SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
Download to read offline
- 1 -
รายงานข้อเสนอแนะแนวการบังคับใช้กฎหมายเพื่อการดาเนินงานการจัดการ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
โดย นายทวี หนูทอง
ที่ปรึกษาด้านการจัดการพื้นที่คุ้มครอง โครงการ CATSPA
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ส่วนที่ 1
กลไกการดาเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อ
--------------------------
ความหมายและความสาคัญ
คาว่าแนวเชื่อมต่อหรือทางเชื่อมต่อมาจากภาษาอังกฤษว่า Corridor หรือ Connectivity
เป็นเส้นทางสาหรับการเคลื่อนย้ายของชนิดพันธุ์ต่างๆ จากพื้นที่หนึ่งไปยังอีกพื้นที่หนึ่งเพื่อสร้าง
ความเชื่อมโยงต่อกันในหลายๆ พื้นที่ มักจะมีการใช้คาว่า Connectivity Conservation เป็นการบริหารจัดการ
พื้นที่ที่มีความสามารถในการส่งเสริมหรือสนับสนุนการเคลื่อนที่ของชนิดพันธุ์ที่เดินทางไปมาระหว่าง
หย่อมป่าหรือพื้นที่คุ้มครองหรือพื้นที่ที่เหมาะสมต่อการอยู่อาศัยและการสืบพันธุ์ขยายพันธุ์
ทฤษฎีเกี่ยวกับแนวเชื่อมต่อได้มีการอธิบายเพื่อสร้างความเข้าใจกันหลากลาย ส่วนใหญ่แล้วจะ
เป็นกล่าวถึงการเชื่อมต่อกันระหว่างถิ่นที่อาศัยเพื่อประโยชน์สาหรับชนิดพันธุ์สัตว์ป่าและเกี่ยวข้องกับ
กระบวนการเคลื่อนย้ายของชนิดพันธุ์เพื่อความอยู่รอดและการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพเป็น
สาคัญ
เพื่อให้การดาเนินงานการอนุรักษ์แนวเชื่อมต่อจาต้องสร้างความเข้าใจถึงคาหลักทางชีววิทยา
และนิเวศวิทยาที่เกี่ยวข้อง เพื่อนามาพิจารณาในการจัดการร่วมกัน คือ
1. ความหลากหลายทางชีวภาพ (Biological diversity หรือ Biodiversity) เป็นคาหลักใน
อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ (Convention on Biological Diversity) หมายถึง ความมากมาย
ของสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในทุกๆ แห่งของระบบนิเวศที่เป็นระบบนิเวศบนบก ในน้า หรือทางทะเลที่มีความ
สลับซับซ้อนของกระบวนการและสิ่งมีชีวิตที่เป็นองค์ประกอบความหลากหลายของชนิดพันธุ์ ภายในระบบ
นิเวศหรือระดับของจานวนในภูมิทัศน์ที่เป็นระบบนิเวศทางสังคม ประชากรชนิดพันธุ์และพันธุกรรม
- 2 -
2. กระบวนการทางนิเวศ (Ecological processes) หมายถึง ลักษณะกระบวนการทางชีววิทยา
กายภาพและเคมี เพื่อให้ระบบนิเวศคงอยู่ต่อไปได้ กระบวนการนี้จะสัมพันธ์กับวัฏจักรของน้า วัฏจักรของ
แร่ธาตุ ดิน ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ล่ากับเหยื่อ กระบวนการทางนิเวศเป็นองค์ประกอบของระบบนิเวศใน
สถานภาพทางกายภาพที่ปรากฏอยู่ เช่น ความลึกของน้าในแหล่งน้า ชนิดของดิน อุณหภูมิของอากาศใน
พื้นที่ กระบวนการทางนิเวศวิทยากับผลิตผลของอินทรีย์สาร พลังงานที่ได้จากการกระบวนการสังเคราะห์
แสงหรือสารเคมีที่เกิดจากการสังเคราะห์แสง การส่งผ่านแร่ธาตุหรือคาร์บอนให้เกิดสิ่งมีชีวิต และ
การดารงชีวิตของชนิดพันธุ์ เช่น การผสมเกสรดอกไม้กระบวนการต่างๆ จะเกิดขึ้นอยู่กับความหลากหลาย
ทางชีวภาพ
3. การบริการของระบบนิเวศ (Ecosystem goods and Services) หมายถึง ผลประโยชน์ที่ได้รับ
จากองค์ประกอบ ความอุดมสมบูรณ์ของระบบนิเวศที่ใช้เพื่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต (พืช สัตว์และ
มนุษย์) และอานวยผลประโยชน์ด้านคุณค่าทางสังคม วัฒนธรรมและเศรษฐกิจของมนุษย์ เช่น การบริการ
ด้านน้าสะอาด อากาศที่บริสุทธิ์ เวชภัณฑ์ ผลผลิตทางการเกษตร ซึ่งเป็นการบริการของระบบนิเวศ รวมถึง
การคงไว้ซึ่งความหลากหลายทางชีวภาพ การย่อยสลายของสิ่งไม่มีชีวิต ดิน และวัฎจักรของแร่ธาตุ
นอกจากนี้ยังมีบริการด้านขยายพันธุ์พืชตามธรรมชาติ รักษาไว้ซึ่งน้าใต้ดิน การกระจายของเมล็ดพืช การเก็บ
กักหรือดูดซับคาร์บอนและการรักษาไว้ซึ่งภูมิทัศน์ที่สวยงาม
4. ความมั่นคงของกระบวนการนิเวศ (Ecological integrity) หมายถึง สถานภาพของระบบ
นิเวศตามโครงสร้าง องค์ประกอบ ที่ทาให้ระบบนิเวศความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตและสนับสนุนให้
กระบวนการให้คงอยู่ต่อไปได้ ปราศจากการถูกคุกคามจากมนุษย์
5. ความเชื่อมโยงของระบบนิเวศ (Ecological network) หมายถึง ระบบของการรักษาไว้ตาม
ธรรมชาติที่ทาให้เกิดความแตกแยกของระบบนิเวศที่สนับสนุนการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ
เกิดขึ้นที่ประกอบด้วย พื้นที่คุ้มครอง แนวกันชน พื้นที่เอกชน การจัดการเพื่อคงไว้หรือการฟื้ นฟู
องค์ประกอบของระบบนิเวศ โดยให้มีการอนุรักษ์ความหลากหลายที่อานวยผลประโยชน์อย่างยั่งยืนของ
ทรัพยากรธรรมชาติ หรืออีกประการหนึ่งคือความเชื่อมโยงของกระบวนการต่างๆ เพื่อการอนุรักษ์
6. การฟื้นฟูระบบนิเวศให้เข้าสู่สภาพปกติ (Ecological resilience) หมายถึง ความสามารถของ
ระบบที่มีการควบคุมภายใต้สภาพที่มีการเปลี่ยนแปลง โครงสร้าง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
กับระบบนิเวศ ด้วยเหตุผลที่ทาให้เกิดการสูญเสียและมีการพัฒนาตัวเองให้เข้าสู่ความสมบูรณ์อีกครั้งหนึ่ง
7. ระบบนิเวศ (Ecosystems) หมายถึง กลุ่มของชนิดพันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ป่า และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
ที่เกิดขึ้นหรือปรากฏอยู่เป็นจานวนมากในพื้นที่เฉพาะหรือพื้นที่ที่กว้างขวาง
- 3 -
8. วิธีการของระบบนิเวศ (Ecosystem Approach) หมายถึง การจัดการพื้นที่ดิน น้า และ
สิ่งมีชีวิตที่มีข้อมูลเพื่อการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนอย่างบูรณาการ วิถีทางของระบบนิเวศเป็น
กรอบงานของกิจกรรมหลายๆ อย่างที่จะสร้างความสมดุลในธรรมชาติ จากอนุสัญญาความหลากหลายทาง
ชีวภาพจะมีหลัก 3 ประการคือ การอนุรักษ์ การใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนและการแบ่งปันผลประโยชน์ร่วมกัน
อย่างยุติธรรม โดยเฉพาะทรัพยากรทางพันธุกรรม วิถีทางของระบบนิเวศและการฟื้นฟูของระบบนิเวศทั้ง
ทางบกและทางน้า
9. ถิ่นที่อาศัย (Habitat) หมายถึง พื้นที่ที่ซึ่งมีความหลากหลายของทรัพยากร เช่น อาหาร น้า
ที่คุ้มกันภัยและสิ่งแวดล้อมอื่นๆ (อุณหภูมิ ปริมาณฝน สัตว์ผู้ล่า) ที่อยู่ในพื้นที่ถิ่นที่อาศัยของสัตว์ป่าเป็น
สาคัญ และสามารถรองรับให้ประชากรได้อาศัยอยู่อย่างปลอดภัย
10.การแตกกระจายของถิ่นที่อาศัย (Habitat fragmentation) หมายถึง การลดลงหรือการเกิดเป็น
หย่อมป่าที่มีขนาดแตกต่างกันไป มีการแยกจากกันของสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติรวมทั้งภูมิทัศน์ การ
แตกแยกของถิ่นที่อาศัยออกเป็นส่วนๆ ทาให้ชนิดพันธุ์ไม่สามารถเดินทางไปมาได้เพราะมีการใช้ประโยชน์
ที่ดินในด้านอื่นๆ เช่น การเกษตรหรือการแตกกระจายของถิ่นที่อาศัยเกิดจากไฟป่า ลมพายุ น้าท่วมหรือเกิด
จากมนุษย์
11.ชนิดพันธุ์ ประชากรและสังคม (Species, Population and Community) หมายถึง ชนิดพันธุ์
ของสิ่งมีชีวิตที่เกิดขึ้นอยู่ โดยเฉพาะชนิดพันธุ์กลุ่มเดียวกัน สามารถที่จะขยายพันธุ์แพร่พันธุ์ออกลูกออก
หลานได้ รวมกันเป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในพื้นที่เดียวกันและมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันในเรื่องของ
แหล่งอาหาร ถิ่นที่อาศัย และการใช้ทรัพยากรอื่นร่วมกัน มีการเปลี่ยนแปลงจานวนประชากรตามกฎเกณฑ์
ของธรรมชาติ เนื่องจากความสัมพันธ์ระหว่างผู้ล่ากับเหยื่อ ผู้ผลิตและผู้บริโภคหรือผู้แข่งขัน
การอนุรักษ์แนวเชื่อมต่อเป็นหลักการที่สาคัญในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติที่ประกอบ
ไปด้วย (1) องค์ประกอบของธรรมชาติที่จาเป็นต้องมีการคุ้มครองดูแลรักษาไว้รวมถึงการฟื้นฟูไม่ว่าจะเป็น
ป่าไม้ แม่น้า ชายทะเลที่เป็นพื้นที่ธรรมชาติ และ (2) ชนิดพันธุ์ธรรมชาติที่มีการเคลื่อนย้ายได้หรือมีการ
กระจายของชนิดพันธุ์หรือประชากรในแนวเชื่อมต่อของภูมิทัศน์
ต้องยอมรับว่าการจัดการแนวเชื่อมต่อเป็นวิชาการสาขาหนึ่งที่เป็นพื้นฐานของการอนุรักษ์
ความหลากหลายทางชีวภาพ มีการพัฒนาในด้านการดาเนินงานทางชีววิทยา นิเวศวิทยา ประชากร ชนิดพันธุ์
และพันธุกรรม ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ การนาเอากฎหมาย
ข้อบังคับและระเบียบมาใช้ในการจัดการแนวเชื่อมต่อจึงเป็นหารูปแบบ การทดลองและค้นหาประสบการณ์
ในการจัดการแนวเชื่อมต่อภาคสนามที่ถูกต้อง
การนาเอากฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบมาใช้เป็นเครื่องมือในการจัดการแนวเชื่อมต่อเพื่อ
ก่อให้เกิดประโยชน์ทางด้านการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพและลดการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศ ประสบการณ์การดาเนินงานดังกล่าวได้ดาเนินการมาในหลายๆ พื้นที่ จากการศึกษาจะพบจาก
รายงานต่างๆ เช่น
- 4 -
1. Assessment and Planning for Ecological Connectivity : A Practice Guide. (2011) The
Wildlife Conservation Society 78 pp.
2. Connectivity Conservation Management: A Global (2010) Earthscan IUCN-WCPA 381
pp.
3. Connectivity Conservation (2006)
4. Habitat Fragmentation and Landscape Change (2006)
5. Corridor Ecology (2006)
สาหรับทฤษฎีการดาเนินงาน จากผลการวิจัยที่เรียกว่า metapopulation ซึ่งหมายถึงชนิดพันธุ์
เดียวกันที่ยังคงมีชีวิตอยู่ได้ในพื้นที่ถิ่นที่อาศัยที่ไม่ได้เชื่อมต่อกัน ซึ่งได้มีการป้ องกันภัยมิให้มีการรบกวน
ชนิดพันธุ์เหล่านั้น จาเป็นที่จะต้องเข้าใจถึงแนวเชื่อมต่อกับการดารงชีวิตอยู่ของประชากรของพืชและสัตว์
ภายใต้สภาพแวดล้อมที่แยกจากกัน
ตามทฤษฎีของลักษณะทางภูมิทัศน์ที่นักวิชาการที่เกี่ยวข้องต้องทาการศึกษาและนาไปปฏิบัติ
ในการดาเนินงานแนวเชื่อมต่อรวมทั้งระบบนิเวศที่ถูกรบกวนจากภัยคุกคามหรือภัยธรรมชาติที่มีเกิดขึ้นใน
การดาเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อจะมีลักษณะของพื้นที่อยู่สี่รูปแบบ คือ แบบ Patch, Corridor, Matrix
และ Mosaic
รูปแบบ Patch หมายถึง ภูมิทัศน์ที่เกี่ยวกับพื้นที่ที่แยกจากกันกับพื้นที่อื่นๆที่เป็นหย่อมป่าที่
ใกล้เคียงที่มีภูมิทัศน์เดียวกันจะเป็นรูปแบบธรรมชาติหรือป่าไม้ชนิดเดียวกัน ทุ่งหญ้า พื้นที่ถิ่นที่อาศัยแยก
จากกันและมีแนวเชื่อมต่อกันจะมีการเสริมแต่งหรือปรับปรุงทรัพยากรธรรมชาติที่จะช่วยให้ชนิดพันธุ์
เคลื่อนย้ายไปมาได้ ซึ่งการพิจารณาจะขึ้นอยู่กับปัจจัยธรรมชาติ (เช่น ดินหรือการพัฒนาของมนุษย์)
รูปแบบ Corridor หมายถึง พื้นที่ภูมิทัศน์ขนาดเล็ก โดยมากมักจะมีรูปร่างเป็นแถบยาว ช่วยทา
หน้าที่ตอบสนองความต้องการของชนิดพันธุ์เฉพาะที่ต้องการเคลื่อนย้ายไปมาระหว่างหย่อมป่าที่แตกต่างกัน
โดยแนวเชื่อมต่อมักจะมีพืชพรรณใกล้เคียงกัน เป็นรูปแบบของพื้นที่เฉพาะหรือระดับกลุ่มป่าหรือระดับ
ภูมิทัศน์ที่มีขนาดใหญ่ จะต้องมีการพิจารณาถึงข้อมูล ภูมิทัศน์ว่าเป็นแบบใด ซึ่งจะต้องมีรายละเอียดของ
ข้อมูลไว้
รูปแบบ Matrix หมายถึง ภายในระบบพื้นที่และการเชื่อมต่อระหว่างหย่อมป่า เพื่อให้เกิด
การเคลื่อนย้ายกระจายพันธุ์ของชนิดพันธุ์อย่างเข้มแข็ง เกิดการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ
รูปแบบ Masaic หมายถึง การเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยที่ในสภาพพื้นที่บางแห่งซึ่งมีการเปลี่ยนแปลง
จากสภาพธรรมชาติเดิมไม่มากนัก ทาให้ถิ่นที่อาศัยที่เป็นธรรมชาติกับพื้นที่ที่ได้เปลี่ยนแปลงไปนั้น
ไม่แตกต่างกันมากนัก การแยกแยะระหว่างถิ่นที่อาศัยที่เหมาะสมกับพื้นที่ที่ไม่เหมาะสมกระทาได้ยาก
แต่สัตว์ป่าบางชนิดสามารถใช้ถิ่นที่อาศัยเหล่านั้นได้ แม้จะถูกเปลี่ยนแปลงไปและมีข้อจากัดบางประการ
- 5 -
ตารางที่ 1 แสดงการเปรียบเทียบลักษณะของการดาเนินงานแนวเชื่อมต่อ
รูปแบบของภูมิทัศน์ ระดับท้องถิ่น (1 กม.) ระดับชุมชนที่ห่างกัน
(1-100 กม.)
ระดับภูมิภาคหรือ
ระดับชีวภูมิศาสตร์
(100-1,000 กม.)
1. แนวเชื่อมต่อของ
ถิ่นที่อาศัย โดยอาศัย
ระบบนิเวศเดิม (Habitat
Corridor หรือ Linear
Linkages)
รูปแบบของแนวเชื่อมต่อ
จะเป็นการปลูกพืชเป็น
แถวหรือเป็นแถวรั้ว
ลาห้วย ลาธาร ริมถนน
แนวป่าไม้ระหว่างพื้นที่
ป่าไม้อุโมงค์ทางลอด
หรือถนนยกระดับใน
พื้นที่ป่าไม้ของชุมชน
รูปแบบแนวเชื่อมต่อจะ
เป็นแม่น้า แหล่งน้าจะมี
พืชชนิดต่างๆ ขึ้นอยู่ตาม
ลาห้วย ลาธาร แม่น้า
ระหว่างพื้นที่สงวนและ
ตามแนวชายฝั่ง
เป็นแม่น้าสายใหญ่ๆ
เทือกเขาตามมหาสมุทร
ระหว่างพื้นดินกับแนว
ชายฝั่ง
2. แนวเชื่อมต่อที่เป็น
หย่อมป่าที่กระจายอยู่ใน
แนวเชื่อมต่อ (Stepping
Stone Corridor)
รูปแบบเชื่อมต่อของ
พื้นที่ป่าไม้เป็นแนวที่มี
ต้นไม้ขึ้นอยู่ตาม
ธรรมชาติหรือปลูกขึ้นที่
เชื่อมโยงติดต่อกัน
พื้นที่แนวเชื่อมต่อของ
พื้นที่จะเป็นแนวของ
พื้นที่สงวนหรือแนว
ต้นไม้ที่ตั้งอยู่ในพื้นที่
เกษตรกรรมหรือที่
พักผ่อนหย่อนใจของ
ชุมชนท้องถิ่น
แนวเชื่อมต่อของเกาะ
ต่างๆในช่องแคบพื้นที่
ชุ่มน้าตามแนวของ
เส้นทางอพยพของนกน้า
แนวต้นไม้ตามเทือกเขา
แนวปะการังและหญ้า
ทะเล
3. แนวเชื่อมต่อ
ถิ่นที่อาศัยแบบ Mosaic
(Habitat
Mosaic/Landscape
Corridor
รูปแบบแนวเชื่อมต่อ
ถิ่นที่อาศัยที่มีการ
เปลี่ยนแปลงไม่มากนัก
จากพืชเกษตรในพื้นที่
เกษตรกรรม สวน หรือ
อุทยานในเมือง
รูปแบบเป็นพื้นที่
Mosaic ของชนิดพันธุ์ไม้
ที่ปลูกขึ้นมาหรือกลุ่ม
ต้นไม้เดิมของพื้นที่
ป่าไม้
พื้นที่ดินในภูมิภาคจะถูก
รักษาไว้ด้วยสังคมพืช
หลายๆ ชนิด
สภาพแวดล้อมทางทะเล
หรือมหาสมุทร เส้นทาง
อพยพของสัตว์น้าตาม
ฤดูกาลของการ
เคลื่อนย้าย
Source: Bennett., A.F. (2003)
- 6 -
การจัดการแนวเชื่อมต่อที่อาศัยตามแนวทางของระบบนิเวศ ความต้องการอนุรักษ์แนวเชื่อมต่อ
ระหว่างพื้นที่คุ้มครองเฉพาะหรือเป็นส่วนหนึ่งของระบบพื้นที่คุ้มครองที่อยู่บนพื้นฐานของข้อมูล
ทางวิชาการรวมถึงความต้องการในการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ ภัยคุกคามในปัจจุบัน และ
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นซึ่งจะต้องมีการกล่าวถึงระบบนิเวศ กฎหมายหรือกฎระเบียบที่จะนามาใช้
ดาเนินการ
การจัดทาแผนการจัดการแนวเชื่อมต่อให้มีประสิทธิภาพ แผนจะต้องประกอบด้วยยุทธศาสตร์
ระดับของพื้นที่เพื่อการอนุรักษ์วิกฤติการณ์ของระบบนิเวศและความเชื่อมโยงของความหลากหลาย
ทางชีวภาพภายในระบบพื้นที่คุ้มครองหรือเครือข่ายในระยะยาว การบังคับใช้กฎหมายในการแก้ไขปัญหาภัย
คุกคามจะเป็นเครื่องมือที่เข้มแข็งในการอนุรักษ์แนวเชื่อมต่อ
สาหรับประเภทของแนวเชื่อมต่อที่จะต้องพิจารณานาเอากฎหมายมาใช้บังคับนั้นจะต้อง
พิจารณาถึงถิ่นที่อาศัยของสัตว์ป่า ระดับของกฎหมายและระดับของพื้นที่ที่จะต้องพิจารณาดังนี้
1. ระดับนานาชาติ จะต้องเป็นข้อตกลงหรืออนุสัญญาหรือโปรแกรมที่เป็นที่ยอมรับของ
นานาชาติ โดยเฉพาะอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ อนุสัญญาว่าด้วยการเปลี่ยนแปลง
ภูมิอากาศ ที่มีประเทศต่างๆเป็นภาคีสมาชิกจะต้องให้ความสาคัญเกี่ยวกับพื้นที่คุ้มครองและพื้นที่แนว
เชื่อมต่อ
2. ระดับภูมิภาค เป็นพื้นที่ระดับภูมิภาค หรือเฉพาะทวีปต่างๆ หรือต่างทวีป เช่น กฎเกณฑ์ของ
