SlideShare a Scribd company logo
1 of 77
Download to read offline
บทที่ 4
             เทคนิคการบริหารในสานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดนครสวรรค์

        ผูรายงานได้ดาเนิ นการศึกษาเทคนิ คการบริ หารงานของสานักงานอุตสาหกรรมจังหวัด
          ้
นครสวรรค์ ระหว่างการดาเนิ นการฝึ กประสบการณ์ วิชาชี พ พบว่าการบริ หารงานของสานักงาน
อุตสาหกรรมจังหวัดนครสวรรค์ ได้ดาเนิ นการบริ หารตามแนวทางยุทธศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็ นการ
ประเมิ นสถานการณ์ ทางเศรษฐกิ จและสังคม การประเมิ นสถานการณ์ ภายในและภายนอก การ
วิเคราะห์ ช่องว่างดาเนิ นงาน ทุ กเทคนิ คการบริ หารงานที่ กล่ าวมาข้างต้น ล้วนเป็ นประโยชน์ต่อ
การศึกษา ผูรายงานจึงได้นารายละเอียดมาเรี ยบเรี ยงไว้ ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
            ้
        1. บทนา
        2. แนวทางการจัดทายุทธศาสตร์ กรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรม
        3. เป้ าหมายของกรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรม
        4. นโยบายและแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
        5. การประเมินสถานการณ์ทางเศรษฐกิจและสังคม
        6. การประเมินสถานการณ์ภายในและภายนอก
        7. ความต้องการของผูรับบริ การและผูมีส่วนได้ส่วนเสี ย
                              ้             ้
                                ่
        8. ผลการดาเนินงานที่ผานมา
        9. แม่แบบการพัฒนาอุตสาหกรรมที่ดี
        10. การวิเคราะห์ช่องว่างการดาเนินงาน
        11. การกาหนดประเด็นยุทธศาสตร์
        12. การกาหนดแผนงานและโครงการ
        13. การบริ หารเชิงยุทธศาสตร์
        14. เวลาในการดาเนินงาน
        15. บทสรุ ปและข้อเสนอแนะ
        16. การแบ่งส่ วนราชการของกรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรม
        17. แผนปฏิบติราชการ 4 ปี
                      ั
13



1. บทนา
          การวางแผนและจัดทายุทธศาสตร์ มีความสาคัญต่อการปฏิ บติงานขององค์กร เนื่ องจาก
                                                                      ั
ยุทธศาสตร์ เปรี ยบเสมือนแผนที่ กาหนดเส้นทางและวิธีการในการดาเนิ นงานเพื่อให้เป็ นไปตาม
วัตถุประสงค์และเป้ าหมายที่องค์กรกาหนด การจัดทายุทธศาสตร์ ตองมีการวางแผนโดยหน่วยงาน
                                                                  ้
และบุคลากรที่เกี่ยวข้องในหลายระดับ โดยเฉพาะในระดับของการนาองค์กร และการปฏิบติงาน         ั
ผ่านขบวนการกาหนดเป้ าหมาย การวิเคราะห์ปัจจัยภายในภายนอก การกาหนดทิศทางและแนวทาง
ในการปฏิ บติงาน ทั้งนี้ ยุทธศาสตร์ ขององค์กรภาครัฐ ควรมุ่งเน้นที่ การให้บริ การกลุ่มเป้ าหมาย
             ั
อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ (Efficiency) มีคุณภาพ (Effectiveness) และเป็ นไปตามความต้องการของ
ผูรับบริ การและผูมีส่วนได้ส่วนเสี ยขององค์กร (Stakeholder’s Satisfaction)
  ้              ้
          ในช่ วง 2 ปี ที่ผ่านมา กรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรม ได้จดตั้งสานักบริ หารยุทธศาสตร์ ขึ้นเพื่อ
                                                             ั
เป็ นศูนย์กลางในการวางแผน จัดทาแผนยุทธศาสตร์ บริ หารแผนงบประมาณ กากับและติดตามการ
ดาเนิ นงานตามตัวชี้ วด และการให้บริ การข้อมูลข่าวสารที่ เป็ นประโยชน์ต่อผูประกอบการธุ รกิ จ
                          ั                                                   ้
อุตสาหกรรม นอกจากนี้ ยังได้มีการแต่งตั้ง (1) คณะกรรมการกาหนดนโยบายและแผนยุทธศาสตร์
(2) คณะทางานจัดทาแผนปฏิ บติราชการ และแผนยุทธศาสตร์ ตามคาสั่งแต่งตั้งในภาคผนวก ก.
                                   ั
เพื่อให้เกิดความร่ วมมือของทุกฝ่ ายในการวางแผนยุทธศาสตร์ ของกรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรม โดย
จะจัดประชุมคณะทางาน และคณะกรรมการระหว่างเดือนพฤศจิกายน – เดือนธันวาคม ของทุกปี
          การวางแผนยุทธศาสตร์ เป็ นส่ วนหนึ่ ง ของการบริ หารยุท ธศาสตร์ ซ่ ึ งทั้ง หมดตั้ง อยู่บ น
พื้นฐานหลักการ Plan-Do-Check-Action กล่าวคือ องค์กรเริ่ มจากการประเมินปั จจัยแวดล้อมทั้ง
ภายในและภายนอก จัดท ายุทธศาสตร์ และแผนปฏิ บติการ นายุท ธศาสตร์ ไ ปปฏิ บ ติ และก ากับ
                                                          ั                          ั
ติ ด ตามการดาเนิ นงานให้เ ป็ นไปตามเป้ าหมายตัวชี้ วัด ที่ ก าหนด ซึ่ งขบวนการดัง กล่ า วจะเป็ น
ขบวนการที่ ไ ม่ มี ที่ สิ้ นสุ ดและจะต้องปรั บ เปลี่ ย นไปตามสภาวการณ์ ส าหรั บ หลัก การวางแผน
ยุทธศาสตร์ ของกรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรม ส่ วนยุทธศาสตร์ และแผนงาน สานักบริ หารยุทธศาสตร์
ได้กาหนดขั้นตอนซึ่ งสอดคล้องกับรู ปแบบการวางแผนยุทธศาสตร์ ทวไป และได้คิดค้นเครื่ องมือ
                                                                      ั่
ซึ่ งช่วยในการวิเคราะห์ขอมูลและกาหนดทิศทางของแผน ดังที่จะกล่าวต่อไป
                             ้
         นับ แต่ ก ระแสโลกาภิ วตน์ (Globalization) ได้เข้า มามี บ ทบาทต่ อระบบเศรษฐกิ จโลก
                                ั
องค์กรไม่ว่าจะเป็ นภาครั ฐหรื อเอกชนจาเป็ นต้องปรับตัวให้เข้ากับบริ บทของการเปลี่ ยนแปลงที่
เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ ว (Dynamics) หลายครั้งที่เกิดคาถามขึ้นว่า การวางแผนยุทธศาสตร์ จะก่อให้เกิด
ประโยชน์ตามทฤษฎีหรื อตามที่เคยคาดหวังมากน้อยเพียงใด เนื่ องจาก ความแปรปรวนของปั จจัย
14



          ่
ต่าง ๆ อยูในระดับสู งจนแผนที่ได้ตระเตรี ยมเป็ นอย่างดีในแต่ละปี อาจเป็ นแค่ขอความในกระดาษที่
                                                                            ้
ไม่สามารถนามาใช้ได้จริ ง และเป็ นการสิ้ นเปลืองเวลา อย่างไรก็ตาม การวางแผนยุทธศาสตร์ ก็ยงมี
                                                                                        ั
                                                                              ่
ความจาเป็ น เพราะหน่วยงานต่าง ๆ ได้มีโอกาสทบทวนผลการดาเนิ นงานที่ผานมาของตนเอง ได้
เข้าใจสภาพปั ญหาทั้งภายในและภายนอก และได้มีการกาหนดเป้ าหมายองค์กรร่ วมกัน ทั้งนี้ แผน
ยุทธศาสตร์ ควรมีการทบทวนเป็ นรายปี และในกรณี ที่มีเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงด้านนโยบาย หรื อ
เกิดวิกฤตการณ์ที่ส่งผลกระทบกับความอยูรอดขององค์กร ก็ควรมีความถี่ในการทบทวนเพิ่มขึ้น
                                         ่
2. แนวทางการจัดทายุทธศาสตร์ กรมส่ งเสริมอุตสาหกรรม
         จากการศึกษาแนวทางการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ พบว่า การวางแผนยุทธศาสตร์ มีหลักการ
3 ขั้นตอน ได้แก่ การรวบรวมข้อมูล (Information Input) การกาหนดรู ปแบบแนวทาง (Searching
for Pattern) และการเลือกใช้ยุทธศาสตร์ (Strategy Adoption) ดังแสดงในรู ปที่ 1 โดยในแต่ละขั้นมี
องค์ประกอบดังนี้




                           รู ปที่ 1 แบบจาลองการวางแผนยุทธศาสตร์

         1. การรวบรวมข้ อมูล (Information Input) เป็ นการรวบรวมข้อมูลทั้งภายในและภายนอก
องค์กร โดยข้อมูลภายในองค์กร จะเป็ นข้อมูลเกี่ยวกับนโยบาย ความต้องการ และผลการดาเนิ นงาน
ที่ผานมา ส่ วนข้อมูลภายนอกองค์กรจะเป็ นข้อมูลความต้องการของผูรับบริ การและผูมีส่วนได้ส่วน
     ่                                                               ้            ้
เสี ยกับองค์กร เช่น หน่วยร่ วมดาเนินงาน เจ้าหน้าที่องค์กร ผูได้รับผลกระทบจากการดาเนินงานของ
                                                            ้
องค์กร เป็ นต้น ผลกระทบของปั จจัยทางเศรษฐกิ จ สังคม และสิ่ งแวดล้อม ตลอดจนข้อมูลตัวอย่าง
ความเป็ นเลิศในการดาเนินงาน ซึ่ งสามารถกล่าวโดยสังเขปดังนี้
                  1.1 นโยบายและแผนแม่บท (Policies and Plans) สาหรับองค์กรภาครัฐแล้ว สิ่ งที่
                      ต้อ งติ ด ตามและตี ค วามเพื่ อ วางแผนด าเนิ น การ คื อ นโยบายรั ฐ บาล และ
                      แผนพัฒนาประเทศที่เกี่ ยวข้อง ตัวอย่างเช่ น แผนพัฒนาเศรษฐกิ จและสังคม
15



                       แห่งชาติ แผนแม่บทการพัฒนาประสิ ทธิ ภาพและผลิตภาพที่เกี่ยวข้องและมีผล
                       ต่อการปฏิบติงานของกระทรวงอุตสาหกรรม เป็ นต้น
                                       ั
                   1.2 การดาเนิ นงานที่ ผ่านมา (Past Performance) หลักการบริ หารที่ ดีกล่ าวว่า
                       จะต้องมีการวางแผน การดาเนินงานตามแผน การติดตามประเมินผล และการ
                       ปรับปรุ งการดาเนิ นงาน ดังนั้นผลการดาเนิ นงานที่ผ่านมาจึงเป็ นข้อมูลที่ช่วย
                       ในการก าหนดทิ ศ ทางในอนาคต ตัว อย่า งผลการด าเนิ น งานที่ ผ่า นมาของ
                       องค์กรภาครัฐ ได้แก่ ผลผลิ ต ผลลัพธ์ และผลกระทบของการปฏิ บติงานใน      ั
                                     ่
                       ช่วงเวลาที่ผานมา
                   1.3 ข้อมูลด้านมหภาค (Macro Perspective) กล่าวกันว่า “รู ้ เขารู ้ เรา รบร้ อยครั้ง
                       ชนะร้อยครั้ง” มีความหมายว่าการวางแผนจะต้องมีขอมูลภายนอกองค์กรด้วย
                                                                           ้
                       ซึ่ งโดยทัวไปแล้ว ข้อมูลดังกล่าวนอกจากจะเกี่ยวกับเศรษฐกิจ การเมือง สังคม
                                 ่
                       และสิ่ งแวดล้อมแล้ว ยังต้องมีขอมูลของคู่แข่ง (หน่ วยงานที่มีการดาเนิ นงาน
                                                        ้
                       ในลักษณะคล้ายกัน)
                   1.4 ความต้องการของผูรับบริ การและผูมีส่วนได้ส่วนเสี ย (Stakeholder Needs)
                                             ้             ้
                       ปั จจุ บนองค์กรต่าง ๆ ให้ความสาคัญกับผูรับบริ การและผูมีส่วนได้ส่วนเสี ย
                               ั                                 ้                ้
                       เนื่ องจากว่า การแข่ง ขัน หรื อผลกระทบของการดาเนิ นงานจะขึ้ นกับความ
                       ต้องการของผูเ้ กี่ ยวข้องทั้งหมด สาหรับองค์กรภาครัฐนั้น ผูรับบริ การและผูมี
                                                                                    ้                   ้
                       ส่ ว นได้ส่ วนเสี ย ได้แก่ ประชาชนผูรั บ บริ ก าร หน่ ว ยงานที่ ร่ วมให้ บ ริ ก าร
                                                             ้
                       รวมถึ งเจ้าหน้าที่ ภายในองค์กร ที่จะต้องได้รับการเอาใจใส่ ถึงความต้องการ
                       เหล่านั้น
                   1.5 ตัวอย่างความเป็ นเลิศ (Best Practices) ช่วยให้องค์กรซึ่ งมีลกษณะของงานที่
                                                                                      ั
                       เหมือนกันสามารถดูตวอย่างการปฏิ บติงานที่ดีกว่าหรื อเหนื อกว่า และนามา
                                               ั               ั
                                   ั
                       ปรับใช้กบองค์กรของตนให้มีขีดความสามารถและสมรรถนะที่ดีข้ ึน หลักการ
                       ที่ช่วยในการเสาะหา หยิบยืม และปรับปรุ งตัวอย่างความเป็ นเลิศซึ่ งเป็ นที่นิยม
                       ขององค์กรธุ รกิจได้แก่ หลักการ Benchmarking
          2. การกาหนดรู ปแบบแนวทาง (Searching for Patterns) เป็ นขั้นตอนการวิเคราะห์ขอมูล          ้
ต่าง ๆ ที่ได้จากขั้นแรก เพื่อกาหนดทิศทางความเป็ นไปได้ในการดาเนิ นงาน ประเด็นที่จะวิเคราะห์
ส่ วนใหญ่ จะเกี่ ย วกับ ความสามารถขององค์ก รที่ จะท าให้ไ ด้ตามเป้ าหมาย ซึ่ ง แน่ นอนว่า ปั จจัย
ภายนอกก็มีส่วนที่จะกระทบความสามารถขององค์กรในการที่จะขับเคลื่อนองค์กรด้วย ตัวอย่างเช่น
กฎหมายด้านสิ่ งแวดล้อม จานวนคู่แข่ง แนวโน้มเศรษฐกิ จโลก เป็ นต้น นอกจากนี้ องค์กรควรมี
16



