได้แก่ คอมพิวเตอร์แม่ข่าย ( File Server) ช่องทางการสื่อสาร ( Communication Chanel) สถานีงาน (Workstation or Terminal) และ อุปกรณ์ในเครือข่าย (Network Operation System) คอมพิวเตอร์แม่ข่าย คอมพิวเตอร์แม่ข่าย หมายถึงคอมพิวเตอร์ ที่ทาหน้าที่เป็นผู้ให้บริการทรัพยากร ( Resources) ต่าง ๆ ซึ่งได้แก่ หน่วยประมวลผล หน่วยความจา หน่วยความจาสารอง ฐานข้อมูล และ โปรแกรมต่าง ๆ เป็นต้น ในระบบเครือข่ายท้องถิ่น (LAN) มักเรียกว่าคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ในระบบเครือข่ายระยะไกล ที่ใช้เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ หรือ มินิคอมพิวเตอร์เป็นศูนย์กลางของเครือข่าย เรานิยมเรียกว่า Host Computer และเรียกเครื่องที่รอรับบริการว่าลูกข่ายหรือสถานีงาน ช่องทางการสื่อสาร ช่องทางการสื่อสาร หมายถึง สื่อกลางหรือเส้นทางที่ใช้เป็นทางผ่าน ในการรับส่งข้อมูล ระหว่างผู้รับ ( Receiver) และผู้ส่งข้อมูล ( Transmitter) ปัจจุบันมีช่องทางการสื่อสาร สาหรับการ เชื่อมต่อเครือข่าย คอมพิวเตอร์มีหลายประเภทคือ สายโทรศัพท์แบบสายคู่ตีเกลียวไม่มีฉนวนหุ้ม (UTP) สายคู่ตีเกลียว แบบมีฉนวนหุ้ม (STP) สายโคแอคเชียล สายใยแก้วนาแสง คลื่นไมโครเวป และดาวเทียม เป็นต้น
  • 9. 9 รูปแสดงช่องทางการสื่อสารโดยใช้จานรับดาวเทียม สถานีงาน สถานีงาน (Workstation or Terminal) หมายถึง อุปกรณ์หรือเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ที่ เชื่อมต่อ กับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทาหน้าที่เป็นสถานีปลายทางหรือสถานีงาน ที่ได้รับการบริการจาก เครื่อง คอมพิวเตอร์แม่ข่าย เรียกว่าเป็นคอมพิวเตอร์ลูกข่าย (Workstation) ในระบบเครือข่ายระยะใกล้ มักมีหน่วยประมวลผล หรือซีพียูของตนเอง ในระบบที่ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เมนเฟรม เป็นศูนย์กลาง เรียกสถานีปลายทางว่าเทอร์มินอล ( Terminal) ประกอบด้วยจอภาพและแป้นพิมพ์เท่านั้น ไม่มีหน่วย ประมวลกลางของตัวเอง ต้องใช้หน่วยประมวลผลของคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางหรือ Host อุปกรณ์ในเครือข่าย การ์ดเชื่อมต่อเครือข่าย (Network Interface Card :NIC) หมายถึง แผงวงจรสาหรับ ใช้ในการ เชื่อมต่อสายสัญญาณของเครือข่าย ติดตั้งไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นเครื่องแม่ข่าย และเครื่องที่เป็น ลูกข่าย หน้าที่ของการ์ดนี้คือแปลงสัญญาณจากคอมพิวเตอร์ส่งผ่านไปตามสายสัญญาณ ทาให้ คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกันได้ รูปแสดงการ์ดเชื่อมต่อเครือข่าย
  • 10. 10 องค์ประกอบของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โมเด็ม ( Modem : Modulator Demodulator)หมายถึง อุปกรณ์สาหรับการแปลงสัญญาณ ดิจิตอล (Digital) จากคอมพิวเตอร์ด้านผู้ส่ง เพื่อส่งไปตามสายสัญญาณข้อมูลแบบอนาลอก( Analog) เมื่อถึงคอมพิวเตอร์ด้านผู้รับ โมเด็มก็จะทาหน้าที่แปลงสัญญาณอนาลอก ให้เป็นดิจิตอลนาเข้าสู่เครื่อง คอมพิวเตอร์ เพื่อทาการประมวลผล โดยปกติจะใช้โมเด็มกับระบบเครือข่ายระยะไกล โดยการใช้ สายโทรศัพท์เป็นสื่อกลาง เช่น เครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นต้น รูปแสดงการใช้โมเด็มในการติดต่อเครือข่ายระยะไกล ฮับ ( Hub)คือ อุปกรณ์เชื่อมต่อที่ใช้เป็นจุดรวม และ แยกสายสัญญาณ เพื่อให้เกิดความสะดวก ในการเชื่อมต่อของเครือข่ายแบบดาว ( Star) โดยปกติใช้เป็นจุดรวมการเชื่อมต่อสายสัญญาณระหว่าง File Server กับ Workstation ต่าง ๆ แสดงฮับที่ใช้เป็นจุดเชื่อมต่อและจุดแยกของสาย ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเครือข่าย ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเครือข่าย หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่ทาหน้าที่ จัดการระบบเครือข่ายของ คอมพิวเตอร์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่ออยู่กับเครือข่าย สามารถติดต่อสื่อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูลกัน ได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ ทาหน้าที่จัดการด้านการรักษาความปลอดภัย ของระบบเครือข่าย และยังมีหน้าที่ควบคุม การนาโปรแกรมประยุกต์ ด้านการติดต่อสื่อสาร มาทางานในระบบเครือข่ายอีก ด้วย นับว่าซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเครือข่าย มีความสาคัญต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างยิ่ง ตัวอย่าง