สหภาพยุโรป ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน จะต้องมีข้อตกลงและโปรแกรมร่วมกัน
3. ระดับชาติ จะเป็นกฎหมายของแต่ละประเทศที่ประกาศใช้บังคับเพื่อการอนุรักษ์
ความหลากหลายทางชีวภาพ พื้นที่คุ้มครองรวมถึงการสนับสนุนการดาเนินงานแนวเชื่อมต่อใน
ระดับประเทศหรือร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้าน หรือระดับของแนวเชื่อมต่อภายในประเทศ ระดับจังหวัด
ระดับท้องถิ่น รวมถึงผู้มีอานาจในการดาเนินงาน
4. สาหรับประเภทของแนวเชื่อมต่อว่าจะเป็นระดับใดจะต้องมีคาอธิบายอย่างละเอียดว่า
ดาเนินการอย่างๆ พื้นที่ใด มีความสาคัญอย่างไร
- 7 -
ตารางที่ 2 การอธิบายถึงลักษณะพื้นที่ของแนวเชื่อมต่อ
ประเภท คาอธิบาย
1. แนวเชื่อมต่อของทัศนียภาพ
ทั้งทางบกและทางทะเล
2. การแตกกระจายของ
ถิ่นที่อาศัย
3. แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
4. กระบวนการแนวเชื่อมต่อ
ที่มีการวิวัฒนาการ
เป็นการแตกแยกจากกันของชนิดพันธุ์พืช ชนิดพันธุ์สัตว์และสิ่งแวดล้อม
ภายในพื้นที่ทั้งทางบกและทางทะเล
เป็นการเชื่อมต่อกันของหย่อมป่าถิ่นที่อาศัยที่มีความเหมาะสมกับชนิด
พันธุ์นั้นๆ โดยเฉพาะหย่อมป่าถิ่นที่อาศัยที่มีความสาคัญในระดับท้องถิ่น
ระดับชาติ ระดับนานาชาติ โดยเฉพาะชนิดพันธุ์ที่มีการอพยพย้ายถิ่น
เป็นแนวเชื่อมต่อของระบบนิเวศในหลายๆ ระดับทั้งทางอากาศ ทางน้า
หรือพื้นที่ดิน รวมถึงกระบวนการความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน
การรบกวนจากภัยธรรมชาติหรือมนุษย์
เป็นกระบวนการพัฒนาของแนวเชื่อมต่อตามธรรมชาติที่มีความแตกต่าง
กันทางพันธุกรรม ชนิดพันธุ์ ประชากร เพื่อให้ความเหมาะสมกับ
ถิ่นที่อาศัย โดยเฉพาะถิ่นที่อาศัยที่มีความกว้างขวางพอสมควรที่มี
ความสาคัญต่อประเทศชาติ ภายใต้สภาพแวดล้อมที่กาหนดให้ มีการ
เคลื่อนย้ายไปมา ตามระยะเวลาที่มีการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ
- 8 -
บทสรุป
ตารางที่ 3 กรอบการจัดการแนวเชื่อมต่อสามารถที่จะสรุปได้ดังปรากฏตามตารางต่อไปนี้
องค์ประกอบ
ระดับองค์ประกอบ/
การจัดการ
เตรียมการ วางแผน การปฏิบัติ การประเมินผล
1. แนวเชื่อมต่อใน
พื้นที่ทั้งหมด
- กาหนด/เสนอวิสัยทัศน์
- กาหนดนโยบายกิจกรรม
งบประมาณ อุปกรณ์เพื่อ
การปฏิบัติ
- บูรณาการแผนแนว
เชื่อมต่อให้เป็นขั้นตอน
พัฒนาแผน
ยุทธศาสตร์สาหรับ
การจัดการ การ
อนุรักษ์พื้นที่แนว
เชื่อมต่อ
- สนับสนุนการ
ทางานอย่างเต็ม
ความสามารถ
- จัดทาข้อตกลงใน
การจัดทาแนว
เชื่อมต่อ
จัดทารูปแบบระบบ
การประเมินผลตาม
ความต้องการ
2. ระดับชาติ - สนับสนุนให้รัฐบาล
ยอมรับการดาเนินงาน
การจัดการแนวเชื่อมต่อ
การกาหนดแผน
ยุทธศาสตร์การ
จัดการแนวเชื่อมต่อ
อย่างบูรณาการ ด้าน
การอนุรักษ์ความ
หลากหลายทาง
ชีวภาพและการพัฒนา
ที่ยั่งยืน
ปฏิบัติตามข้อกาหนด
หรือกิจกรรมที่
กาหนดขึ้นและการ
ปรับแผนตามที่มีการ
เปลี่ยนแปลงของ
ภูมิอากาศ
การประเมินผลให้มี
การกาหนดรูปแบบ
เพื่อปฏิบัติใน
ระดับชาติ
3. ระดับภูมิทัศน์ - สนับสนุนให้ชุมชนมี
ส่วนร่วมดาเนินการแนว
เชื่อมต่อ
- พัฒนาการมีส่วน
ร่วม
ปฏิบัติในภาคสนาม
อย่างมีส่วนร่วมของ
ภาคีผู้มีส่วนได้ส่วน
เสียทุกระดับ
ประเมินผลการ
ดาเนินงานอย่างมี
ส่วนร่วม
4. ระดับนานาชาติ
โดยความร่วมมือ
ของภาคีการ
กาหนดรูปแบบ
แนวเชื่อมต่อ
ระหว่างประเทศ
- ดาเนินการเจรจาเพื่อสร้าง
ความร่วมมือกับประเทศ
เพื่อนบ้านในการจัดทา
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
จัดทาแผนแนว
เชื่อมต่อพื้นที่
คุ้มครองระหว่าง
ประเทศแสละการ
จัดทาข้อตกลง
ปฏิบัติตามแผนอย่าง
มีส่วนร่วมในระดับ
นานาชาติ
วิเคราะห์และ
ประเมินผลในระดับ
นานาชาติ
5. ระดับพื้นที่แนว
เชื่อมต่อในที่ดิน
กรรมสิทธิ์และ
บุคคลท้องถิ่น
สนับสนุนให้บุคคลที่มี
ความสนใจในกิจกรรม
การเข้าร่วมและสนับสนุน
กิจกรรมการมีส่วนร่วม
กาหนดบทบาทหน้าที่
ให้บุคคลเข้าร่วมใน
โครงการ
สนับสนุนให้บุคคล
ในโครงการและ
บุคคลอื่นช่วยเหลือ
โครงการ
ประเมินผลการ
จัดการโครงการให้
สอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์
ธรรมชาติ ประชาชน
การจัดการ
- 9 -
Source : Worboys and Lockwood (2010)
ระบบการจัดการแนวเชื่อมต่อ
ภาพแสดงรูปแบบของแนวเชื่อมต่อที่เป็นระบบ
พื้นที่คุ้มครอง
พื้นที่คุ้มครอง
พื้นที่คุ้มครอง
พื้นที่คุ้มครอง
เขตกันชน
แนวเชื่อมต่อที่มีป่าหลายรูปแบบ
รูปแบบที่เป็นป่าเชื่อมต่อกัน
แนวเชื่อมต่อที่เป็นหย่อมป่า
เขตกันชน
เขตกันชน
- 10 -
ส่วนที่ 2
ประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดการแนวเชื่อมต่อ
----------------------------------
ดังที่ได้กล่าวมาแล้วว่า การจัดการแนวเชื่อมต่อ การดาเนินงานเป็ นการใช้ทฤษฎี
ทางวิทยาศาสตร์เพื่อการจัดการ ในส่วนนี้จะกล่าวถึงผลประโยชน์ที่ได้รับจากการกาหนดและการจัดการแนว
เชื่อมต่อ ที่มีคุณค่าทางภูมิทัศน์ในพื้นที่เพื่อการอนุรักษ์ชนิดพันธุ์ การรักษาไว้ซึ่งกระบวนการทางนิเวศ
การบริการของระบบนิเวศเพื่อการดารงชีวิตของมนุษย์ โดยเฉพาะชุมชนท้องถิ่น นักวิชาการ นักวางแผน
นักอนุรักษ์จะต้องร่วมกันพิจารณาถึงผลประโยชน์ที่จะได้รับจากการจัดการแนวเชื่อมต่อ ไม่เพียงแต่
การรักษาไว้ซึ่งระบบนิเวศ การฟื้ นฟูหรือการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพที่มีความสัมพันธ์
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ การปรับตัวของระบบนิเวศ หรือกระบวนการเก็บกักคาร์บอน
การพิจารณาถึงประโยชน์ที่จะได้รับสามารถแบ่งออกไม้เป็น 4 ส่วน ดังนี้
1. ประโยชน์ในการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ประโยชน์ในการลดการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ
3. ประโยชน์ในการทาให้สภาพภูมิอากาศดีขึ้น
4. ประโยชน์ร่วมกันระหว่างความหลากหลายทางชีวภาพกับการเปลี่ยนปลงภูมิอากาศ
การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศเป็นภัยคุกคามต่อความหลากหลายทางชีวภาพทั้งทางตรง
และทางอ้อม การมีผลกระทบต่อการกระจายและการคงอยู่ของชนิดพันธุ์ สังคมสิ่งมีชีวิตและระบบนิเวศ
ด้านองค์ประกอบต่างๆ การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศทาให้เกิดภัยพิบัติต่างๆ ต่อโลกนี้ เช่น ความแห้งแล้ง
น้าท่วม ไฟป่า ความร้อนที่เพิ่มสูงขึ้น ระดับน้าทะเลสูงขึ้นจากการละลายของน้าแข็งบริเวณขั้วโลก น้าทะเล
กลายเป็นกรด อากาศที่มีการเปลี่ยนแปลงมีผลกระทบที่เกิดขึ้นเป็นตัวอย่างหลายๆ ประเทศทั่วโลกทาให้
เกิดผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมของมนุษย์
ความเชื่อมโยงระหว่างการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศกับความหลากหลายทางชีวภาพเป็นเรื่อง
ที่นักวิชาการสาขาต่างๆ หันมาให้ความสนใจเป็นอย่างมาก เช่น หน่วยงาน UNFCCC, CBD และผู้เชี่ยวชาญ
สาขาต่างๆ โดยที่ชนิดพันธุ์ต่างๆ ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ผลกระทบกับ
การเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศที่เกิดขึ้น เช่น น้าสะอาด ถิ่นที่อาศัยตามแหล่งน้า พื้นที่ชุ่มน้า ป่าชายเลน ปะการัง
ป่าเมฆฝน และน้าแข็งบริเวณขั้วโลกทั้งสองแห่ง
พืชและสัตว์ทั้งประชากรและสังคมของชนิดพันธุ์จะได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง
ภูมิอากาศ บางชนิดพันธุ์ไม่สามารถปรับตัวได้จะได้รับผลกระทบจนถึงขั้นหาได้ยากหรือใกล้จะสูญพันธุ์
หรือสูญพันธุ์ไปเลย บางชนิดพันธุ์สามารถปรับตัวได้ในขณะที่อุณหภูมิสูงขึ้นโดยการอพยพย้ายถิ่น หรือ
อพยพจากที่ต่าไปอยู่ในระดับที่สูงกว่า
- 11 -
เมื่อไม่นานมานี้ นักวิชาการได้มีความเข้าใจถึงการอนุรักษ์แนวเชื่อมต่ออันจะเป็นการช่วยชะลอ
การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได้ถูกหยิบยกมาพิจารณาว่าเป็น
ปัญหาที่สาคัญที่ทาให้ความหลากหลายทางชีวภาพเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งก็ได้มีการค้นหาว่า อัตรา
การเปลี่ยนแปลงของชนิดพันธุ์มีมากน้อยเพียงใด อย่าลืมว่าผลประโยชน์ที่ได้รับจากการอนุรักษ์แนวเชื่อมต่อ
จะเป็นประโยชน์ต่อมนุษย์โดยเฉพาะการบริการของระบบนิเวศที่เป็นประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคมใน
การดารงชีวิตของมนุษย์
1. ประโยชน์ของแนวเชื่อมต่อในด้านการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ
ผลกระทบกับการดารงชีวิตของมนุษย์ คือ การเปลี่ยนแปลงของความหลากหลาย
ทางชีวภาพ จากการพัฒนาพื้นที่ดินและการใช้ทรัพยากรที่ทาให้พื้นที่ป่าไม้แตกแยกจากกัน ความอุดม
สมบูรณ์ลดลง การจัดการแนวเชื่อมต่อจึงเป็นการกระทาที่ก่อให้เกิดมีถิ่นที่อาศัยเชื่อมต่อกันที่จะช่วยอนุรักษ์
ความหลากหลายทางชีวภาพ มีข้อมูลจากการศึกษาของนักวิชาการจากหลายๆ พื้นที่ พบว่า แนวเชื่อมต่อจึง
เป็นประโยชน์ต่อชนิดพันธุ์ ความหลากหลายและการอนุรักษ์ระบบนิเวศเป็นการจัดการที่ทาให้สัตว์ป่าใช้
เป็นเส้นทางเดินทางไปมาหาสู่กันได้ แนวเชื่อมต่อจึงเป็นประโยชน์ต่อระบบภูมิทัศน์และมนุษย์ในพื้นที่ที่
พื้นที่กว้างใหญ่จะทาให้ชนิดพันธุ์สัตว์ป่าใช้เป็นเส้นทางอพยพเพื่อการผสมพันธุ์ การพักแรมในฤดูหนาวทั้ง
ที่เป็นประจาวัน ฤดูกาลหรือรอบปีระหว่างพื้นที่คุ้มครองทั้งหมดในโครงการ
หากว่าเป็ นพื้นที่ภูมิทัศน์ที่มีขนาดเล็ก มีชุมชนอาศัยอยู่ก็จะเป็ นผลประโยชน์ต่อ
การอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ชุมชน แนวรั้ว พื้นที่ป่าไม้ขนาดเล็กหรือพื้นที่การเกษตร
หรือพืชพันธุ์ไม้ที่ขึ้นอยู่เป็นแถวในพื้นที่หัวไร่ ปลายนา ริมลาห้วยลาธารซึ่งจะเป็นถิ่นที่อาศัยที่สาคัญของ
ชนิดพันธุ์สัตว์ป่า เป็นการบริการของระบบนิเวศในท้องถิ่น เช่น การผสมเกสรในดอกไม้ ในพื้นที่ภูมิทัศน์
ขนาดใหญ่หรือขนาดเล็กยังมีประโยชน์เป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจ แหล่งท่องเที่ยว พื้นที่เพื่อการศึกษาหรือ
วิจัยทางวิชาการ หากเป็นประโยชน์ทางด้านการท่องเที่ยวก็จะทาให้เกิดรายได้ขึ้นในชุมชนท้องถิ่น เช่น
การลงทุนสร้างสิ่งอานวยความสะดวกสาหรับนักท่องเที่ยว และการเก็บค่าธรรมเนียม เป็นต้น
2. ประโยชน์ของแนวเชื่อมต่อในด้านการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
ความรู้ที่ได้จากการศึกษาประโยชน์ของแนวเชื่อมต่อโดยเฉพาะการที่พื้นที่คุ้มครองได้รับ
ผลกระทบจากการพัฒนาในพื้นที่นอกเขตการจัดการหรือพื้นที่ใกล้เคียง และพบว่ามีการเปลี่ยนแปลงของ
ภูมิอากาศเกิดขึ้น ฉะนั้นถิ่นที่อาศัยและองค์ประกอบของระบบนิเวศเป็นสิ่งสาคัญในพื้นที่คุ้มครอง
การจัดการแนวเชื่อมต่อมีประโยชน์ในการอนุรักษ์ความหลากหลายและระบบนิเวศที่ทาให้มีการแก้ไขปัญหา
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ เป็นการช่วยให้ชนิดพันธุ์ทั้งพืช และสัตว์ ประชากร สังคมสิ่งมีชีวิตที่มี
การปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม ทาให้สัตว์ป่าและพืชป่ามีการเคลื่อนย้ายไปมาได้ระหว่างพื้นที่คุ้มครอง
หนึ่งไปยังพื้นที่คุ้มครองหนึ่งได้ นอกจากนี้แนวเชื่อมต่อจะเป็นเส้นทางที่ใช้หลบหลีกหรือป้ องกันศัตรู
หรือภัยคุกคามอื่นๆ หรือหลบภัยจากภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้น เช่น ไฟป่า น้าท่วม ลมพายุ หรือความแห้งแล้ง
- 12 -
แนวเชื่อมต่อเป็นพื้นที่ที่ช่วยปรับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของพื้นที่คุ้มครองให้ดีขึ้น
โดยเฉพาะการบริการของระบบนิเวศให้คงมีอยู่ตลอดทั้งปี มีความเชื่อมโยงซึ่งกันและกันของ
ความหลากหลายทางชีวภาพ ดังนั้น ความสาคัญระหว่างการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศกับระบบนิเวศธรรมชาติ
จะมีผลทาให้สังคมของมนุษย์ดีขึ้น จากการพัฒนาในด้านต่างๆ ของสังคมมนุษย์จะต้องหยิบยกเอามาใช้ใน
การพิจารณาการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ
3. ประโยชน์ของแนวเชื่อมต่อสามารถทาให้การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศดีขึ้น
มีการศึกษาถึงกระบวนการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนสู่บรรยากาศที่เกิดจากการพัฒนาใน
ด้านต่างๆ ของมนุษย์ที่ทาให้เกิดก๊าซเรือนกระจกหรือเกิดจากการทาลายป่าไม้พื้นที่แนวเชื่อมต่อมีต้นไม้ช่วย
ดึงดูดหรือดูดซับก๊าซคาร์บอน การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินและการทาการเกษตรในรูปแบบต่างๆ
การศึกษาเรื่องต่างๆ เหล่านี้โดยเฉพาะการศึกษาถึงเรื่องการเก็บกักคาร์บอนในป่าไม้ ป่าชายเลน ทุ่งหญ้า
หญ้าทะเล ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงจากธรรมชาติที่มีอยู่
การจัดการแนวเชื่อมต่อจึงเป็นประโยชน์ที่ทาให้ภูมิอากาศดีขึ้น โดยเฉพาะการดูแลรักษา
ไว้ซึ่งภูมิทัศน์ในการเก็บกักคาร์บอนเพื่อเป็นการป้องกันการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนได้มาก จึงมีความจาเป็น
อย่างยิ่งต่อการจัดทาแนวเชื่อมต่อให้มีขนาดใหญ่ซึ่งอาจจะเป็นระดับโลก นานาชาติ ภูมิภาคหรือระดับชาติ
และมีความจาเป็นจะต้องดาเนินการอย่างเร่งด่วนและให้มีการศึกษาระดับของการเก็บกักก๊าซคาร์บอน
4. ประโยชน์ที่เชื่อมโยงร่วมกันระหว่างความหลากหลายทางชีวภาพกับการเปลี่ยนแปลง
ภูมิอากาศ
การอนุรักษ์แนวเชื่อมต่อเป็นยุทธศาสตร์หนึ่งที่ใช้ในการฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อลด
การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ ความร่วมมือส่วนใหญ่จะเป็นการดาเนินงานในระดับนานาชาติ ภูมิภาคหรือ
ระดับชาติในการกาหนดแผนยุทธศาสตร์และกิจกรรมต่างๆ โดยเฉพาะในเรื่องของการดูดซับก๊าซคาร์บอน
ในระดับนานาชาติได้มีการดาเนินงานโดย UNFCCC ที่มีกลไกเรียกว่า REDD (2005) และ REDD+ (2010)
ซึ่งก็ได้มีการนาเอากลไกของ REDD+ มาศึกษาถึงกระบวนการดูดซับก๊าซคาร์บอนในแนวเชื่อมต่อและ
สนับสนุนให้มีการประชาสัมพันธ์สู่สาธารณชน โดยให้มีการอนุรักษ์ การป้ องกัน และการสงวนป่ า
ธรรมชาติเพื่อให้มีการบริการของระบบนิเวศ
กลไกของ REDD+ เป็นการป้องกันการลดลงหรือการทาลายป่าไม้หรือการเสื่อมสภาพของ
ป่าไม้ที่มีความเกี่ยวโยงถึงการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ REDD+ สนับสนุนให้มีการจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน
การอนุรักษ์ป่าไม้ คือ การให้ความสาคัญกับการที่ป่าไม้มีส่วนในการดูดซับก๊าซคาร์บอนและการเก็บกัก
คาร์บอน ในปัจจุบันรัฐบาลของประเทศต่างๆ ได้ให้ความร่วมมือในการดาเนินงานตามกลไกของ REDD+
- 13 -
ตารางที่ 4 แสดงถึงกิจกรรมที่เกี่ยวกับกลไกการทางานของ REDD+
กิจกรรม ตัวอย่าง
ลดการปล่อยก๊าซคาร์บอน 1.
2.
ลดการทาลายป่าไม้
ป้องกันป่าไม้มิให้ลดลง
ลดอัตราส่วนในการทาไม้
ผลที่เกิดจากพื้นที่ป่าไม้ได้รับจาก
การทาไม้การปศุสัตว์ไฟป่า และ
การเก็บหาของป่า
สนับสนุนกลไกการเก็บกัก
ก๊าซคาร์บอน
3.
4.
5.
อนุรักษ์พื้นที่เพื่อเก็บกัก
คาร์บอน
ให้มีการจัดการป่าไม้อย่าง
ยั่งยืน
สนับสนุนให้ป่าไม้ช่วยเก็บกัก
ก๊าซคาร์บอน
ป้องกันรักษาป่าที่มีอยู่
ขยายรอบตัดฟันจาก 10 ปี เป็น
30 ปี
ปล่อยให้ป่าไม้เจริญเติบโตตาม
กระบวนการธรรมชาติ
- 14 -
ส่วนที่ 3
หลักธรรมาภิบาล
------------------------------------
หลักธรรมาภิบาลหรือการบริหารแนวเชื่อมต่อก็เพื่อต้องการให้มีการบริหารจัดการแนว
เชื่อมต่อให้มีประสิทธิภาพ มีการพิจารณาดาเนินการเกี่ยวกับโครงสร้าง กระบวนการธรรมาภิบาลที่ต้องการ
ให้ภาครัฐหรือเอกชนหรือชุมชนเป็นผู้บริหารจัดการหรือปฏิบัติตามนโยบาย การวางแผน การวิเคราะห์และ
การจัดการแนวเชื่อมต่อ
คาว่า “good governance” หมายถึง ความต้องการบริหารที่ประกอบไปด้วย กฎระเบียบ
ความโปร่งใส การมีส่วนร่วม ความต้องการของสังคมและความยุติธรรม ซึ่งจะต้องมีข้อมูลที่สาคัญ
3 ประการคือ ข้อมูล การมีส่วนร่วมและความยุติธรรมให้เป็นเหตุผลในการดาเนินงาน
หลักของธรรมาภิบาลหรือการบริหารจะเกี่ยวข้องกับการดาเนินงาน การบริหารแนวเชื่อมต่อ
และการอนุญาตให้มีการตัดสินใจร่วมกัน มีการกาหนดกลไกให้สอดคล้องกับปัจจัยต่างๆ โดยเฉพาะบทบาท
ของนโยบายระดับชาติ ชุมชนท้องถิ่น องค์กรภาคเอกชน เจ้าของที่ดิน และทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่รวมถึง
การประชาสัมพันธ์
หลักการ
หลักการธรรมาภิบาลที่ดีต้องเกี่ยวข้องกับสิทธิของประชาชน ประเพณีวัฒนธรรม นโยบาย
เศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะต้องนามาใช้ในการพิจารณาตัดสินใจในการดาเนินงาน จะต้องจดจาไว้
ว่าหลักธรรมาภิบาลจะต้องมีกรอบกฎระเบียบ ความโปร่งใสต่อสาธารณชน การมีส่วนร่วมและความมี
ประสิทธิภาพ องค์กร IUCN-WCPA ได้สรุปหลักธรรมาภิบาลพื้นที่คุ้มครองที่ดีไว้ว่า เป็นการใช้เสียงข้าง
มากเป็นเกณฑ์ การชดเชยค่าเสียหาย ความซื่อสัตย์ไม่ทาลาย การกระทาที่มีหลักการ มีความโปร่งใสและ
สิทธิของมนุษยชน
การอนุรักษ์แนวเชื่อมต่อที่เป็นการทางานของรัฐบาลจะต้องเกี่ยวข้องกับการดาเนินงานการ
เข้าถึงข้อมูล การมีส่วนร่วมของชุมชนที่ต้องมีความเท่าเทียมกันทางสังคมและยุติธรรม ชุมชนท้องถิ่นหรือ
ชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิมที่เป็นเจ้าของที่ดินเพื่อการใช้ประโยชน์ จะต้องมีข้อตกลงกับรัฐบาลในการให้
ความร่วมมือในการใช้ประโยชน์พื้นที่ดิน
การมีส่วนร่วมในการจัดการแนวเชื่อมต่อเป็นการดาเนินงานในพื้นที่ที่มีความสาคัญและ
สถาบันหรือหน่วยงาน สถานภาพของรัฐบาลและภาคเอกชน แนวทางดังกล่าวจะเป็นภาคส่วนและการมี
ส่วนร่วมในส่วนที่เกี่ยวข้องหรือเอกชนหรือผู้ครอบครองที่ดินจะต้องมีความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม
เพื่อให้เกิดผลประโยชน์ต่อสาธารณชน การมีข้อตกลงร่วมกันกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้อง หรือเอกชน
หรือผู้ครอบครองที่ดิน
- 15 -
ความโปร่งใสในการมีส่วนร่วม
ความโปร่งใสในการบริหารจัดการแนวเชื่อมต่อที่ดีจะต้องมีกลุ่มหรือคณะที่มีความสนใจเข้า
มาร่วมดาเนินงาน โดยเฉพาะความร่วมมือของอาสาสมัครหรือเอกชนหรือเจ้าของที่ดินในพื้นที่แนวเชื่อมต่อ
อย่างไรก็ตามข้อตกลงระหว่างรัฐบาลกับองค์กรเอกชนมีความจาเป็นต้องดาเนินการเป็นอย่างยิ่ง เช่น ชุมชน
ท้องถิ่นหรือชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิมเป็นผู้ดาเนินการในพื้นที่แนวเชื่อมต่อสนับสนุนโครงการหรือการบริหาร
งบประมาณ รัฐบาลควรจะเป็นผู้สนับสนุนและให้คาแนะนาในการดาเนินงานเป็นหลักในการเจรจาร่วมกัน
การเข้าถึงข้อมูลที่ถูกต้องให้แก่ชุมชน การมีข้อตกลงและการเข้าถึงรายงานอื่นๆ เพื่อให้นาสู่เป้าหมาย
การมีข้อตกลงร่วมกันในการดาเนินงานระหว่างรัฐบาล องค์กรภาคเอกชนและเจ้าของที่ดิน
จะต้องมีความเข้าใจและตัดสินใจร่วมกันภายใต้กฎหมายที่เกี่ยวข้องและการดาเนินงานตามกลไกต่างๆ
ในการกาหนดกฎระเบียบขึ้นมาเพื่อใช้ในการบริหารจัดการแนวเชื่อมต่อ เช่น การนาเอาหลักการของ REDD
หรือ REDD+ มาใช้กับโครงการจะต้องมีข้อมูลจากภาครัฐให้ชัดเจน มีความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมใน
การดาเนินงานที่ชัดเจนเช่นกัน
ความเสมอภาคทางสังคมและความยุติธรรม
หลักการธรรมาภิบาลที่ดีคือการที่รัฐบาลจะต้องดาเนินการให้มีความเป็นธรรมหรือความเสมอ
ภาคทางสังคมและความยุติธรรมที่มีผู้ได้รับผลกระทบจากการอนุรักษ์แนวเชื่อมต่อ โดยมีเจ้าของที่ดินเข้ามา
เกี่ยวข้องที่ต้องการได้รับค่าใช้จ่ายและผลประโยชน์ที่ได้รับหรือผู้ที่ได้รับจากการบริการในอนาคต
โดยเฉพาะประชาชนที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์แนวเชื่อมต่อที่ไม่เกี่ยวกับสิทธิในผลประโยชน์นั้นๆ
ความเท่าเทียมกันทางสังคมโดยเฉพาะเจ้าของที่ดินหรือผู้มีสิทธิในที่ดินจะจัดการพื้นที่ของเขา
ได้อย่างไร ความเสมอภาคทางสังคมและความยุติธรรมจะต้องจัดให้มีความเหมาะสมและสัมพันธ์กับ
ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น
นโยบายของรัฐบาลจะต้องกาหนดกฎเกณฑ์ในที่ดินของเอกชนเพื่อให้ดาเนินการกับการจัดการ
แนวเชื่อมต่อที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ เจ้าของที่ดินจะต้องให้ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย เช่น
การป้ องกันน้าเสียหรือการป้ องกันดินพังทลาย รัฐบาลจะต้องจ่ายค่าเวนคืนในการใช้ที่ดินเพื่อให้เป็น
สาธารณประโยชน์ แต่ในส่วนของรัฐบาลส่วนใหญ่จะใช้วิธีการเจรจากับเจ้าของที่ดิน การสนับสนุนให้เห็น
ถึงความสาคัญของการอนุรักษ์แนวเชื่อมต่อโดยการให้สัมปทานในกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง
ความเหมาะสมและความเท่าเทียมกันระหว่างผลประโยชน์ทางสาธารณะกับสิทธิในส่วนบุคคล
ที่จะต้องนามาพิจารณาเป็นกรณีๆ ไป นโยบายในการให้ความสมบูรณ์ของพื้นที่สาธารณะอาจจะมีความเสี่ยง
เกิดขึ้นรัฐบาล เพียงแต่เข้าไปควบคุมกิจการและมีความชัดเชนอย่างสมเหตุสมผลในเรื่องการทาลายพื้นที่ของ
ชุมชน โดยเฉพาะเจ้าของที่ดิน แนวทางในการพัฒนาพื้นที่ดินในอนาคตจะต้องกาหนดค่าเวนคือให้
เหมาะสม โดยเฉพาะการพัฒนาทางอุตสาหกรรม การเกษตรและผลิตผลต่างๆ ที่เกิดขึ้น หากมีการอนุรักษ์
- 16 -
แนวเชื่อมต่อเข้าไปดาเนินการอย่างน้อยก็ต้องจ่ายค่าชดเชย ขณะเดียวกันจะต้องมีการประเมินประสิทธิภาพ
ของการปฏิบัติงานเพื่อให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อกาหนดที่เข้มงวดในการใช้ประโยชน์ที่ดินหรือทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่เพื่อการจัดการ
แนวเชื่อมต่อ ต้องการป้องกันภัยจากสัตว์ป่า การควบคุมชนิดพันธุ์พืช การปลูกพืชในพื้นที่ที่โล่งแจ้งหรือใน
ทุ่งหญ้า เนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ การสนับสนุนให้รัฐบาลจ่ายค่าเสียหายที่เกิดขึ้นจาก
ผลกระทบในการพัฒนาทางเศรษฐกิจและการบริการของระบบนิเวศ
นโยบายของสาธารณะในข้อตกลงควรที่จะมีส่วนร่วมของภาคเอกชน หรือชุมชนท้องถิ่น
การสนับสนุนให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมกรณีตัวอย่างในประเทศออสเตรเลียเกี่ยวกับการเวนคืนที่ดินตาม
หลักของการจัดการดังนี้
1. หลีกเลี่ยงการทาลายพื้นที่ป่าไม้ที่เป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดการลดลงหรือการทาลายถิ่นที่อาศัย
2. การอนุรักษ์พื้นที่ดิน
3. การป้องกันแหล่งต้นน้าลาธาร
4. การป้องกันการเกิดขึ้นของชนิดพันธุ์พืชที่เป็นพืชรุกราน
5. การป้องกันการแพร่กระจายของชนิดพันธุ์ในที่ดินจากพืชและสัตว์
6. มีการกาหนดข้อห้ามในบางเรื่องที่ตกลงกัน
ประเภทของธรรมาภิบาล
ไม่มีรูปแบบใดของรัฐบาลที่เหมาะสมในการบริหารจัดการแนวเชื่อมต่อ การบริหารจัดการจะมี
ความสลับซับซ้อนในพื้นที่แนวเชื่อมต่อ ทั้งนี้ เพราะการนาเอากระบวนการ หลักการ วิธีการไปใช้ในพื้นที่
ที่แตกต่างกัน รัฐบาลมีหน้าที่รับผิดชอบการจัดการที่ดินที่มีเอกสารสิทธิ์ ผู้ครอบครองที่ดินหรือการซื้อคืน
รัฐบาลจะต้องควบคุมการดาเนินงานการอนุรักษ์แนวเชื่อมต่อ โดยใช้วิธีการที่มีการจัดการอย่างมีส่วนร่วมใน
การจัดการพื้นที่คุ้มครอง
การจัดการพื้นที่แนวเชื่อมต่อมักจะมีเปลี่ยนแปลงบ่อยๆ มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เช่น
การเปลี่ยนแปลงผู้มีส่วนร่วม การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของพื้นที่ การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ
ความต้องการด้านการจัดการ ความเหมาะสมของพื้นที่แนวเชื่อมต่อขึ้นอยู่กับระดับของพื้นที่ ระดับของ
รัฐบาลที่มีความสามารถในการจัดการ บทบาทขององค์กรพัฒนาเอกชน เจ้าของที่ดิน สิทธิในการใช้
ประโยชน์ของเอกชน ชุมชนท้องถิ่นและชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม
ระดับของการบริหารจัดการ
หากจะมีการพิจารณาถึงการบริหารจัดการแนวเชื่อมต่อในระดับท้องถิ่น รัฐบาลท้องถิ่นจะต้อง
มีการป้ องกันพื้นที่ป่าไม้ที่เป็นแนวรั้ว หรือพื้นที่ป่าไม้ตามริมลาน้า หรือเชิงเขา เพื่อให้เป็นแนวเชื่อมต่อ
สาหรับสัตว์ป่า หากว่าเป็นพื้นที่ขนาดใหญ่ อาจจะมีการจัดซื้อที่ดินคืนโดยภาครัฐก็ได้ เนื่องจากมีชุมชนใช้
- 17 -
ประโยชน์ในที่ดิน หากว่าพื้นที่คุ้มครองที่กาหนดโดยกฎหมายก็จะไม่มีปัญหา แต่พื้นที่ที่อยู่ระหว่างพื้นที่
คุ้มครองจะมีการใช้ประโยชน์โดยเจ้าของที่ดิน
พื้นที่ที่ถูกนาไปใช้ประโยชน์ด้วยเหตุผลจากการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศที่ทาให้เกิด
การจัดการที่ดินเป็นสาคัญ บางพื้นที่ของทั้งสองพื้นที่คุ้มครองเมื่อจัดทาเป็นแนวเชื่อมต่อก็จะเป็นบริหาร
จัดการร่วมกันระหว่างสองพื้นที่ เช่น Yellowstone National Park กับ Yukon National Park ได้มีการสร้าง
ความร่วมมือจัดการแนวเชื่อมต่อระหว่างสองพื้นที่
ความท้าทายของพื้นที่แนวเชื่อมต่อที่มีขนาดใหญ่
การควบคุมพื้นที่ดินและสิทธิการใช้ประโยชน์ที่สาคัญในการจัดการแนวเชื่อมต่อ ควรให้มี
การจัดการอย่างมีส่วนร่วมโดยเฉพาะชุมชนท้องถิ่น ระดับของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ความสนใจและ
การสนับสนุนจากรัฐบาลกลางและระดับพื้นที่หรือท้องถิ่นในพื้นที่คุ้มครอง การจัดการของภาครัฐ กฎเกณฑ์
ความรับผิดชอบในการควบคุมที่ดินประเภทต่างๆ เช่น ป่ าไม้ของชาติ การควบคุมมลพิษ การประมง
การเกษตร การประปา เหมืองแร่ หรือการควบคุมอย่างอื่น และความรับผิดชอบด้านสิ่งก่อสร้าง (ถนน
สายไฟแรงสูง) ซึ่งจะต้องได้รับความร่วมมือของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในระดับต่างๆ ที่เกี่ยวกับผลประโยชน์ที่
เกิดขึ้นจากพื้นที่ดิน
การใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่แนวเชื่อมต่อที่เราสามารถพบเห็นได้มาก เช่น การจัดการป่าไม้
การจัดการทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ การเกษตร ไร่นา หรือการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ การพัฒนาในด้านต่างๆ
ของชุมชนท้องถิ่น จะต้องได้รับการพิจารณาในการจัดการแนวเชื่อมต่อ
ความสาคัญทางเศรษฐกิจ การลงทุนในกิจกรรมที่จะต้องใช้ผลผลิตหรือการบริการของระบบ
นิเวศในเขตแนวเชื่อมต่อให้มีประโยชน์ทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะในพื้นที่ดินที่เป็นกรรมสิทธิ์ของบุคคลที่
เป็นประโยชน์ส่วนตัว จะต้องนามาพิจารณาร่วมด้วย
ข้อตกลงของภาครัฐกับผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการแนวเชื่อมต่อที่เป็นพื้นที่คุ้มครอง ที่ดิน
ของรัฐจะต้องมีข้อกาหนดนโยบายร่วมกัน การกาหนดบทบาทและหน้าที่ ในการศึกษาวิจัย การจัดการ
หากว่ามีผู้ส่วนได้ส่วนเสียอยู่ในเขตแนวเชื่อมต่อจะต้องมีข้อตกลงร่วมกัน ในข้อตกลงสามารถดาเนินการได้
ในสองลักษณะ คือ
1. ภาครัฐดาเนินการจัดการแนวเชื่อมต่อ และให้ชุมชนท้องถิ่นหรือรัฐท้องถิ่นดาเนินการ
จัดการที่ดิน
2. ผู้มีกรรมสิทธิ์ในที่ดินในเขตแนวเชื่อมต่อเป็นผู้ดาเนินการ
ยุทธศาสตร์การดาเนินงานในรูปแบบการดาเนินงานของท้องถิ่น
การจัดการแนวเชื่อมต่อที่มีการปฏิบัติในพื้นที่ของหน่วยงานที่มีประสิทธิภาพ ที่ดาเนินการโดย
การแนะนาของภาครัฐและการบริหารที่ภาครัฐเป็นผู้สนับสนุนงบประมาณโดยการมีส่วนร่วมและ
- 18 -
ความร่วมมือจากภาครัฐทุกระดับ องค์กรต่างๆ หลายองค์กรจะคานึงถึงความหลากหลายของการใช้
ประโยชน์ในที่ดินเพื่อกาหนดให้เป็นการจัดการแนวเชื่อมต่อในทุกระดับของชุมชนที่มีการสนับสนุนการ
อนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพและการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน
หลักการบริหารจัดการโดยมีหน่วยงานที่สนับสนุนงบประมาณเป็ นหลักจะต้องมี
ความรับผิดชอบดาเนินการอย่างใกล้ชิด มีหลักการทางานที่มีข้อเท็จจริง ในบางพื้นที่ที่เป็นที่อาศัยของชุมชน
ท้องถิ่นที่มีประเพณีวัฒนธรรม การจัดการพื้นที่ดินและร่วมรับผิดชอบการอนุรักษ์ธรรมชาติในพื้นที่แนว
เชื่อมต่อ หรือมีการดาเนินงานโดยสมาคมในท้องถิ่นมากกว่าในการดาเนินงานของภาครัฐ ในกรณีที่มี
การกระจายอาจไปยังท้องถิ่น เป็นการให้อานาจในการดาเนินงานในพื้นที่อย่างใกล้ชิดและเพื่อให้มี
ความสะดวกในการบริหารจัดการ เพื่อลดภาระการใช้บุคลากรจากส่วนกลางหรือภาครัฐ ให้มีผู้มี
ความสามารถในการดาเนินงานกับสิ่งก่อสร้างต่างๆ การแก้ไขปัญหาข้อขัดแย้งระหว่างกลุ่มชุมชนต่างๆ
การกระจายอานาจต้องระมัดระวังในเรื่องที่เกี่ยวข้อง คือ
“การกระจายอานาจสู่ท้องถิ่นเป็นการยาก ถ้าหากว่าไม่ได้รับความร่วมมือจากผู้ใช้ประโยชน์ใน
และนอกท้องถิ่น โดยเฉพาะคุณค่าของทรัพยากรธรรมชาติที่เป็นแรงจูงใจให้ชุมชนท้องถิ่นดาเนินการเพื่อ
ผลประโยชน์ของตนเอง การที่จะจูงใจให้ชุมชนท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการจะต้องมีหน่วยงาน
รับผิดชอบเพื่อให้มีความร่วมมือจากผู้ใช้ประโยชน์นอกท้องถิ่นให้เข้ามามีส่วนร่วมและสร้างความเข้มแข็ง
ในการบริหารจัดการแนวเชื่อมต่อจะทาให้มีการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น”
ในระยะเริ่มแรกของการจัดการแนวเชื่อมต่อที่ต้องคานึงถึงคือสภาพเศรษฐกิจของชุมชนใน
ท้องถิ่นเป็นหลัก รัฐบาลระดับท้องถิ่นควรจะได้ดาเนินการเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์ที่ดิน มีการวางแผนและ
การพัฒนา การควบคุมโดยใช้กฎหมายในชุมชนท้องถิ่น ให้มีการเลือกตั้งผู้แทนเข้ามาจัดการพื้นที่แนว
เชื่อมต่อ อย่างไรก็ตามรัฐบาลท้องถิ่นดาเนินการจัดตั้งและการบริหารจัดการพื้นที่แนวเชื่อมต่อที่มี
ผลประโยชน์ต่อชนิดพันธุ์สัตว์ป่าได้อพยพเคลื่อนย้ายได้จะเป็นการดาเนินงานของชุมชนเอง แนวเขตของ
พื้นที่แนวเชื่อมต่อจะต้องมีนโยบายและกฎหมายควบคุมโดยชุมชนท้องถิ่น เช่นลักษณะของอ่างเก็บน้าหรือ
พื้นที่ทางชีววิทยา แต่ถ้าหากว่ารัฐบาลท้องถิ่นขาดวินัยในการบริหารที่เน้นถึงเรื่องการพัฒนาเศรษฐกิจหรือ
กิจกรรมการพัฒนามากกว่ากิจกรรมการอนุรักษ์ธรรมชาติ จะทาให้การจัดการแนวเชื่อมต่อไม่มี
ประสิทธิภาพ
อย่างไรก็ตามได้มีการศึกษาวิจัยการจัดการแนวเชื่อมต่อให้มีประสิทธิภาพ รัฐบาลกลางและ
รัฐบาลท้องถิ่นหรือภูมิภาคจะต้องมีข้อตกลงร่วมกันในการจัดการแนวเชื่อมต่อ โดยเฉพาะรัฐบาลกลางเป็น
ผู้ดาเนินการกาหนดกฎหมาย กฎระเบียบมาใช้บังคับในการดาเนินงานด้านการจัดการที่ดินที่เป็นของภาครัฐ
มีการวางแผนการใช้ประโยชน์ที่ดินและมีกฎระเบียบบังคับใช้กับการบริหารจัดการแนวเชื่อมต่อ รัฐบาลควร
จะให้อานาจในการจัดการพื้นที่แนวเชื่อมต่อแก่รัฐบาลท้องถิ่นและมีบทบาทในการดาเนินงานจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติตลอดจนความร่วมมือกับองค์กรพัฒนาเอกชน
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ

More Related Content

What's hot

2 remote sensing(ppt)
2 remote sensing(ppt)2 remote sensing(ppt)
2 remote sensing(ppt)saintja
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปกshikapu
 
พรพิมล
พรพิมลพรพิมล
พรพิมลpornpimon79
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนOrnkapat Bualom
 
06แผน เรื่อง การดล
06แผน เรื่อง การดล06แผน เรื่อง การดล
06แผน เรื่อง การดลWijitta DevilTeacher
 
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวTaraya Srivilas
 
PES book
PES bookPES book
PES bookUNDP
 
แนวข้อสอบครูผู้ช่วย วิชาเอกฟิสิกส์
แนวข้อสอบครูผู้ช่วย วิชาเอกฟิสิกส์แนวข้อสอบครูผู้ช่วย วิชาเอกฟิสิกส์
แนวข้อสอบครูผู้ช่วย วิชาเอกฟิสิกส์ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่าแนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่าUNDP
 
Is 2 เรื่องร้านค้าสหกรณ์
Is 2 เรื่องร้านค้าสหกรณ์Is 2 เรื่องร้านค้าสหกรณ์
Is 2 เรื่องร้านค้าสหกรณ์Ocean'Funny Haha
 
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5Puet Mp
 
นิทานพื้นบ้าน
นิทานพื้นบ้านนิทานพื้นบ้าน
นิทานพื้นบ้านTatsawan Khejonrak
 
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวีคำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวีนายจักราวุธ คำทวี
 
Module 3_Greedy Technique_2021 Scheme.pptx
Module 3_Greedy Technique_2021 Scheme.pptxModule 3_Greedy Technique_2021 Scheme.pptx
Module 3_Greedy Technique_2021 Scheme.pptxRITIKKUMAR168218
 
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงหน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงdp130233
 

What's hot (20)

9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
 
2 remote sensing(ppt)
2 remote sensing(ppt)2 remote sensing(ppt)
2 remote sensing(ppt)
 
อธิบายภาษีป้าย
อธิบายภาษีป้ายอธิบายภาษีป้าย
อธิบายภาษีป้าย
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
พรพิมล
พรพิมลพรพิมล
พรพิมล
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
06แผน เรื่อง การดล
06แผน เรื่อง การดล06แผน เรื่อง การดล
06แผน เรื่อง การดล
 
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
Stem workshop summary
Stem workshop summaryStem workshop summary
Stem workshop summary
 
PES book
PES bookPES book
PES book
 
แนวข้อสอบครูผู้ช่วย วิชาเอกฟิสิกส์
แนวข้อสอบครูผู้ช่วย วิชาเอกฟิสิกส์แนวข้อสอบครูผู้ช่วย วิชาเอกฟิสิกส์
แนวข้อสอบครูผู้ช่วย วิชาเอกฟิสิกส์
 