ทางเลือกเกี่ ยวกับยุทธศาสตร์ หลาย ๆ ประเด็นโดยผูบริ หารหรื อผูวางแผนยุทธศาสตร์ จะต้องเลือก
                                                         ้          ้
ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ดีและเหมาะสมที่ สุด ซึ่ งเครื่ องมือที่ ใช้ในการวิเคราะห์ขอมูลส่ วนใหญ่เป็ น
                                                                                     ้
เครื่ องมือด้านบริ หารจัดการ เช่ น การวิเคราะห์ SWOT การวิเคราะห์ช่องว่างทางยุทธศาสตร์ การ
วิเคราะห์ขอบข่ายการให้บริ การ (BCG Model และ GE McKinsey Model) เป็ นต้น เครื่ องมือเหล่านี้
สามารถนามาประยุกต์ใช้ในการวางแผนได้เป็ นอย่างดี ในขั้นของการกาหนดทิศทางยุทธศาสตร์ น้ ี
ประเด็นสาคัญคือเป้ าหมายที่องค์กรอยากจะเป็ นหรื อขับเคลื่ อนไปให้ถึง ซึ่ งสะท้อนอยูในรู ปของ  ่
วิสัยทัศน์ (Vision) พันธกิจ (Mission) และค่านิ ยม (Value) ที่เป็ นเอกลักษณ์เฉพาะตัวขององค์กร
หนึ่ ง ๆ ประเด็นเหล่านี้ เปรี ยบเสมือนเป้ าหมาย และหน้าที่ความรับผิดชอบที่องค์กรจะต้องปฏิบติ            ั
นันเอง
   ่
               วิสัยทัศน์ (Vision) คือ สิ่ งที่องค์กรอยากจะเป็ นในอนาคต วิสัยทัศน์จะต้องอยูบน        ่
                  พื้นฐานความเป็ นไปได้ เป็ นเรื่ องท้าทายและต้องเป็ นสิ่ งที่ยงไม่เกิดขึ้นในปั จจุบน
                                                                               ั                    ั
               พันธกิ จ (Mission) คือ วัตถุประสงค์ในการดาเนินงานขององค์กร ซึ่ งรวมถึงแนว
                  ทางการดาเนินงาน โดยไม่มีเงื่อนเวลามาเกี่ยวข้อง
               ค่านิ ยม (Value) คือ วัฒนธรรม หรื อ ความเชื่ อร่ วมกันของคนในองค์กรเกี่ ยวกับ
                  แนวทางการปฏิบติงานและการอยูร่วมกันในองค์กร
                                   ั                 ่
          3. การเลือกใช้ ยุทธศาสตร์ (Strategy Adoption) หลังจากการวิเคราะห์ขอมูล และปั จจัย
                                                                                        ้
ต่าง ๆ ทาให้ได้ประเด็นยุทธศาสตร์ หลาย ๆ ทางเลือกแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือหน้าที่ของผูบริ หารที่จะ้
กาหนดและเลือกยุทธศาสตร์ ที่เหมาะสมที่สุด โดยในแต่ละยุทธศาสตร์ จะต้องกาหนดความชัดเจน
ในเรื่ องวิธีการและแผนปฏิบติการ สาหรับองค์กรภาครั ฐ จะใช้หลักการแบบ ABC ในการพิจารณา
                               ั
ถึงด้านความเหมาะสม ได้แก่
               ความเข้ากันได้ของยุทธศาสตร์ และภารกิจขององค์กร (Alignment)
               ประโยชน์และต้นทุนการดาเนินงาน (Benefit & Cost)
               ความสามารถของบุคลากรที่จะปฏิบติงาน (Capability)
                                                       ั
              หลักการทั้งสามอย่าง มุ่งเน้นที่ความสามารถในการปฏิบติตามยุทธศาสตร์ ได้อย่างเป็ น
                                                                      ั
รู ปธรรม และตอกย้าถึงการทาตามภารกิจขององค์กร
3. เป้ าหมายของกรมส่ งเสริมอุตสาหกรรม
      การแบ่งส่ วนราชการของกรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ตาม
กฎกระทรวง พ.ศ.2551 มีใจความสาคัญ ดังนี้
17



          “ให้ กรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรม มีภารกิจเกี่ยวกับการเสริ มสร้ าง ส่ งเสริ ม สนับสนุน และ
          พัฒนาอุตสาหกรรม วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่ อม วิสาหกิจชุมชน ผู้ประกอบการ
          และผู้ใ ห้ บ ริ ก ารธุ รกิ จอุตสาหกรรม เพื่ อเพิ่ มสมรรถนะและขี ดความสามารถในการ
          แข่ งขันด้ วยนวัตกรรม องค์ ความรู้ ภูมิปัญญา และธรรมาภิบาล”

           จะเห็นว่าขอบข่ายความรับผิดชอบของกรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรมครอบคลุมกลุ่มเป้ าหมาย
ซึ่ งเป็ นอุตสาหกรรมการผลิ ต และอุ ตสาหกรรมบริ การ อย่างไรก็ดี เนื่ องจากปั จจุ บนมีหน่ วยงาน
                                                                                 ั
จานวนมากซึ่ งหันมาทาหน้าที่ส่งเสริ มและสนับสนุนวิสาหกิจ SMEs และวิสาหกิจชุมชน ทาให้กรม
ส่ งเสริ มอุตสาหกรรมต้องปรับบทบาทและเป้ าหมายการดาเนิ นงานใหม่ โดยการเพิ่มเครื่ องมือ และ
แนวทางการส่ งเสริ มเพื่อให้ทนต่อความเปลี่ยนแปลง
                             ั

         จากการประชุ มหารื อกับผูบริ หารระดับสู งของกรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรม ได้มีการกาหนด
                                    ้
วิสัยทัศน์ (Vision) สาหรับอีก 4 ปี ข้างหน้า (พ.ศ.2553-2556) ไว้ดงนี้
                                                                ั

วิสัยทัศน์

          “กรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรมเป็ นองค์ กรหลักในการนาภูมิปัญญา นวัตกรรม องค์ ความรู้
          เพื่อการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมไทยให้ มนคง และพึ่งพาตนเองได้ อย่ างยังยืน”
                                                ั่                           ่
       นอกจากนี้ ยังได้มีการกาหนดพันธกิจ (Mission) ของกรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรมที่สามารถ
ดาเนินการเพื่อตอบสนองเป้ าหมายวิสัยทัศน์ ไว้ดงนี้
                                             ั




พันธกิจ

          “ส่ งเสริ ม สนั บ สนุ น พั ฒ นาอุ ต สาหกรรม ผู้ ป ระกอบการ วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน และผู้
          ให้ บริ การธุ ร กิ จ อุ ต สาหกรรม เพื่ อ ให้ มี ส มรรถนะและขี ด ความสามารถในการ
          ประกอบการที่เป็ นเลิศ ด้ วยนวัตกรรม องค์ ความรู้ ภูมิปัญญา และธรรมาภิบาล”
       เมื่อตีความจากวิสัยทัศน์และพันธกิจข้างต้น จะเห็ นว่า กรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรมเน้นการ
พัฒนากลุ่ ม เป้ าหมายให้สามารถดาเนิ นธุ รกิ จด้วยตนเองได้อย่า งมันใจ โดยสนับ สนุ นให้ส ร้ า ง
                                                                     ่
นวัตกรรม และการใช้องค์ความรู ้ท้ งที่เป็ นระดับท้องถิ่ น และที่ได้รับการพัฒนาในระดับสากล ใน
                                 ั
18



การสร้ างมู ล ค่ า เพิ่ ม แก่ สิ นค้ า และบริ การ ผ่ า นความร่ วมมื อ กั บ เครื อข่ า ยผู ้ ใ ห้ บ ริ การ
(สถาบันการศึ กษา สถาบันวิจย องค์กรภาครั ฐและเอกชน) ในลักษณะของการเป็ น หุ ้นส่ วนการ
                                  ั
พัฒนาประเทศ หรื อ Private – Public – Partnership
           สาหรับค่านิยมที่ถูกกาหนดโดยคณะทางานด้านยุทธศาสตร์ ของกรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรม
ได้อางอิงถึงหลักการ “I AM READY” ของสานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบข้าราชการ (กพร.)
      ้
โดยได้มีการพิจารณาถึ งปั จจัยที่คิดว่าสาคัญต่อการพัฒนาองค์กร ซึ่ งได้แก่ การปรับตัวให้ทนโลกั
(Adaptation) และการมุ่งเน้นประสิ ทธิ ภาพ (Efficiency) ซึ่ งทั้งสองเรื่ องจะเป็ นพันธะยึดเหนี่ยวให้
                                                        ่
บุคลากรของกรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรมมีความยืดหยุนในการปฏิบติงานตามสถานการณ์ของโลกที่
                                                                   ั
เปลี่ ยนแปลงอย่างรวดเร็ วเช่ นในปั จจุบน ขณะเดี ยวกันก็ไม่ลืมผลิ ตภาพและประสิ ทธิ ภาพในการ
                                         ั
ดาเนินงานตามภารกิจที่รับผิดชอบ
           สาหรับเป้ าหมายสู งสุ ดของการส่ งเสริ มอุตสาหกรรม คือ การได้เห็ นวิสาหกิ จเติบโตไปสู่
จุดที่เรี ยกว่า “World Class Organization” ซึ่ งมีลกษณะที่สาคัญได้แก่ องค์กรมีความสามารถในการ
                                                   ั
แข่งขันสู ง มีการบริ หารที่ได้มาตรฐานสากล มีภูมิคุมกันต่อพลวัตรเศรษฐกิจโลก และมีความเป็ น
                                                      ้
ผูนาในสาขาอุตสาหกรรมนั้น ๆ การที่ จะผลักดันให้กลุ่มเป้ าหมายของกรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรม
  ้
ไปสู่ จุดนี้ ได้ จาเป็ นต้องมีกระบวนการคัดเลือก และบ่มเพาะวิสาหกิจที่มีประสิ ทธิ ภาพ และมีความ
ต่อเนื่อง ภาครัฐและเอกชนต้องให้ความร่ วมมือ จึงจะประสบความสาเร็ จ

4. นโยบายและแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
              นโยบาย (Government Policy) และแผนพัฒนาเศรษฐกิจ (Development Plan) ของประเทศ
เปรี ยบเสมือนแผนที่นาทางไปยังจุดหมายที่รัฐบาลและผูรับบริ การและผูมีส่วนได้ส่วนเสี ยกาหนด
                                                                ้              ้
ซึ่ ง ยัง มิ ได้ล งรายละเอี ยดถึ ง วิธี การ และทรั พ ยากรที่ จาเป็ นต้องใช้ใ นการไปให้ถึ งเป้ าหมา ยนั้น
หน่ วยงานภาครัฐที่เกี่ ยวข้องกับนโยบายและแผนพัฒนาประเทศ จาเป็ นต้องศึกษารายละเอียดเพื่อ
ก าหนดแนวทาง มาตรการ และขบวนการด าเนิ น งานให้ ส อดคล้อ งกับ ภารกิ จ ของการจัด ตั้ง
หน่วยงานนั้น ๆ โดยเฉลี่ยแล้วแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศจะมีอายุนานกว่านโยบาย
ของรัฐบาลที่ประกาศในแต่ละครั้งที่มีการจัดตั้งคณะรัฐบาล ซึ่ งในช่วงระหว่างปี 2549-2551 ได้มี
การประกาศนโยบายใหม่ถึ ง 4 ครั้ ง ทาให้ต้องมี การทบทวนเนื้ อหาและประเด็นยุทธศาสตร์ ใ ห้
สอดคล้องกันหลายครั้ง อย่างไรก็ตาม จะพบว่านโยบายรัฐบาลส่ วนใหญ่จะเรี ยงร้อยตามแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และได้มีการเพิมเติมประเด็นให้ทนต่อสถานการณ์ ซึ่ งหากองค์กรของ
                                                 ่                   ั
รัฐได้มีการติดตามทบทวนสถานการณ์และปรับกลยุทธ์การดาเนิ นงานอย่างต่อเนื่ องก็จะทาให้แผน
ยุทธศาสตร์มีความทันสมัย
19



          ในการจัดทาและทบทวนยุทธศาสตร์ ของกรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรม คณะทางาน ฯ ได้ใช้
ข้อมู ล จากแนวนโยบายและแผนพัฒนาที่ เกี่ ย วข้องกับ ภารกิ จขององค์ก รต่ า ง ๆ เพื่ อตรวจสอบ
ประเด็นที่จะต้องนามาเป็ นส่ วนหนึ่งของการกาหนดแผนยุทธศาสตร์ ดังนี้
          1. รัฐธรรมนูญ
          2. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
          3. คาแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี
          4. แผนส่ งเสริ มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
          5. แผนแม่บทของกระทรวงอุตสาหกรรม
          6. ยุทธศาสตร์ การพัฒนาพื้นที่
          7. ยุทธศาสตร์กระทรวงอุตสาหกรรม
          8.
4.1 รัฐธรรมนูญ
          รัฐธรรมนู ญแห่ งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 หมวดที่ 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่ งรัฐ ได้
ระบุประเด็นที่เกี่ ยวข้องกับการปฏิ บติหน้าที่ของหน่ วยงานรัฐที่สาคัญและเชื่ อมโยงกับภารกิ จของ
                                      ั
กรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรม พอสรุ ปได้ดงนี้  ั
          1. หมวดที่ 5 ส่ วนที่ 3 มาตรา 78 (4)
                “พัฒนาระบบงานภาครั ฐ โดยมุ่งเน้ นการพัฒนาคุณภาพ คุณธรรม และจริ ยธรรมของ
เจ้ าหน้ าที่ ของรั ฐ ควบคู่ ไปกับการปรั บปรุ งรู ปแบบและวิธีการทางาน เพื่ อให้ การบริ หารราชการ
แผ่ นดิ นเป็ นไปอย่ างมี ประสิ ทธิ ภาพ และส่ งเสริ มให้ หน่ วยงานของรั ฐใช้ หลักการบริ หารกิ จการ
บ้ านเมืองที่ดีเป็ นแนวทางในการปฏิ บัติราชการ”


      2. หมวดที่ 5 ส่ วนที่ 7 มาตรา 84 (2)
          “สนับสนุนให้ มีการใช้ หลักคุณธรรม จริ ยธรรม และหลักธรรมาภิบาล ควบคู่กับการ
ประกอบกิจการ”
        3. หมวดที่ 5 ส่ วนที่ 7 มาตรา 84 (6)
            “ดาเนินการให้ มีการกระจายรายได้ อย่ างเป็ นธรรม คุ้มครอง ส่ งเสริ มและขยายโอกาส
ในการประกอบอาชี พของประชาชนเพื่ อการพัฒนาเศรษฐกิ จ รวมทั้ง ส่ งเสริ มและสนับสนุนการ
พัฒนาภูมิปั ญญาท้ องถิ่ นและภูมิปั ญญาไทย เพื่ อใช้ ใ นการผลิ ตสิ นค้ า บริ การ และการประกอบ
อาชี พ”
20



      4. หมวดที่ 5 ส่ วนที่ 7 มาตรา 84 (9)
         “ส่ งเสริ ม สนับสนุน และคุ้มครองระบบสหกรณ์ ให้ เป็ นอิ สระ และการรวมกลุ่มการ
ประกอบอาชี พหรื อวิชาชี พตลอดทั้งการรวมกลุ่มของประชาชนเพื่อดาเนินกิจการด้ านเศรษฐกิจ”
          5. หมวดที่ 5 ส่ วนที่ 7 มาตรา 84 (9)
               “ส่ งเสริ มและสนับสนุนองค์ กรภาคเอกชนทางเศรษฐกิ จทั้งในระดับชาติ และระดับ
ท้ องถิ่นให้ มีความเข้ มแข็ง”
            6. หมวดที่ 5 ส่ วนที่ 9 มาตรา 84 (1)
                “ส่ งเสริ มให้ มีการพัฒนาด้ านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมด้ านต่ าง ๆ โดย
จั ด ให้ มี ก ฎหมายเฉพาะเพื่ อ การนี ้ จั ด งบประมาณสนั บ สนุ น การศึ ก ษา ค้ น คว้ า วิ จั ย และให้ มี
สถาบันการศึ กษาและพัฒนา จัดให้ มีการใช้ ประโยชน์ จากผลการศึ กษาและพัฒนา การถ่ ายทอด
เทคโนโลยี ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภาพ และการพั ฒ นาบุ ค ลากรที่ เหมาะสม รวมทั้ ง เผยแพร่ ความรู้ ด้ า น
วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีสมัยใหม่ และสนับสนุนให้ ประชาชนใช้ หลักด้ านวิทยาศาสตร์ ในการ
ดารงชี วิต”
      7. หมวดที่ 5 ส่ วนที่ 9 มาตรา 84 (3)
         “ส่ งเสริ มและสนับสนุนการวิจัย พัฒนา และใช้ ประโยชน์ จากพลังงานทดแทนซึ่ งได้
จากธรรมชาติและเป็ นคุณต่ อสิ่ งแวดล้ อมอย่ างต่ อเนื่องและเป็ นระบบ”
        8. หมวดที่ 5 ส่ วนที่ 10 การมีส่วนร่ วมของประชน

4.2 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติ
        แผนพัฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ ฉบับ ที่ 10 (พ.ศ.2550-2554) ได้ ก าหนด
ยุท ธศาสตร์ ก ารพัฒนาประเทศตามบริ บ ทการเปลี่ ยนแปลง โดยเสริ มสร้ า งความแข็งแกร่ ง ของ
โครงสร้างของระบบต่างๆ ภายในประเทศให้มีศกยภาพ แข่งขันได้ในกระแสโลกาภิวตน์ และสร้าง
                                              ั                                ั
ฐานความรู ้ให้เป็ นภูมิคุมกันต่อการเปลี่ยนแปลงต่างๆ จากการวิเคราะห์พบว่า มีประเด็นที่เกี่ยวข้อง
                         ้
กับภารกิจของกรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรมดังนี้
        1. การพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสู่ สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรี ยนรู ้
            1.1. การพัฒนาคนให้มีมีคุณธรรม นาความรู ้ เกิดภูมิคุมกัน โดยการจัดการองค์ความรู ้
                                                               ้
                   และภูมิปัญญาท้องถิ่น
21