  • 11. 11 ซอฟต์แวร์ประเภทนี้ได้แก่ ระบบปฏิบัติการ Windows NT , Linux , Novell Netware , Windows XP ,Windows 2000 , Solaris , Unix เป็นต้น แสดงซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเครือข่าย โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (TOPOLOGY) การนาเครื่องคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อกันเพื่อประโยชน์ของการสื่อสารนั้น สามารถกระทาได้ หลายรูปแบบ ซึ่งแต่ละแบบก็มีจุดเด่นที่แตกต่างกันไป โดยทั่วไปแล้วโครงสร้างของเครือข่าย คอมพิวเตอร์สามารถจาแนกตามลักษณะของการเชื่อมต่อดังต่อไปนี้ 1. โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบบัส ( bus topology)จะประกอบด้วย สายส่งข้อมูลหลัก ที่ใช้ส่งข้อมูลภายในเครือข่าย เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง จะเชื่อมต่อเข้ากับสายข้อมูลผ่านจุด เชื่อมต่อ เมื่อมีการส่งข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์หลายเครื่องพร้อมกัน จะมีสัญญาณข้อมูลส่งไป บนสายเคเบิ้ล และมีการแบ่งเวลาการใช้สายเคเบิ้ลแต่ละเครื่อง ข้อดีของการเชื่อมต่อแบบบัส คือ ใช้สื่อ นาข้อมูลน้อย ช่วยให้ประหยัดค่าใช้จ่าย และถ้าเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งเสียก็จะไม่ส่งผล ต่อการทางานของระบบโดยรวม แต่มีข้อเสียคือ การตรวจจุดที่มีปัญหา กระทาได้ค่อนข้างยาก และถ้ามี จานวนเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายมากเกินไป จะมีการส่งข้อมูลชนกันมากจนเป็นปัญหา 2. โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบวงแหวน ( ring topology)มีการเชื่อมต่อระหว่างเครื่อง คอมพิวเตอร์โดยที่แต่ละการเชื่อมต่อจะมีลักษณะเป็นวงกลม การส่งข้อมูลภายในเครือข่ายนี้ก็จะเป็น วงกลมด้วยเช่นกัน ทิศทางการส่งข้อมูลจะเป็นทิศทางเดียวกันเสมอ จากเครื่องหนึ่งจนถึงปลายทาง ใน กรณีที่มีเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งขัดข้อง การส่งข้อมูลภายในเครือข่ายชนิดนี้จะไม่ สามารถทางานต่อไปได้ ข้อดีของโครงสร้าง เครือข่ายแบบวงแหวนคือ ใช้สายเคเบิ้ลน้อย และถ้าตัด
  • 12. 12 เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เสียออกจากระบบ ก็จะไม่ส่งผลต่อการทางานของระบบเครือข่ายนี้ และจะไม่มี การชนกันของข้อมูลที่แต่ละเครื่องส่ง 3. โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบดาว (star topology)ภายในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จะต้องมีจุกศูนย์กลางในการควบคุมการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ หรือ ฮับ ( hub) การสื่อสารระหว่างเครื่อง คอมพิวเตอร์ต่างๆ จะสื่อสารผ่านฮับก่อนที่จะส่งข้อมูลไปสู่เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ โครงสร้าง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ แบบดาวมีข้อดี คือ ถ้าต้องการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เครื่องใหม่ก็สามารถทาได้ง่าย และไม่กระทบต่อเครื่องคอมพิวเตอร์อื่นๆ ในระบบ ส่วนข้อเสีย คือ ค่าใช้จ่ายในการใช้สายเคเบิ้ลจะ ค่อนข้างสูง และเมื่อฮับไม่ทางาน การสื่อสารของคอมพิวเตอร์ทั้งระบบก็จะหยุดตามไปด้วย
  • 13. 13 การรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ สามารถแบ่งเป็น 2 ประเภทหลัก ได้แ ก่การรับส่งข้อมูล แบบใช้สายและการรับส่งข้อมูลแบบไร้สาย ดังนี้ การรับส่งข้อมูลแบบใช้สาย การส่งข้อมูลแบบใช้สาย แบ่งออกตามชนิดของสายสื่อสารได้ 3 ชนิด ดังนี้ 1.) สายตีเกลียวคู่ ประกอบด้วยเส้นทองแดง 2 เส้นที่หุ้มด้วยฉนวนพลาสติก พันบิดกันเป็น เกลียวเพื่อลดการบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า จากสายข้างเคียงภายในเคเบิลเดียวกันหรือจากภายนอก เนื่องจากสายตีเกลียวคู่นี้ยอมให้สัญญาณไฟฟ้าความถี่สูงผ่านได้สาหรับอัตราการส่งข้อมูลผ่านสายตี เกลียวคู่จะขึ้นอยู่กับความหนาของสาย คือสายทองแดงที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางกว้าง จะสามารถส่ง สัญญาณไฟฟ้ากาลังแรงได้ทาให้ส่งข้อมูลได้อัตราเร็วสูง