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่าแนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
 
Is 2 เรื่องร้านค้าสหกรณ์
Is 2 เรื่องร้านค้าสหกรณ์Is 2 เรื่องร้านค้าสหกรณ์
Is 2 เรื่องร้านค้าสหกรณ์
 
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
 
นิทานพื้นบ้าน
นิทานพื้นบ้านนิทานพื้นบ้าน
นิทานพื้นบ้าน
 
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวีคำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
 
Module 3_Greedy Technique_2021 Scheme.pptx
Module 3_Greedy Technique_2021 Scheme.pptxModule 3_Greedy Technique_2021 Scheme.pptx
Module 3_Greedy Technique_2021 Scheme.pptx
 
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงหน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
 

Viewers also liked

การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศUNDP
 
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์ แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์ UNDP
 
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินคู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินUNDP
 
FSS book
FSS bookFSS book
FSS bookUNDP
 
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองUNDP
 
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...UNDP
 
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์UNDP
 
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง
T-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่างT-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่าง
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่างAuraphin Phetraksa
 
นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗Auraphin Phetraksa
 
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...UNDP
 
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทย
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทยการวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทย
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทยUNDP
 
Ecological Corridor in Thailand
Ecological Corridor in ThailandEcological Corridor in Thailand
Ecological Corridor in ThailandUNDP
 
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองUNDP
 
การศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าการศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าAuraphin Phetraksa
 
Carrying Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
Carrying  Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติCarrying  Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
Carrying Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติUNDP
 
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติการจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติyah2527
 

Viewers also liked (19)

การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
 
The Value of Nature
The Value of NatureThe Value of Nature
The Value of Nature
 
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์ แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
 
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินคู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
 
FSS book
FSS bookFSS book
FSS book
 
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
 
Carrying Capacity
Carrying CapacityCarrying Capacity
Carrying Capacity
 
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
 
Cc 3 ส.ค. 58
Cc 3 ส.ค. 58Cc 3 ส.ค. 58
Cc 3 ส.ค. 58
 
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
 
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง
T-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่างT-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่าง
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง
 
นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗
 
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
 
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทย
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทยการวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทย
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทย
 
Ecological Corridor in Thailand
Ecological Corridor in ThailandEcological Corridor in Thailand
Ecological Corridor in Thailand
 
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
 
การศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าการศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่า
 
Carrying Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
Carrying  Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติCarrying  Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
Carrying Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
 
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติการจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
 

More from UNDP

Dance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdfDance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdfUNDP
 
Good personality
Good personalityGood personality
Good personalityUNDP
 
Self Massage#1
Self Massage#1Self Massage#1
Self Massage#1UNDP
 
Protected Area book
Protected Area bookProtected Area book
Protected Area bookUNDP
 
METT book
METT bookMETT book
METT bookUNDP
 
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองUNDP
 
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็งเทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็งUNDP
 
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม UNDP
 
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศแนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศUNDP
 
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการแนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการUNDP
 
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศการวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศUNDP
 
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมายข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมายUNDP
 
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณแนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณUNDP
 
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนการวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนUNDP
 
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กรเทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กรUNDP
 
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) UNDP
 
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออกUNDP
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออกข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออกUNDP
 
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม UNDP
 
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METTเครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METTUNDP
 

More from UNDP (20)

Dance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdfDance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdf
 
Good personality
Good personalityGood personality
Good personality
 
Self Massage#1
Self Massage#1Self Massage#1
Self Massage#1
 
Protected Area book
Protected Area bookProtected Area book
Protected Area book
 
METT book
METT bookMETT book
METT book
 
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
 
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็งเทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
 
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
 
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศแนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
 
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการแนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
 
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศการวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
 
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมายข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
 
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณแนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
 
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนการวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
 
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กรเทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
 
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
 
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออกข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
 
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม
 
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METTเครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
 

ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ

  • 1.
  • 2. - 1 - รายงานข้อเสนอแนะแนวการบังคับใช้กฎหมายเพื่อการดาเนินงานการจัดการ แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ โดย นายทวี หนูทอง ที่ปรึกษาด้านการจัดการพื้นที่คุ้มครอง โครงการ CATSPA -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ส่วนที่ 1 กลไกการดาเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อ -------------------------- ความหมายและความสาคัญ คาว่าแนวเชื่อมต่อหรือทางเชื่อมต่อมาจากภาษาอังกฤษว่า Corridor หรือ Connectivity เป็นเส้นทางสาหรับการเคลื่อนย้ายของชนิดพันธุ์ต่างๆ จากพื้นที่หนึ่งไปยังอีกพื้นที่หนึ่งเพื่อสร้าง ความเชื่อมโยงต่อกันในหลายๆ พื้นที่ มักจะมีการใช้คาว่า Connectivity Conservation เป็นการบริหารจัดการ พื้นที่ที่มีความสามารถในการส่งเสริมหรือสนับสนุนการเคลื่อนที่ของชนิดพันธุ์ที่เดินทางไปมาระหว่าง หย่อมป่าหรือพื้นที่คุ้มครองหรือพื้นที่ที่เหมาะสมต่อการอยู่อาศัยและการสืบพันธุ์ขยายพันธุ์ ทฤษฎีเกี่ยวกับแนวเชื่อมต่อได้มีการอธิบายเพื่อสร้างความเข้าใจกันหลากลาย ส่วนใหญ่แล้วจะ เป็นกล่าวถึงการเชื่อมต่อกันระหว่างถิ่นที่อาศัยเพื่อประโยชน์สาหรับชนิดพันธุ์สัตว์ป่าและเกี่ยวข้องกับ กระบวนการเคลื่อนย้ายของชนิดพันธุ์เพื่อความอยู่รอดและการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพเป็น สาคัญ เพื่อให้การดาเนินงานการอนุรักษ์แนวเชื่อมต่อจาต้องสร้างความเข้าใจถึงคาหลักทางชีววิทยา และนิเวศวิทยาที่เกี่ยวข้อง เพื่อนามาพิจารณาในการจัดการร่วมกัน คือ 1. ความหลากหลายทางชีวภาพ (Biological diversity หรือ Biodiversity) เป็นคาหลักใน อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ (Convention on Biological Diversity) หมายถึง ความมากมาย ของสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในทุกๆ แห่งของระบบนิเวศที่เป็นระบบนิเวศบนบก ในน้า หรือทางทะเลที่มีความ สลับซับซ้อนของกระบวนการและสิ่งมีชีวิตที่เป็นองค์ประกอบความหลากหลายของชนิดพันธุ์ ภายในระบบ นิเวศหรือระดับของจานวนในภูมิทัศน์ที่เป็นระบบนิเวศทางสังคม ประชากรชนิดพันธุ์และพันธุกรรม
  • 3. - 2 - 2. กระบวนการทางนิเวศ (Ecological processes) หมายถึง ลักษณะกระบวนการทางชีววิทยา กายภาพและเคมี เพื่อให้ระบบนิเวศคงอยู่ต่อไปได้ กระบวนการนี้จะสัมพันธ์กับวัฏจักรของน้า วัฏจักรของ แร่ธาตุ ดิน ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ล่ากับเหยื่อ กระบวนการทางนิเวศเป็นองค์ประกอบของระบบนิเวศใน สถานภาพทางกายภาพที่ปรากฏอยู่ เช่น ความลึกของน้าในแหล่งน้า ชนิดของดิน อุณหภูมิของอากาศใน พื้นที่ กระบวนการทางนิเวศวิทยากับผลิตผลของอินทรีย์สาร พลังงานที่ได้จากการกระบวนการสังเคราะห์ แสงหรือสารเคมีที่เกิดจากการสังเคราะห์แสง การส่งผ่านแร่ธาตุหรือคาร์บอนให้เกิดสิ่งมีชีวิต และ การดารงชีวิตของชนิดพันธุ์ เช่น การผสมเกสรดอกไม้กระบวนการต่างๆ จะเกิดขึ้นอยู่กับความหลากหลาย ทางชีวภาพ 3. การบริการของระบบนิเวศ (Ecosystem goods and Services) หมายถึง ผลประโยชน์ที่ได้รับ จากองค์ประกอบ ความอุดมสมบูรณ์ของระบบนิเวศที่ใช้เพื่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต (พืช สัตว์และ มนุษย์) และอานวยผลประโยชน์ด้านคุณค่าทางสังคม วัฒนธรรมและเศรษฐกิจของมนุษย์ เช่น การบริการ ด้านน้าสะอาด อากาศที่บริสุทธิ์ เวชภัณฑ์ ผลผลิตทางการเกษตร ซึ่งเป็นการบริการของระบบนิเวศ รวมถึง การคงไว้ซึ่งความหลากหลายทางชีวภาพ การย่อยสลายของสิ่งไม่มีชีวิต ดิน และวัฎจักรของแร่ธาตุ นอกจากนี้ยังมีบริการด้านขยายพันธุ์พืชตามธรรมชาติ รักษาไว้ซึ่งน้าใต้ดิน การกระจายของเมล็ดพืช การเก็บ กักหรือดูดซับคาร์บอนและการรักษาไว้ซึ่งภูมิทัศน์ที่สวยงาม 4. ความมั่นคงของกระบวนการนิเวศ (Ecological integrity) หมายถึง สถานภาพของระบบ นิเวศตามโครงสร้าง องค์ประกอบ ที่ทาให้ระบบนิเวศความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตและสนับสนุนให้ กระบวนการให้คงอยู่ต่อไปได้ ปราศจากการถูกคุกคามจากมนุษย์ 5. ความเชื่อมโยงของระบบนิเวศ (Ecological network) หมายถึง ระบบของการรักษาไว้ตาม ธรรมชาติที่ทาให้เกิดความแตกแยกของระบบนิเวศที่สนับสนุนการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ เกิดขึ้นที่ประกอบด้วย พื้นที่คุ้มครอง แนวกันชน พื้นที่เอกชน การจัดการเพื่อคงไว้หรือการฟื้ นฟู องค์ประกอบของระบบนิเวศ โดยให้มีการอนุรักษ์ความหลากหลายที่อานวยผลประโยชน์อย่างยั่งยืนของ ทรัพยากรธรรมชาติ หรืออีกประการหนึ่งคือความเชื่อมโยงของกระบวนการต่างๆ เพื่อการอนุรักษ์ 6. การฟื้นฟูระบบนิเวศให้เข้าสู่สภาพปกติ (Ecological resilience) หมายถึง ความสามารถของ ระบบที่มีการควบคุมภายใต้สภาพที่มีการเปลี่ยนแปลง โครงสร้าง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง กับระบบนิเวศ ด้วยเหตุผลที่ทาให้เกิดการสูญเสียและมีการพัฒนาตัวเองให้เข้าสู่ความสมบูรณ์อีกครั้งหนึ่ง 7. ระบบนิเวศ (Ecosystems) หมายถึง กลุ่มของชนิดพันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ป่า และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ที่เกิดขึ้นหรือปรากฏอยู่เป็นจานวนมากในพื้นที่เฉพาะหรือพื้นที่ที่กว้างขวาง
  • 4. - 3 - 8. วิธีการของระบบนิเวศ (Ecosystem Approach) หมายถึง การจัดการพื้นที่ดิน น้า และ สิ่งมีชีวิตที่มีข้อมูลเพื่อการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนอย่างบูรณาการ วิถีทางของระบบนิเวศเป็น กรอบงานของกิจกรรมหลายๆ อย่างที่จะสร้างความสมดุลในธรรมชาติ จากอนุสัญญาความหลากหลายทาง ชีวภาพจะมีหลัก 3 ประการคือ การอนุรักษ์ การใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนและการแบ่งปันผลประโยชน์ร่วมกัน อย่างยุติธรรม โดยเฉพาะทรัพยากรทางพันธุกรรม วิถีทางของระบบนิเวศและการฟื้นฟูของระบบนิเวศทั้ง ทางบกและทางน้า 9. ถิ่นที่อาศัย (Habitat) หมายถึง พื้นที่ที่ซึ่งมีความหลากหลายของทรัพยากร เช่น อาหาร น้า ที่คุ้มกันภัยและสิ่งแวดล้อมอื่นๆ (อุณหภูมิ ปริมาณฝน สัตว์ผู้ล่า) ที่อยู่ในพื้นที่ถิ่นที่อาศัยของสัตว์ป่าเป็น สาคัญ และสามารถรองรับให้ประชากรได้อาศัยอยู่อย่างปลอดภัย 10.การแตกกระจายของถิ่นที่อาศัย (Habitat fragmentation) หมายถึง การลดลงหรือการเกิดเป็น หย่อมป่าที่มีขนาดแตกต่างกันไป มีการแยกจากกันของสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติรวมทั้งภูมิทัศน์ การ แตกแยกของถิ่นที่อาศัยออกเป็นส่วนๆ ทาให้ชนิดพันธุ์ไม่สามารถเดินทางไปมาได้เพราะมีการใช้ประโยชน์ ที่ดินในด้านอื่นๆ เช่น การเกษตรหรือการแตกกระจายของถิ่นที่อาศัยเกิดจากไฟป่า ลมพายุ น้าท่วมหรือเกิด จากมนุษย์ 11.ชนิดพันธุ์ ประชากรและสังคม (Species, Population and Community) หมายถึง ชนิดพันธุ์ ของสิ่งมีชีวิตที่เกิดขึ้นอยู่ โดยเฉพาะชนิดพันธุ์กลุ่มเดียวกัน สามารถที่จะขยายพันธุ์แพร่พันธุ์ออกลูกออก หลานได้ รวมกันเป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในพื้นที่เดียวกันและมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันในเรื่องของ แหล่งอาหาร ถิ่นที่อาศัย และการใช้ทรัพยากรอื่นร่วมกัน มีการเปลี่ยนแปลงจานวนประชากรตามกฎเกณฑ์ ของธรรมชาติ เนื่องจากความสัมพันธ์ระหว่างผู้ล่ากับเหยื่อ ผู้ผลิตและผู้บริโภคหรือผู้แข่งขัน การอนุรักษ์แนวเชื่อมต่อเป็นหลักการที่สาคัญในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติที่ประกอบ ไปด้วย (1) องค์ประกอบของธรรมชาติที่จาเป็นต้องมีการคุ้มครองดูแลรักษาไว้รวมถึงการฟื้นฟูไม่ว่าจะเป็น ป่าไม้ แม่น้า ชายทะเลที่เป็นพื้นที่ธรรมชาติ และ (2) ชนิดพันธุ์ธรรมชาติที่มีการเคลื่อนย้ายได้หรือมีการ กระจายของชนิดพันธุ์หรือประชากรในแนวเชื่อมต่อของภูมิทัศน์ ต้องยอมรับว่าการจัดการแนวเชื่อมต่อเป็นวิชาการสาขาหนึ่งที่เป็นพื้นฐานของการอนุรักษ์ ความหลากหลายทางชีวภาพ มีการพัฒนาในด้านการดาเนินงานทางชีววิทยา นิเวศวิทยา ประชากร ชนิดพันธุ์ และพันธุกรรม ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ การนาเอากฎหมาย ข้อบังคับและระเบียบมาใช้ในการจัดการแนวเชื่อมต่อจึงเป็นหารูปแบบ การทดลองและค้นหาประสบการณ์ ในการจัดการแนวเชื่อมต่อภาคสนามที่ถูกต้อง การนาเอากฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบมาใช้เป็นเครื่องมือในการจัดการแนวเชื่อมต่อเพื่อ ก่อให้เกิดประโยชน์ทางด้านการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพและลดการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ ประสบการณ์การดาเนินงานดังกล่าวได้ดาเนินการมาในหลายๆ พื้นที่ จากการศึกษาจะพบจาก รายงานต่างๆ เช่น
  • 5. - 4 - 1. Assessment and Planning for Ecological Connectivity : A Practice Guide. (2011) The Wildlife Conservation Society 78 pp. 2. Connectivity Conservation Management: A Global (2010) Earthscan IUCN-WCPA 381 pp. 3. Connectivity Conservation (2006) 4. Habitat Fragmentation and Landscape Change (2006) 5. Corridor Ecology (2006) สาหรับทฤษฎีการดาเนินงาน จากผลการวิจัยที่เรียกว่า metapopulation ซึ่งหมายถึงชนิดพันธุ์ เดียวกันที่ยังคงมีชีวิตอยู่ได้ในพื้นที่ถิ่นที่อาศัยที่ไม่ได้เชื่อมต่อกัน ซึ่งได้มีการป้ องกันภัยมิให้มีการรบกวน ชนิดพันธุ์เหล่านั้น จาเป็นที่จะต้องเข้าใจถึงแนวเชื่อมต่อกับการดารงชีวิตอยู่ของประชากรของพืชและสัตว์ ภายใต้สภาพแวดล้อมที่แยกจากกัน ตามทฤษฎีของลักษณะทางภูมิทัศน์ที่นักวิชาการที่เกี่ยวข้องต้องทาการศึกษาและนาไปปฏิบัติ ในการดาเนินงานแนวเชื่อมต่อรวมทั้งระบบนิเวศที่ถูกรบกวนจากภัยคุกคามหรือภัยธรรมชาติที่มีเกิดขึ้นใน การดาเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อจะมีลักษณะของพื้นที่อยู่สี่รูปแบบ คือ แบบ Patch, Corridor, Matrix และ Mosaic รูปแบบ Patch หมายถึง ภูมิทัศน์ที่เกี่ยวกับพื้นที่ที่แยกจากกันกับพื้นที่อื่นๆที่เป็นหย่อมป่าที่ ใกล้เคียงที่มีภูมิทัศน์เดียวกันจะเป็นรูปแบบธรรมชาติหรือป่าไม้ชนิดเดียวกัน ทุ่งหญ้า พื้นที่ถิ่นที่อาศัยแยก จากกันและมีแนวเชื่อมต่อกันจะมีการเสริมแต่งหรือปรับปรุงทรัพยากรธรรมชาติที่จะช่วยให้ชนิดพันธุ์ เคลื่อนย้ายไปมาได้ ซึ่งการพิจารณาจะขึ้นอยู่กับปัจจัยธรรมชาติ (เช่น ดินหรือการพัฒนาของมนุษย์) รูปแบบ Corridor หมายถึง พื้นที่ภูมิทัศน์ขนาดเล็ก โดยมากมักจะมีรูปร่างเป็นแถบยาว ช่วยทา หน้าที่ตอบสนองความต้องการของชนิดพันธุ์เฉพาะที่ต้องการเคลื่อนย้ายไปมาระหว่างหย่อมป่าที่แตกต่างกัน โดยแนวเชื่อมต่อมักจะมีพืชพรรณใกล้เคียงกัน เป็นรูปแบบของพื้นที่เฉพาะหรือระดับกลุ่มป่าหรือระดับ ภูมิทัศน์ที่มีขนาดใหญ่ จะต้องมีการพิจารณาถึงข้อมูล ภูมิทัศน์ว่าเป็นแบบใด ซึ่งจะต้องมีรายละเอียดของ ข้อมูลไว้ รูปแบบ Matrix หมายถึง ภายในระบบพื้นที่และการเชื่อมต่อระหว่างหย่อมป่า เพื่อให้เกิด การเคลื่อนย้ายกระจายพันธุ์ของชนิดพันธุ์อย่างเข้มแข็ง เกิดการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ รูปแบบ Masaic หมายถึง การเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยที่ในสภาพพื้นที่บางแห่งซึ่งมีการเปลี่ยนแปลง จากสภาพธรรมชาติเดิมไม่มากนัก ทาให้ถิ่นที่อาศัยที่เป็นธรรมชาติกับพื้นที่ที่ได้เปลี่ยนแปลงไปนั้น ไม่แตกต่างกันมากนัก การแยกแยะระหว่างถิ่นที่อาศัยที่เหมาะสมกับพื้นที่ที่ไม่เหมาะสมกระทาได้ยาก แต่สัตว์ป่าบางชนิดสามารถใช้ถิ่นที่อาศัยเหล่านั้นได้ แม้จะถูกเปลี่ยนแปลงไปและมีข้อจากัดบางประการ
  • 6. - 5 - ตารางที่ 1 แสดงการเปรียบเทียบลักษณะของการดาเนินงานแนวเชื่อมต่อ รูปแบบของภูมิทัศน์ ระดับท้องถิ่น (1 กม.) ระดับชุมชนที่ห่างกัน (1-100 กม.) ระดับภูมิภาคหรือ ระดับชีวภูมิศาสตร์ (100-1,000 กม.) 1. แนวเชื่อมต่อของ ถิ่นที่อาศัย โดยอาศัย ระบบนิเวศเดิม (Habitat Corridor หรือ Linear Linkages) รูปแบบของแนวเชื่อมต่อ จะเป็นการปลูกพืชเป็น แถวหรือเป็นแถวรั้ว ลาห้วย ลาธาร ริมถนน แนวป่าไม้ระหว่างพื้นที่ ป่าไม้อุโมงค์ทางลอด หรือถนนยกระดับใน พื้นที่ป่าไม้ของชุมชน รูปแบบแนวเชื่อมต่อจะ เป็นแม่น้า แหล่งน้าจะมี พืชชนิดต่างๆ ขึ้นอยู่ตาม ลาห้วย ลาธาร แม่น้า ระหว่างพื้นที่สงวนและ ตามแนวชายฝั่ง เป็นแม่น้าสายใหญ่ๆ เทือกเขาตามมหาสมุทร ระหว่างพื้นดินกับแนว ชายฝั่ง 2. แนวเชื่อมต่อที่เป็น หย่อมป่าที่กระจายอยู่ใน แนวเชื่อมต่อ (Stepping Stone Corridor) รูปแบบเชื่อมต่อของ พื้นที่ป่าไม้เป็นแนวที่มี ต้นไม้ขึ้นอยู่ตาม ธรรมชาติหรือปลูกขึ้นที่ เชื่อมโยงติดต่อกัน พื้นที่แนวเชื่อมต่อของ พื้นที่จะเป็นแนวของ พื้นที่สงวนหรือแนว ต้นไม้ที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ เกษตรกรรมหรือที่ พักผ่อนหย่อนใจของ ชุมชนท้องถิ่น แนวเชื่อมต่อของเกาะ ต่างๆในช่องแคบพื้นที่ ชุ่มน้าตามแนวของ เส้นทางอพยพของนกน้า แนวต้นไม้ตามเทือกเขา แนวปะการังและหญ้า ทะเล 3. แนวเชื่อมต่อ ถิ่นที่อาศัยแบบ Mosaic (Habitat Mosaic/Landscape Corridor รูปแบบแนวเชื่อมต่อ ถิ่นที่อาศัยที่มีการ เปลี่ยนแปลงไม่มากนัก จากพืชเกษตรในพื้นที่ เกษตรกรรม สวน หรือ อุทยานในเมือง รูปแบบเป็นพื้นที่ Mosaic ของชนิดพันธุ์ไม้ ที่ปลูกขึ้นมาหรือกลุ่ม ต้นไม้เดิมของพื้นที่ ป่าไม้ พื้นที่ดินในภูมิภาคจะถูก รักษาไว้ด้วยสังคมพืช หลายๆ ชนิด สภาพแวดล้อมทางทะเล หรือมหาสมุทร เส้นทาง อพยพของสัตว์น้าตาม ฤดูกาลของการ เคลื่อนย้าย Source: Bennett., A.F. (2003)
  • 7. - 6 - การจัดการแนวเชื่อมต่อที่อาศัยตามแนวทางของระบบนิเวศ ความต้องการอนุรักษ์แนวเชื่อมต่อ ระหว่างพื้นที่คุ้มครองเฉพาะหรือเป็นส่วนหนึ่งของระบบพื้นที่คุ้มครองที่อยู่บนพื้นฐานของข้อมูล ทางวิชาการรวมถึงความต้องการในการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ ภัยคุกคามในปัจจุบัน และ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นซึ่งจะต้องมีการกล่าวถึงระบบนิเวศ กฎหมายหรือกฎระเบียบที่จะนามาใช้ ดาเนินการ การจัดทาแผนการจัดการแนวเชื่อมต่อให้มีประสิทธิภาพ แผนจะต้องประกอบด้วยยุทธศาสตร์ ระดับของพื้นที่เพื่อการอนุรักษ์วิกฤติการณ์ของระบบนิเวศและความเชื่อมโยงของความหลากหลาย ทางชีวภาพภายในระบบพื้นที่คุ้มครองหรือเครือข่ายในระยะยาว การบังคับใช้กฎหมายในการแก้ไขปัญหาภัย คุกคามจะเป็นเครื่องมือที่เข้มแข็งในการอนุรักษ์แนวเชื่อมต่อ สาหรับประเภทของแนวเชื่อมต่อที่จะต้องพิจารณานาเอากฎหมายมาใช้บังคับนั้นจะต้อง พิจารณาถึงถิ่นที่อาศัยของสัตว์ป่า ระดับของกฎหมายและระดับของพื้นที่ที่จะต้องพิจารณาดังนี้ 1. ระดับนานาชาติ จะต้องเป็นข้อตกลงหรืออนุสัญญาหรือโปรแกรมที่เป็นที่ยอมรับของ นานาชาติ โดยเฉพาะอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ อนุสัญญาว่าด้วยการเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศ ที่มีประเทศต่างๆเป็นภาคีสมาชิกจะต้องให้ความสาคัญเกี่ยวกับพื้นที่คุ้มครองและพื้นที่แนว เชื่อมต่อ 2. ระดับภูมิภาค เป็นพื้นที่ระดับภูมิภาค หรือเฉพาะทวีปต่างๆ หรือต่างทวีป เช่น กฎเกณฑ์ของ สหภาพยุโรป ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน จะต้องมีข้อตกลงและโปรแกรมร่วมกัน 3. ระดับชาติ จะเป็นกฎหมายของแต่ละประเทศที่ประกาศใช้บังคับเพื่อการอนุรักษ์ ความหลากหลายทางชีวภาพ พื้นที่คุ้มครองรวมถึงการสนับสนุนการดาเนินงานแนวเชื่อมต่อใน ระดับประเทศหรือร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้าน หรือระดับของแนวเชื่อมต่อภายในประเทศ ระดับจังหวัด ระดับท้องถิ่น รวมถึงผู้มีอานาจในการดาเนินงาน 4. สาหรับประเภทของแนวเชื่อมต่อว่าจะเป็นระดับใดจะต้องมีคาอธิบายอย่างละเอียดว่า ดาเนินการอย่างๆ พื้นที่ใด มีความสาคัญอย่างไร
