SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  32
Télécharger pour lire hors ligne
756457 Negotiation
เจรจาต่อรอง 2
โดย
อ.ภานุมาศ ฉัตรพิทักษ์โชค
ลักษณะของนักเจรจาต่อรอง
การเป็นนักเจรจาต่อรอง แม้ส่วนหนึ่งจะมาจากบุคลิกลักษณะ แต่อีก
ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการพัฒนาการฝึกฝน อย่างไรก็ดีมีปัจจัยพื้นฐาน
หลายปัจจัยที่ควรต้องพิจารณาเพื่อเข้าใจตนเอง และเข้าใจคู่เจรจาฝ่าย
ตรงข้าม อันจะนาไปสู่ความสาเร็จในการเจรจาต่อรอง โดยเฉพาะปัจจัย
เกี่ยวกับเพศ บุคลิกลักษณะ รูปแบบการบริหาร ค่านิยม และทัศนคติ
ของคนที่เข้าร่วมการเจรจาต่อรอง
ลักษณะของนักเจรจาต่อรอง
ผู้ที่จะเป็นนักเจรจาต่อรองที่ดีและประสบความสาเร็จ ควรต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้
• สามารถเข้าถึงความต้องการของผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
• สามารถประนีประนอม หรือหาทางออกเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้
• เชื่อมั่นในแนวคิดเอาชนะร่วมกัน
• มีความเชี่ยวชาญในการจัดการกับความขัดแย้ง
• พร้อมที่จะหาข้อมูลและวิเคราะห์ประเด็นต่างๆที่เกี่ยวข้องอย่างครบถ้วน
• มีความอดทนต่อการยั่วยุและความก้าวร้าว
• มีความอดกลั้นสูงในการเผชิญกับความเครียด
• เป็นผู้ฟังที่ดี
• มีความหนักแน่น ไม่ตื่นเต้นตกใจง่ายกับการใช้กลยุทธ์ของฝ่ายตรงข้าม
• สามารถสรุปประเด็นหลักที่เกี่ยวข้องกับการเจรจาต่อรองได้อย่างรวดเร็ว
ลักษณะ 7 ประการของนักเจรจาต่อรองที่ดี
1. มีความเชี่ยวชาญในการวางแผน
2. มีความสามารถในการคิดภายใต้แรงกดดัน
3. มีความเฉลียวฉลาด
4. มีความสามารถในการสื่อสารด้วยการพูด
5. มีความรู้ในเรื่องที่เจรจา
6. มีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เมื่อต้องเจรจาเป็นทีม
7. มีความสามารถในการใช้อานาจต่อรองและการเผชิญกับการใช้อานาจ
ต่อรอง
การทาความรู้จักคู่เจรจาต่อรอง
ในการเจรจาต่อรอง เราจาเป็นต้องรู้ว่าจะเจรจาต่อรองกับใคร และคู่เจรจา
ของเรามีจุดแข็งอ่อนอย่างไร นักเจรจาต่อรองที่ดีจึงต้องพยายามรวบรวมข้อมูล
เกี่ยวกับคู่เจรจาให้ได้มากที่สุด
การทาความรู้จักคู่เจรจา
• เรารู้อะไรบ้างเกี่ยวกับเจรจา
• รวบบรวมข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับคู่เจรจาจากเอกสาร รายงาน และ
หนังสือพิมพ์
• ถามคนอื่นที่เกี่ยวข้อง (เพื่อร่วมงาน คู่แข่ง ศัตรู และคู่ค้า)
• ถามคู่เจรจาเพื่อทาความรู้จัก (ก่อนการเจรจาต่อรอง)
• ตรวจสอบจากการแต่งกาย กิริยาท่าทาง และการแสดงออกของคู่เจรจา