โดยทั่วไปใช้สาหรับการส่งข้อมูลแบบดิจิทัล สามารถส่งได้ถึง 100 เมกะบิตต่อวินาที ในระยะทางไม่เกินร้อยเมตรเนื่องจากมีราคาไม่แพงมาก ใช้ส่ง ข้อมูลได้ดีจึงมีการใช้งานอย่างกว้างขวางสายตีเกลียวคู่มี 2 ชนิด ดังนี้ 1.1) สายเกลียวคู่แบบไม่ป้องกันสัญญาณรบกวนหรือชนิดไม่หุ้มฉนวน ( Un-shielded Twisted Pair : UTP)เป็นสายตีเกลียวคู่ที่ไม่มีฉนวนชั้นนอกทาให้สะดวกในการโค้งงอแต่ สามารถป้องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้น้อยกว่าสายตีเกลียวคู่ชนิดหุมฉนวน (STP) ใช้ในระบบวงจรโทรศัพท์แบบดั้งเดิมปัจจุบันมีการปรับคุณสมบัติให้ดีขึ้น สามารถใช้ กับสัญญาณความถี่สูงได้และเนื่องจากมีราคาสูงจึงนิยมใช้ในการเชื่อมต่ออุปกรณ์ในเครือข่าย 1.2) สายตีเกลียวคู่แบบป้องกันสัญญาณรบกวนหรือชนิดหุ้มฉนวน ( Shielded Twisted Pair : STP) เป็นสายตีเกลียวคู่ที่ชั้นนอกหุ้มด้วยลวดถักที่หนาเพื่อป้องกันการรบกวน ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ารองรับความถี่ของการส่งข้อมูลได้สูงกว่าสายตีเกลียวคู่แบบไม่ป้องกัน สัญญาณรบกวน แต่มีราคาแพงกว่า 2. สายโคแอกซ์ (coaxial cable)มีลักษณะเช่นเดียวกับสายที่ต่อมาจากเสาอากาศประกอบด้วย ลวดทองแดงที่เป็นแกนหลักหุ้มด้วยฉนวนชั้นหนึ่ง เพื่อป้องกันกระแสไฟฟ้ารั่วจากนั้นจะหุ้มด้วยตัวนา ซึ่งทาจากลวดทองแดงถักเป็นเปียเพื่อป้องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และสัญญาณรบกวน อื่นๆก่อนจะหุ้มด้วยฉนวนพลาสติกสัญญาณไฟฟ้าสามารถผ่านได้สูงมากนิยมใช้เป็นช่องสื่อสาร สัญญาณเชื่อมโยงผ่านใต้ทะเลและใต้ดินสายโคแอกซ์ที่ใช้ทั่วไปมี 2 ชนิด คือ 50 โอห์มซึ่งใช้ส่งข้อมูล สัญญาณดิจิทัล และชนิด 75 โอห์มซึ่งใช้ส่งข้อมูลสัญญาณอะนาล็อก 3. สายใยแก้วนาแสง (fiber optic cable)หรือเส้นใยแก้วนาแสงแกนกลางของสายประกอบด้วย เส้นใยแก้วหรือเส้นพลาสตกขนาดเล็กภายในกลวงหลายๆเส้น อยู่รวมกัน เส้นใยแต่ละเส้นมีขนาดเล็ก ประมาณเส้นผมของมนุษย์เส้นใยแต่ละเส้นห่อหุ้มด้วยเส้นใยอีกชนิดหนึ่งก่อนจะหุ้มชั้นนอกสุดด้วย ฉนวนการส่งข้อมูลผ่านทางสื่อกลางชนิดนี้จะแตกต่างจากชนิดอื่นๆซึ่งจะใช้เลเซอร์วิ่งผ่านกลวงของ
  • 14. 14 เส้นใยแต่ละเส้นและอาศัยหลักการหักเหของแสง โดยใช้เส้นใยชั้นนอกเป้นกระจกสะท้อนแสงสามารถ ส่งข้อมูลด้วยอัตราความหนาแน่นของสัญญาณข้อมูลที่สูงมากและไม่มีการก่อกวนของคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้าทาให้สามารถส่งข้อมูลทั้งตัวอักษรภาพ กราฟิก เสียง หรือวีดิทัศน์ได้ในเวลาเดียวกันแต่ ยังมีข้อเสียเนื่องจากการบิดงอของสายสัญญาณจะทาให้เส้นใยหักจึงไม่สามารถใช้สื่อกลางนี้เดินทาง ตามมุมตึกได้ สายใยแก้ว นาแสงมีลีกษณะพิเศษที่ใช้สาหรับเชื่อมโยงแบบจุดไปจุดจึงเหมาะที่จะใช้กับ การเชื่อมโยงระหว่างอาคารกับอาคารหรือระหว่างเมืองกับเมือง การรับส่งข้อมูลแบบไร้สาย การส่งข้อมูลแบบไร้สายอาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นสื่อกลางนาสัญญาณซึ่งสามารถแบ่งตาม ช่วงความถี่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้ 4 ชนิด ดังนี้ 1. อินฟราเรด (Intrared)เป็นลักษณะของคลื่นที่ใช้ในการส่งข้อมูลระยะใกล้ๆ ในช่วงความถี่ที่ แคบมากใช้ช่องทงสื่อสารน้อยมักใช้กับการสื่อสารข้อมูลที่ไม่มีสิ่งกีดขวางระหว่างตัวส่งกับตัวรับ สัญญาณโดยต้องใช้วิธีการสื่อสารตามแนวเส้นตรง ระยะทางไม่เกิน 1 – 2 เมตรความเร็วประมาณ 4 16 เมกกะบิตต่อนาที เช่น การส่งสัญญาณจากรีโมตคอนโทรลไปยังโทรทัศน์ การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ สองเครื่องโดยผ่านพอร์ตไออาร์ดีเอ เป็นต้น 2. คลื่นวิทยุ (radio frequency) ใช้ส่งสัญญาณไปในอากาศ โดยมีตัวกระจายสัญญาณส่งไปยัง ตัวรับสัญญาณและใช้คลื่นวิทยุในช่วงความถี่ต่างๆ กัน มีความเร็วต่าประมาณ 2 เมกกะบิตต่อนาที เช่น การสื่อสารในระบบวิทยุเอฟเอ็ม (Frequency Modulation : FM) เอเอ็ม ( Amplitude Modulation : AM) การสื่อสารโดยใช้ระบบไร้สายและบลูทูท 3. ไมโครเวฟ ( microwave)จะใช้การส่งสัญญาณคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไปในอากาศพร้อมกับ ข้อมูลที่ต้องการส่งและต้องมีสถานีที่ทาหน้าที่ส่งและรับข้อมูลและเนื่องจากสัญญาณไมโครเวฟจะ เดินทางเป็นเส้นตรงไม่สามารถเลี้ยวหรือโค้งตามขอบโลกได้ จึงต้องมีการตั้งสถานีรับ – ส่งข้อมูลเป็น ระยะๆและส่งข้อมูลต่อกันเป็นทอดๆ ระหว่างสถานีต่อสถานี จนกว่าจะถึงสถานีปลายทางและแต่ละ สถานีจะตั้งอยู่ในที่สูง เช่น ดาดฟ้าของตึกสูล ยอดเขา เป็นต้นเพื่อหลีกเลี่ยงการชนสิ่งกีดขวางในแนว การเดินทางของสัญญาณเหมาะกับการส่งข้อมูลในพื้นที่ห่างไกล และทุรกันดาร 4. ดาวเทียม (satellite) เป็นสถานีรับส่งสัญญาณไมโครเวฟบนดาดฟ้าซึ่งได้รับการพัฒนาขึ้นมา เพื่อหลีกเลียงข้อจากัดของสถานีรับ – ส่งไมโครเวฟบนผิวโลก เพื่อใช้เป็นสถานีรับ – ส่ง สัญญาณ ไมโครเวฟบนอวกาศและทวนสัญญาณในแนวโคจรของโลก ซึ่งจะต้องมีสถานีภาคพื้นดินทาหน้าที่รับ และส่งสัญญาณขึ้นไปบนดาวเทียมที่โคจรอยู่สูงจากพื้นโลกประมาณ 35,600 ไมล์โดยดาวเทียม เหล่านั้นจะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่เท่ากับการหมุนของโลกจึงเสมือนกับดาวเทียมนั้นอยู่นิ่งกับที่ขณะที่ โลกหมุนรอบตัวเองทาให้การส่งสัญญาณไมโครเวฟจากสถานีหนึ่งขึ้นไปบนดาวเทียมและการกระจาย สัญญาณจากดาวเทียมลงมายังสถานีตามจุดต่างๆ บนผิวโลกเป็นไปอย่างแม่นยา
  • 15. 15 อินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ต (Internet) มาจากคาว่า Inter Connection Network หมายถึง เครือข่ายของเครือข่าย คอมพิวเตอร์ ระบบต่าง ๆ ที่เชื่อมโยงกัน ลักษณะของระบบอินเทอร์เน็ต เป็นเสมือนใยแมงมุม ที่ ครอบคลุมทั่วโลก ในแต่ละจุดที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตนั้น สามารถสื่อสารกันได้หลายเส้นทาง โดยไม่ กาหนดตายตัว และไม่จาเป็นต้องไปตามเส้นทางโดยตรง อาจจะผ่าน จุดอื่น ๆ หรือ เลือกไปเส้นทางอื่น ได้หลาย ๆ เส้นทาง ดังรูป อินเทอร์เน็ตในปัจจุบัน ถูกพัฒนามาจากโครงการวิจัยทางการทหารของกระทรวงกลาโหมของ ประเทศ สหรัฐอเมริกา คือ Advanced Research Projects Agency (ARPA) ในปี 1969 โครงการนี้เป็น การวิจัยเครือข่ายเพื่อ การสื่อสารของการทหารในกองทัพอเมริกา หรืออาจเรียกสั้นๆ ได้ว่า ARPA Net ในปี ค.ศ. 1970 ARPA Net ได้มีการพัฒนาเพิ่มมากขึ้นโดยการเชื่อมโยงเครือข่ายร่วมกับมหาวิทยาลัย ชั้นนาของอเมริกา คือ มหาวิทยาลัยยูทาห์ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียที่ซานตาบาบารา มหาวิทยาลัย แคลิฟอร์เนียที่ลอสแองเจลิส และสถาบันวิจัยของมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด และหลังจากนั้นเป็นต้นมา ก็มีการใช้ อินเทอร์เน็ตกันอย่างแพร่หลายมากขึ้น สาหรับในประเทศไทย อินเทอร์เน็ตเริ่มมีการใช้ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2530 ที่มหาวิยาลัยสงขลา นครินทร์ โดยได้รับความช่วยเหลือจากโครงการ IDP (The International Development Plan) เพื่อให้ มหาวิทยาลัยสามารถติต่อสื่อสารทาง อีเมล์ กับมหาวิทยาลัยเมลเบิร์นในออสเตรเลียได้ ได้มีการติดตั้ง ระบบอี เมล์ ขึ้นครั้งแรก โดยผ่านระบบโทรศัพท์ ความเร็วของโมเด็มที่ใช้ในขณะนั้นมีความเร็ว 2,400 บิต/วินาที จนกระทั่งวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2531 ได้มีการส่งอีเมล์ฉบับแรกที่ติดต่อระหว่างประเทศไทย
  • 16. 16 กับมหาวิทยาลัยเมลเบิร์น มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์จึงเปรียบเสมือนประตูทางผ่าน ( Gateway) ของ ไทยที่เชื่อมต่อไปยังออสเตรเลียในขณะนั้น ในปี พ.ศ. 2533 ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ( NECTEC) ได้ เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ของสถาบันการศึกษาของรัฐ โดยมีชื่อว่า เครือข่ายไทยสาร (Thai Social/Scientific Academic and Research Network : ThaiSARN) ประกอบด้วย มหาวิยาลัยสงขลานครินทร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เพื่อให้บริการอินเทอร์เน็ตภายในประเทศ เพื่อการศึกษาและวิจัย ในปี พ.ศ. 2538 ได้มีการบริการอินเทอร์เน็ตเชิงพาณิชย์ขึ้น เพื่อให้บริการแก่ประชาชน และ ภาคเอกชนต่างๆ ที่ต้องการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต โดยมีบริษัทอินเทอร์เน็ตไทยแลนด์ (Internet Thailand) เป็นผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต (Internet Service Provider: ISP) เป็นบริษัทแรก เมื่อมีคนนิยมใช้ อินเทอร์เน็ตเพิ่มมากขึ้น บริษัทที่ให้บริการอินเทอร์เน็ตจึงได้ก่อตั้งเพิ่มขึ้นอีกมากมาย พัฒนาการของ Internet ปี พ.