  • 8. - 7 - ตารางที่ 2 การอธิบายถึงลักษณะพื้นที่ของแนวเชื่อมต่อ ประเภท คาอธิบาย 1. แนวเชื่อมต่อของทัศนียภาพ ทั้งทางบกและทางทะเล 2. การแตกกระจายของ ถิ่นที่อาศัย 3. แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ 4. กระบวนการแนวเชื่อมต่อ ที่มีการวิวัฒนาการ เป็นการแตกแยกจากกันของชนิดพันธุ์พืช ชนิดพันธุ์สัตว์และสิ่งแวดล้อม ภายในพื้นที่ทั้งทางบกและทางทะเล เป็นการเชื่อมต่อกันของหย่อมป่าถิ่นที่อาศัยที่มีความเหมาะสมกับชนิด พันธุ์นั้นๆ โดยเฉพาะหย่อมป่าถิ่นที่อาศัยที่มีความสาคัญในระดับท้องถิ่น ระดับชาติ ระดับนานาชาติ โดยเฉพาะชนิดพันธุ์ที่มีการอพยพย้ายถิ่น เป็นแนวเชื่อมต่อของระบบนิเวศในหลายๆ ระดับทั้งทางอากาศ ทางน้า หรือพื้นที่ดิน รวมถึงกระบวนการความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน การรบกวนจากภัยธรรมชาติหรือมนุษย์ เป็นกระบวนการพัฒนาของแนวเชื่อมต่อตามธรรมชาติที่มีความแตกต่าง กันทางพันธุกรรม ชนิดพันธุ์ ประชากร เพื่อให้ความเหมาะสมกับ ถิ่นที่อาศัย โดยเฉพาะถิ่นที่อาศัยที่มีความกว้างขวางพอสมควรที่มี ความสาคัญต่อประเทศชาติ ภายใต้สภาพแวดล้อมที่กาหนดให้ มีการ เคลื่อนย้ายไปมา ตามระยะเวลาที่มีการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ
  • 9. - 8 - บทสรุป ตารางที่ 3 กรอบการจัดการแนวเชื่อมต่อสามารถที่จะสรุปได้ดังปรากฏตามตารางต่อไปนี้ องค์ประกอบ ระดับองค์ประกอบ/ การจัดการ เตรียมการ วางแผน การปฏิบัติ การประเมินผล 1. แนวเชื่อมต่อใน พื้นที่ทั้งหมด - กาหนด/เสนอวิสัยทัศน์ - กาหนดนโยบายกิจกรรม งบประมาณ อุปกรณ์เพื่อ การปฏิบัติ - บูรณาการแผนแนว เชื่อมต่อให้เป็นขั้นตอน พัฒนาแผน ยุทธศาสตร์สาหรับ การจัดการ การ อนุรักษ์พื้นที่แนว เชื่อมต่อ - สนับสนุนการ ทางานอย่างเต็ม ความสามารถ - จัดทาข้อตกลงใน การจัดทาแนว เชื่อมต่อ จัดทารูปแบบระบบ การประเมินผลตาม ความต้องการ 2. ระดับชาติ - สนับสนุนให้รัฐบาล ยอมรับการดาเนินงาน การจัดการแนวเชื่อมต่อ การกาหนดแผน ยุทธศาสตร์การ จัดการแนวเชื่อมต่อ อย่างบูรณาการ ด้าน การอนุรักษ์ความ หลากหลายทาง ชีวภาพและการพัฒนา ที่ยั่งยืน ปฏิบัติตามข้อกาหนด หรือกิจกรรมที่ กาหนดขึ้นและการ ปรับแผนตามที่มีการ เปลี่ยนแปลงของ ภูมิอากาศ การประเมินผลให้มี การกาหนดรูปแบบ เพื่อปฏิบัติใน ระดับชาติ 3. ระดับภูมิทัศน์ - สนับสนุนให้ชุมชนมี ส่วนร่วมดาเนินการแนว เชื่อมต่อ - พัฒนาการมีส่วน ร่วม ปฏิบัติในภาคสนาม อย่างมีส่วนร่วมของ ภาคีผู้มีส่วนได้ส่วน เสียทุกระดับ ประเมินผลการ ดาเนินงานอย่างมี ส่วนร่วม 4. ระดับนานาชาติ โดยความร่วมมือ ของภาคีการ กาหนดรูปแบบ แนวเชื่อมต่อ ระหว่างประเทศ - ดาเนินการเจรจาเพื่อสร้าง ความร่วมมือกับประเทศ เพื่อนบ้านในการจัดทา แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ จัดทาแผนแนว เชื่อมต่อพื้นที่ คุ้มครองระหว่าง ประเทศแสละการ จัดทาข้อตกลง ปฏิบัติตามแผนอย่าง มีส่วนร่วมในระดับ นานาชาติ วิเคราะห์และ ประเมินผลในระดับ นานาชาติ 5. ระดับพื้นที่แนว เชื่อมต่อในที่ดิน กรรมสิทธิ์และ บุคคลท้องถิ่น สนับสนุนให้บุคคลที่มี ความสนใจในกิจกรรม การเข้าร่วมและสนับสนุน กิจกรรมการมีส่วนร่วม กาหนดบทบาทหน้าที่ ให้บุคคลเข้าร่วมใน โครงการ สนับสนุนให้บุคคล ในโครงการและ บุคคลอื่นช่วยเหลือ โครงการ ประเมินผลการ จัดการโครงการให้ สอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ ธรรมชาติ ประชาชน การจัดการ
  • 10. - 9 - Source : Worboys and Lockwood (2010) ระบบการจัดการแนวเชื่อมต่อ ภาพแสดงรูปแบบของแนวเชื่อมต่อที่เป็นระบบ พื้นที่คุ้มครอง พื้นที่คุ้มครอง พื้นที่คุ้มครอง พื้นที่คุ้มครอง เขตกันชน แนวเชื่อมต่อที่มีป่าหลายรูปแบบ รูปแบบที่เป็นป่าเชื่อมต่อกัน แนวเชื่อมต่อที่เป็นหย่อมป่า เขตกันชน เขตกันชน
  • 11. - 10 - ส่วนที่ 2 ประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดการแนวเชื่อมต่อ ---------------------------------- ดังที่ได้กล่าวมาแล้วว่า การจัดการแนวเชื่อมต่อ การดาเนินงานเป็ นการใช้ทฤษฎี ทางวิทยาศาสตร์เพื่อการจัดการ ในส่วนนี้จะกล่าวถึงผลประโยชน์ที่ได้รับจากการกาหนดและการจัดการแนว เชื่อมต่อ ที่มีคุณค่าทางภูมิทัศน์ในพื้นที่เพื่อการอนุรักษ์ชนิดพันธุ์ การรักษาไว้ซึ่งกระบวนการทางนิเวศ การบริการของระบบนิเวศเพื่อการดารงชีวิตของมนุษย์ โดยเฉพาะชุมชนท้องถิ่น นักวิชาการ นักวางแผน นักอนุรักษ์จะต้องร่วมกันพิจารณาถึงผลประโยชน์ที่จะได้รับจากการจัดการแนวเชื่อมต่อ ไม่เพียงแต่ การรักษาไว้ซึ่งระบบนิเวศ การฟื้ นฟูหรือการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพที่มีความสัมพันธ์ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ การปรับตัวของระบบนิเวศ หรือกระบวนการเก็บกักคาร์บอน การพิจารณาถึงประโยชน์ที่จะได้รับสามารถแบ่งออกไม้เป็น 4 ส่วน ดังนี้ 1. ประโยชน์ในการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ 2. ประโยชน์ในการลดการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ 3. ประโยชน์ในการทาให้สภาพภูมิอากาศดีขึ้น 4. ประโยชน์ร่วมกันระหว่างความหลากหลายทางชีวภาพกับการเปลี่ยนปลงภูมิอากาศ การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศเป็นภัยคุกคามต่อความหลากหลายทางชีวภาพทั้งทางตรง และทางอ้อม การมีผลกระทบต่อการกระจายและการคงอยู่ของชนิดพันธุ์ สังคมสิ่งมีชีวิตและระบบนิเวศ ด้านองค์ประกอบต่างๆ การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศทาให้เกิดภัยพิบัติต่างๆ ต่อโลกนี้ เช่น ความแห้งแล้ง น้าท่วม ไฟป่า ความร้อนที่เพิ่มสูงขึ้น ระดับน้าทะเลสูงขึ้นจากการละลายของน้าแข็งบริเวณขั้วโลก น้าทะเล กลายเป็นกรด อากาศที่มีการเปลี่ยนแปลงมีผลกระทบที่เกิดขึ้นเป็นตัวอย่างหลายๆ ประเทศทั่วโลกทาให้ เกิดผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมของมนุษย์ ความเชื่อมโยงระหว่างการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศกับความหลากหลายทางชีวภาพเป็นเรื่อง ที่นักวิชาการสาขาต่างๆ หันมาให้ความสนใจเป็นอย่างมาก เช่น หน่วยงาน UNFCCC, CBD และผู้เชี่ยวชาญ สาขาต่างๆ โดยที่ชนิดพันธุ์ต่างๆ ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ผลกระทบกับ การเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศที่เกิดขึ้น เช่น น้าสะอาด ถิ่นที่อาศัยตามแหล่งน้า พื้นที่ชุ่มน้า ป่าชายเลน ปะการัง ป่าเมฆฝน และน้าแข็งบริเวณขั้วโลกทั้งสองแห่ง พืชและสัตว์ทั้งประชากรและสังคมของชนิดพันธุ์จะได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศ บางชนิดพันธุ์ไม่สามารถปรับตัวได้จะได้รับผลกระทบจนถึงขั้นหาได้ยากหรือใกล้จะสูญพันธุ์ หรือสูญพันธุ์ไปเลย บางชนิดพันธุ์สามารถปรับตัวได้ในขณะที่อุณหภูมิสูงขึ้นโดยการอพยพย้ายถิ่น หรือ อพยพจากที่ต่าไปอยู่ในระดับที่สูงกว่า
  • 12. - 11 - เมื่อไม่นานมานี้ นักวิชาการได้มีความเข้าใจถึงการอนุรักษ์แนวเชื่อมต่ออันจะเป็นการช่วยชะลอ การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได้ถูกหยิบยกมาพิจารณาว่าเป็น ปัญหาที่สาคัญที่ทาให้ความหลากหลายทางชีวภาพเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งก็ได้มีการค้นหาว่า อัตรา การเปลี่ยนแปลงของชนิดพันธุ์มีมากน้อยเพียงใด อย่าลืมว่าผลประโยชน์ที่ได้รับจากการอนุรักษ์แนวเชื่อมต่อ จะเป็นประโยชน์ต่อมนุษย์โดยเฉพาะการบริการของระบบนิเวศที่เป็นประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคมใน การดารงชีวิตของมนุษย์ 1. ประโยชน์ของแนวเชื่อมต่อในด้านการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ ผลกระทบกับการดารงชีวิตของมนุษย์ คือ การเปลี่ยนแปลงของความหลากหลาย ทางชีวภาพ จากการพัฒนาพื้นที่ดินและการใช้ทรัพยากรที่ทาให้พื้นที่ป่าไม้แตกแยกจากกัน ความอุดม สมบูรณ์ลดลง การจัดการแนวเชื่อมต่อจึงเป็นการกระทาที่ก่อให้เกิดมีถิ่นที่อาศัยเชื่อมต่อกันที่จะช่วยอนุรักษ์ ความหลากหลายทางชีวภาพ มีข้อมูลจากการศึกษาของนักวิชาการจากหลายๆ พื้นที่ พบว่า แนวเชื่อมต่อจึง เป็นประโยชน์ต่อชนิดพันธุ์ ความหลากหลายและการอนุรักษ์ระบบนิเวศเป็นการจัดการที่ทาให้สัตว์ป่าใช้ เป็นเส้นทางเดินทางไปมาหาสู่กันได้ แนวเชื่อมต่อจึงเป็นประโยชน์ต่อระบบภูมิทัศน์และมนุษย์ในพื้นที่ที่ พื้นที่กว้างใหญ่จะทาให้ชนิดพันธุ์สัตว์ป่าใช้เป็นเส้นทางอพยพเพื่อการผสมพันธุ์ การพักแรมในฤดูหนาวทั้ง ที่เป็นประจาวัน ฤดูกาลหรือรอบปีระหว่างพื้นที่คุ้มครองทั้งหมดในโครงการ หากว่าเป็ นพื้นที่ภูมิทัศน์ที่มีขนาดเล็ก มีชุมชนอาศัยอยู่ก็จะเป็ นผลประโยชน์ต่อ การอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ชุมชน แนวรั้ว พื้นที่ป่าไม้ขนาดเล็กหรือพื้นที่การเกษตร หรือพืชพันธุ์ไม้ที่ขึ้นอยู่เป็นแถวในพื้นที่หัวไร่ ปลายนา ริมลาห้วยลาธารซึ่งจะเป็นถิ่นที่อาศัยที่สาคัญของ ชนิดพันธุ์สัตว์ป่า เป็นการบริการของระบบนิเวศในท้องถิ่น เช่น การผสมเกสรในดอกไม้ ในพื้นที่ภูมิทัศน์ ขนาดใหญ่หรือขนาดเล็กยังมีประโยชน์เป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจ แหล่งท่องเที่ยว พื้นที่เพื่อการศึกษาหรือ วิจัยทางวิชาการ หากเป็นประโยชน์ทางด้านการท่องเที่ยวก็จะทาให้เกิดรายได้ขึ้นในชุมชนท้องถิ่น เช่น การลงทุนสร้างสิ่งอานวยความสะดวกสาหรับนักท่องเที่ยว และการเก็บค่าธรรมเนียม เป็นต้น 2. ประโยชน์ของแนวเชื่อมต่อในด้านการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ความรู้ที่ได้จากการศึกษาประโยชน์ของแนวเชื่อมต่อโดยเฉพาะการที่พื้นที่คุ้มครองได้รับ ผลกระทบจากการพัฒนาในพื้นที่นอกเขตการจัดการหรือพื้นที่ใกล้เคียง และพบว่ามีการเปลี่ยนแปลงของ ภูมิอากาศเกิดขึ้น ฉะนั้นถิ่นที่อาศัยและองค์ประกอบของระบบนิเวศเป็นสิ่งสาคัญในพื้นที่คุ้มครอง การจัดการแนวเชื่อมต่อมีประโยชน์ในการอนุรักษ์ความหลากหลายและระบบนิเวศที่ทาให้มีการแก้ไขปัญหา การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ เป็นการช่วยให้ชนิดพันธุ์ทั้งพืช และสัตว์ ประชากร สังคมสิ่งมีชีวิตที่มี การปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม ทาให้สัตว์ป่าและพืชป่ามีการเคลื่อนย้ายไปมาได้ระหว่างพื้นที่คุ้มครอง หนึ่งไปยังพื้นที่คุ้มครองหนึ่งได้ นอกจากนี้แนวเชื่อมต่อจะเป็นเส้นทางที่ใช้หลบหลีกหรือป้ องกันศัตรู หรือภัยคุกคามอื่นๆ หรือหลบภัยจากภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้น เช่น ไฟป่า น้าท่วม ลมพายุ หรือความแห้งแล้ง
  • 13. - 12 - แนวเชื่อมต่อเป็นพื้นที่ที่ช่วยปรับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของพื้นที่คุ้มครองให้ดีขึ้น โดยเฉพาะการบริการของระบบนิเวศให้คงมีอยู่ตลอดทั้งปี มีความเชื่อมโยงซึ่งกันและกันของ ความหลากหลายทางชีวภาพ ดังนั้น ความสาคัญระหว่างการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศกับระบบนิเวศธรรมชาติ จะมีผลทาให้สังคมของมนุษย์ดีขึ้น จากการพัฒนาในด้านต่างๆ ของสังคมมนุษย์จะต้องหยิบยกเอามาใช้ใน การพิจารณาการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ 3. ประโยชน์ของแนวเชื่อมต่อสามารถทาให้การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศดีขึ้น มีการศึกษาถึงกระบวนการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนสู่บรรยากาศที่เกิดจากการพัฒนาใน ด้านต่างๆ ของมนุษย์ที่ทาให้เกิดก๊าซเรือนกระจกหรือเกิดจากการทาลายป่าไม้พื้นที่แนวเชื่อมต่อมีต้นไม้ช่วย ดึงดูดหรือดูดซับก๊าซคาร์บอน การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินและการทาการเกษตรในรูปแบบต่างๆ การศึกษาเรื่องต่างๆ เหล่านี้โดยเฉพาะการศึกษาถึงเรื่องการเก็บกักคาร์บอนในป่าไม้ ป่าชายเลน ทุ่งหญ้า หญ้าทะเล ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงจากธรรมชาติที่มีอยู่ การจัดการแนวเชื่อมต่อจึงเป็นประโยชน์ที่ทาให้ภูมิอากาศดีขึ้น โดยเฉพาะการดูแลรักษา ไว้ซึ่งภูมิทัศน์ในการเก็บกักคาร์บอนเพื่อเป็นการป้องกันการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนได้มาก จึงมีความจาเป็น อย่างยิ่งต่อการจัดทาแนวเชื่อมต่อให้มีขนาดใหญ่ซึ่งอาจจะเป็นระดับโลก นานาชาติ ภูมิภาคหรือระดับชาติ และมีความจาเป็นจะต้องดาเนินการอย่างเร่งด่วนและให้มีการศึกษาระดับของการเก็บกักก๊าซคาร์บอน 4. ประโยชน์ที่เชื่อมโยงร่วมกันระหว่างความหลากหลายทางชีวภาพกับการเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศ การอนุรักษ์แนวเชื่อมต่อเป็นยุทธศาสตร์หนึ่งที่ใช้ในการฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อลด การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ ความร่วมมือส่วนใหญ่จะเป็นการดาเนินงานในระดับนานาชาติ ภูมิภาคหรือ ระดับชาติในการกาหนดแผนยุทธศาสตร์และกิจกรรมต่างๆ โดยเฉพาะในเรื่องของการดูดซับก๊าซคาร์บอน ในระดับนานาชาติได้มีการดาเนินงานโดย UNFCCC ที่มีกลไกเรียกว่า REDD (2005) และ REDD+ (2010) ซึ่งก็ได้มีการนาเอากลไกของ REDD+ มาศึกษาถึงกระบวนการดูดซับก๊าซคาร์บอนในแนวเชื่อมต่อและ สนับสนุนให้มีการประชาสัมพันธ์สู่สาธารณชน โดยให้มีการอนุรักษ์ การป้ องกัน และการสงวนป่ า ธรรมชาติเพื่อให้มีการบริการของระบบนิเวศ กลไกของ REDD+ เป็นการป้องกันการลดลงหรือการทาลายป่าไม้หรือการเสื่อมสภาพของ ป่าไม้ที่มีความเกี่ยวโยงถึงการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ REDD+ สนับสนุนให้มีการจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน การอนุรักษ์ป่าไม้ คือ การให้ความสาคัญกับการที่ป่าไม้มีส่วนในการดูดซับก๊าซคาร์บอนและการเก็บกัก คาร์บอน ในปัจจุบันรัฐบาลของประเทศต่างๆ ได้ให้ความร่วมมือในการดาเนินงานตามกลไกของ REDD+
  • 14. - 13 - ตารางที่ 4 แสดงถึงกิจกรรมที่เกี่ยวกับกลไกการทางานของ REDD+ กิจกรรม ตัวอย่าง ลดการปล่อยก๊าซคาร์บอน 1. 2. ลดการทาลายป่าไม้ ป้องกันป่าไม้มิให้ลดลง ลดอัตราส่วนในการทาไม้ ผลที่เกิดจากพื้นที่ป่าไม้ได้รับจาก การทาไม้การปศุสัตว์ไฟป่า และ การเก็บหาของป่า สนับสนุนกลไกการเก็บกัก ก๊าซคาร์บอน 3. 4. 5. อนุรักษ์พื้นที่เพื่อเก็บกัก คาร์บอน ให้มีการจัดการป่าไม้อย่าง ยั่งยืน สนับสนุนให้ป่าไม้ช่วยเก็บกัก ก๊าซคาร์บอน ป้องกันรักษาป่าที่มีอยู่ ขยายรอบตัดฟันจาก 10 ปี เป็น 30 ปี ปล่อยให้ป่าไม้เจริญเติบโตตาม กระบวนการธรรมชาติ