• ตรวจสอบอานาจตัดสินใจ
• วิเคราะห์ความต้องการของคู่เจรจาเกี่ยวกับประเด็นการเจรจาต่อรอง
• วิเคราะห์จากบทบาททางสังคมของคู่เจรจา (วิชาชีพ กีฬา ศาสนา)
• วิเคราะห์จากประสบการณ์ในอดีตเกี่ยวกับคู่เจรจา
• พิจารณาจากประสบการณ์ของเราในทานองเดียวกัน
การทาความรู้จักกับคู่เจรจาก็เพื่อให้รู้ถึงจุดแข็งจุดอ่อนของคู่
เจรจา สามารถมองเห็นถึงความต้องการที่ซ่อนเร้นของคู่เจรจา เพื่อ
นามาใช้ในการวางแผนและเตรียมการเจรจาต่อรอง บางครั้งนักเจรจา
ต่อรองต้องทาตัวเป็นนักสืบ เป็นคนช่างสังเกต และเป็นนักวิเคราะห์
คู่เจรจาต่อรองอาจแบ่งออกเป็นประเภทต่างๆ ได้ดังนี้
1. ประเภทชอบก้าวร้าว (Aggressive) คู่เจรจาประเภทนี้จะแสดงบทบาท
ก้าวร้าวในการเจรจาต่อรองไม่ว่าจะเป็นคาพูดหรือกิริยาอาการต่างๆ ซึ่งอาจมา
จากบุคลิกของเขาหรือความเคยชิน
2. ประเภทชอบครอบงาผู้อื่น (Dominating) เป็นคู่เจรจาที่ชอบเป็นผู้นาใน
การเจรจา พยายามเป็นผู้กาหนดประเด็นอง และคุมการเจรจาให้อยู่ในประเด็น
ที่เขาต้องการเท่านั้น และมักไม่ค่อยชอบการแสดงความคิดเห็นที่แตกต่างไปจาก
สิ่งที่เขาต้องการ
3. ประเภทชอบควบคุมคนอื่น (Controlling) เป็นคู่เจรจาประเภทที่ชอบ
การควบคุมให้ผู้เข้าร่วมเจรจามีพฤติกรรมตามที่ต้องการ และมุ่งผลตามที่เขา
กาหนด เช่น แม่ที่ควบคุมลูกให้อยู่ในระเบียบที่กาหนด ไม่ยอมให้ลูกมีปากมี
เสียงในการต่อรอง
4. ประเภทชอบแบกภาระอื่น (Overbearing) เป็นคู่เจรจาที่ชอบการเข้า
รับภาระแทนคนอื่น เพื่อให้การเจรจาต่อรองยุติลงได้ อาจจะยอมเสียเปรียบใน
การเจรจาต่อรอง แต่จะเป็นที่ชื่นชอบของคู่เจรจาอีกฝ่าย
5. ประเภทชอบสนับสนุนคนอื่น (Supporting) เป็นคนที่ชอบสนับสนุนการ
ทางานของคนอื่นเพื่อให้บรรลุผล แต่ตนเองก็จะได้ในสิ่งที่ตนต้องการด้วย เช่น
เจ้านายที่สนับสนุนการทางานของลูกน้อง เมื่อลูกน้องบรรลุเป้ าหมาย เจ้านายก็
จะได้ผลงานนั้นด้วย
6. ประเภทชอบให้ความช่วยเหลือ (Accommodating) เป็นคู่เจรจา
ประเภทที่ชอบช่วยเหลือผู้อื่น และเห็นความต้องการของอีกฝ่ายเป็นสิ่งที่
เหมาะสมและควรให้ความช่วยเหลือเพื่อให้บรรลุผล ซึ่งอาจเป็นการช่วยเหลือ
เพื่อหวังผลในการสร้างความสัมพันธ์
7. ประเภทชอบเป็นผู้ให้ก่อน (Giving) เป็นคนที่ชอบเสนอให้ก่อน
ในการเจรจาต่อรองและเอื้อประโยชน์โดยการลดหย่อน หรือให้
ประโยชน์อื่นเพื่อหวังผลสาเร็จในการเจรจา เป็นคู่เจรจาที่มีส่วนช่วยให้
การเจรจาประสบความสาเร็จได้มาก
8. ประเภทมีแนวคิดสร้างสรรค์ (Constructive) เป็นคู่เจรจาที่มี
แนวคิดใหม่ๆ ในการหาทางออกในการเจรจา มีความสามารถในการ