ศ. 2500 (1957) โซเวียดได้ปล่อยดาวเทียม Sputnik ทาให้สหรัฐอเมริกาได้ตระหนักถึง ปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้น ดังนั้น ค..ศ. 2512 (1969) กองทัพสหรัฐต้องเผชิญหน้ากับความเสี่ยงทาง การทหารและความเป็นไปได้ในการถูกโจมตีด้วยอาวุธปรมาณู หรือนิวเคลียร์การถูกทาลายล้าง ศูนย์ คอมพิวเตอร์และระบบการสื่อสารข้อมูลอาจทาให้เกิดปัญหาทางการรบ และในยุคนี้ ระบบ คอมพิวเตอร์ที่มีหลากหลายมากมายหลายแบบ ทาให้ไม่สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสารและ โปรแกรมกันได้ จึงมีแนวความคิด ในการวิจัยระบบที่สามารถเชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์ และ แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างระบบที่แตกต่างกันได้ตลอดจนสามารถรับส่งข้อมูลระหว่างกันได้อย่างไม่ ผิดพลาดแม้ว่าคอมพิวเตอร์บางเครื่อง หรือสายรับส่งสัญญาณเสียดายหรือถูกทาลายกระทรวงกลาโหม อเมริกัน (DoD = Department of Defense) ได้ให้ทุนที่มีชื่อว่า DARPA (Defense Advanced Research Project Agency) ภายใต้การควบคุมของ Dr. J.C.R. Lickliderได้ทาการทดลองระบบเครือข่ายที่มีชื่อว่า
  • 17. 17 DARPA Network และต่อมาได้กลายสภาพเป็น ARPANet (Advanced Research Projects Agency Network) และต่อได้มาพัฒนาเป็น INTERNET ในที่สุด การเริ่มต้นของเครือข่ายนี้ เริ่มในเดือน ธันวาคม 2512 (1969) จานวน 4 มหาวิทยาลัย ได้แก่  มหาวิทยาลัยยูทาห์  มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียที่ซานตาบาบารา  มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียที่ลอสแองเจลิส  สถาบันวิจัยของมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด และขยายต่อไปเรื่อยๆ เป็น 50 จุดในปี พ.ศ. 2515 จนเป็นหลายล้านแห่งทั่วโลกทีเดียวงานหลัก ของเครือข่ายนี้ คือการค้นคว้าและวิจัยทางทหารซึ่งอาศัยมาตรฐานการรับส่งข้อมูลเดียวกันที่เรียกว่า Network Control Protocol (NCP) ทาหน้าที่ควบคุมการรับส่งข้อมูล การตรวจสอบความผิดพลาดใน การส่งข้อมูลและตัวกลางที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องเข้าด้วยกันและมาตรฐานนี้ก็มีจุดอ่อนในการ ขยายระบบ จนต้องมีการพัฒนามาตรฐานใหม่ พ.ศ. 2525 ได้มีมาตรฐานใหม่ออกมา คือ Transmission Control Protocol/Internet Protocol (TCP/IP) อันเป็นก้าวสาคัญของอินเทอร์เน็ตเนื่องจากมาตรฐานนี้ทาให้คอมพิวเตอร์ต่างชนิดกัน สามารถรับส่งข้อมูลไปมาระหว่างกันได้เปรียบเสมือนเป็นหัวใจของอินเทอร์เน็ตเลยก็ว่าได้ จากระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ที่มีอยู่ในยุคนั้นไม่สามารถตอบสนองการสื่อสารได้ บริษัทเบลล์ (Bell) ได้ให้ทุนการศึกษาแก่ห้องทดลองที่มีชื่อเสียงที่สุดแห่งหนึ่ง ในสมัยต่อมา คือ Bell's Lab ให้ทดลองสร้างระบบปฏิบัติการแห่งอนาคต (ของคนในยุคนั้น) เดนนิสริสซีและ เคเน็ตทอมสันได้ ออกแบบ และพัฒนาระบบที่มีชื่อว่า UNIX ขึ้นและแพร่หลายอย่างรวดเร็ว พร้อมๆกับการแพร่หลาย ของระบบ Internet เนื่องจากความสามารถ ในการสื่อสารของ UNIX และมีการนา TCP/IP มาเป็นส่วน หนึ่งของระบบปฏิบัติการนี้ด้วย
  • 18. 18 พ.ศ. 2529 มูลนิธิวิทยาลัยศาสตร์แห่งชาติสหรัฐอเมริกา ( National Science Foundation - NSF) ได้วางระบบเครือข่ายขึ้นมาอีกระบบหนึ่ง เรียกว่า NSFNetซึ่งประกอบด้วยซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ 5 เครื่องใน 5 รัฐเชื่อมต่อเพื่อประโยชน์ทางการศึกษา และค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์และมีการใช้มาตรฐาน TCP/IP เป็นมาตรฐานหลักในการรับส่งข้อมูลส่งผลให้การใช้งานเครือข่ายเป็นไปอย่างรวดเร็ว หลังจากนั้นก็มีเครือข่ายอื่นๆ เกิดขึ้นมาเช่น UUNET, UUCP, BitNet, CSNetเป็นต้น และต่อมา ได้เชื่อมต่อกัน โดยมี NSFNetเป็นเครือข่ายหลักซึ่งเปรียบเสมือนกระดูกสันหลังของเครือข่าย (Backbone) ในปี พ.ศ. 2530 เครือข่าย ARPANET ได้รวมกับ NSFNET และลดบทบาทตัวเองลงมา เปลี่ยนไปใช้บทบาทของ NSFNetแทนและเลิกระบบ ARPANET ในปีพ.