  • 15. - 14 - ส่วนที่ 3 หลักธรรมาภิบาล ------------------------------------ หลักธรรมาภิบาลหรือการบริหารแนวเชื่อมต่อก็เพื่อต้องการให้มีการบริหารจัดการแนว เชื่อมต่อให้มีประสิทธิภาพ มีการพิจารณาดาเนินการเกี่ยวกับโครงสร้าง กระบวนการธรรมาภิบาลที่ต้องการ ให้ภาครัฐหรือเอกชนหรือชุมชนเป็นผู้บริหารจัดการหรือปฏิบัติตามนโยบาย การวางแผน การวิเคราะห์และ การจัดการแนวเชื่อมต่อ คาว่า “good governance” หมายถึง ความต้องการบริหารที่ประกอบไปด้วย กฎระเบียบ ความโปร่งใส การมีส่วนร่วม ความต้องการของสังคมและความยุติธรรม ซึ่งจะต้องมีข้อมูลที่สาคัญ 3 ประการคือ ข้อมูล การมีส่วนร่วมและความยุติธรรมให้เป็นเหตุผลในการดาเนินงาน หลักของธรรมาภิบาลหรือการบริหารจะเกี่ยวข้องกับการดาเนินงาน การบริหารแนวเชื่อมต่อ และการอนุญาตให้มีการตัดสินใจร่วมกัน มีการกาหนดกลไกให้สอดคล้องกับปัจจัยต่างๆ โดยเฉพาะบทบาท ของนโยบายระดับชาติ ชุมชนท้องถิ่น องค์กรภาคเอกชน เจ้าของที่ดิน และทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่รวมถึง การประชาสัมพันธ์ หลักการ หลักการธรรมาภิบาลที่ดีต้องเกี่ยวข้องกับสิทธิของประชาชน ประเพณีวัฒนธรรม นโยบาย เศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะต้องนามาใช้ในการพิจารณาตัดสินใจในการดาเนินงาน จะต้องจดจาไว้ ว่าหลักธรรมาภิบาลจะต้องมีกรอบกฎระเบียบ ความโปร่งใสต่อสาธารณชน การมีส่วนร่วมและความมี ประสิทธิภาพ องค์กร IUCN-WCPA ได้สรุปหลักธรรมาภิบาลพื้นที่คุ้มครองที่ดีไว้ว่า เป็นการใช้เสียงข้าง มากเป็นเกณฑ์ การชดเชยค่าเสียหาย ความซื่อสัตย์ไม่ทาลาย การกระทาที่มีหลักการ มีความโปร่งใสและ สิทธิของมนุษยชน การอนุรักษ์แนวเชื่อมต่อที่เป็นการทางานของรัฐบาลจะต้องเกี่ยวข้องกับการดาเนินงานการ เข้าถึงข้อมูล การมีส่วนร่วมของชุมชนที่ต้องมีความเท่าเทียมกันทางสังคมและยุติธรรม ชุมชนท้องถิ่นหรือ ชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิมที่เป็นเจ้าของที่ดินเพื่อการใช้ประโยชน์ จะต้องมีข้อตกลงกับรัฐบาลในการให้ ความร่วมมือในการใช้ประโยชน์พื้นที่ดิน การมีส่วนร่วมในการจัดการแนวเชื่อมต่อเป็นการดาเนินงานในพื้นที่ที่มีความสาคัญและ สถาบันหรือหน่วยงาน สถานภาพของรัฐบาลและภาคเอกชน แนวทางดังกล่าวจะเป็นภาคส่วนและการมี ส่วนร่วมในส่วนที่เกี่ยวข้องหรือเอกชนหรือผู้ครอบครองที่ดินจะต้องมีความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม เพื่อให้เกิดผลประโยชน์ต่อสาธารณชน การมีข้อตกลงร่วมกันกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้อง หรือเอกชน หรือผู้ครอบครองที่ดิน
  • 16. - 15 - ความโปร่งใสในการมีส่วนร่วม ความโปร่งใสในการบริหารจัดการแนวเชื่อมต่อที่ดีจะต้องมีกลุ่มหรือคณะที่มีความสนใจเข้า มาร่วมดาเนินงาน โดยเฉพาะความร่วมมือของอาสาสมัครหรือเอกชนหรือเจ้าของที่ดินในพื้นที่แนวเชื่อมต่อ อย่างไรก็ตามข้อตกลงระหว่างรัฐบาลกับองค์กรเอกชนมีความจาเป็นต้องดาเนินการเป็นอย่างยิ่ง เช่น ชุมชน ท้องถิ่นหรือชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิมเป็นผู้ดาเนินการในพื้นที่แนวเชื่อมต่อสนับสนุนโครงการหรือการบริหาร งบประมาณ รัฐบาลควรจะเป็นผู้สนับสนุนและให้คาแนะนาในการดาเนินงานเป็นหลักในการเจรจาร่วมกัน การเข้าถึงข้อมูลที่ถูกต้องให้แก่ชุมชน การมีข้อตกลงและการเข้าถึงรายงานอื่นๆ เพื่อให้นาสู่เป้าหมาย การมีข้อตกลงร่วมกันในการดาเนินงานระหว่างรัฐบาล องค์กรภาคเอกชนและเจ้าของที่ดิน จะต้องมีความเข้าใจและตัดสินใจร่วมกันภายใต้กฎหมายที่เกี่ยวข้องและการดาเนินงานตามกลไกต่างๆ ในการกาหนดกฎระเบียบขึ้นมาเพื่อใช้ในการบริหารจัดการแนวเชื่อมต่อ เช่น การนาเอาหลักการของ REDD หรือ REDD+ มาใช้กับโครงการจะต้องมีข้อมูลจากภาครัฐให้ชัดเจน มีความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมใน การดาเนินงานที่ชัดเจนเช่นกัน ความเสมอภาคทางสังคมและความยุติธรรม หลักการธรรมาภิบาลที่ดีคือการที่รัฐบาลจะต้องดาเนินการให้มีความเป็นธรรมหรือความเสมอ ภาคทางสังคมและความยุติธรรมที่มีผู้ได้รับผลกระทบจากการอนุรักษ์แนวเชื่อมต่อ โดยมีเจ้าของที่ดินเข้ามา เกี่ยวข้องที่ต้องการได้รับค่าใช้จ่ายและผลประโยชน์ที่ได้รับหรือผู้ที่ได้รับจากการบริการในอนาคต โดยเฉพาะประชาชนที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์แนวเชื่อมต่อที่ไม่เกี่ยวกับสิทธิในผลประโยชน์นั้นๆ ความเท่าเทียมกันทางสังคมโดยเฉพาะเจ้าของที่ดินหรือผู้มีสิทธิในที่ดินจะจัดการพื้นที่ของเขา ได้อย่างไร ความเสมอภาคทางสังคมและความยุติธรรมจะต้องจัดให้มีความเหมาะสมและสัมพันธ์กับ ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น นโยบายของรัฐบาลจะต้องกาหนดกฎเกณฑ์ในที่ดินของเอกชนเพื่อให้ดาเนินการกับการจัดการ แนวเชื่อมต่อที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ เจ้าของที่ดินจะต้องให้ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย เช่น การป้ องกันน้าเสียหรือการป้ องกันดินพังทลาย รัฐบาลจะต้องจ่ายค่าเวนคืนในการใช้ที่ดินเพื่อให้เป็น สาธารณประโยชน์ แต่ในส่วนของรัฐบาลส่วนใหญ่จะใช้วิธีการเจรจากับเจ้าของที่ดิน การสนับสนุนให้เห็น ถึงความสาคัญของการอนุรักษ์แนวเชื่อมต่อโดยการให้สัมปทานในกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง ความเหมาะสมและความเท่าเทียมกันระหว่างผลประโยชน์ทางสาธารณะกับสิทธิในส่วนบุคคล ที่จะต้องนามาพิจารณาเป็นกรณีๆ ไป นโยบายในการให้ความสมบูรณ์ของพื้นที่สาธารณะอาจจะมีความเสี่ยง เกิดขึ้นรัฐบาล เพียงแต่เข้าไปควบคุมกิจการและมีความชัดเชนอย่างสมเหตุสมผลในเรื่องการทาลายพื้นที่ของ ชุมชน โดยเฉพาะเจ้าของที่ดิน แนวทางในการพัฒนาพื้นที่ดินในอนาคตจะต้องกาหนดค่าเวนคือให้ เหมาะสม โดยเฉพาะการพัฒนาทางอุตสาหกรรม การเกษตรและผลิตผลต่างๆ ที่เกิดขึ้น หากมีการอนุรักษ์
  • 17. - 16 - แนวเชื่อมต่อเข้าไปดาเนินการอย่างน้อยก็ต้องจ่ายค่าชดเชย ขณะเดียวกันจะต้องมีการประเมินประสิทธิภาพ ของการปฏิบัติงานเพื่อให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ข้อกาหนดที่เข้มงวดในการใช้ประโยชน์ที่ดินหรือทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่เพื่อการจัดการ แนวเชื่อมต่อ ต้องการป้องกันภัยจากสัตว์ป่า การควบคุมชนิดพันธุ์พืช การปลูกพืชในพื้นที่ที่โล่งแจ้งหรือใน ทุ่งหญ้า เนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ การสนับสนุนให้รัฐบาลจ่ายค่าเสียหายที่เกิดขึ้นจาก ผลกระทบในการพัฒนาทางเศรษฐกิจและการบริการของระบบนิเวศ นโยบายของสาธารณะในข้อตกลงควรที่จะมีส่วนร่วมของภาคเอกชน หรือชุมชนท้องถิ่น การสนับสนุนให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมกรณีตัวอย่างในประเทศออสเตรเลียเกี่ยวกับการเวนคืนที่ดินตาม หลักของการจัดการดังนี้ 1. หลีกเลี่ยงการทาลายพื้นที่ป่าไม้ที่เป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดการลดลงหรือการทาลายถิ่นที่อาศัย 2. การอนุรักษ์พื้นที่ดิน 3. การป้องกันแหล่งต้นน้าลาธาร 4. การป้องกันการเกิดขึ้นของชนิดพันธุ์พืชที่เป็นพืชรุกราน 5. การป้องกันการแพร่กระจายของชนิดพันธุ์ในที่ดินจากพืชและสัตว์ 6. มีการกาหนดข้อห้ามในบางเรื่องที่ตกลงกัน ประเภทของธรรมาภิบาล ไม่มีรูปแบบใดของรัฐบาลที่เหมาะสมในการบริหารจัดการแนวเชื่อมต่อ การบริหารจัดการจะมี ความสลับซับซ้อนในพื้นที่แนวเชื่อมต่อ ทั้งนี้ เพราะการนาเอากระบวนการ หลักการ วิธีการไปใช้ในพื้นที่ ที่แตกต่างกัน รัฐบาลมีหน้าที่รับผิดชอบการจัดการที่ดินที่มีเอกสารสิทธิ์ ผู้ครอบครองที่ดินหรือการซื้อคืน รัฐบาลจะต้องควบคุมการดาเนินงานการอนุรักษ์แนวเชื่อมต่อ โดยใช้วิธีการที่มีการจัดการอย่างมีส่วนร่วมใน การจัดการพื้นที่คุ้มครอง การจัดการพื้นที่แนวเชื่อมต่อมักจะมีเปลี่ยนแปลงบ่อยๆ มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เช่น การเปลี่ยนแปลงผู้มีส่วนร่วม การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของพื้นที่ การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ ความต้องการด้านการจัดการ ความเหมาะสมของพื้นที่แนวเชื่อมต่อขึ้นอยู่กับระดับของพื้นที่ ระดับของ รัฐบาลที่มีความสามารถในการจัดการ บทบาทขององค์กรพัฒนาเอกชน เจ้าของที่ดิน สิทธิในการใช้ ประโยชน์ของเอกชน ชุมชนท้องถิ่นและชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม ระดับของการบริหารจัดการ หากจะมีการพิจารณาถึงการบริหารจัดการแนวเชื่อมต่อในระดับท้องถิ่น รัฐบาลท้องถิ่นจะต้อง มีการป้ องกันพื้นที่ป่าไม้ที่เป็นแนวรั้ว หรือพื้นที่ป่าไม้ตามริมลาน้า หรือเชิงเขา เพื่อให้เป็นแนวเชื่อมต่อ สาหรับสัตว์ป่า หากว่าเป็นพื้นที่ขนาดใหญ่ อาจจะมีการจัดซื้อที่ดินคืนโดยภาครัฐก็ได้ เนื่องจากมีชุมชนใช้
  • 18. - 17 - ประโยชน์ในที่ดิน หากว่าพื้นที่คุ้มครองที่กาหนดโดยกฎหมายก็จะไม่มีปัญหา แต่พื้นที่ที่อยู่ระหว่างพื้นที่ คุ้มครองจะมีการใช้ประโยชน์โดยเจ้าของที่ดิน พื้นที่ที่ถูกนาไปใช้ประโยชน์ด้วยเหตุผลจากการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศที่ทาให้เกิด การจัดการที่ดินเป็นสาคัญ บางพื้นที่ของทั้งสองพื้นที่คุ้มครองเมื่อจัดทาเป็นแนวเชื่อมต่อก็จะเป็นบริหาร จัดการร่วมกันระหว่างสองพื้นที่ เช่น Yellowstone National Park กับ Yukon National Park ได้มีการสร้าง ความร่วมมือจัดการแนวเชื่อมต่อระหว่างสองพื้นที่ ความท้าทายของพื้นที่แนวเชื่อมต่อที่มีขนาดใหญ่ การควบคุมพื้นที่ดินและสิทธิการใช้ประโยชน์ที่สาคัญในการจัดการแนวเชื่อมต่อ ควรให้มี การจัดการอย่างมีส่วนร่วมโดยเฉพาะชุมชนท้องถิ่น ระดับของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ความสนใจและ การสนับสนุนจากรัฐบาลกลางและระดับพื้นที่หรือท้องถิ่นในพื้นที่คุ้มครอง การจัดการของภาครัฐ กฎเกณฑ์ ความรับผิดชอบในการควบคุมที่ดินประเภทต่างๆ เช่น ป่ าไม้ของชาติ การควบคุมมลพิษ การประมง การเกษตร การประปา เหมืองแร่ หรือการควบคุมอย่างอื่น และความรับผิดชอบด้านสิ่งก่อสร้าง (ถนน สายไฟแรงสูง) ซึ่งจะต้องได้รับความร่วมมือของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในระดับต่างๆ ที่เกี่ยวกับผลประโยชน์ที่ เกิดขึ้นจากพื้นที่ดิน การใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่แนวเชื่อมต่อที่เราสามารถพบเห็นได้มาก เช่น การจัดการป่าไม้ การจัดการทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ การเกษตร ไร่นา หรือการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ การพัฒนาในด้านต่างๆ ของชุมชนท้องถิ่น จะต้องได้รับการพิจารณาในการจัดการแนวเชื่อมต่อ ความสาคัญทางเศรษฐกิจ การลงทุนในกิจกรรมที่จะต้องใช้ผลผลิตหรือการบริการของระบบ นิเวศในเขตแนวเชื่อมต่อให้มีประโยชน์ทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะในพื้นที่ดินที่เป็นกรรมสิทธิ์ของบุคคลที่ เป็นประโยชน์ส่วนตัว จะต้องนามาพิจารณาร่วมด้วย ข้อตกลงของภาครัฐกับผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการแนวเชื่อมต่อที่เป็นพื้นที่คุ้มครอง ที่ดิน ของรัฐจะต้องมีข้อกาหนดนโยบายร่วมกัน การกาหนดบทบาทและหน้าที่ ในการศึกษาวิจัย การจัดการ หากว่ามีผู้ส่วนได้ส่วนเสียอยู่ในเขตแนวเชื่อมต่อจะต้องมีข้อตกลงร่วมกัน ในข้อตกลงสามารถดาเนินการได้ ในสองลักษณะ คือ 1. ภาครัฐดาเนินการจัดการแนวเชื่อมต่อ และให้ชุมชนท้องถิ่นหรือรัฐท้องถิ่นดาเนินการ จัดการที่ดิน 2. ผู้มีกรรมสิทธิ์ในที่ดินในเขตแนวเชื่อมต่อเป็นผู้ดาเนินการ ยุทธศาสตร์การดาเนินงานในรูปแบบการดาเนินงานของท้องถิ่น การจัดการแนวเชื่อมต่อที่มีการปฏิบัติในพื้นที่ของหน่วยงานที่มีประสิทธิภาพ ที่ดาเนินการโดย การแนะนาของภาครัฐและการบริหารที่ภาครัฐเป็นผู้สนับสนุนงบประมาณโดยการมีส่วนร่วมและ
  • 19. - 18 - ความร่วมมือจากภาครัฐทุกระดับ องค์กรต่างๆ หลายองค์กรจะคานึงถึงความหลากหลายของการใช้ ประโยชน์ในที่ดินเพื่อกาหนดให้เป็นการจัดการแนวเชื่อมต่อในทุกระดับของชุมชนที่มีการสนับสนุนการ อนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพและการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน หลักการบริหารจัดการโดยมีหน่วยงานที่สนับสนุนงบประมาณเป็ นหลักจะต้องมี ความรับผิดชอบดาเนินการอย่างใกล้ชิด มีหลักการทางานที่มีข้อเท็จจริง ในบางพื้นที่ที่เป็นที่อาศัยของชุมชน ท้องถิ่นที่มีประเพณีวัฒนธรรม การจัดการพื้นที่ดินและร่วมรับผิดชอบการอนุรักษ์ธรรมชาติในพื้นที่แนว เชื่อมต่อ หรือมีการดาเนินงานโดยสมาคมในท้องถิ่นมากกว่าในการดาเนินงานของภาครัฐ ในกรณีที่มี การกระจายอาจไปยังท้องถิ่น เป็นการให้อานาจในการดาเนินงานในพื้นที่อย่างใกล้ชิดและเพื่อให้มี ความสะดวกในการบริหารจัดการ เพื่อลดภาระการใช้บุคลากรจากส่วนกลางหรือภาครัฐ ให้มีผู้มี ความสามารถในการดาเนินงานกับสิ่งก่อสร้างต่างๆ การแก้ไขปัญหาข้อขัดแย้งระหว่างกลุ่มชุมชนต่างๆ การกระจายอานาจต้องระมัดระวังในเรื่องที่เกี่ยวข้อง คือ “การกระจายอานาจสู่ท้องถิ่นเป็นการยาก ถ้าหากว่าไม่ได้รับความร่วมมือจากผู้ใช้ประโยชน์ใน และนอกท้องถิ่น โดยเฉพาะคุณค่าของทรัพยากรธรรมชาติที่เป็นแรงจูงใจให้ชุมชนท้องถิ่นดาเนินการเพื่อ ผลประโยชน์ของตนเอง การที่จะจูงใจให้ชุมชนท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการจะต้องมีหน่วยงาน รับผิดชอบเพื่อให้มีความร่วมมือจากผู้ใช้ประโยชน์นอกท้องถิ่นให้เข้ามามีส่วนร่วมและสร้างความเข้มแข็ง ในการบริหารจัดการแนวเชื่อมต่อจะทาให้มีการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น” ในระยะเริ่มแรกของการจัดการแนวเชื่อมต่อที่ต้องคานึงถึงคือสภาพเศรษฐกิจของชุมชนใน ท้องถิ่นเป็นหลัก รัฐบาลระดับท้องถิ่นควรจะได้ดาเนินการเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์ที่ดิน มีการวางแผนและ การพัฒนา การควบคุมโดยใช้กฎหมายในชุมชนท้องถิ่น ให้มีการเลือกตั้งผู้แทนเข้ามาจัดการพื้นที่แนว เชื่อมต่อ อย่างไรก็ตามรัฐบาลท้องถิ่นดาเนินการจัดตั้งและการบริหารจัดการพื้นที่แนวเชื่อมต่อที่มี ผลประโยชน์ต่อชนิดพันธุ์สัตว์ป่าได้อพยพเคลื่อนย้ายได้จะเป็นการดาเนินงานของชุมชนเอง แนวเขตของ พื้นที่แนวเชื่อมต่อจะต้องมีนโยบายและกฎหมายควบคุมโดยชุมชนท้องถิ่น เช่นลักษณะของอ่างเก็บน้าหรือ พื้นที่ทางชีววิทยา แต่ถ้าหากว่ารัฐบาลท้องถิ่นขาดวินัยในการบริหารที่เน้นถึงเรื่องการพัฒนาเศรษฐกิจหรือ กิจกรรมการพัฒนามากกว่ากิจกรรมการอนุรักษ์ธรรมชาติ จะทาให้การจัดการแนวเชื่อมต่อไม่มี ประสิทธิภาพ อย่างไรก็ตามได้มีการศึกษาวิจัยการจัดการแนวเชื่อมต่อให้มีประสิทธิภาพ รัฐบาลกลางและ รัฐบาลท้องถิ่นหรือภูมิภาคจะต้องมีข้อตกลงร่วมกันในการจัดการแนวเชื่อมต่อ โดยเฉพาะรัฐบาลกลางเป็น ผู้ดาเนินการกาหนดกฎหมาย กฎระเบียบมาใช้บังคับในการดาเนินงานด้านการจัดการที่ดินที่เป็นของภาครัฐ มีการวางแผนการใช้ประโยชน์ที่ดินและมีกฎระเบียบบังคับใช้กับการบริหารจัดการแนวเชื่อมต่อ รัฐบาลควร จะให้อานาจในการจัดการพื้นที่แนวเชื่อมต่อแก่รัฐบาลท้องถิ่นและมีบทบาทในการดาเนินงานจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติตลอดจนความร่วมมือกับองค์กรพัฒนาเอกชน