แก้ปัญหาความขัดแย้งหรือทางตันในการเจรจาต่องรอง โดยสามารถหา
แนวทางใหม่ๆมาแก้ไขปัญหาได้เสมอ
คู่เจรจาประเภทที่มักสร้างความขัดแย้งในการเจรจาต่อรอง จะมี
ลักษณะดังนี้
• พวกชอบครอบงาฝ่ายตรงข้าม
• พวกชอบเริ่มต้นด้วยความดื้นรั้น
• พวกชอบออกคาสั่งโดยไม่มีเหตุผล
• พวกไม่ชอบความยืดหยุ่น
• พวกชอบใช้อารมณ์
• พวกชอบข่มขู่
• พวกที่ยังไม่ทันเริ่มต้น ก็สรุปเรื่องเสียก่อนแล้ว
• พวกไม่สนใจความเห็นผู้อื่น
• พวกชอบเอาชนะ แต่ไม่ยอมรับความพ่ายแพ้
ส่วนคู่เจรจาประเภทที่สร้างความร่วมมือในการเจรจา ได้แก่
• พวกใช้เหตุผล
• พวกที่รู้จักยืดหยุ่น
• พวกชี้ให้เห็นประโยชน์
• พวกถามคาถามหาเหตุผลมากกว่าชี้นา
• พวกที่ใช้การจูงใจมากกว่าการบังคับ
• พวกประสานประโยชน์
• พวกที่เน้นการแก้ปัญหาร่วมกัน
• พวกที่หาแนวทางให้ชนะทั้งสองฝ่าย
การวิเคราะห์คู่เจรจาต่อรอง
การพิจารณาว่าคู่เจรจาของเราเป็นคนอย่างไร ประเภทไหน ชอบใช้
รูปแบบการเจรจาแบบใด เราอาจวิเคราะห์ได้โดยใช้แนวทางต่อไปนี้
ความแตกต่างระหว่างเพศ
เพศหญิงและเพศชายนั้นจะมีแนวทางการเจรจาต่อรองที่แตกต่างกัน
ดังนี้
1. การมุ่งผลการเจรจา ผู้หญิงมีแนวโน้มที่จะมุ่งความสัมพันธ์ที่ดีกับคู่
เจรจามากกว่าผู้ชาย ขณะเดียวกัน ผู้ชายมีแนวโน้มมุ่งผลสาเร็จที่เป็น
ประโยชน์ในการเจรจามากกว่าผู้หญิง
2. ขอบเขตการเจรจาต่อรอง ผู้หญิงมักจะไม่จากัดว่าการเจรจาไว้แต่
เพียง หัวข้อที่กาหนด แต่อาจขยายการเจรจาไปยังเรื่องอื่นได้ด้วยบนพื้นฐาน
ของความสัมพันธ์ ขณะที่ผู้ชายมักจากัดการเจรจาต่อรองให้มีขอบเขตเฉพาะ
ในเรื่องที่เป็นประเด็นการเจรจาเท่านั้นตั้งแต่ต้นจนสิ้นสุดการเจรจาต่อรอง
3. ความมั่นใจในตนเอง ผู้หญิงจะมีความมั่นใจในตนเองในการเจรจา
ต่อรองน้อยกว่าผู้ชาย และพะวงกับความเห็นและคาวิจารณ์ของคนอื่นมากกว่า
ผู้ชาย เช่น ในการต่อรองเพื่อขอขึ้นเงินเดือน ผู้หญิงมักจะไม่เคยกล้าเรียกร้องให้
ขึ้นเงินเดือน โดยเฉพาะเมื่อต้องให้ผู้บังคับบัญชาประเมินผลงานในการกาหนด
ค่าจ้าง ส่วนผู้ชายจะมีความมั่นใจในตนเองมากกว่า และอาจเรียกร้อง
ผลประโยชน์ทางด้านนี้ได้มากกว่าด้วย
4. การใช้อานาจ ผู้หญิงที่มีอานาจเจรจาต่อรองจะเลือกใช้อานาจในทาง
ที่นุ่มนวลกว่าผู้ชาย โดยใช้การสร้างความผูกพันกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง และจูงใจ
ให้ทางานมากกว่าการบังคับ ในขณะที่ผู้ชายจะใช้อานาจโดยตรงเพื่อมุ่งสู่
เป้ าหมายที่ต้องการ แม้ต้องใช้การบังคับก็ตาม ผู้หญิงจึงมีแนวโน้มในการใช้การ
เจรจาต่อรองแบบร่วมมือขณะที่ผู้ชายมีแนวโน้มที่จะใช้การเจรจาต่อรองแบบ
แข่งขัน