   1.2. การเสริ ม สร้ า งคนไทยให้อยู่ร่วมกันในสั ง คมได้อย่า งสันติ สุข โดยการพัฒนา
        ระบบการคุมครองเศรษฐกิจที่หลากหลาย และสร้างโอกาสการเข้าถึงแหล่งทุน
                     ้
2. การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและสังคมให้เป็ นรากฐานที่มนคงของประเทศ
                                                                    ั่
   2.1. การสร้างความมันคงของเศรษฐกิจชุมชน ด้วยการบูรณาการกระบวนการผลิตบน
                           ่
        ฐานศัก ยภาพ และความเข้ม แข็ง ของชุ ม ชนอย่า งสมดุ ล เน้น การผลิ ต เพื่ อ การ
        บริ โ ภคอย่า งพอเพี ย งภายในชุ ม ชน สนับ สนุ น ให้ ชุ ม ชนมี ก ารรวมกลุ่ ม ในรู ป
        สหกรณ์ กลุ่มอาชี พ สนับสนุ นการนาภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่ นมาใช้ใน
        การสร้างสรรค์คุณค่าของสิ นค้าและบริ การและสร้างความร่ วมมือกับภาคเอกชน
        ในการลงทุนสร้ างอาชี พและรายได้ที่มีการจัดสรรประโยชน์อย่างเป็ นธรรมแก่
        ชุมชน ส่ งเสริ ม การร่ วมลงทุนระหว่างเครื อข่ายองค์กรชุ มชนกับองค์กรปกครอง
        ส่ วนท้องถิ่ น รวมทั้ง สร้ า งระบบบ่ ม เพาะวิส าหกิ จ ชุ ม ชนควบคู่ ก ับ การพัฒนา
        ความรู้ดานการจัดการ การตลาด และทักษะในการประกอบอาชีพ
                  ้
3. ยุทธศาสตร์ การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลและยังยืน  ่
   3.1. การปรับโครงสร้างการผลิตเพื่อเพิ่มผลิตภาพและคุณค่าของสิ นค้าและบริ การบน
        ฐานความรู้และความเป็ นไทย โดยปรับโครงสร้างภาคเกษตร ภาคอุตสาหกรรม
        และภาคบริ การที่ใช้กระบวนการพัฒนาคลัสเตอร์ และห่ วงโซ่ อุปทาน รวมทั้ง
        เครื อข่ายชุมชนบนรากฐานของความรู ้สมัยใหม่ ภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรม
        ไทย และความหลากหลายทางชีวภาพ เพื่อสร้างสิ นค้าที่มีคุณภาพและมูลค่าสู ง มี
        ตราสิ นค้าเป็ นที่ยอมรับของตลาด รวมทั้งสร้างบรรยากาศการลงทุนที่ดี เพื่อดึงดูด
        การลงทุนจากต่างประเทศ และส่ งเสริ มการลงทุนไทยในต่างประเทศ ตลอดจน
        การบริ หารองค์ความรู ้อย่างเป็ นระบบ
   3.2. การสร้างภูมิคุมกันของระบบเศรษฐกิจ โดยการบริ หารเศรษฐกิจส่ วนรวมอย่างมี
                        ้
        ประสิ ทธิภาพเพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจให้มนคงและสนับสนุ นการปรับ
                                                              ั่
        โครงสร้างการผลิตโดยการระดมทุนไปสู่ ภาคการผลิตที่มีประสิ ทธิ ภาพ
   3.3. การสนับสนุนให้เกิดการแข่งขันที่เป็ นธรรมและการกระจายผลประโยชน์จากการ
        พัฒนาอย่างเป็ นธรรม โดยส่ งเสริ มการแข่งขันการประกอบธุ รกิ จในระบบอย่าง
        เสรี เป็ นธรรม และป้ องกันการผูกขาด กระจายการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานไปสู่
        ภู มิ ภ าคอย่า งสมดุ ล และเป็ นธรรม ให้ ป ระชาชนเข้า ถึ ง บริ ก ารได้อ ย่า งทั่ว ถึ ง
        เพียงพอ และสอดคล้องกับความต้องการของพื้นที่
4. การเสริ มสร้างธรรมาภิบาลในการบริ หารจัดการประเทศ
22



           4.1. เสริ มสร้ า งความเข้มแข็งของภาคประชาชนให้ส ามารถเข้า ร่ วมในการบริ หาร
                จัดการประเทศ โดยส่ งเสริ มให้ประชาชนรวมตัวและรวมกลุ่มสร้างเครื อข่ายการ
                ทางานร่ วมกันให้เข้มแข็ง
           4.2. สร้ างภาคราชการที่มีประสิ ทธิ ภาพและมีธรรมาภิบาล เน้นการบริ การแทนการ
                กากับควบคุม และทางานร่ วมกับหุ นส่ วนการพัฒนา เน้นการพัฒนาประสิ ทธิ ภาพ
                                                ้
                และความคุ มค่าในการปฏิ บติภารกิ จด้วยการปรับบทบาทโครงสร้ างและกลไก
                             ้              ั
                การบริ หารจัดการภาครั ฐ และรั ฐวิส าหกิ จให้มี ป ระสิ ท ธิ ภาพ ทันสมัย ลดการ
                บังคับควบคุ ม คานึ งถึ งความต้องการของประชาชนและทางานร่ วมกับหุ ้นส่ วน
                การพัฒนา


4.3 นโยบายของคณะรัฐมนตรี
        คาแถลงนโยบายการบริ หารราชการแผ่นดินของคณะรัฐมนตรี ถือว่าเป็ นกรอบแนวทางการ
บริ หารประเทศของรัฐบาลที่จะดาเนินการพัฒนาประเทศให้มนคงและยังยืน โดยทัวไปแล้วจะมีการ
                                                            ั่      ่          ่
กาหนดประเด็นเรื่ องเร่ งด่วน ความมันคง เศรษฐกิ จและสังคม และการบริ หารบ้านเมื อง เป็ นต้น
                                        ่
โดยสามารถสรุ ปเป็ นเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับงานของกรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรม ดังนี้
        4.3.1 การสร้างความเชื่ อมันและกระตุนเศรษฐกิจในภาพรวมเพื่อให้เกิดความเชื่ อมันแก่
                                      ่         ้                                      ่
              ภาคประชาชนและเอกชนในการลงทุนและการบริ โภค
                  (1) ฟื้ นฟูเศรษฐกิจที่กาลังประสบปั ญหาเป็ นการเร่ งด่วน
        4.3.2 นโยบายเศรษฐกิจ
                  (1) นโยบายปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ
                  (2) สร้างความแข็งแกร่ งและความสามารถในการแข่งขันในตลาดโลกให้กบ          ั
                        อุตสาหกรรมไทยด้วยการเพิ่มประสิ ทธิ ภาพการผลิ ตเพื่อลดต้นทุ นและ
                        เพิ่มมูลค่าให้แก่สินค้า
                  (3) ก าหนดมาตรการแก้ ไ ขปั ญ หาของแต่ ล ะอุ ต สาหกรรมและพัฒ นา
                        อุ ตสาหกรรมที่ มีศ ก ยภาพในอนาคต เช่ น อุ ตสาหกรรมผลิ ตเครื่ องจัก ร
                                            ั
                        ภายในประเทศ อุ ต สาหกรรมยานยนต์ อุ ต สาหกรรมอาหาร และ
                        อุตสาหกรรมอัญมณี เป็ นต้น
                  (4) ร่ วมมื อกับ ภาคเอกชนในการปรั บ ปรุ ง คุ ณภาพและมาตรฐานสิ นค้า ให้
                        ทัดเทียมและล้ าหน้าในระดับสากล
23



        (5) สร้ างความเข้มแข็งให้แก่อุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม โดยรัฐ
             อ านวยความสะดวกในการจัด ตั้ง เครื อข่ า ยรวมกลุ่ ม และปรั บ ปรุ ง
             มาตรฐานการปล่อยสิ นเชื่อ ขยายขอบเขตการดาเนินการให้สินเชื่อ
        (6) ส่ งเสริ มให้อุตสาหกรรมมี ความรั บผิดชอบต่อสังคม ทั้งในด้านคุ ณภาพ
             และมาตรฐานสิ นค้าและบริ การ
        (7) ขยายฐานภาคบริ การในโครงสร้ างการผลิ ตของประเทศ โดยเพิ่มความ
             หลากหลายของธุ รกิ จบริ การ เพิ่มมูลค่า เพิ่มความสามารถในการแข่งขัน
             พัฒนาแรงงานฝี มือทั้งในด้านคุณภาพและความรู ้ดานภาษา และเชื่ อมโยง
                                                                ้
             ธุ รกิจภาคบริ การ อุตสาหกรรม และเกษตรเข้าด้วยกันให้เป็ นกลุ่มสิ นค้า
        (8) ขยายตลาดสิ น ค้า และบริ ก ารส่ ง ออกของไทยโดยก าหนดกลยุท ธ์ ด้า น
             การตลาดร่ วมกับภาคเอกชนเพื่อเพิ่มส่ วนแบ่งในตลาดที่มีอยู่แล้ว และ
             ขยายฐานการตลาดไปสู่ ประเทศใหม่
        (9) ใช้ประโยชน์จากข้อตกลงเขตการค้าเสรี ท้ งในระดับทวิภาคี และพหุ ภาคี
                                                        ั
             ควบคู่ไปกับการเจรจาข้อตกลงเขตการค้าเสรี ที่มีปัญหา ทั้งที่อยู่ระหว่าง
             การเจรจา และที่ได้มีการเจรจาไปแล้ว
        (10) ส่ งเสริ มการลงทุนในภาคเกษตร อุตสาหกรรมและบริ การที่ไทยมีศกยภาพ    ั
             โดยเฉพาะสิ นค้าอาหารและบริ การฮาลาล อุตสาหกรรมภาพยนตร์ สินค้า
             และบริ การที่ ใ ช้ น วัต กรรมและภู มิ ปั ญ ญา การลงทุ น ที่ เ ป็ นมิ ต รกั บ
             สิ่ งแวดล้อม
        (11) สนับ สนุ น การลงทุ น ในต่ า งประเทศในสาขาที่ ผู ้ป ระกอบการไทยมี
             ศัก ยภาพ และสร้ า งเครื อข่ า ยเชื่ อ มโยงทางธุ ร กิ จ ทั้ง ในประเทศและ
             ต่างประเทศ
4.3.3 นโยบายพลังงาน
        (1) ส่ งเสริ มการอนุ รั ก ษ์ แ ละประหยัด พลั ง งาน ทั้ งในภาคครั ว เรื อน
             อุตสาหกรรม บริ การ และขนส่ ง โดยรณรงค์ให้เกิดวินยและสร้างจิตสานึ ก
                                                                    ั
             ในการประหยัดพลังงาน
        (2) สนับสนุ นการใช้พลังงานอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ มีมาตรการจูงใจให้มีการ
             ลงทุนจากภาคเอกชนในการปรับเปลี่ ยนอุปกรณ์ประหยัดพลังงาน และ
             มาตรการสนับสนุนให้ครัวเรื อนลดการใช้ไฟฟ้ าในช่วงการใช้ไฟฟ้ าสู งสุ ด
24



        (3) การวิจยพัฒนาและกาหนดมาตรฐานอุปกรณ์ ไฟฟ้ าและมาตรฐานอาคาร
                     ั
            ประหยัดพลังงาน
4.3.4 นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร
        (1) การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการให้บริ การภาครัฐ บริ การศึกษา
            บริ การสาธารณสุ ข และโลจิสติกส์ เพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน
            ของประเทศ
        (2) พัฒนาอุ ตสาหกรรมเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่ อสารทั้ง ในด้า น
            ซอฟต์แวร์ และฮาร์ ดแวร์ โดยสนับสนุ นให้มีการวิจยและพัฒนา รวมทั้ง
                                                               ั
            การพัฒ นาศัก ยภาพของบุ ค ลากรเพื่ อ รองรั บ การเป็ นศู น ย์ก ลางด้า น
            เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารในภูมิภาค
4.3.5 นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจย และนวัตกรรม
                                           ั
        (1) ส่ งเสริ มและสนับสนุ นโครงการวิจยตามแนวพระราชดาริ การวิจยและ
                                                ั                              ั
            พัฒนาทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีท้ งงานวิจยขั้นพื้นฐาน และงานวิจย
                                                   ั       ั                      ั
            ประยุกต์ เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิ ชย์และพัฒนาอุตสาหกรรม
        (2) เร่ งรัดการวิจยและพัฒนาเทคโนโลยีที่มีความสาคัญต่อการพัฒนาคุณภาพ
                           ั
            ชีวตและพัฒนาอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ในอนาคต
                 ิ
4.3.6 นโยบายการบริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดี
        (1) ประสิ ทธิ ภาพการบริ หารราชการแผ่นดิน
        (2) ปรั บ บทบาทและภารกิ จการบริ หารราชการระหว่า งราชการส่ วนกลาง
            ส่ วนภูมิภาค และส่ วนท้องถิ่ นให้ชัดเจน ไม่ซ้ าซ้อน เพื่อสามารถดาเนิ น
            ภารกิจที่สนับสนุนเชื่อมโยงกัน
        (3) สร้างมาตรฐานด้านคุณธรรม จริ ยธรรม และธรรมาภิบาล
        (4) ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูล และมีส่วนร่ วมในกระบวนการวางแผน
            และการทางาน
        (5) ให้แก่ ขาราชการและเจ้าหน้าที่ ของรั ฐ พร้ อมทั้งพัฒนาความโปร่ งใสใน
                       ้
            การปฏิ บติงานของหน่ วยงานภาครั ฐ เพื่อให้เป็ นที่ เชื่ อถื อไว้วางใจของ
                         ั
            ประชาชน
                                         ่
        (6) จัดระบบงานให้มีความยืดหยุน คล่องตัว รวดเร็ วมีประสิ ทธิ ภาพ โปร่ งใส
            สามารถตรวจสอบได้ และส่ ง เสริ ม พัฒ นาระบบบริ ห ารผลงานและ
            สมรรถนะของข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐทุกระดับอย่างต่อเนื่ อง
25



4.4 แผนส่ งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
           แผนส่ งเสริ มวิสาหกิ จขนาดกลางและขนาดย่อม ซึ่ งจัดทาโดย สานักงานส่ งเสริ มวิสาหกิ จ
ขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) สามารถใช้เป็ นกรอบในการจัดทายุทธศาสตร์ ข องกรมส่ งเสริ ม
อุตสาหกรรมได้ เนื่ องจากโดยหลักการแล้ว แผนส่ งเสริ ม ฯ ดังกล่าวมีกลุ่มเป้ าหมายและเนื้ อหาที่
เกี่ ย วข้อ งกับ ภารกิ จ ของกรมส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรม โดยเฉพาะในเรื่ อ งของการเสริ ม สร้ า งขี ด
ความสามารถของผูประกอบการและวิสาหกิ จ และเป้ าประสงค์หลักคือความต้องการเห็ น SMEs
                         ้
เติบโตอย่างมีคุณภาพ ดังแสดงในรู ปที่ 2
           ปั จ จุ บ ัน สสว. ได้ใ ช้แ ผนส่ ง เสริ ม วิส าหกิ จ ขนาดกลางและขนาดย่อ มฉบับ ที่ 2 โดยมี
ระยะเวลาตั้ง แต่ ปี 2550-2554 เนื้ อหาของยุท ธศาสตร์ ที่เกี่ ย วข้องกับ กรมส่ งเสริ มอุ ตสาหกรรม
ประกอบด้วย
26




                        รู ปที่ 2 แผนส่ งเสริ ม SMEs
4.4.1 ยุทธศาสตร์ที่ 1 การสร้างและพัฒนาผูประกอบการ
                                         ้
          (1) สร้างแรงจูงใจในการเป็ นผูประกอบการ
                                       ้
          (2) เพิ่มขีดความสามารถ ความรู ้ ทักษะตามขนาดระยะการเติบโตของธุ รกิจ
          (3) เพิ่มขีดความสามารถด้านเทคโนโลยี/นวัตกรรม
          (4) ยกระดับความสามารถ/คุณภาพชีวตบุคลากร SMEs
                                                ิ
          (5) สร้างโอกาสในทางธุ รกิจและการให้ความรู ้ดานการตลาด
                                                        ้
          (6) สร้างความตื่นตัว จิตสานึก และธรรมาภิบาลแก่ผประกอบการ
                                                           ู้
4.4.2 ยุทธศาสตร์ที่ 2 การเพิ่มผลิตภาพและขีดความสามารถทางนวัตกรรมของวิสาหกิจ
        ขนาดกลางและขนาดย่อมในภาคการผลิต
          (1) การส่ งเสริ มการสร้างพันธมิตรธุ รกิจและการรวมกลุ่มเครื อข่ายวิสาหกิจ
              วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (Cluster)
          (2) การสนับสนุนขีดความสามารถทางเทคโนโลยีให้แก่วสาหกิจขนาดกลาง
                                                                ิ
              และขนาดย่อม
          (3) การเพิ่มประสิ ทธิ ภาพและผลิตภาพ
27