ศ. 2534 ในปัจจุบัน Internet เป็นการต่อโยงทางตรรกะ ( Logic) ของระบบคอมพิวเตอร์นับล้าน ๆ เครื่อง และโยงกับระบบ Wide Area Network (WAN) ต่างๆเช่น MILNET, NSFNET, CSNET, BITNET หรือแม้แต่เครือข่ายทางธุรกิจ เช่น IBMNET, Compuserve Net และอื่น ๆภายใต้โปรโตคอล ที่ มีชื่อว่า TCP/IP โดยที่ขนาดของเครือข่ายครอบคลุมไปทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทยและมีการขยาย ขอบเขตออกไปอย่างไม่หยุดยั้ง ระบบ Internet เป็นการนาเครือข่ายขนาดใหญ่ที่สุดของโลก ที่มีการต่อเสมือนกับ ใยแมงมุม หรือ World Wide Web หรือเรียกย่อๆ ว่า WWW (มีการบัญญัติศัพท์ว่า เครือข่ายใยพิภพ) ในระบบนี้เรา สามารถเปรียบเทียบ Internet ได้ สองลักษณะคือลักษณะทางกายภาพ และทางตรรกะ ในทางกายภาพ (Physical) นั้น Internet เป็นเครือข่ายที่รับอิทธิพลจาก เครือข่ายโทรศัพท์โดยตรง ในสหรัฐอเมริกา บริษัทที่เป็นผู้ให้บริการ Internet ก็เป็นบริษัทที่ทาธุรกิจ ทางโทรศัพท์เช่น MCI, AT&T, BELL เป็นต้น และอีกลักษณะหนึ่งที่เป็นความเด่นของระบบคือลักษณะทางตรรกะ หรือ LOGICAL CONNECTION ที่เป็นเสมือนใยแมงมุม ครอบคลุมโลกไว้
  • 19. 19 บริการต่างๆ บนอินเตอร์เน็ต บริการบนอินเทอร์เน็ตมีหลายประเภทเพื่ออานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ได้เลือกใช้ให้ เหมาะสมกับลักษณะงานซึ่งในที่นี้จะยกตัวอย่างบริการบนอินเทอร์เน็ตที่สาคัญดังนี้ 1.บริการด้านการสื่อสาร 1.1 ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์( electronic mail)หรือเรียกกันโดยทั่วไปว่าอีเมล์ (E-mail) ถือได้ว่าเป็นกิจกรรมประจาวันของผู้ใช้อินเตอร์เน็ตซึ่งการส่งและรับจดหมายหรือข้อความถึง กันได้ทั่วโลกนี้จาเป็นจะต้องมีที่อยู่อีเมล์ ( e-mail address หรือ e-mail account) เพื่อใช้เป็น กล่องรับจดหมายที่อยู่ของอีเมล์จะประกอบ ด้วยส่วนประกอบสาคัญ 2 ส่วน คือชื่อผู้ใช้ (User name) และชื่อโดเมน(Domain name) ซึ่งเป็นชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีรายชื่อของผู้ใช้อีเมล์โดย ชื่อผู้ใช้และชื่อโดเมนจะคั่นด้วยเครื่องหมาย @(อ่านว่า แอ็ท) เช่น Sriprai@sukhothai.siamu.ac.th จะมีผู้ใช้อีเมล์ชื่อ Sripraiที่มีอยู่อีเมล์ ที่เครื่องคอมพิวเตอร์ชื่อ sukhothaiของมหาวิทยาลัยสยาม(siamu) ซึ่งเป็นสถาบันการศึกษา (ac) ในประเทศไทย (th) ในการรับ-ส่งจดหมายโดยผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตนั้นได้มีการพัฒนาโปรแกรมที่ใช้ สาหรับอีเมล์อยู่หลายโปรแกรมเช่น โปรแกรม Microsoft Outlook Express โปรแกรม Netscape Mail เป็นต้นนอกจากนี้ผู้ใช้ยังสามารถลงทะเบียนเพื่อขอรับที่อยู่อีเมล์ได้ฟรีจาก เว็บไซต์ที่ให้บริการที่อยู่อีเมล์ฟรีเว็บไซต์ที่เป็นที่รู้จักและนิยม โดยทั่วไปแล้วส่วนประกอบหลัก ๆ ของอีเมล์จะประกอบด้วยส่วนหัว ( header) และ ส่วนข้อความ (message) 1.2 รายชื่อกลุ่มสนทนา (mailing lists) เป็นกลุ่มสนทนาประเภทหนึ่งบนอินเทอร์เน็ตที่ มีการติดต่อสื่อสารและการส่งข่าวสารให้กับสมาชิกตามรายชื่อและที่อยู่ของสมาชิกที่มีอยู่ใน รายการซึ่งในปัจจุบันมีกลุ่ม mailing lists ที่แตกต่างกันตามความสนใจจานวนมากการเข้าไปมี ส่วนร่วมในกลุ่มสนทนาประเภทนี้
  • 20. 20 ผู้ใช้จะต้องสมัครสมาชิกก่อนด้วยการแจ้งความประสงค์และส่งชื่อและที่อยู่เพื่อการลง ทะเบียบไปยัง subscription address ของ mailing lists ตัวอย่าง mailing list เช่น ทัวร์ออนไลน์ (tourbus@listserv.aol.com) 1.3 กระดานข่าว (usenet) เป็นการรวบรวมของกลุ่มข่าวหรือ newsgroup ซึ่งเป็นกลุ่ม ผู้สนใจที่ต้องการจะติดต่อและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผู้ใช้อินเทอร์เน็ตคนอื่น ๆ กลุ่มของ newsgroup ในปัจจุบันมีมากกว่า 10,000 กลุ่มที่มีความสนใจในหัวข้อที่แตกต่างกันเช่นกลุ่ม ผู้สนใจศิลปะ กลุ่มคอมพิวเตอร์ กลุ่มผู้ชื่นชอบภาพยนต์ เป็นต้น การส่งและรับแหล่งข่าวจาก usenetจะใช้โปรแกรมสาหรับอ่านข่าวเพื่อไปดึงชื่อของ กลุ่มข่าวหรือหัวข้อจากเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ผู้ใช้เข้าไปขอใช้บริการ เช่นเดียวกับระบบชื่อโดเมน (DNS) กลุ่มข่าวจะมีการตั้งชื่อเพื่อใช้เป็นแบบมาตรฐาน ซึ่งชื่อกลุ่มจะประกอบด้วยส่วนประกอบหลักๆ คือ ชื่อหัวข้อกลุ่มข่าวหลัก (major topic) ชื่อ กลุ่มข่าวย่อย (subtopic) และประเภทของกลุ่มข่าวย่อย (division of subtopic) ตัวอย่างเช่น 1.4 การสนทนาออนไลน์( On-line chat)เป็นบริการหนึ่งบนอินเทอร์เน็ตที่ช่วยให้ผู้ใช้ สามารถคุยโต้ตอบกับผู้ใช้คนอื่นๆ ได้ในเวลาเดียวกัน ( real-time) การสนทนาหรือ chat (Internet Relay Chat หรือ IRC)ได้มีการพัฒนาไปอย่างต่อเนื่องปัจจุบันการสนทนาระหว่าง บุคคลหรือ กลุ่มบุคคลสามารถใช้ ภาพกราฟิก ภาพการ์ตูนหรือภาพเคลื่อนไหวต่าง ๆ แทนตัวผู้สนทนาได้นอกจากการ สนทนาแล้ว ผู้ใช้ยังสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลและไฟล์ได้อีกด้วย