5. การแก้ปัญหา ผู้หญิงจะใช้การพูดคุยกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง พยายาม
ทาความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหา รับฟังข้อคิดเห็น และให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการ
แก้ปัญหาข้อขัดแย้ง ขณะที่ผู้ชายมักแก้ปัญหาโดยการบอกอีกฝ่ายถึงสิ่งที่เขา
ต้องการ สิ่งที่เขาเสนอเป็นสิ่งที่ถูกต้อง และพยายามใช้กลยุทธ์ต่างๆเพื่อ
เอาชนะในการเจรจาต่อรอง
6. การรับรู้ ผู้ชายมีการรับรู้และเข้าใจในประเด็นข้อขัดแย้งได้ดีกว่า
ผู้หญิงทั้งแสดงออกได้เต็มที่มากกว่า ขณะที่ผู้หญิงยังมีความระมัดระวังในการ
รับรู้และแสดงออกโดยมีข้อจากัดในเรื่องวัฒนธรรมและเกรงการวิพากษ์วิจารณ์
จากคนอื่น
7. การเปิดเผยข้อมูล ผู้หญิงมีแนวโน้มที่จะให้ข้อมูลและความรู้สึกของ
ตนมากกว่าผู้ชาย ขณะที่ผู้ชายจะใช้การปิดบังข้อมูลและความรู้สึกของตนเอง
มากกว่าผู้หญิง
8. การเจรจาต่อรอง ในระหว่างการเจรจาต่อรอง ผู้เจรจาที่เป็นผู้หญิง
มักถูกปฏิบัติจากคู่เจรจาต่อรองในลักษณะถูกเอาเปรียบมากกว่าผู้เจรจา
ต่อรองที่เป็นผู้ชาย
9. การใช้กลยุทธ์การเจรจาต่อรอง แม้ว่าการใช้กลยุทธ์การเจรจา
ต่อรองจะเป็นอันเดียวกัน แต่หากผู้ใช้ต่างเพศกัน ผลจะออกมาต่างกัน เช่น
ในการเจรจาต่อรองเรื่องการขอปรับเงินเดือนโดยใช้กลยุทธ์การแลกเปลี่ยน
(Exchange Tactics) ซึ่งก็คือการขอเงินเดือนเพิ่มแลกกับการรับงานเพิ่มขึ้น
หากลูกจ้างชายใช้เทคนิคดังกล่าวจะได้ผลดีมากกว่าลูกจ้างหญิง หรือแม้แต่
การใช้กลยุทธ์การเจรจาต่อรองที่ก้าวร้าว (Aggressive Tactics) หากผู้หญิง
นาไปใช้จะได้ผลน้อยมาก ทั้งนี้เพราะเป็นการขัดกับความคาดหวังของคู่เจรจา
ถึงพฤติกรรมของผู้หญิงนั่นเอง ดังนั้น ผู้เจรจาต่อรองที่เป็นผู้หญิงจึงควรเลือก
กลยุทธ์การเจรจาต่อรองที่เหมาะสมกับเพศ ซึ่งช่วยให้ประสบความสาเร็จ
มากกว่า
การวางแผนในการเจรจาต่อรอง
ในการเจรจาต่อรองนั้น ผู้เจรจามักจะกาหนดเป้ าหมายในการเจรจา
ต่อรองไว้ไม่ชัดเจน และไม่มีการคาดการณ์ไว้ล่วงหน้าถึงกลยุทธ์การต่อรอง
ของคู่เจรจา นอกจากนี้ยังขาดการประเมินจุดแข็งและจุดอ่อนของฝ่ายตน
และของคู่เจรจา ทาให้ไม่สามารถวางกลยุทธ์ในการเจรจาต่อรองได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ ในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว ผู้เจรจาต้องรู้จักการวางแผนใน
การเจรจาเพื่อผลสาเร็จในการเจรจาต่อรอง
การวางแผนในการเจรจาต่อรอง จึงเป็นการเตรียมการล่วงหน้า
ในเรื่องต่างๆดังต่อไปนี้
1. กาหนดประเด็นในการเจรจาต่อรอง