         (4) การเตรี ยมพร้อมรองรับระบบการค้าเสรี และมาตรการทางการค้า
         (5) ยกระดับคุณภาพ มาตรฐาน และความสามารถในการสร้างความแตกต่าง
              ของผลิตภัณฑ์ให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด
4.4.3 ยุทธศาสตร์ที่ 3 การเพิมประสิ ทธิ ภาพและลดผลกระทบในภาคการค้า
                             ่
         (1) การเสริ มสร้างศักยภาพในการแข่งขันของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด
              ย่อมภาคการค้าส่ ง-ค้าปลีก
         (2) การส่ งเสริ มและปรับปรุ งระบบการกากับดูแลภาคการค้าส่ ง-ค้าปลีกเพื่อให้
              เกิดการแข่งขันที่เป็ นธรรม
         (3) การสร้างและพัฒนากลไกความร่ วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน ภาค
              วิชาการ และภาคประชาชนในการพัฒนาธุ รกิ จค้าส่ ง-ค้าปลีก และได้รับ
              ความร่ วมมือกับส่ วนกลาง
4.4.4 ยุทธศาสตร์ที่ 4 การส่ งเสริ มภาคบริ การในการสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่ม
         (1) การพัฒนาบุคลากรภาคบริ การ ทั้งด้านความรู ้ ความสามารถ ทักษะฝี มือ
              และจิตวิญญาณในการเป็ นผูให้บริ การที่ดี
                                          ้
         (2) การเสริ มสร้างระบบความเชื่อมโยงห่วงโซ่อุปทานและเครื อข่ายวิสาหกิจ
              ของภาคบริ การที่มีศกยภาพ
                                    ั
         (3) การพัฒนาศักยภาพในการแข่งขัน โดยการใช้ภูมิปัญญา วัฒนธรรมไทย
              และเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่เหมาะสม
         (4) การเร่ งรัดการเพิมประสิ ทธิ ภาพ ผลิตภาพ และคุณภาพมาตรฐานของ
                               ่
              ผลิตภัณฑ์บริ การ
4.4.5 ยุทธศาสตร์ ที่ 5 การส่ ง เสริ มวิสาหกิ จขนาดกลางและขนาดย่อมในภูมิภาคและ
      ท้องถิ่น
         (1) การส่ ง เสริ มผลิ ต ภัณ ฑ์ ชุ ม ชนและท้ อ งถิ่ น โดยการพัฒ นาคุ ณ ภาพ
         มาตรฐาน
               ความแตกต่างของสิ นค้าและบริ การให้สอดคล้องกับความต้องการของ
         ตลาด
         (2) การส่ งเสริ มการเชื่อมโยงเครื อข่ายวิสาหกิจเพื่อเสริ มสร้างห่วงโซ่มูลค่าใน
               ระดับสาขาที่มีศกยภาพ และสนับสนุ นการรวมกลุ่ม/เชื่ อมโยงธุ รกิ จของ
                                 ั
               วิสาหกิจชุมชน
28



                (3) การสนับสนุ นโครงสร้ างพื้นฐานเพื่ อให้บริ การแก่ วิสาหกิ จขนาดกลาง
                และ
                    ขนาดย่อมในภูมิภาค
                (4) การบูรณาการและสร้างเครื อข่ายการทางานส่ งเสริ มวิสาหกิจขนาดกลาง
                    และขนาดย่อมในภูมิภาค
       4.4.6 ยุทธศาสตร์ ที่ 6 การพัฒนาปั จจัยเอื้ อในการดาเนิ นธุ รกิ จสาหรั บวิส าหกิ จขนาด
             กลางและขนาดย่อม
                (1) การส่ งเสริ มระบบและเครื่ องมือให้วสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมเกิด
                                                        ิ
                    ความสะดวกในการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม
                (2) การยกระดับความรู ้และทักษะบุคลากรของวิสาหกิจขนาดกลางและ
                    ขนาดย่อม (ผูประกอบการ / พนักงาน)
                                   ้
                (3) การบริ หารจัดการระบบข้อมูลสาหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
                (4) การส่ งเสริ มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมทางด้านการเงิน
                (5) การส่ งเสริ มสิ่ งอานวยความสะดวกและความสามารถด้านการตลาด
                (6) การส่ งเสริ มประสิ ทธิ ภาพการจัดการด้านโลจิสติกส์




4.5 แผนแม่ บทของกระทรวงอุตสาหกรรม
          กระทรวงอุตสาหกรรม ได้มอบหมายให้สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ดาเนิ นการจัดทา
แผนแม่บทบทการพัฒนาอุตสาหกรรม ร่ วมกับหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ ยวข้อง จานวน 2 แผนแม่บท
ได้แก่ แผนแม่บทการพัฒนาประสิ ทธิ ภาพและผลิ ตภาพของภาคอุ ตสาหกรรม (พ.ศ.2551-2555)
และแผนแม่บทโครงสร้างพื้นฐานทางปั ญญา (พ.ศ.2551-2555) แผนแม่บททั้ง 2 มีความเฉพาะใน
เรื่ องการพัฒนาผลิตภาพและนวัตกรรมของภาคอุตสาหกรรมซึ่ งเกี่ ยวข้องกับแนวทางการส่ งเสริ ม
อุตสาหกรรมดังนี้
          4.5.1 แผนแม่บทการพัฒนาประพัฒนาประสิ ทธิ ภาพและผลิตภาพของภาคอุตสาหกรรม
                        กระทรวงอุตสาหกรรมได้ตระหนักถึ งความสาคัญของการเพิ่มผลิ ตภาพ
(Productivity) โดยเฉพาะในภาคอุตสาหกรรม เนื่ องจากเป็ นปั จจัยสาคัญที่ทาให้วิสาหกิจสามารถ
ลดต้นทุน เพิ่มกาลังการผลิตเพื่อทาให้เศรษฐกิจของประเทศเกิดการขยายตัวได้อย่างมันคง โดยมี
                                                                               ่
รายละเอียดพอสรุ ปได้ดงนี้
                      ั
29



                        เป้ าหมาย
                        (1) ผลิตภาพแรงงานของภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น ในอัตราร้อยละ 5 ต่อ
ปี
                        (2) กลุ่ ม อุ ต สาหกรรมที่ เ ข้า ร่ ว มโครงการภายใต้แ ผนแม่ บ ทมี จ านวน
เพิ่มขึ้น
                              เป็ นไม่นอยกว่า 25 กลุ่มอุตสาหกรรม ในปี 2555
                                           ้
                       (3) ผูประกอบการที่เข้าร่ วมโครงการภายใต้แผนแม่บทมีจานวนเพิ่มขึ้น
                                 ้
                              ไม่นอยกว่า 9,000 โรงงาน ในปี 2555
                                       ้
                       ยุทธศาสตร์
                       (1) การยกระดับความสามารถทักษะแรงงาน (Human Skill) ทั้งแรงงาน
                              ที่มีอยูเ่ ดิมและแรงงานที่กาลังเข้าสู่ ภาคอุตสาหกรรม
                       (2) การยกระดับความสามารถทางด้านการบริ หารจัดการ (Management)
                       (3) การปรับปรุ งประสิ ทธิภาพเครื่ องจักร
                       (4) การพัฒนาระบบ Logistics ภายในกลุ่มอุตสาหกรรม
                       (5) การสร้างเครื อข่ายพันธมิตรธุ รกิจ และ Supply Chain
          4.5.2 แผนแม่บทโครงสร้างพื้นฐานทางปั ญญา
                       แผนแม่บทฉบับนี้ มุ่งเน้นการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางปั ญญาในด้าน
การเพิ่มความสามารถในการสร้ างและการใช้ประโยชน์ความรู ้ โดยหากวิสาหกิจของไทยสามารถ
สร้ า งความแตกต่ า งในสิ น ค้า และบริ ก าร (Differentiation) ได้จ ากการพัฒ นานวัต กรรมของ
กระบวนการ สิ นค้า บริ การ จะทาให้มีความสามารถในการแข่งขันสู งขึ้ นส่ งผลให้ประเทศมี การ
เจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ยงยืน โดยมีรายละเอียดพอสรุ ปได้ดงนี้
                           ั่                                    ั
                       เป้ าหมาย
                       (1) ร้ อ ยละ 35 ของสถานประกอบการในอุ ต สาหกรรมการผลิ ต มี
                              นวัตกรรมและการเรี ยนการสอนทางเทคโนโลยี
                       (2) มีความร่ วมมืออย่างใกล้ชิดระหว่างภาคธุ รกิจ สถาบันการศึกษา การ
                              วิจย ั
                       (3) อันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย ในด้านบุคลากร
                              วิจยและพัฒนา และสิ ทธิ บตร ที่จดทาโดย International Institute for
                                     ั                    ั        ั
                              Management Development (IMD) อยู่ในตาแหน่ งไม่ต่ ากว่าจุ ด
                              กึ่งกลาง
30



                        ยุทธศาสตร์
                        (1) เพิ่มความสามารถทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมของภาคการผลิต
                        (2) สร้างความเข้มแข็งของแหล่งผลิตความรู ้
                        (3) สร้างความเชื่อมโยงระหว่างแหล่งผลิตความรู ้และผูใช้ความรู ้
                                                                           ้


4.6 ยุทธศาสตร์ การพัฒนาพืนที่
                            ้
         สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้จดทากรอบยุทธศาสตร์
                                                                         ั
การพัฒนาภาค ตามภูมิสังคมของแต่ละภาคทั้ง 4 ภาค (ภาคเหนื อ ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ ภาค
กลาง และภาคใต้) เพื่อขับเคลื่อนแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 สู่ การปฏิบติ และเพื่อเชื่ อมโยงยุทธศาสตร์
                                                                ั
ระดับชาติ สู่ ระดับจังหวัด กลุ่มจังหวัด รวมทั้งได้นาบริ บทการเปลี่ ยนแปลงของโลกและประเทศ
และศักยภาพภูมิสังคมของแต่ละพื้นที่มาใช้ประกอบการพิจารณา ในการกาหนดแนวทางการพัฒนา
ของภาค และกลุ่มจังหวัด แผนดังกล่าวเกี่ยวข้องกับกรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรมเนื่องจาก กรมส่ งเสริ ม
อุตสาหกรรมมีศูนย์ส่งเสริ มอุตสาหกรรม ซึ่ งเป็ นหน่วยงานในภูมิภาคทาหน้าที่ส่งเสริ มและพัฒนา
อุตสาหกรรมในพื้นที่ รับผิดชอบ ดังนั้นยุทธศาสตร์ การพัฒนาภาคจะต้องได้รับการพิจารณาเป็ น
ส่ วนหนึ่งของการจัดทายุทธศาสตร์ กรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรม ซึ่ งพอจะสรุ ปได้ดงนี้
                                                                           ั



        4.6.1 ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคเหนือ
                        (1) สนับสนุ นการสร้ างมูลค่าเพิ่มของฐานการผลิ ตที่มีความหลากหลาย
                            คานึ งถึ งผลกระทบต่อทรั พยากรธรรมชาติ และสิ่ ง แวดล้อม เพื่อคง
                            ความเป็ นฐานเศรษฐกิจอย่างยังยืน่
                                 ก. สนับสนุนอุตสาหกรรมแปรรู ปธัญพืชในภาคเหนื อตอนล่าง
                                 ข. สนับสนุ นอุตสาหกรรมบริ การใหม่ที่มีศกยภาพ โดยเฉพาะ
                                                                                  ั
                                      อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ หัตถอุตสาหกรรม และธุ รกิจบริ การ
                                      สุ ขภาพ
                                 ค. พัฒนาปั จจัยสนับสนุ นธุ รกิ จอุ ตสาหกรรมและบริ การ โดย
                                      ส่ งเสริ มการพัฒนาเครื อข่ายกลุ่มธุ รกิจ (Cluster)
                        (2) พัฒนาเมืองศูนย์กลางความเจริ ญและเมืองชายแดน เพื่อรองรับการ
                            เชื่อมโยงในระดับนานาชาติ
31



                           ก. เร่ งรัดการดาเนิ นงานแผนงาน/โครงการภายใต้นโยบายเขต
                                เศรษฐกิจชายแดน
                (3) พัฒนาคนและสังคมให้พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง มีความมันคง และ     ่
                    อยูเ่ ย็นเป็ นสุ ขร่ วมกัน
                           ก. เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพแรงงานให้ สู ง ขึ้ น โดยเฉพาะในพื้ น ที่
                                อุตสาหกรรมและบริ การหลักได้แก่ เชี ยงใหม่-ลาพูน ลาปาง
                                เชียงราย พิษณุโลก และนครสวรรค์
                (4) บริ หารจัดการทรั พยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมอย่างยังยืน เน้น  ่
                    การอนุ รักษ์ ฟื้ นฟู และใช้ประโยชน์อย่างสมดุ ล รวมทั้งเตรี ยมการ
                    ป้ องกันและรับมือกับภัยธรรมชาติ
                           ก. พัฒนาคุณค่าความหลากหลายทางชีวภาพ
4.6.2 ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคกลาง
                 (5) พัฒนาฐานเศรษฐกิจหลักของประเทศให้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
                        ก. รั ก ษาฐานอุ ต สาหกรรมที่ มี อ ยู่ ใ ห้ ย ั่ ง ยื น เพื่ อ เป็ นฐาน
                            อุตสาหกรรมของประเทศ
                        ข. เสริ ม สร้ า งสภาพแวดล้อมแหล่ ง อุ ตสาหกรรม โดยพัฒนา
                            รวมกลุ่มอุตสาหกรรมในพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก
                        ค. พัฒ นาคุ ณ ภาพอุ ต สาหกรรมให้ ไ ด้ ม าตรฐานโดยใช้
                            เทคโนโลยีสะอาด (การออกแบบ/Value creation/เทคโนโลยี
                            สะอาด)
                        ง. สนับสนุ นด้านการตลาด เงิ นทุนและความรู้ ในการบริ หาร
                            จัดการแก่อุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม เพื่อพัฒนา
                            ขีดความสามารถและสร้างความเข้มแข็งให้แก่อุตสาหกรรม
                            SMEs
                        จ. พัฒนาความร่ ว มมื อกับ ประเทศเพื่ อ นบ้า นโดยเฉพาะการ
                            ลงทุน สร้าง Value Chain และพัฒนาธุ รกิ จการค้ารู ปแบบ
                            ใหม่ และมุ่ ง ลงทุ น ในต่ า งประเทศ เพื่ อ แสวงหาวัต ถุ ดิ บ /
                            แรงงานราคาถูก
                        ฉ. พัฒ นาระบบ Logistics และ Infrastructures ให้ มี
                            ประสิ ทธิภาพ
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4
Chapter 4

More Related Content

What's hot

Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016sakarinkhul
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารNithimar Or
 
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
2การบริหารองค์การด้วยโครงการpop Jaturong
 
Pwนโยบายคืออะไร
PwนโยบายคืออะไรPwนโยบายคืออะไร
PwนโยบายคืออะไรSirirat Pongpid
 
ส่วนที่ 3 โครงการ (ตัวอย่างจากปี 53)
ส่วนที่ 3 โครงการ (ตัวอย่างจากปี 53)ส่วนที่ 3 โครงการ (ตัวอย่างจากปี 53)
ส่วนที่ 3 โครงการ (ตัวอย่างจากปี 53)Alongkorn WP
 
9789740330325
97897403303259789740330325
9789740330325CUPress
 
คุณวุฒินักวิเคราะห์นโยบายและแผน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
คุณวุฒินักวิเคราะห์นโยบายและแผน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นคุณวุฒินักวิเคราะห์นโยบายและแผน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
คุณวุฒินักวิเคราะห์นโยบายและแผน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประพันธ์ เวารัมย์
 
คู่มือการจ้างเหมาบริการ
คู่มือการจ้างเหมาบริการคู่มือการจ้างเหมาบริการ
คู่มือการจ้างเหมาบริการChatree Akkharasukbut
 
1เกี่ยวกับสถาบัน
1เกี่ยวกับสถาบัน1เกี่ยวกับสถาบัน
1เกี่ยวกับสถาบันJib Sridum
 
การเขียนโครงการ
การเขียนโครงการการเขียนโครงการ
การเขียนโครงการkasetpcc
 
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธเอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธNatepanna Yavirach
 