  • 21. 21 การใช้งาน IRC ผู้ใช้จะต้องติดต่อไปยังเครื่องที่เป็นไออาร์ซีเซิร์ฟเวอร์ ( IRC server) ที่ มีการแบ่งห้องสนทนาเป็นกลุ่ม ๆ ที่เรียกว่า แชนแนล ( channel) โดยผู้ใช้จะต้องมีโปรแกรม เพื่อใช้สาหรับการสนทนา (ซึ่งสามารถดาวน์โหลดฟรีจากอินเทอร์เน็ต)เมื่อผู้ใช้ติดต่อกับเครื่อง เซิร์ฟเวอร์ได้แล้วก็จะเลือกกลุ่มสนทนาหรือหัวข้อสนทนาที่สนใจ และเริ่มสนทนาได้ตาม ความต้องการตัวอย่างโปรแกรมสนทนาออนไลน์ที่นิยมใช้กัน ในปัจจุบัน เช่น ICQ(I Seek You) และ mIRC การสนทนาผ่านระบบอินเทอร์เน็ตได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องในปัจจุบันผู้ใช้ สามารถใช้สื่อประสม (multimedia) ประกอบด้วย เสียงพูดและภาพเคลื่อนไหวโดยใช้อุปกรณ์ ต่าง ๆ เช่น ไมโครโฟน ลาโพง กล้องวีดีโอและอื่น ๆ เพื่ออานวยความสะดวกและเพื่อ ประสิทธิภาพของการสนทนาให้ดียิ่งขึ้น ในส่วนของโปรแกรมได้มีการพัฒนาโปรแกรมเพื่อ การสนทนาออนไลน์ที่มีคุณภาพเช่น โปรแกรม Microsoft NetMeeting ที่สามารถสนทนากัน ไปพร้อมๆกับมองเห็นภาพของคู่สนทนาได้ด้วย 1.5 เทลเน็ต (telnet)เป็นบริการที่ให้ผู้ใช้สามารถใช้บริการเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ตั้งอยู่ ระยะไกลโดยจะใช้การจาลองเครื่องคอมพิวเตอร์ที่กาลังใช้งานอยู่ให้เป็นจอภาพ ของเครื่อง คอมพิวเตอร์ระยะไกลเครื่องนั้นการทางานในลักษณะนี้จะช่วยประหยัดทั้งเวลาและค่าใช้จ่าย ในกรณีที่ต้องเดินทางไปใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ระยะไกล
  • 22. 22 การใช้งานเทลเน็ตจะเป็นการแสดงข้อความตัวอักษร (text mode) โดยปกติการเข้าไป ใช้บริการเครื่องคอมพิวเตอร์ ระยะไกลจาเป็นต้องมีรายชื่อผู้ใช้และรหัสผ่านแต่ก็มีบาง หน่วยงานที่อนุญาติให้เข้าใช้บริการโดยไม่ต้องระบุรหัสผ่านเพื่อเป็นการให้บริการข้อมูลแก่ ลูกค้าทั่วๆ ไป 2.บริการด้านข้อมูลต่าง ๆ 2.1 การขนถ่ายไฟล์( file transfer protocol)หรือที่เรียกสั้น ๆว่า เอฟทีพี ( FTP) เป็น บริการที่ใช้สาหรับการแลกเปลี่ยนไฟล์ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ทางอินเตอร์เน็ตเครื่อง คอมพิวเตอร์ที่ให้บริการไฟล์จะเรียกว่าเอฟทีพีเซิร์ฟเวอร์ (FTP sever หรือ FTP site) ข้อมูลที่ให้บริการขนถ่ายไฟล์จะมีลักษณะหลายรูปแบบได้แก่ข้อมูลสถิติ งานวิจัย บทความ เพลง ข่าวสารทั่วไป หรือโปรแกรมฟรีแวร์ (freeware) ที่สามารถดาวน์โหลดและใช้ โปรแกรมฟรี ในบางครั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการขนถ่ายไฟล์จะให้บริการเฉพาะบุคคลที่มี บัญชีรายชื่ออยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์เท่านั้นแต่ก้ฒีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการขนถ่ายไฟล์ จานวนมากอนุญาตให้ผู้ใช้ทั่วไปได้เข้าไปใช้บริการถึงแม้ว่าในบางครั้งจะไม่อนุญาตให้ขนถ่าย ไฟล์ทั้งหมดก็ตาม 2.2 โกเฟอร์ ( gopher)เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่ให้บริการข้อมูลในลักษณะของการ ค้นหาจากเมนู(menu-based search) จากเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการข้อมูลโปรแกรมโกเฟอร์ พัฒนาโดยมหาวิทยาลัย Minnesota ในปี ค.ศ. 1991 เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการฐานข้อมูล จะเป็นลักษณะของเมนูลาดับชั้น (hierarchy) เพื่อเชื่อมโยงไปยังแหล่งข้อมูลอื่น ๆที่กระจายกัน อยู่หลายแหล่งได้