2. รวมประเด็นต่างๆ และกาหนดส่วนผสมของประเด็นการเจรจา
3. กาหนดสิ่งที่ต้องการ
4. ปรึกษากับผู้ที่เกี่ยวข้อง
5 .ประเมินความต้องการของคู่เจรจา
6. ระบุข้อจากัดต่างๆในการเจรจาต่อรอง
7. กาหนดเป้ าหมายในการเจรจา
8. เตรียมข้อมูลสนับสนุนการเจรจา
9. วิเคราะห์คู่เจรจา
การกาหนดประเด็นในการเจรจาต่อรอง
ขั้นตอนแรกในการวางแผนเจรจาต่อรองก็คือการกาหนดประเด็นใน
การเจรจา ซึ่งมักจะเกี่ยวข้องกับประเด็นของความขัดแย้งที่เกิดขึ้น ประเด็น
การเจรจาต่อรองอาจมีหลายประเด็น ทั้งประเด็นเล็กและประเด็นใหญ่
ตัวอย่างการซื้อบ้านสักหลัง ประเด็นการเจรจาไม่ได้มีเพียงราคาบ้านที่ซื้อ
ขาย แต่รวมถึงวันที่ทาสัญญาขาย วันที่ส่งมอบบ้านให้ผู้ซื้อ การชาระเงิน
และอื่นๆ ผู้ซื้อบ้านที่มีการวางแผนไว้ล่วงหน้าจะสามารถระบุประเด็นที่
ต้องการในการเจรจาต่อรองได้โดยไม่ตกหล่น ซึ่งอาจอาศัยประสบการณ์
การรวบรวมข้อมูล หรือการปรึกษาหรือกับผู้เชี่ยวชาญก่อนเริ่มการเจรจา
ต่อรองได้
การรวมประเด็นและกาหนดส่วนผสมของประเด็นการเจรจา
เมื่อได้กาหนดประเด็นต่างๆในการเจรจาต่อรองไว้แล้ว ผู้เจรจา
ต้องนาประเด็นต่างๆ เหล่านี้มารวมไว้ด้วยกันและกาหนดส่วนผสมของ
ประเด็นการเจรจาโดยทั่วไปผู้เจรจาอาจรู้สึกว่าประเด็นการเจรจามีมาก
เกินไป และอาจจะเจรจาได้ไม่หมดทุกประเด็น ผู้เจรจาจึงต้องระบุ
ประเด็นสาคัญซึ่งต้องการจริงๆ เอาไว้และอาจทิ้งประเด็นย่อยๆไป โดย
จัดทาเป็นส่วนผสมของประเด็นต่างๆ เพื่อการเจรจาต่อรองและอาจทา
ส่วนที่สามารถตอบสนองความต้องการของคู่เจรจาได้อย่างดีที่สุดไว้
หลายๆชุด แต่จุดอ่อนในเรื่องนี้ก็คือการเตรียมประเด็นไว้มากเกินไป
อาจทาให้การเจรจาต่อรองยืดเยื้อและยุ่งยากในการตกลงให้ได้ทุก
ประเด็น
เพื่อป้ องกันปัญหาความยืดเยื้อในการเจรจาต่อรองเนื่องจากมี
ประเด็นมากเกินไป ผู้เจรจาจึงควรระบุว่าประเด็นใดมีความสาคัญมาก
ที่สุดและประเด็นใดมีความสาคัญน้อยกว่า การระบุความสาคัญไว้ก่อนจะ
ช่วยให้ผู้เจรจาสามารถมุ่งสู่เป้ าหมายที่ต้องการได้โดยตรง โดยอาจข้าม
ประเด็นที่ไม่สาคัญไปได้
การกาหนดสิ่งที่ต้องการ
ในขั้นตอนนี้ผู้เจรจาต้องกาหนดสิ่งที่ตนสนใจและต้องการไว้ให้
ชัดเจน การกาหนดสิ่งที่ต้องการและเหตุผลของความต้องการนั้นจะ
ช่วยในการเจรจาต่อรองแบบร่วมมือมากกว่าการเจรจาต่อรองแบบ
แข่งขัน แต่ก็ช่วยให้การเจรจาต่อรองแบบแข่งขันบรรลุข้อตกลงได้ง่าย
ขึ้น เพราะช่วยให้แต่ละฝ่ายทาความเข้าใจถึงความต้องการของฝ่าย
ตนเองได้อย่างชัดเจน และรู้ว่าทาไมจึงต้องการสิ่งนั้น
สิ่งที่ต้องการนี้อาจเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับประเด็นในการเจรจา