What's hot (18)

Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหาร
 
NSTDA Plan 2552
NSTDA Plan 2552NSTDA Plan 2552
NSTDA Plan 2552
 
Po
PoPo
Po
 
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
 
Pwนโยบายคืออะไร
PwนโยบายคืออะไรPwนโยบายคืออะไร
Pwนโยบายคืออะไร
 
ส่วนที่ 3 โครงการ (ตัวอย่างจากปี 53)
ส่วนที่ 3 โครงการ (ตัวอย่างจากปี 53)ส่วนที่ 3 โครงการ (ตัวอย่างจากปี 53)
ส่วนที่ 3 โครงการ (ตัวอย่างจากปี 53)
 
9789740330325
97897403303259789740330325
9789740330325
 
Swot(sk)
Swot(sk)Swot(sk)
Swot(sk)
 
Research pathway
Research pathwayResearch pathway
Research pathway
 
คุณวุฒินักวิเคราะห์นโยบายและแผน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
คุณวุฒินักวิเคราะห์นโยบายและแผน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นคุณวุฒินักวิเคราะห์นโยบายและแผน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
คุณวุฒินักวิเคราะห์นโยบายและแผน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
 
No1
No1No1
No1
 
คู่มือการจ้างเหมาบริการ
คู่มือการจ้างเหมาบริการคู่มือการจ้างเหมาบริการ
คู่มือการจ้างเหมาบริการ
 
1เกี่ยวกับสถาบัน
1เกี่ยวกับสถาบัน1เกี่ยวกับสถาบัน
1เกี่ยวกับสถาบัน
 
01 1
01 101 1
01 1
 
เล่มแผนCg ปี54
เล่มแผนCg ปี54เล่มแผนCg ปี54
เล่มแผนCg ปี54
 
การเขียนโครงการ
การเขียนโครงการการเขียนโครงการ
การเขียนโครงการ
 
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธเอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
 

Similar to Chapter 4

Strategic management
Strategic managementStrategic management
Strategic managementTum Aditap
 
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจหลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจthanathip
 
บทที่3องค์การและการจัดการ
บทที่3องค์การและการจัดการบทที่3องค์การและการจัดการ
บทที่3องค์การและการจัดการThamonwan Theerabunchorn
 
Presentation 2012-11-13 การพัฒนาประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ด้วยตัวชี้วัด
Presentation 2012-11-13 การพัฒนาประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ด้วยตัวชี้วัดPresentation 2012-11-13 การพัฒนาประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ด้วยตัวชี้วัด
Presentation 2012-11-13 การพัฒนาประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ด้วยตัวชี้วัดNopporn Thepsithar
 
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและแผน
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและแผนความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและแผน
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและแผนประพันธ์ เวารัมย์
 
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร Punyapon Tepprasit
 
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์jeabjeabloei
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารNithimar Or
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
การบริหารการเปลี่ยนแปลงการบริหารการเปลี่ยนแปลง
การบริหารการเปลี่ยนแปลงRadanat Chiachai
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ Mark'k Stk
 

Similar to Chapter 4 (20)

คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้
 
Action plan
Action planAction plan
Action plan
 
Po
PoPo
Po
 
Watsubsamosorn
WatsubsamosornWatsubsamosorn
Watsubsamosorn
 
Strategic management
Strategic managementStrategic management
Strategic management
 
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจหลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
 
บทที่3องค์การและการจัดการ
บทที่3องค์การและการจัดการบทที่3องค์การและการจัดการ
บทที่3องค์การและการจัดการ
 
บทนำ แผนพัฒนา 3 ปี
บทนำ แผนพัฒนา 3 ปีบทนำ แผนพัฒนา 3 ปี
บทนำ แผนพัฒนา 3 ปี
 
Presentation 2012-11-13 การพัฒนาประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ด้วยตัวชี้วัด
Presentation 2012-11-13 การพัฒนาประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ด้วยตัวชี้วัดPresentation 2012-11-13 การพัฒนาประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ด้วยตัวชี้วัด
Presentation 2012-11-13 การพัฒนาประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ด้วยตัวชี้วัด
 
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและแผน
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและแผนความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและแผน
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและแผน
 
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
 
แผนธุรกิจ
แผนธุรกิจแผนธุรกิจ
แผนธุรกิจ
 
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
KM Handbook
KM HandbookKM Handbook
KM Handbook
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหาร
 
2.budgeting&project management by kanniga
2.budgeting&project management by kanniga2.budgeting&project management by kanniga
2.budgeting&project management by kanniga
 
Plans
PlansPlans
Plans
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
การบริหารการเปลี่ยนแปลงการบริหารการเปลี่ยนแปลง
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 

More from เฉลิมลาภ เกษไตรยกุล (6)

Injustice #5
Injustice #5Injustice #5
Injustice #5
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Chapter 2
Chapter 2Chapter 2
Chapter 2
 