  • 23. 23 2.3 อาร์ซี (archie) เป็นการเข้าใช้บริการค้นหาข้อมูลจากเครื่องแม่ข่ายที่เป็นอาร์ซีเซิร์ฟเวอร์ (archiesever )ซึ่งเป็นแหล่งที่ช่วยให้ผู้ใช้ค้นหาสถานที่ของข้อมูลจากนั้นก็จะไปค้นข้อมูลโดยตรงจาก สถานที่นั้นต่อไป 2.4 WAIS (Wide Area Information Severs)เป็นบริการค้นหาข้อมูลจากศูนย์ข้อมูลที่อยู่บน อินเทอร์เน็ตที่ได้รวบรวมข้อมูลและดรรชนีสาหรับสืบค้นข้อมูลจากฐานข้อมูลต่างๆเพื่ออานวยความ สะดวกให้แก่ผู้ใช้เพื่อสามารถเข้าไปยังข้อมูลที่ต้องการและสามารถเชื่อมโยงไปยังศูนย์ข้อมูล WAIS อื่นๆ ได้ด้วย 2.5 veronicaย่อมาจาก very easy rodent-oriented net-wide index to computerized archives เป็นบริการที่รวบรวมข้อมูลเพื่อช่วยอานวยความสะดวกในการค้นหาสิ่งที่ต้องการได้อย่างรวดเร็ว 2.6 การค้นหาข้อมูลโดยใช้เว็บเบราเซอร์อินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายใยแมงมุมที่มีการเชื่อมโยง แหล่งข้อมูลที่กระจัดกระจายอยู่ทั่วโลกการค้นหาข้อมูลจากแหล่งต่างๆถ้าผู้ใช้ไม่ทราบที่อยู่ของ เว็บไซต์ก็สามารถค้นหาแหล่งข้อมูลโดยใช้บริการค้นหาข้อมูลต่างๆที่ได้กล่าวมาแล้ว ปัจจุบันการค้นหาข้อมูลที่ต้องการเป็นเรื่องที่กระทาได้สะดวกและรวดเร็วการพัฒนาเว็บไซต์ ที่ช่วยสืบค้นแหล่งข้อมูลที่เรียกว่า เครื่องค้นหา ( search engine) ช่วยให้การค้นหาทั้งในรูปของ ข้อความและกราฟิกกระทาได้โดยง่าย
  • 24. 24 สังคมออนไลน์ (Social Media) Social Media คืออะไร สาหรับในยุคนี้ เราคงจะหลีกเลี่ยงหรือหนีคาว่า Social Media ไปไม่ได้ เพราะไม่ว่าจะไปที่ ไหน ก็จะพบเห็นมันอยู่ตลอดเวลา ซึ่งหลายๆ คนก็อาจจะยังสงสัยว่า “Social Media” มันคืออะไรกันแน่ วันนี้เราจะมารู้จักความหมายของมันกันครับ คาว่า “Social” หมายถึง สังคม ซึ่งในที่นี้จะหมายถึงสังคมออนไลน์ ซึ่งมีขนาดใหม่มากใน ปัจจุบัน คาว่า “Media” หมายถึง สื่อ ซึ่งก็คือ เนื้อหา เรื่องราว บทความ วีดีโอ เพลง รูปภาพ เป็นต้น ดังนั้นคาว่า Social Media จึงหมายถึง สื่อสังคมออนไลน์ที่มีการตอบสนองทางสังคมได้หลาย ทิศทาง โดยผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต พูดง่ายๆ ก็คือเว็บไซต์ที่บุคคลบนโลกนี้สามารถมีปฏิสัมพันธ์ โต้ตอบกันได้นั่นเอง พื้นฐานการเกิด Social Media ก็มาจากความต้องการของมนุษย์หรือคนเราที่ต้องการ ติดต่อสื่อสารหรือมีปฏิสัมพันธ์กัน จากเดิมเรามีเว็บในยุค 1.0 ซึ่งก็คือเว็บที่แสดงเนื้อหาอย่างเดียว บุคคลแต่ละคนไม่สามารถติดต่อหรือโต้ตอบกันได้ แต่เมื่อเทคโนโลยีเว็บพัฒนาเข้าสู่ยุค 2.0 ก็มีการ พัฒนาเว็บไซต์ที่เรียกว่า web application ซึ่งก็คือเว็บไซต์มีแอพลิเคชันหรือโปรแกรมต่างๆ ที่มีการ โต้ตอบกับผู้ใช้งานมากขึ้น ผู้ใช้งานแต่ละคนสามารถโต้ตอบกันได้ผ่านหน้าเว็บ เว็บไซต์ ที่ให้บริการ Social Network หรือ Social Media Google Group - เว็บไซต์ในรูปแบบSocial Networking Wikipedia – เว็บไซต์ในรูปแบบข้อมูลอ้างอิง
  • 25. 25 MySpace – เว็บไซต์ในรูปแบบ Social Networking Facebook –เว็บไซต์ในรูปแบบ Social Networking
  • 26. 26 MouthShut –เว็บไซต์ในรูปแบบ Product Reviews Yelp –เว็บในรูปแบบ Product Reviews Youmeo –เว็บที่รวม Social Network
  • 27. 27 Last. fm –เว็บเพลงส่วนตัว Personal Music YouTube –เว็บไซต์ Social Networking และแชร์วิดีโอ Avatars United –เว็บไซต์ในรูปแบบ Social Networking
  • 28. 28 Second Life – เว็บไซต์ในรูปแบบโลกเสมือนจริง Virtual Reality Flickr – เว็บแชร์รูปภาพ
  • 29. 29 อ้างอิง อัฎฐพร .2556. พัฒนาการสื่อสารข้อมูล. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา :http://kururat-01.blogspot.com/. 11 ธันวาคม 2556. จริยา กรณีย์ . 2556. การใช้งานอินเตอร์เน็ตอย่างปลอดภัย. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://www.learners.in.th/blogs/posts/330030. 11 ธันวาคม 2556. ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอาเภอพระยืน. 2556. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://202.143.137.109/araya/int.html. 11 ธันวาคม 2556. Arm blog. 2556. การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : 11 ธันวาคม 2556. onatcha46203. 2556. เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ .[ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://onatcha46203.blogspot.com/2012/06/blog-post_4944.html .11 ธันวาคม 2556. Schoolnet. 2556. เครือข่ายคอมพิวเตอร์. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://www.school.net.th/library/snet1/hardware/network.html. 11 ธันวาคม 2556. watyala. 2556. สังคมออนไลน์ (social Media).[ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://watyala.wordpress.com/. 11 ธันวาคม 2556.