ต่อรองโดยตรงหรือเกี่ยวข้องกับท่าทีที่ผู้เจรจาใช้ในการระงับข้อขัดแย้ง
หรือมุ่งถึงความสัมพันธ์ที่ดีกับคู่เจรจาในอนาคต รวมถึงสิ่งที่จับต้อง
ไม่ได้อื่นๆ เช่น คุณค่า วัฒนธรรม และธรรมเนียมปฏิบัติในการเจรจา
ต่อรองด้วย
การปรึกษากับผู้ที่เกี่ยวข้อง
ในขั้นตอนนี้ผู้เจรจาอาจปรึกษากับผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อหาข้อสรุปเกี่ยวกับ
ความสนใจและความต้องการที่แท้จริงจากการเจรจาต่อรอง โดยเมื่อผู้
เจรจาเป็นตัวแทนขององค์การหรือกลุ่มบุคคลก็ควรต้องปรึกษากับผู้มี
อานาจในองค์การหรือกลุ่มบุคคลนั้น ถ้าผู้แทนเจรจามีหลายคนก็ควรต้อง
ปรึกษาระหว่างกันก่อนเริ่มการเจรจา สามีภรรยาที่วางแผนซื้อบ้านใหม่ก็
ควรปรึกษากันเกี่ยวกับลักษณะบ้านที่ต้องการ ผู้แทนสหภาพแรงงานควร
ฟังเสียงสมาชิกก่อนเริ่มการเจรจาต่อรองกับนายจ้าง
การประเมินความต้องการของคู่เจรจา
ผู้เจรจาต่อรองที่ดี นอกจากจะกาหนดเป้ าหมายและความต้องการ
ของฝ่ายตนแล้ว ยังควรทาการประเมินเป้ าหมายและความต้องการของคู่
เจรจาด้วย ซึ่งจะช่วยในการวางกลยุทธ์ในการเจรจาต่อรอง ดังนั้น หากผู้
เจรจาโอกาสได้พบปะกับคู่เจรจาก่อนการเจรจา ผู้เจรจาควรพยายาม
เรียนรู้ว่าอะไรเป็นสิ่งสาคัญสาหรับคู่เจรจา อะไรสาคัญมาก และอะไร
สาคัญน้อยกว่าสาหรับเขา ซึ่งทาให้สามารถประเมินได้ว่าเขาต้องการอะไร
เพราะอะไรจึงต้องการ แต่หากผู้เจรจาไม่มีโอกาสพบตัวแทนคู่เจรจาหรือตัว
คู่เจรจาเองก่อน ผู้เจรจาก็ต้องสมมติว่า หากตัวเองเป็นาคู่เจรจาแล้วจะมุ่ง
ต้องการอะไรในสถานการณ์ที่เขาเป็นอยู่ หรืออาจพูดคุยกับบุคคลที่รู้จักคู่
เจรจาเพื่อรวบรวมข้อมูลและประเมินความต้องการของคู่เจรจาไว้ก่อนก็ได้
สิ่งเหล่านี้จะเป็นประโยชน์มากในการกาหนดกลยุทธ์การเจรจาต่อรองและ
การเปลี่ยนข้อเรียกร้องระหว่างการเจรจา
การรู้ข้อจากัดของฝ่ายตน
ผู้เจรจาต้องรู้ข้อจากัดของฝ่ายตนว่าจะรับข้อเสนอของอีกฝ่ายได้แค่ไหน
และจะกาหนดข้อเสนอของฝ่ายตนไว้เท่าใด แต่สิ่งที่มักจะเกิดขึ้นในการเจรจา
ต่อรองเสมอก็คือเจรจาปฏิเสธข้อเสนอของฝ่ายเรา ซึ่งอาจเป็นเพราะข้อเสนอ
ของฝ่ายเราต่ากว่าจุดที่เขาจะยอมรับได้ ในกรณีเช่นนี้ผู้เจรจาต้องประเมิน
ข้อเสนอของฝ่ายตนใหม่และพิจารณาว่าควรจะข้ามไป เลื่อนไป หรือยกขึ้นมา
เสนอใหม่ในคราวหน้า แต่ถ้าเห็นว่าเรื่องที่เสนอเป็นเรื่องที่สาคัญที่ไม่อาจ
มองข้ามไปได้ ผู้เจรจาก็ต้องจัดทาข้อเสนอใหม่ หรือหาทางออกอื่นไว้ล่วงหน้า
ตัวอย่างจากการซื้อบ้านนั้น หากผู้ซื้อและผู้ขายไม่อาจตกลงราคากันได้ ผู้ซื้อ