Chapter 1
Chapter 1Chapter 1
Chapter 1
 

Chapter 4

  • 1. บทที่ 4 เทคนิคการบริหารในสานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดนครสวรรค์ ผูรายงานได้ดาเนิ นการศึกษาเทคนิ คการบริ หารงานของสานักงานอุตสาหกรรมจังหวัด ้ นครสวรรค์ ระหว่างการดาเนิ นการฝึ กประสบการณ์ วิชาชี พ พบว่าการบริ หารงานของสานักงาน อุตสาหกรรมจังหวัดนครสวรรค์ ได้ดาเนิ นการบริ หารตามแนวทางยุทธศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็ นการ ประเมิ นสถานการณ์ ทางเศรษฐกิ จและสังคม การประเมิ นสถานการณ์ ภายในและภายนอก การ วิเคราะห์ ช่องว่างดาเนิ นงาน ทุ กเทคนิ คการบริ หารงานที่ กล่ าวมาข้างต้น ล้วนเป็ นประโยชน์ต่อ การศึกษา ผูรายงานจึงได้นารายละเอียดมาเรี ยบเรี ยงไว้ ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ ้ 1. บทนา 2. แนวทางการจัดทายุทธศาสตร์ กรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรม 3. เป้ าหมายของกรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรม 4. นโยบายและแผนพัฒนาเศรษฐกิจ 5. การประเมินสถานการณ์ทางเศรษฐกิจและสังคม 6. การประเมินสถานการณ์ภายในและภายนอก 7. ความต้องการของผูรับบริ การและผูมีส่วนได้ส่วนเสี ย ้ ้ ่ 8. ผลการดาเนินงานที่ผานมา 9. แม่แบบการพัฒนาอุตสาหกรรมที่ดี 10. การวิเคราะห์ช่องว่างการดาเนินงาน 11. การกาหนดประเด็นยุทธศาสตร์ 12. การกาหนดแผนงานและโครงการ 13. การบริ หารเชิงยุทธศาสตร์ 14. เวลาในการดาเนินงาน 15. บทสรุ ปและข้อเสนอแนะ 16. การแบ่งส่ วนราชการของกรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรม 17. แผนปฏิบติราชการ 4 ปี ั
  • 2. 13 1. บทนา การวางแผนและจัดทายุทธศาสตร์ มีความสาคัญต่อการปฏิ บติงานขององค์กร เนื่ องจาก ั ยุทธศาสตร์ เปรี ยบเสมือนแผนที่ กาหนดเส้นทางและวิธีการในการดาเนิ นงานเพื่อให้เป็ นไปตาม วัตถุประสงค์และเป้ าหมายที่องค์กรกาหนด การจัดทายุทธศาสตร์ ตองมีการวางแผนโดยหน่วยงาน ้ และบุคลากรที่เกี่ยวข้องในหลายระดับ โดยเฉพาะในระดับของการนาองค์กร และการปฏิบติงาน ั ผ่านขบวนการกาหนดเป้ าหมาย การวิเคราะห์ปัจจัยภายในภายนอก การกาหนดทิศทางและแนวทาง ในการปฏิ บติงาน ทั้งนี้ ยุทธศาสตร์ ขององค์กรภาครัฐ ควรมุ่งเน้นที่ การให้บริ การกลุ่มเป้ าหมาย ั อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ (Efficiency) มีคุณภาพ (Effectiveness) และเป็ นไปตามความต้องการของ ผูรับบริ การและผูมีส่วนได้ส่วนเสี ยขององค์กร (Stakeholder’s Satisfaction) ้ ้ ในช่ วง 2 ปี ที่ผ่านมา กรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรม ได้จดตั้งสานักบริ หารยุทธศาสตร์ ขึ้นเพื่อ ั เป็ นศูนย์กลางในการวางแผน จัดทาแผนยุทธศาสตร์ บริ หารแผนงบประมาณ กากับและติดตามการ ดาเนิ นงานตามตัวชี้ วด และการให้บริ การข้อมูลข่าวสารที่ เป็ นประโยชน์ต่อผูประกอบการธุ รกิ จ ั ้ อุตสาหกรรม นอกจากนี้ ยังได้มีการแต่งตั้ง (1) คณะกรรมการกาหนดนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ (2) คณะทางานจัดทาแผนปฏิ บติราชการ และแผนยุทธศาสตร์ ตามคาสั่งแต่งตั้งในภาคผนวก ก. ั เพื่อให้เกิดความร่ วมมือของทุกฝ่ ายในการวางแผนยุทธศาสตร์ ของกรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรม โดย จะจัดประชุมคณะทางาน และคณะกรรมการระหว่างเดือนพฤศจิกายน – เดือนธันวาคม ของทุกปี การวางแผนยุทธศาสตร์ เป็ นส่ วนหนึ่ ง ของการบริ หารยุท ธศาสตร์ ซ่ ึ งทั้ง หมดตั้ง อยู่บ น พื้นฐานหลักการ Plan-Do-Check-Action กล่าวคือ องค์กรเริ่ มจากการประเมินปั จจัยแวดล้อมทั้ง ภายในและภายนอก จัดท ายุทธศาสตร์ และแผนปฏิ บติการ นายุท ธศาสตร์ ไ ปปฏิ บ ติ และก ากับ ั ั ติ ด ตามการดาเนิ นงานให้เ ป็ นไปตามเป้ าหมายตัวชี้ วัด ที่ ก าหนด ซึ่ งขบวนการดัง กล่ า วจะเป็ น ขบวนการที่ ไ ม่ มี ที่ สิ้ นสุ ดและจะต้องปรั บ เปลี่ ย นไปตามสภาวการณ์ ส าหรั บ หลัก การวางแผน ยุทธศาสตร์ ของกรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรม ส่ วนยุทธศาสตร์ และแผนงาน สานักบริ หารยุทธศาสตร์ ได้กาหนดขั้นตอนซึ่ งสอดคล้องกับรู ปแบบการวางแผนยุทธศาสตร์ ทวไป และได้คิดค้นเครื่ องมือ ั่ ซึ่ งช่วยในการวิเคราะห์ขอมูลและกาหนดทิศทางของแผน ดังที่จะกล่าวต่อไป ้ นับ แต่ ก ระแสโลกาภิ วตน์ (Globalization) ได้เข้า มามี บ ทบาทต่ อระบบเศรษฐกิ จโลก ั องค์กรไม่ว่าจะเป็ นภาครั ฐหรื อเอกชนจาเป็ นต้องปรับตัวให้เข้ากับบริ บทของการเปลี่ ยนแปลงที่ เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ ว (Dynamics) หลายครั้งที่เกิดคาถามขึ้นว่า การวางแผนยุทธศาสตร์ จะก่อให้เกิด ประโยชน์ตามทฤษฎีหรื อตามที่เคยคาดหวังมากน้อยเพียงใด เนื่ องจาก ความแปรปรวนของปั จจัย
  • 3. 14 ่ ต่าง ๆ อยูในระดับสู งจนแผนที่ได้ตระเตรี ยมเป็ นอย่างดีในแต่ละปี อาจเป็ นแค่ขอความในกระดาษที่ ้ ไม่สามารถนามาใช้ได้จริ ง และเป็ นการสิ้ นเปลืองเวลา อย่างไรก็ตาม การวางแผนยุทธศาสตร์ ก็ยงมี ั ่ ความจาเป็ น เพราะหน่วยงานต่าง ๆ ได้มีโอกาสทบทวนผลการดาเนิ นงานที่ผานมาของตนเอง ได้ เข้าใจสภาพปั ญหาทั้งภายในและภายนอก และได้มีการกาหนดเป้ าหมายองค์กรร่ วมกัน ทั้งนี้ แผน ยุทธศาสตร์ ควรมีการทบทวนเป็ นรายปี และในกรณี ที่มีเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงด้านนโยบาย หรื อ เกิดวิกฤตการณ์ที่ส่งผลกระทบกับความอยูรอดขององค์กร ก็ควรมีความถี่ในการทบทวนเพิ่มขึ้น ่ 2. แนวทางการจัดทายุทธศาสตร์ กรมส่ งเสริมอุตสาหกรรม จากการศึกษาแนวทางการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ พบว่า การวางแผนยุทธศาสตร์ มีหลักการ 3 ขั้นตอน ได้แก่ การรวบรวมข้อมูล (Information Input) การกาหนดรู ปแบบแนวทาง (Searching for Pattern) และการเลือกใช้ยุทธศาสตร์ (Strategy Adoption) ดังแสดงในรู ปที่ 1 โดยในแต่ละขั้นมี องค์ประกอบดังนี้ รู ปที่ 1 แบบจาลองการวางแผนยุทธศาสตร์ 1. การรวบรวมข้ อมูล (Information Input) เป็ นการรวบรวมข้อมูลทั้งภายในและภายนอก องค์กร โดยข้อมูลภายในองค์กร จะเป็ นข้อมูลเกี่ยวกับนโยบาย ความต้องการ และผลการดาเนิ นงาน ที่ผานมา ส่ วนข้อมูลภายนอกองค์กรจะเป็ นข้อมูลความต้องการของผูรับบริ การและผูมีส่วนได้ส่วน ่ ้ ้ เสี ยกับองค์กร เช่น หน่วยร่ วมดาเนินงาน เจ้าหน้าที่องค์กร ผูได้รับผลกระทบจากการดาเนินงานของ ้ องค์กร เป็ นต้น ผลกระทบของปั จจัยทางเศรษฐกิ จ สังคม และสิ่ งแวดล้อม ตลอดจนข้อมูลตัวอย่าง ความเป็ นเลิศในการดาเนินงาน ซึ่ งสามารถกล่าวโดยสังเขปดังนี้ 1.1 นโยบายและแผนแม่บท (Policies and Plans) สาหรับองค์กรภาครัฐแล้ว สิ่ งที่ ต้อ งติ ด ตามและตี ค วามเพื่ อ วางแผนด าเนิ น การ คื อ นโยบายรั ฐ บาล และ แผนพัฒนาประเทศที่เกี่ ยวข้อง ตัวอย่างเช่ น แผนพัฒนาเศรษฐกิ จและสังคม
  • 4. 15 แห่งชาติ แผนแม่บทการพัฒนาประสิ ทธิ ภาพและผลิตภาพที่เกี่ยวข้องและมีผล ต่อการปฏิบติงานของกระทรวงอุตสาหกรรม เป็ นต้น ั 1.2 การดาเนิ นงานที่ ผ่านมา (Past Performance) หลักการบริ หารที่ ดีกล่ าวว่า จะต้องมีการวางแผน การดาเนินงานตามแผน การติดตามประเมินผล และการ ปรับปรุ งการดาเนิ นงาน ดังนั้นผลการดาเนิ นงานที่ผ่านมาจึงเป็ นข้อมูลที่ช่วย ในการก าหนดทิ ศ ทางในอนาคต ตัว อย่า งผลการด าเนิ น งานที่ ผ่า นมาของ องค์กรภาครัฐ ได้แก่ ผลผลิ ต ผลลัพธ์ และผลกระทบของการปฏิ บติงานใน ั ่ ช่วงเวลาที่ผานมา 1.3 ข้อมูลด้านมหภาค (Macro Perspective) กล่าวกันว่า “รู ้ เขารู ้ เรา รบร้ อยครั้ง ชนะร้อยครั้ง” มีความหมายว่าการวางแผนจะต้องมีขอมูลภายนอกองค์กรด้วย ้ ซึ่ งโดยทัวไปแล้ว ข้อมูลดังกล่าวนอกจากจะเกี่ยวกับเศรษฐกิจ การเมือง สังคม ่ และสิ่ งแวดล้อมแล้ว ยังต้องมีขอมูลของคู่แข่ง (หน่ วยงานที่มีการดาเนิ นงาน ้ ในลักษณะคล้ายกัน) 1.4 ความต้องการของผูรับบริ การและผูมีส่วนได้ส่วนเสี ย (Stakeholder Needs) ้ ้ ปั จจุ บนองค์กรต่าง ๆ ให้ความสาคัญกับผูรับบริ การและผูมีส่วนได้ส่วนเสี ย ั ้ ้ เนื่ องจากว่า การแข่ง ขัน หรื อผลกระทบของการดาเนิ นงานจะขึ้ นกับความ ต้องการของผูเ้ กี่ ยวข้องทั้งหมด สาหรับองค์กรภาครัฐนั้น ผูรับบริ การและผูมี ้ ้ ส่ ว นได้ส่ วนเสี ย ได้แก่ ประชาชนผูรั บ บริ ก าร หน่ ว ยงานที่ ร่ วมให้ บ ริ ก าร ้ รวมถึ งเจ้าหน้าที่ ภายในองค์กร ที่จะต้องได้รับการเอาใจใส่ ถึงความต้องการ เหล่านั้น 1.5 ตัวอย่างความเป็ นเลิศ (Best Practices) ช่วยให้องค์กรซึ่ งมีลกษณะของงานที่ ั เหมือนกันสามารถดูตวอย่างการปฏิ บติงานที่ดีกว่าหรื อเหนื อกว่า และนามา ั ั ั ปรับใช้กบองค์กรของตนให้มีขีดความสามารถและสมรรถนะที่ดีข้ ึน หลักการ ที่ช่วยในการเสาะหา หยิบยืม และปรับปรุ งตัวอย่างความเป็ นเลิศซึ่ งเป็ นที่นิยม ขององค์กรธุ รกิจได้แก่ หลักการ Benchmarking 2. การกาหนดรู ปแบบแนวทาง (Searching for Patterns) เป็ นขั้นตอนการวิเคราะห์ขอมูล ้ ต่าง ๆ ที่ได้จากขั้นแรก เพื่อกาหนดทิศทางความเป็ นไปได้ในการดาเนิ นงาน ประเด็นที่จะวิเคราะห์ ส่ วนใหญ่ จะเกี่ ย วกับ ความสามารถขององค์ก รที่ จะท าให้ไ ด้ตามเป้ าหมาย ซึ่ ง แน่ นอนว่า ปั จจัย ภายนอกก็มีส่วนที่จะกระทบความสามารถขององค์กรในการที่จะขับเคลื่อนองค์กรด้วย ตัวอย่างเช่น กฎหมายด้านสิ่ งแวดล้อม จานวนคู่แข่ง แนวโน้มเศรษฐกิ จโลก เป็ นต้น นอกจากนี้ องค์กรควรมี
  • 5. 16 ทางเลือกเกี่ ยวกับยุทธศาสตร์ หลาย ๆ ประเด็นโดยผูบริ หารหรื อผูวางแผนยุทธศาสตร์ จะต้องเลือก ้ ้ ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ดีและเหมาะสมที่ สุด ซึ่ งเครื่ องมือที่ ใช้ในการวิเคราะห์ขอมูลส่ วนใหญ่เป็ น ้ เครื่ องมือด้านบริ หารจัดการ เช่ น การวิเคราะห์ SWOT การวิเคราะห์ช่องว่างทางยุทธศาสตร์ การ วิเคราะห์ขอบข่ายการให้บริ การ (BCG Model และ GE McKinsey Model) เป็ นต้น เครื่ องมือเหล่านี้ สามารถนามาประยุกต์ใช้ในการวางแผนได้เป็ นอย่างดี ในขั้นของการกาหนดทิศทางยุทธศาสตร์ น้ ี ประเด็นสาคัญคือเป้ าหมายที่องค์กรอยากจะเป็ นหรื อขับเคลื่ อนไปให้ถึง ซึ่ งสะท้อนอยูในรู ปของ ่ วิสัยทัศน์ (Vision) พันธกิจ (Mission) และค่านิ ยม (Value) ที่เป็ นเอกลักษณ์เฉพาะตัวขององค์กร หนึ่ ง ๆ ประเด็นเหล่านี้ เปรี ยบเสมือนเป้ าหมาย และหน้าที่ความรับผิดชอบที่องค์กรจะต้องปฏิบติ ั นันเอง ่  วิสัยทัศน์ (Vision) คือ สิ่ งที่องค์กรอยากจะเป็ นในอนาคต วิสัยทัศน์จะต้องอยูบน ่ พื้นฐานความเป็ นไปได้ เป็ นเรื่ องท้าทายและต้องเป็ นสิ่ งที่ยงไม่เกิดขึ้นในปั จจุบน ั ั  พันธกิ จ (Mission) คือ วัตถุประสงค์ในการดาเนินงานขององค์กร ซึ่ งรวมถึงแนว ทางการดาเนินงาน โดยไม่มีเงื่อนเวลามาเกี่ยวข้อง  ค่านิ ยม (Value) คือ วัฒนธรรม หรื อ ความเชื่ อร่ วมกันของคนในองค์กรเกี่ ยวกับ แนวทางการปฏิบติงานและการอยูร่วมกันในองค์กร ั ่ 3. การเลือกใช้ ยุทธศาสตร์ (Strategy Adoption) หลังจากการวิเคราะห์ขอมูล และปั จจัย ้ ต่าง ๆ ทาให้ได้ประเด็นยุทธศาสตร์ หลาย ๆ ทางเลือกแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือหน้าที่ของผูบริ หารที่จะ้ กาหนดและเลือกยุทธศาสตร์ ที่เหมาะสมที่สุด โดยในแต่ละยุทธศาสตร์ จะต้องกาหนดความชัดเจน ในเรื่ องวิธีการและแผนปฏิบติการ สาหรับองค์กรภาครั ฐ จะใช้หลักการแบบ ABC ในการพิจารณา ั ถึงด้านความเหมาะสม ได้แก่  ความเข้ากันได้ของยุทธศาสตร์ และภารกิจขององค์กร (Alignment)  ประโยชน์และต้นทุนการดาเนินงาน (Benefit & Cost)  ความสามารถของบุคลากรที่จะปฏิบติงาน (Capability) ั หลักการทั้งสามอย่าง มุ่งเน้นที่ความสามารถในการปฏิบติตามยุทธศาสตร์ ได้อย่างเป็ น ั รู ปธรรม และตอกย้าถึงการทาตามภารกิจขององค์กร 3. เป้ าหมายของกรมส่ งเสริมอุตสาหกรรม การแบ่งส่ วนราชการของกรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ตาม กฎกระทรวง พ.ศ.2551 มีใจความสาคัญ ดังนี้
  • 6. 17 “ให้ กรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรม มีภารกิจเกี่ยวกับการเสริ มสร้ าง ส่ งเสริ ม สนับสนุน และ พัฒนาอุตสาหกรรม วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่ อม วิสาหกิจชุมชน ผู้ประกอบการ และผู้ใ ห้ บ ริ ก ารธุ รกิ จอุตสาหกรรม เพื่ อเพิ่ มสมรรถนะและขี ดความสามารถในการ แข่ งขันด้ วยนวัตกรรม องค์ ความรู้ ภูมิปัญญา และธรรมาภิบาล” จะเห็นว่าขอบข่ายความรับผิดชอบของกรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรมครอบคลุมกลุ่มเป้ าหมาย ซึ่ งเป็ นอุตสาหกรรมการผลิ ต และอุ ตสาหกรรมบริ การ อย่างไรก็ดี เนื่ องจากปั จจุ บนมีหน่ วยงาน ั จานวนมากซึ่ งหันมาทาหน้าที่ส่งเสริ มและสนับสนุนวิสาหกิจ SMEs และวิสาหกิจชุมชน ทาให้กรม ส่ งเสริ มอุตสาหกรรมต้องปรับบทบาทและเป้ าหมายการดาเนิ นงานใหม่ โดยการเพิ่มเครื่ องมือ และ แนวทางการส่ งเสริ มเพื่อให้ทนต่อความเปลี่ยนแปลง ั จากการประชุ มหารื อกับผูบริ หารระดับสู งของกรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรม ได้มีการกาหนด ้ วิสัยทัศน์ (Vision) สาหรับอีก 4 ปี ข้างหน้า (พ.ศ.2553-2556) ไว้ดงนี้ ั วิสัยทัศน์ “กรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรมเป็ นองค์ กรหลักในการนาภูมิปัญญา นวัตกรรม องค์ ความรู้ เพื่อการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมไทยให้ มนคง และพึ่งพาตนเองได้ อย่ างยังยืน” ั่ ่ นอกจากนี้ ยังได้มีการกาหนดพันธกิจ (Mission) ของกรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรมที่สามารถ ดาเนินการเพื่อตอบสนองเป้ าหมายวิสัยทัศน์ ไว้ดงนี้ ั พันธกิจ “ส่ งเสริ ม สนั บ สนุ น พั ฒ นาอุ ต สาหกรรม ผู้ ป ระกอบการ วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน และผู้ ให้ บริ การธุ ร กิ จ อุ ต สาหกรรม เพื่ อ ให้ มี ส มรรถนะและขี ด ความสามารถในการ ประกอบการที่เป็ นเลิศ ด้ วยนวัตกรรม องค์ ความรู้ ภูมิปัญญา และธรรมาภิบาล” เมื่อตีความจากวิสัยทัศน์และพันธกิจข้างต้น จะเห็ นว่า กรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรมเน้นการ พัฒนากลุ่ ม เป้ าหมายให้สามารถดาเนิ นธุ รกิ จด้วยตนเองได้อย่า งมันใจ โดยสนับ สนุ นให้ส ร้ า ง ่ นวัตกรรม และการใช้องค์ความรู ้ท้ งที่เป็ นระดับท้องถิ่ น และที่ได้รับการพัฒนาในระดับสากล ใน ั
  • 7. 18 การสร้ างมู ล ค่ า เพิ่ ม แก่ สิ นค้ า และบริ การ ผ่ า นความร่ วมมื อ กั บ เครื อข่ า ยผู ้ ใ ห้ บ ริ การ (สถาบันการศึ กษา สถาบันวิจย องค์กรภาครั ฐและเอกชน) ในลักษณะของการเป็ น หุ ้นส่ วนการ ั พัฒนาประเทศ หรื อ Private – Public – Partnership สาหรับค่านิยมที่ถูกกาหนดโดยคณะทางานด้านยุทธศาสตร์ ของกรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรม ได้อางอิงถึงหลักการ “I AM READY” ของสานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบข้าราชการ (กพร.) ้ โดยได้มีการพิจารณาถึ งปั จจัยที่คิดว่าสาคัญต่อการพัฒนาองค์กร ซึ่ งได้แก่ การปรับตัวให้ทนโลกั (Adaptation) และการมุ่งเน้นประสิ ทธิ ภาพ (Efficiency) ซึ่ งทั้งสองเรื่ องจะเป็ นพันธะยึดเหนี่ยวให้ ่ บุคลากรของกรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรมมีความยืดหยุนในการปฏิบติงานตามสถานการณ์ของโลกที่ ั เปลี่ ยนแปลงอย่างรวดเร็ วเช่ นในปั จจุบน ขณะเดี ยวกันก็ไม่ลืมผลิ ตภาพและประสิ ทธิ ภาพในการ ั ดาเนินงานตามภารกิจที่รับผิดชอบ สาหรับเป้ าหมายสู งสุ ดของการส่ งเสริ มอุตสาหกรรม คือ การได้เห็ นวิสาหกิ จเติบโตไปสู่ จุดที่เรี ยกว่า “World Class Organization” ซึ่ งมีลกษณะที่สาคัญได้แก่ องค์กรมีความสามารถในการ ั แข่งขันสู ง มีการบริ หารที่ได้มาตรฐานสากล มีภูมิคุมกันต่อพลวัตรเศรษฐกิจโลก และมีความเป็ น ้ ผูนาในสาขาอุตสาหกรรมนั้น ๆ การที่ จะผลักดันให้กลุ่มเป้ าหมายของกรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรม ้ ไปสู่ จุดนี้ ได้ จาเป็ นต้องมีกระบวนการคัดเลือก และบ่มเพาะวิสาหกิจที่มีประสิ ทธิ ภาพ และมีความ ต่อเนื่อง ภาครัฐและเอกชนต้องให้ความร่ วมมือ จึงจะประสบความสาเร็ จ 4. นโยบายและแผนพัฒนาเศรษฐกิจ นโยบาย (Government Policy) และแผนพัฒนาเศรษฐกิจ (Development Plan) ของประเทศ เปรี ยบเสมือนแผนที่นาทางไปยังจุดหมายที่รัฐบาลและผูรับบริ การและผูมีส่วนได้ส่วนเสี ยกาหนด ้ ้ ซึ่ ง ยัง มิ ได้ล งรายละเอี ยดถึ ง วิธี การ และทรั พ ยากรที่ จาเป็ นต้องใช้ใ นการไปให้ถึ งเป้ าหมา ยนั้น หน่ วยงานภาครัฐที่เกี่ ยวข้องกับนโยบายและแผนพัฒนาประเทศ จาเป็ นต้องศึกษารายละเอียดเพื่อ ก าหนดแนวทาง มาตรการ และขบวนการด าเนิ น งานให้ ส อดคล้อ งกับ ภารกิ จ ของการจัด ตั้ง หน่วยงานนั้น ๆ โดยเฉลี่ยแล้วแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศจะมีอายุนานกว่านโยบาย ของรัฐบาลที่ประกาศในแต่ละครั้งที่มีการจัดตั้งคณะรัฐบาล ซึ่ งในช่วงระหว่างปี 2549-2551 ได้มี การประกาศนโยบายใหม่ถึ ง 4 ครั้ ง ทาให้ต้องมี การทบทวนเนื้ อหาและประเด็นยุทธศาสตร์ ใ ห้ สอดคล้องกันหลายครั้ง อย่างไรก็ตาม จะพบว่านโยบายรัฐบาลส่ วนใหญ่จะเรี ยงร้อยตามแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และได้มีการเพิมเติมประเด็นให้ทนต่อสถานการณ์ ซึ่ งหากองค์กรของ ่ ั รัฐได้มีการติดตามทบทวนสถานการณ์และปรับกลยุทธ์การดาเนิ นงานอย่างต่อเนื่ องก็จะทาให้แผน ยุทธศาสตร์มีความทันสมัย
  • 8. 19 ในการจัดทาและทบทวนยุทธศาสตร์ ของกรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรม คณะทางาน ฯ ได้ใช้ ข้อมู ล จากแนวนโยบายและแผนพัฒนาที่ เกี่ ย วข้องกับ ภารกิ จขององค์ก รต่ า ง ๆ เพื่ อตรวจสอบ ประเด็นที่จะต้องนามาเป็ นส่ วนหนึ่งของการกาหนดแผนยุทธศาสตร์ ดังนี้ 1. รัฐธรรมนูญ 2. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 3. คาแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี 4. แผนส่ งเสริ มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 5. แผนแม่บทของกระทรวงอุตสาหกรรม 6. ยุทธศาสตร์ การพัฒนาพื้นที่ 7. ยุทธศาสตร์กระทรวงอุตสาหกรรม 8. 4.1 รัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนู ญแห่ งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 หมวดที่ 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่ งรัฐ ได้ ระบุประเด็นที่เกี่ ยวข้องกับการปฏิ บติหน้าที่ของหน่ วยงานรัฐที่สาคัญและเชื่ อมโยงกับภารกิ จของ ั กรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรม พอสรุ ปได้ดงนี้ ั 1. หมวดที่ 5 ส่ วนที่ 3 มาตรา 78 (4) “พัฒนาระบบงานภาครั ฐ โดยมุ่งเน้ นการพัฒนาคุณภาพ คุณธรรม และจริ ยธรรมของ เจ้ าหน้ าที่ ของรั ฐ ควบคู่ ไปกับการปรั บปรุ งรู ปแบบและวิธีการทางาน เพื่ อให้ การบริ หารราชการ แผ่ นดิ นเป็ นไปอย่ างมี ประสิ ทธิ ภาพ และส่ งเสริ มให้ หน่ วยงานของรั ฐใช้ หลักการบริ หารกิ จการ บ้ านเมืองที่ดีเป็ นแนวทางในการปฏิ บัติราชการ” 2. หมวดที่ 5 ส่ วนที่ 7 มาตรา 84 (2) “สนับสนุนให้ มีการใช้ หลักคุณธรรม จริ ยธรรม และหลักธรรมาภิบาล ควบคู่กับการ ประกอบกิจการ” 3. หมวดที่ 5 ส่ วนที่ 7 มาตรา 84 (6) “ดาเนินการให้ มีการกระจายรายได้ อย่ างเป็ นธรรม คุ้มครอง ส่ งเสริ มและขยายโอกาส ในการประกอบอาชี พของประชาชนเพื่ อการพัฒนาเศรษฐกิ จ รวมทั้ง ส่ งเสริ มและสนับสนุนการ พัฒนาภูมิปั ญญาท้ องถิ่ นและภูมิปั ญญาไทย เพื่ อใช้ ใ นการผลิ ตสิ นค้ า บริ การ และการประกอบ อาชี พ”
  • 9. 20 4. หมวดที่ 5 ส่ วนที่ 7 มาตรา 84 (9) “ส่ งเสริ ม สนับสนุน และคุ้มครองระบบสหกรณ์ ให้ เป็ นอิ สระ และการรวมกลุ่มการ ประกอบอาชี พหรื อวิชาชี พตลอดทั้งการรวมกลุ่มของประชาชนเพื่อดาเนินกิจการด้ านเศรษฐกิจ” 5. หมวดที่ 5 ส่ วนที่ 7 มาตรา 84 (9) “ส่ งเสริ มและสนับสนุนองค์ กรภาคเอกชนทางเศรษฐกิ จทั้งในระดับชาติ และระดับ ท้ องถิ่นให้ มีความเข้ มแข็ง” 6. หมวดที่ 5 ส่ วนที่ 9 มาตรา 84 (1) “ส่ งเสริ มให้ มีการพัฒนาด้ านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมด้ านต่ าง ๆ โดย จั ด ให้ มี ก ฎหมายเฉพาะเพื่ อ การนี ้ จั ด งบประมาณสนั บ สนุ น การศึ ก ษา ค้ น คว้ า วิ จั ย และให้ มี สถาบันการศึ กษาและพัฒนา จัดให้ มีการใช้ ประโยชน์ จากผลการศึ กษาและพัฒนา การถ่ ายทอด เทคโนโลยี ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภาพ และการพั ฒ นาบุ ค ลากรที่ เหมาะสม รวมทั้ ง เผยแพร่ ความรู้ ด้ า น วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีสมัยใหม่ และสนับสนุนให้ ประชาชนใช้ หลักด้ านวิทยาศาสตร์ ในการ ดารงชี วิต” 7. หมวดที่ 5 ส่ วนที่ 9 มาตรา 84 (3) “ส่ งเสริ มและสนับสนุนการวิจัย พัฒนา และใช้ ประโยชน์ จากพลังงานทดแทนซึ่ งได้ จากธรรมชาติและเป็ นคุณต่ อสิ่ งแวดล้ อมอย่ างต่ อเนื่องและเป็ นระบบ” 8. หมวดที่ 5 ส่ วนที่ 10 การมีส่วนร่ วมของประชน 4.2 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติ แผนพัฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ ฉบับ ที่ 10 (พ.ศ.2550-2554) ได้ ก าหนด ยุท ธศาสตร์ ก ารพัฒนาประเทศตามบริ บ ทการเปลี่ ยนแปลง โดยเสริ มสร้ า งความแข็งแกร่ ง ของ โครงสร้างของระบบต่างๆ ภายในประเทศให้มีศกยภาพ แข่งขันได้ในกระแสโลกาภิวตน์ และสร้าง ั ั ฐานความรู ้ให้เป็ นภูมิคุมกันต่อการเปลี่ยนแปลงต่างๆ จากการวิเคราะห์พบว่า มีประเด็นที่เกี่ยวข้อง ้ กับภารกิจของกรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรมดังนี้ 1. การพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสู่ สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรี ยนรู ้ 1.1. การพัฒนาคนให้มีมีคุณธรรม นาความรู ้ เกิดภูมิคุมกัน โดยการจัดการองค์ความรู ้ ้ และภูมิปัญญาท้องถิ่น
  • 10. 21 1.2. การเสริ ม สร้ า งคนไทยให้อยู่ร่วมกันในสั ง คมได้อย่า งสันติ สุข โดยการพัฒนา ระบบการคุมครองเศรษฐกิจที่หลากหลาย และสร้างโอกาสการเข้าถึงแหล่งทุน ้ 2. การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและสังคมให้เป็ นรากฐานที่มนคงของประเทศ ั่ 2.1. การสร้างความมันคงของเศรษฐกิจชุมชน ด้วยการบูรณาการกระบวนการผลิตบน ่ ฐานศัก ยภาพ และความเข้ม แข็ง ของชุ ม ชนอย่า งสมดุ ล เน้น การผลิ ต เพื่ อ การ บริ โ ภคอย่า งพอเพี ย งภายในชุ ม ชน สนับ สนุ น ให้ ชุ ม ชนมี ก ารรวมกลุ่ ม ในรู ป สหกรณ์ กลุ่มอาชี พ สนับสนุ นการนาภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่ นมาใช้ใน การสร้างสรรค์คุณค่าของสิ นค้าและบริ การและสร้างความร่ วมมือกับภาคเอกชน ในการลงทุนสร้ างอาชี พและรายได้ที่มีการจัดสรรประโยชน์อย่างเป็ นธรรมแก่ ชุมชน ส่ งเสริ ม การร่ วมลงทุนระหว่างเครื อข่ายองค์กรชุ มชนกับองค์กรปกครอง ส่ วนท้องถิ่ น รวมทั้ง สร้ า งระบบบ่ ม เพาะวิส าหกิ จ ชุ ม ชนควบคู่ ก ับ การพัฒนา ความรู้ดานการจัดการ การตลาด และทักษะในการประกอบอาชีพ ้ 3. ยุทธศาสตร์ การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลและยังยืน ่ 3.1. การปรับโครงสร้างการผลิตเพื่อเพิ่มผลิตภาพและคุณค่าของสิ นค้าและบริ การบน ฐานความรู้และความเป็ นไทย โดยปรับโครงสร้างภาคเกษตร ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริ การที่ใช้กระบวนการพัฒนาคลัสเตอร์ และห่ วงโซ่ อุปทาน รวมทั้ง เครื อข่ายชุมชนบนรากฐานของความรู ้สมัยใหม่ ภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรม ไทย และความหลากหลายทางชีวภาพ เพื่อสร้างสิ นค้าที่มีคุณภาพและมูลค่าสู ง มี ตราสิ นค้าเป็ นที่ยอมรับของตลาด รวมทั้งสร้างบรรยากาศการลงทุนที่ดี เพื่อดึงดูด การลงทุนจากต่างประเทศ และส่ งเสริ มการลงทุนไทยในต่างประเทศ ตลอดจน การบริ หารองค์ความรู ้อย่างเป็ นระบบ 3.2. การสร้างภูมิคุมกันของระบบเศรษฐกิจ โดยการบริ หารเศรษฐกิจส่ วนรวมอย่างมี ้ ประสิ ทธิภาพเพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจให้มนคงและสนับสนุ นการปรับ ั่ โครงสร้างการผลิตโดยการระดมทุนไปสู่ ภาคการผลิตที่มีประสิ ทธิ ภาพ 3.3. การสนับสนุนให้เกิดการแข่งขันที่เป็ นธรรมและการกระจายผลประโยชน์จากการ พัฒนาอย่างเป็ นธรรม โดยส่ งเสริ มการแข่งขันการประกอบธุ รกิ จในระบบอย่าง เสรี เป็ นธรรม และป้ องกันการผูกขาด กระจายการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานไปสู่ ภู มิ ภ าคอย่า งสมดุ ล และเป็ นธรรม ให้ ป ระชาชนเข้า ถึ ง บริ ก ารได้อ ย่า งทั่ว ถึ ง เพียงพอ และสอดคล้องกับความต้องการของพื้นที่ 4. การเสริ มสร้างธรรมาภิบาลในการบริ หารจัดการประเทศ
  • 11. 22 4.1. เสริ มสร้ า งความเข้มแข็งของภาคประชาชนให้ส ามารถเข้า ร่ วมในการบริ หาร จัดการประเทศ โดยส่ งเสริ มให้ประชาชนรวมตัวและรวมกลุ่มสร้างเครื อข่ายการ ทางานร่ วมกันให้เข้มแข็ง 4.2. สร้ างภาคราชการที่มีประสิ ทธิ ภาพและมีธรรมาภิบาล เน้นการบริ การแทนการ กากับควบคุม และทางานร่ วมกับหุ นส่ วนการพัฒนา เน้นการพัฒนาประสิ ทธิ ภาพ ้ และความคุ มค่าในการปฏิ บติภารกิ จด้วยการปรับบทบาทโครงสร้ างและกลไก ้ ั การบริ หารจัดการภาครั ฐ และรั ฐวิส าหกิ จให้มี ป ระสิ ท ธิ ภาพ ทันสมัย ลดการ บังคับควบคุ ม คานึ งถึ งความต้องการของประชาชนและทางานร่ วมกับหุ ้นส่ วน การพัฒนา 4.3 นโยบายของคณะรัฐมนตรี คาแถลงนโยบายการบริ หารราชการแผ่นดินของคณะรัฐมนตรี ถือว่าเป็ นกรอบแนวทางการ บริ หารประเทศของรัฐบาลที่จะดาเนินการพัฒนาประเทศให้มนคงและยังยืน โดยทัวไปแล้วจะมีการ ั่ ่ ่ กาหนดประเด็นเรื่ องเร่ งด่วน ความมันคง เศรษฐกิ จและสังคม และการบริ หารบ้านเมื อง เป็ นต้น ่ โดยสามารถสรุ ปเป็ นเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับงานของกรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรม ดังนี้ 4.3.1 การสร้างความเชื่ อมันและกระตุนเศรษฐกิจในภาพรวมเพื่อให้เกิดความเชื่ อมันแก่ ่ ้ ่ ภาคประชาชนและเอกชนในการลงทุนและการบริ โภค (1) ฟื้ นฟูเศรษฐกิจที่กาลังประสบปั ญหาเป็ นการเร่ งด่วน 4.3.2 นโยบายเศรษฐกิจ (1) นโยบายปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ (2) สร้างความแข็งแกร่ งและความสามารถในการแข่งขันในตลาดโลกให้กบ ั อุตสาหกรรมไทยด้วยการเพิ่มประสิ ทธิ ภาพการผลิ ตเพื่อลดต้นทุ นและ เพิ่มมูลค่าให้แก่สินค้า (3) ก าหนดมาตรการแก้ ไ ขปั ญ หาของแต่ ล ะอุ ต สาหกรรมและพัฒ นา อุ ตสาหกรรมที่ มีศ ก ยภาพในอนาคต เช่ น อุ ตสาหกรรมผลิ ตเครื่ องจัก ร ั ภายในประเทศ อุ ต สาหกรรมยานยนต์ อุ ต สาหกรรมอาหาร และ อุตสาหกรรมอัญมณี เป็ นต้น (4) ร่ วมมื อกับ ภาคเอกชนในการปรั บ ปรุ ง คุ ณภาพและมาตรฐานสิ นค้า ให้ ทัดเทียมและล้ าหน้าในระดับสากล
  • 12. 23 (5) สร้ างความเข้มแข็งให้แก่อุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม โดยรัฐ อ านวยความสะดวกในการจัด ตั้ง เครื อข่ า ยรวมกลุ่ ม และปรั บ ปรุ ง มาตรฐานการปล่อยสิ นเชื่อ ขยายขอบเขตการดาเนินการให้สินเชื่อ (6) ส่ งเสริ มให้อุตสาหกรรมมี ความรั บผิดชอบต่อสังคม ทั้งในด้านคุ ณภาพ และมาตรฐานสิ นค้าและบริ การ (7) ขยายฐานภาคบริ การในโครงสร้ างการผลิ ตของประเทศ โดยเพิ่มความ หลากหลายของธุ รกิ จบริ การ เพิ่มมูลค่า เพิ่มความสามารถในการแข่งขัน พัฒนาแรงงานฝี มือทั้งในด้านคุณภาพและความรู ้ดานภาษา และเชื่ อมโยง ้ ธุ รกิจภาคบริ การ อุตสาหกรรม และเกษตรเข้าด้วยกันให้เป็ นกลุ่มสิ นค้า (8) ขยายตลาดสิ น ค้า และบริ ก ารส่ ง ออกของไทยโดยก าหนดกลยุท ธ์ ด้า น การตลาดร่ วมกับภาคเอกชนเพื่อเพิ่มส่ วนแบ่งในตลาดที่มีอยู่แล้ว และ ขยายฐานการตลาดไปสู่ ประเทศใหม่ (9) ใช้ประโยชน์จากข้อตกลงเขตการค้าเสรี ท้ งในระดับทวิภาคี และพหุ ภาคี ั ควบคู่ไปกับการเจรจาข้อตกลงเขตการค้าเสรี ที่มีปัญหา ทั้งที่อยู่ระหว่าง การเจรจา และที่ได้มีการเจรจาไปแล้ว (10) ส่ งเสริ มการลงทุนในภาคเกษตร อุตสาหกรรมและบริ การที่ไทยมีศกยภาพ ั โดยเฉพาะสิ นค้าอาหารและบริ การฮาลาล อุตสาหกรรมภาพยนตร์ สินค้า และบริ การที่ ใ ช้ น วัต กรรมและภู มิ ปั ญ ญา การลงทุ น ที่ เ ป็ นมิ ต รกั บ สิ่ งแวดล้อม (11) สนับ สนุ น การลงทุ น ในต่ า งประเทศในสาขาที่ ผู ้ป ระกอบการไทยมี ศัก ยภาพ และสร้ า งเครื อข่ า ยเชื่ อ มโยงทางธุ ร กิ จ ทั้ง ในประเทศและ ต่างประเทศ 4.3.3 นโยบายพลังงาน (1) ส่ งเสริ มการอนุ รั ก ษ์ แ ละประหยัด พลั ง งาน ทั้ งในภาคครั ว เรื อน อุตสาหกรรม บริ การ และขนส่ ง โดยรณรงค์ให้เกิดวินยและสร้างจิตสานึ ก ั ในการประหยัดพลังงาน (2) สนับสนุ นการใช้พลังงานอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ มีมาตรการจูงใจให้มีการ ลงทุนจากภาคเอกชนในการปรับเปลี่ ยนอุปกรณ์ประหยัดพลังงาน และ มาตรการสนับสนุนให้ครัวเรื อนลดการใช้ไฟฟ้ าในช่วงการใช้ไฟฟ้ าสู งสุ ด