อาจมองหาบ้านหลังอื่น ขณะที่ผู้ขายอาจมองหาผู้ซื้อรายใหม่ หรือใช้บุคคลที่
สามารถช่วยเจรจาให้หาข้อยุติเรื่องราคา อย่างไรก็ดี การวางแผนกาหนด
ข้อเสนอของฝ่ายตนและการยอมรับข้อเสนอของคู่เจรจาต้องอยู่บนเกณฑ์ที่
เป็นไปได้และต้องคานึงถึงต้นทุนที่เกิดจากการตกลงกันไม่ได้ หรือต้นทุนการใช้
เวลาในการเจรจาต่อรองด้วย
การกาหนดเป้ าหมายในการเจรจา
เมื่อผู้เจรจาได้กาหนดประเด็นการเจรจา นาประเด็นต่างๆ มารวมกัน
และปรึกษากับบุคคลที่เกี่ยวข้องแล้ว ผู้เจรจาควรกาหนดเป้ าหมายในการ
เจรจาไว้ให้ชัดเจน
วิธีการกาหนดเป้ าหมายการเจรจา ก็โดยการกาหนดจุกสาคัญ 4 จุดคือ
1. จุดเป้ าหมายเฉพาะ เป็นจุดที่เราคาดว่าจะบรรลุผลได้ในการ
เจรจา
2. จุดต่อต้าน เป็นจุดต่าสุดที่เราจะยอมรับได้ โดยหากต่ากว่าจุดนี้ไป
เราจะไม่ยอมรับ
3. จุดทางเลือก เป็นจุดที่เราใช้ทางเลือกอื่น เช่น หันไปตกลงกับคู่
เจรจารายอื่นแทน
4. จุดนาเสนอ เป็นจุดที่เราใช้เปิดการเจรจาในการเริ่มเจรจาต่อรอง
การกาหนดเป้ าหมายมักจะอยู่ระหว่างจุดเป้ าหมายเฉพาะกับจุด
ต่อต้าน แต่ผู้เจรจาก็อาจเลือกเปิดการเจรจาในจุดที่สูงกว่าจุดเป้ าหมาย
เฉพาะได้ ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับคู่เจรจาและบรรยากาศในการเจรจา การกาหนด
เป้ าหมายที่เหมาะสมควรมาจากข้อมูลที่มีอยู่ รวมทั้งข้อเสนอแนะจาก
ผู้เชี่ยวชาญ หรือจากประสบการณ์ของผู้เจรจา และมีทางเลือกอื่นหาก
การเจรจาล้มเหลว
การวิเคราะห์คู่เจรจาโดยประเมินสิ่งที่คู่เจรจาต้องการและ
ความรู้สึกของคู่เจรจาจะช่วยในการกาหนดเป้ าหมายได้ เช่น หาก
คาดคะเนล่วงหน้าถึงสิ่งที่อีกฝ่ายนาเสนอมาก่อนแล้ว ผู้เจรจาอาจใช้กล
ยุทธ์ในทางลบ โดยใช้การโต้ตอบแบบปกป้ อง ข่มขู่ แบบยืดหยุ่น หรือ
การทาให้คู่เจรจาว้าวุ่นใจ รวมทั้งการใช้ข้อมูลโต้ตอบ ในทางตรงกันข้าม
ผู้เจรจาอาจเลือกใช้กลยุทธ์ในทางบวก โดยการใช้เหตุผล ข้อมูล และจูง
ใจให้เกิดการยอมรับข้อเสนอของฝ่ายตนก็ได้
การหาข้อมูลสนับสนุนการเจรจา
การหาข้อมูลสนับสนุนการเจรจาก็คือการวิจัยย่อยๆ นั่นเอง โดยใช้
ข้อมูลตัวเลขและกรณีศึกษาต่างๆ มาสนับสนุนข้อเสนอของเรา
แนวทางในการหาข้อมูลสนับสนุนมีดังนี้
1. มีข้อมูลอะไรบ้างที่สามารถนามาใช้สนับสนุนข้อเสนอของฝ่าย
เราได้ และข้อมูลเหล่านี้มีความน่าเชื่อถือหรือเป็นที่ยอมรับของอีกฝ่าย
เพียงใด
2. ใครบ้างที่สามารถช่วยให้ข้อมูลหรืออธิบายให้เข้าใจชัดเจนได้ มี
แหล่งข้อมูลจากที่ใดบ้าง
3. มีกรณีคล้ายๆ กันนี้เกิดขึ้นมาก่อนหรือไม่ เราสามารถศึกษา
กรณีดังกล่าวได้จากใคร และปัจจัยอะไรที่ทาให้การเจรจาต่อรองประสบ