  • 13. 24 (3) การวิจยพัฒนาและกาหนดมาตรฐานอุปกรณ์ ไฟฟ้ าและมาตรฐานอาคาร ั ประหยัดพลังงาน 4.3.4 นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร (1) การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการให้บริ การภาครัฐ บริ การศึกษา บริ การสาธารณสุ ข และโลจิสติกส์ เพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศ (2) พัฒนาอุ ตสาหกรรมเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่ อสารทั้ง ในด้า น ซอฟต์แวร์ และฮาร์ ดแวร์ โดยสนับสนุ นให้มีการวิจยและพัฒนา รวมทั้ง ั การพัฒ นาศัก ยภาพของบุ ค ลากรเพื่ อ รองรั บ การเป็ นศู น ย์ก ลางด้า น เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารในภูมิภาค 4.3.5 นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจย และนวัตกรรม ั (1) ส่ งเสริ มและสนับสนุ นโครงการวิจยตามแนวพระราชดาริ การวิจยและ ั ั พัฒนาทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีท้ งงานวิจยขั้นพื้นฐาน และงานวิจย ั ั ั ประยุกต์ เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิ ชย์และพัฒนาอุตสาหกรรม (2) เร่ งรัดการวิจยและพัฒนาเทคโนโลยีที่มีความสาคัญต่อการพัฒนาคุณภาพ ั ชีวตและพัฒนาอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ในอนาคต ิ 4.3.6 นโยบายการบริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดี (1) ประสิ ทธิ ภาพการบริ หารราชการแผ่นดิน (2) ปรั บ บทบาทและภารกิ จการบริ หารราชการระหว่า งราชการส่ วนกลาง ส่ วนภูมิภาค และส่ วนท้องถิ่ นให้ชัดเจน ไม่ซ้ าซ้อน เพื่อสามารถดาเนิ น ภารกิจที่สนับสนุนเชื่อมโยงกัน (3) สร้างมาตรฐานด้านคุณธรรม จริ ยธรรม และธรรมาภิบาล (4) ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูล และมีส่วนร่ วมในกระบวนการวางแผน และการทางาน (5) ให้แก่ ขาราชการและเจ้าหน้าที่ ของรั ฐ พร้ อมทั้งพัฒนาความโปร่ งใสใน ้ การปฏิ บติงานของหน่ วยงานภาครั ฐ เพื่อให้เป็ นที่ เชื่ อถื อไว้วางใจของ ั ประชาชน ่ (6) จัดระบบงานให้มีความยืดหยุน คล่องตัว รวดเร็ วมีประสิ ทธิ ภาพ โปร่ งใส สามารถตรวจสอบได้ และส่ ง เสริ ม พัฒ นาระบบบริ ห ารผลงานและ สมรรถนะของข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐทุกระดับอย่างต่อเนื่ อง
  • 14. 25 4.4 แผนส่ งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม แผนส่ งเสริ มวิสาหกิ จขนาดกลางและขนาดย่อม ซึ่ งจัดทาโดย สานักงานส่ งเสริ มวิสาหกิ จ ขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) สามารถใช้เป็ นกรอบในการจัดทายุทธศาสตร์ ข องกรมส่ งเสริ ม อุตสาหกรรมได้ เนื่ องจากโดยหลักการแล้ว แผนส่ งเสริ ม ฯ ดังกล่าวมีกลุ่มเป้ าหมายและเนื้ อหาที่ เกี่ ย วข้อ งกับ ภารกิ จ ของกรมส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรม โดยเฉพาะในเรื่ อ งของการเสริ ม สร้ า งขี ด ความสามารถของผูประกอบการและวิสาหกิ จ และเป้ าประสงค์หลักคือความต้องการเห็ น SMEs ้ เติบโตอย่างมีคุณภาพ ดังแสดงในรู ปที่ 2 ปั จ จุ บ ัน สสว. ได้ใ ช้แ ผนส่ ง เสริ ม วิส าหกิ จ ขนาดกลางและขนาดย่อ มฉบับ ที่ 2 โดยมี ระยะเวลาตั้ง แต่ ปี 2550-2554 เนื้ อหาของยุท ธศาสตร์ ที่เกี่ ย วข้องกับ กรมส่ งเสริ มอุ ตสาหกรรม ประกอบด้วย
  • 15. 26 รู ปที่ 2 แผนส่ งเสริ ม SMEs 4.4.1 ยุทธศาสตร์ที่ 1 การสร้างและพัฒนาผูประกอบการ ้ (1) สร้างแรงจูงใจในการเป็ นผูประกอบการ ้ (2) เพิ่มขีดความสามารถ ความรู ้ ทักษะตามขนาดระยะการเติบโตของธุ รกิจ (3) เพิ่มขีดความสามารถด้านเทคโนโลยี/นวัตกรรม (4) ยกระดับความสามารถ/คุณภาพชีวตบุคลากร SMEs ิ (5) สร้างโอกาสในทางธุ รกิจและการให้ความรู ้ดานการตลาด ้ (6) สร้างความตื่นตัว จิตสานึก และธรรมาภิบาลแก่ผประกอบการ ู้ 4.4.2 ยุทธศาสตร์ที่ 2 การเพิ่มผลิตภาพและขีดความสามารถทางนวัตกรรมของวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อมในภาคการผลิต (1) การส่ งเสริ มการสร้างพันธมิตรธุ รกิจและการรวมกลุ่มเครื อข่ายวิสาหกิจ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (Cluster) (2) การสนับสนุนขีดความสามารถทางเทคโนโลยีให้แก่วสาหกิจขนาดกลาง ิ และขนาดย่อม (3) การเพิ่มประสิ ทธิ ภาพและผลิตภาพ
  • 16. 27 (4) การเตรี ยมพร้อมรองรับระบบการค้าเสรี และมาตรการทางการค้า (5) ยกระดับคุณภาพ มาตรฐาน และความสามารถในการสร้างความแตกต่าง ของผลิตภัณฑ์ให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด 4.4.3 ยุทธศาสตร์ที่ 3 การเพิมประสิ ทธิ ภาพและลดผลกระทบในภาคการค้า ่ (1) การเสริ มสร้างศักยภาพในการแข่งขันของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด ย่อมภาคการค้าส่ ง-ค้าปลีก (2) การส่ งเสริ มและปรับปรุ งระบบการกากับดูแลภาคการค้าส่ ง-ค้าปลีกเพื่อให้ เกิดการแข่งขันที่เป็ นธรรม (3) การสร้างและพัฒนากลไกความร่ วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน ภาค วิชาการ และภาคประชาชนในการพัฒนาธุ รกิ จค้าส่ ง-ค้าปลีก และได้รับ ความร่ วมมือกับส่ วนกลาง 4.4.4 ยุทธศาสตร์ที่ 4 การส่ งเสริ มภาคบริ การในการสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่ม (1) การพัฒนาบุคลากรภาคบริ การ ทั้งด้านความรู ้ ความสามารถ ทักษะฝี มือ และจิตวิญญาณในการเป็ นผูให้บริ การที่ดี ้ (2) การเสริ มสร้างระบบความเชื่อมโยงห่วงโซ่อุปทานและเครื อข่ายวิสาหกิจ ของภาคบริ การที่มีศกยภาพ ั (3) การพัฒนาศักยภาพในการแข่งขัน โดยการใช้ภูมิปัญญา วัฒนธรรมไทย และเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่เหมาะสม (4) การเร่ งรัดการเพิมประสิ ทธิ ภาพ ผลิตภาพ และคุณภาพมาตรฐานของ ่ ผลิตภัณฑ์บริ การ 4.4.5 ยุทธศาสตร์ ที่ 5 การส่ ง เสริ มวิสาหกิ จขนาดกลางและขนาดย่อมในภูมิภาคและ ท้องถิ่น (1) การส่ ง เสริ มผลิ ต ภัณ ฑ์ ชุ ม ชนและท้ อ งถิ่ น โดยการพัฒ นาคุ ณ ภาพ มาตรฐาน ความแตกต่างของสิ นค้าและบริ การให้สอดคล้องกับความต้องการของ ตลาด (2) การส่ งเสริ มการเชื่อมโยงเครื อข่ายวิสาหกิจเพื่อเสริ มสร้างห่วงโซ่มูลค่าใน ระดับสาขาที่มีศกยภาพ และสนับสนุ นการรวมกลุ่ม/เชื่ อมโยงธุ รกิ จของ ั วิสาหกิจชุมชน
  • 17. 28 (3) การสนับสนุ นโครงสร้ างพื้นฐานเพื่ อให้บริ การแก่ วิสาหกิ จขนาดกลาง และ ขนาดย่อมในภูมิภาค (4) การบูรณาการและสร้างเครื อข่ายการทางานส่ งเสริ มวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมในภูมิภาค 4.4.6 ยุทธศาสตร์ ที่ 6 การพัฒนาปั จจัยเอื้ อในการดาเนิ นธุ รกิ จสาหรั บวิส าหกิ จขนาด กลางและขนาดย่อม (1) การส่ งเสริ มระบบและเครื่ องมือให้วสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมเกิด ิ ความสะดวกในการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม (2) การยกระดับความรู ้และทักษะบุคลากรของวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อม (ผูประกอบการ / พนักงาน) ้ (3) การบริ หารจัดการระบบข้อมูลสาหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (4) การส่ งเสริ มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมทางด้านการเงิน (5) การส่ งเสริ มสิ่ งอานวยความสะดวกและความสามารถด้านการตลาด (6) การส่ งเสริ มประสิ ทธิ ภาพการจัดการด้านโลจิสติกส์ 4.5 แผนแม่ บทของกระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ได้มอบหมายให้สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ดาเนิ นการจัดทา แผนแม่บทบทการพัฒนาอุตสาหกรรม ร่ วมกับหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ ยวข้อง จานวน 2 แผนแม่บท ได้แก่ แผนแม่บทการพัฒนาประสิ ทธิ ภาพและผลิ ตภาพของภาคอุ ตสาหกรรม (พ.ศ.2551-2555) และแผนแม่บทโครงสร้างพื้นฐานทางปั ญญา (พ.ศ.2551-2555) แผนแม่บททั้ง 2 มีความเฉพาะใน เรื่ องการพัฒนาผลิตภาพและนวัตกรรมของภาคอุตสาหกรรมซึ่ งเกี่ ยวข้องกับแนวทางการส่ งเสริ ม อุตสาหกรรมดังนี้ 4.5.1 แผนแม่บทการพัฒนาประพัฒนาประสิ ทธิ ภาพและผลิตภาพของภาคอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรมได้ตระหนักถึ งความสาคัญของการเพิ่มผลิ ตภาพ (Productivity) โดยเฉพาะในภาคอุตสาหกรรม เนื่ องจากเป็ นปั จจัยสาคัญที่ทาให้วิสาหกิจสามารถ ลดต้นทุน เพิ่มกาลังการผลิตเพื่อทาให้เศรษฐกิจของประเทศเกิดการขยายตัวได้อย่างมันคง โดยมี ่ รายละเอียดพอสรุ ปได้ดงนี้ ั
  • 18. 29 เป้ าหมาย (1) ผลิตภาพแรงงานของภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น ในอัตราร้อยละ 5 ต่อ ปี (2) กลุ่ ม อุ ต สาหกรรมที่ เ ข้า ร่ ว มโครงการภายใต้แ ผนแม่ บ ทมี จ านวน เพิ่มขึ้น เป็ นไม่นอยกว่า 25 กลุ่มอุตสาหกรรม ในปี 2555 ้ (3) ผูประกอบการที่เข้าร่ วมโครงการภายใต้แผนแม่บทมีจานวนเพิ่มขึ้น ้ ไม่นอยกว่า 9,000 โรงงาน ในปี 2555 ้ ยุทธศาสตร์ (1) การยกระดับความสามารถทักษะแรงงาน (Human Skill) ทั้งแรงงาน ที่มีอยูเ่ ดิมและแรงงานที่กาลังเข้าสู่ ภาคอุตสาหกรรม (2) การยกระดับความสามารถทางด้านการบริ หารจัดการ (Management) (3) การปรับปรุ งประสิ ทธิภาพเครื่ องจักร (4) การพัฒนาระบบ Logistics ภายในกลุ่มอุตสาหกรรม (5) การสร้างเครื อข่ายพันธมิตรธุ รกิจ และ Supply Chain 4.5.2 แผนแม่บทโครงสร้างพื้นฐานทางปั ญญา แผนแม่บทฉบับนี้ มุ่งเน้นการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางปั ญญาในด้าน การเพิ่มความสามารถในการสร้ างและการใช้ประโยชน์ความรู ้ โดยหากวิสาหกิจของไทยสามารถ สร้ า งความแตกต่ า งในสิ น ค้า และบริ ก าร (Differentiation) ได้จ ากการพัฒ นานวัต กรรมของ กระบวนการ สิ นค้า บริ การ จะทาให้มีความสามารถในการแข่งขันสู งขึ้ นส่ งผลให้ประเทศมี การ เจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ยงยืน โดยมีรายละเอียดพอสรุ ปได้ดงนี้ ั่ ั เป้ าหมาย (1) ร้ อ ยละ 35 ของสถานประกอบการในอุ ต สาหกรรมการผลิ ต มี นวัตกรรมและการเรี ยนการสอนทางเทคโนโลยี (2) มีความร่ วมมืออย่างใกล้ชิดระหว่างภาคธุ รกิจ สถาบันการศึกษา การ วิจย ั (3) อันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย ในด้านบุคลากร วิจยและพัฒนา และสิ ทธิ บตร ที่จดทาโดย International Institute for ั ั ั Management Development (IMD) อยู่ในตาแหน่ งไม่ต่ ากว่าจุ ด กึ่งกลาง
  • 19. 30 ยุทธศาสตร์ (1) เพิ่มความสามารถทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมของภาคการผลิต (2) สร้างความเข้มแข็งของแหล่งผลิตความรู ้ (3) สร้างความเชื่อมโยงระหว่างแหล่งผลิตความรู ้และผูใช้ความรู ้ ้ 4.6 ยุทธศาสตร์ การพัฒนาพืนที่ ้ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้จดทากรอบยุทธศาสตร์ ั การพัฒนาภาค ตามภูมิสังคมของแต่ละภาคทั้ง 4 ภาค (ภาคเหนื อ ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ ภาค กลาง และภาคใต้) เพื่อขับเคลื่อนแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 สู่ การปฏิบติ และเพื่อเชื่ อมโยงยุทธศาสตร์ ั ระดับชาติ สู่ ระดับจังหวัด กลุ่มจังหวัด รวมทั้งได้นาบริ บทการเปลี่ ยนแปลงของโลกและประเทศ และศักยภาพภูมิสังคมของแต่ละพื้นที่มาใช้ประกอบการพิจารณา ในการกาหนดแนวทางการพัฒนา ของภาค และกลุ่มจังหวัด แผนดังกล่าวเกี่ยวข้องกับกรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรมเนื่องจาก กรมส่ งเสริ ม อุตสาหกรรมมีศูนย์ส่งเสริ มอุตสาหกรรม ซึ่ งเป็ นหน่วยงานในภูมิภาคทาหน้าที่ส่งเสริ มและพัฒนา อุตสาหกรรมในพื้นที่ รับผิดชอบ ดังนั้นยุทธศาสตร์ การพัฒนาภาคจะต้องได้รับการพิจารณาเป็ น ส่ วนหนึ่งของการจัดทายุทธศาสตร์ กรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรม ซึ่ งพอจะสรุ ปได้ดงนี้ ั 4.6.1 ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคเหนือ (1) สนับสนุ นการสร้ างมูลค่าเพิ่มของฐานการผลิ ตที่มีความหลากหลาย คานึ งถึ งผลกระทบต่อทรั พยากรธรรมชาติ และสิ่ ง แวดล้อม เพื่อคง ความเป็ นฐานเศรษฐกิจอย่างยังยืน่ ก. สนับสนุนอุตสาหกรรมแปรรู ปธัญพืชในภาคเหนื อตอนล่าง ข. สนับสนุ นอุตสาหกรรมบริ การใหม่ที่มีศกยภาพ โดยเฉพาะ ั อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ หัตถอุตสาหกรรม และธุ รกิจบริ การ สุ ขภาพ ค. พัฒนาปั จจัยสนับสนุ นธุ รกิ จอุ ตสาหกรรมและบริ การ โดย ส่ งเสริ มการพัฒนาเครื อข่ายกลุ่มธุ รกิจ (Cluster) (2) พัฒนาเมืองศูนย์กลางความเจริ ญและเมืองชายแดน เพื่อรองรับการ เชื่อมโยงในระดับนานาชาติ
  • 20. 31 ก. เร่ งรัดการดาเนิ นงานแผนงาน/โครงการภายใต้นโยบายเขต เศรษฐกิจชายแดน (3) พัฒนาคนและสังคมให้พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง มีความมันคง และ ่ อยูเ่ ย็นเป็ นสุ ขร่ วมกัน ก. เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพแรงงานให้ สู ง ขึ้ น โดยเฉพาะในพื้ น ที่ อุตสาหกรรมและบริ การหลักได้แก่ เชี ยงใหม่-ลาพูน ลาปาง เชียงราย พิษณุโลก และนครสวรรค์ (4) บริ หารจัดการทรั พยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมอย่างยังยืน เน้น ่ การอนุ รักษ์ ฟื้ นฟู และใช้ประโยชน์อย่างสมดุ ล รวมทั้งเตรี ยมการ ป้ องกันและรับมือกับภัยธรรมชาติ ก. พัฒนาคุณค่าความหลากหลายทางชีวภาพ 4.6.2 ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคกลาง (5) พัฒนาฐานเศรษฐกิจหลักของประเทศให้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ก. รั ก ษาฐานอุ ต สาหกรรมที่ มี อ ยู่ ใ ห้ ย ั่ ง ยื น เพื่ อ เป็ นฐาน อุตสาหกรรมของประเทศ ข. เสริ ม สร้ า งสภาพแวดล้อมแหล่ ง อุ ตสาหกรรม โดยพัฒนา รวมกลุ่มอุตสาหกรรมในพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก ค. พัฒ นาคุ ณ ภาพอุ ต สาหกรรมให้ ไ ด้ ม าตรฐานโดยใช้ เทคโนโลยีสะอาด (การออกแบบ/Value creation/เทคโนโลยี สะอาด) ง. สนับสนุ นด้านการตลาด เงิ นทุนและความรู้ ในการบริ หาร จัดการแก่อุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม เพื่อพัฒนา ขีดความสามารถและสร้างความเข้มแข็งให้แก่อุตสาหกรรม SMEs จ. พัฒนาความร่ ว มมื อกับ ประเทศเพื่ อ นบ้า นโดยเฉพาะการ ลงทุน สร้าง Value Chain และพัฒนาธุ รกิ จการค้ารู ปแบบ ใหม่ และมุ่ ง ลงทุ น ในต่ า งประเทศ เพื่ อ แสวงหาวัต ถุ ดิ บ / แรงงานราคาถูก ฉ. พัฒ นาระบบ Logistics และ Infrastructures ให้ มี ประสิ ทธิภาพ