ความสาเร็จหรือเกิดความล้มเหลว
4. ความต้องการจากการเจรจาต่อรองของอีกฝ่ายคืออะไร ข้อ
โต้แย้งของเขาน่าจะมีอะไรบ้าง เราจะตอบโต้ข้อโต้แย้งเหล่านั้น และ
สามารถหาข้อยุติในการเจรจาต่อรองได้อย่างไร
5. ผู้เจรจามีความสามารถในการนาเสนอข้อเท็จจริงให้อีกฝ่ายเห็น
คล้อยตามอย่างไร โดยอาจใช้อุปกรณ์ต่างๆช่วย เช่น ภาพวาด กราฟ
แผ่นภาพ และอื่นๆ
การสร้างแรงกดในการเจรจาต่อรอง
ในการเจรจาต่อรองแต่ละครั้งนั้น ผู้ที่สามารถสร้างแรงกดดันในการ
เจรจาต่อรองได้เหนือกว่าย่อมเป็นผู้ได้เปรียบ ผู้ที่ร่วมในการเจรจาทุกครั้งต้อง
พยายามสร้างแรงกดกัดในการต่อรองต่ออีกฝ่าย แม้จะไม่สามารถบังคับอีก
ฝ่ายหนึ่งได้โดยตรง แต่ก็เป็นช่องทางที่ทาให้ได้ข้อตกลงที่ดีกว่าเดิม
วิธีการและที่มาของการสร้างแรงกดดัน ได้แก่
1. การยืนกราน โดยไม่ยอมแพ้หรือยกเลิกความพยายามเมื่อถูกปฏิเสธ
ในครั้งแรก เพื่อให้เวลาอีกฝ่ายหนึ่งได้คิดและพิจารณาทางเลือกอีกครั้งหนึ่ง
และลองพยายามใหม่อีกครั้ง
2. การแข่งขัน สร้างคู่แข่งหรือทางเลือกใหม่ขึ้นมา ทาให้อีกฝ่ายเห็นว่า
เขามิใช่รายเดียวที่เข้ามาต่อรอง และเราก็มีทางเลือกอื่น
3. ความเชี่ยวชาญ เราจะได้รับการยอมรับมากขึ้น หากฝ่ายตรงข้าม
คิดว่าเรามีความรู้ ทักษะ และความเชี่ยวชาญมากกว่าที่เขามีอยู่
4. หลักกฎหมาย ใช้เอกสารสนับสนุนที่เกี่ยวข้องเพื่อแสดงถึง
สถานการณ์ทางกฎหมายที่เรามีโอกาสเป็นฝ่ายชนะ หากมีการฟ้ องร้องคดี
ในศาล ซึ่งจะช่วยในการเจรจาต่อรองของฝ่ายเราได้อย่างมาก
5. การมีส่วนร่วม การให้ทุกฝ่ายได้มีส่วนร่วมในการเจรจาต่อรอง
โดยเฉพาะในการนาเสนอข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น จะทาให้การต่อรอง
ประสบความสาเร็จได้ง่ายขึ้น เพราะการมีส่วนร่วมจะทาให้ทุกๆฝ่าย
พยายามทาให้การเจรจาต่อรองบรรลุความสาเร็จ
6. ทัศนคติ สร้างทัศนคติในทางบวกต่อการเจรจาต่อรอง มองให้เห็น
ผลดีที่เกิดขึ้นจากการตกลงกันและย้าให้อีกฝ่ายหนึ่งได้เห็น และรักษา
อารมณ์แม้ถูกยั่วเย้า
การวิเคราะห์คู่เจรจา
ในการวางแผน ผู้เจรจาควรได้วิเคราะห์คู่เจรจาด้วย โดยรวบรวมข้อมูล
เกี่ยวกับคู่เจรจาให้ได้มากที่สุด โดยเฉพาะในเรื่องเกี่ยวกับทรัพยากร (เช่น
เงินทุน ผลผลิต) ความสนใจและความต้องการ เป้ าหมาย ชื่อเสียงและวิธีที่ใช้
ในการเจรจา ทางเลือกอื่นอานาจในการตกลง และกลยุทธ์เทคนิคที่คาดว่าจะ
ใช้
ในการดูข้อมูลก้านทรัพยากรของคู่เจรจานั้น อาจดูได้จากประวัติการ
เจรจาต่อรองในอดีตของคู่เจรจา ความสาเร็จหรือความล้มเหลวในการเจรจา
ต่อรองที่ผ่านมาข้อมูลทางการเงินต่างๆ (เช่น งบดุล ประวัติบริษัท รายงาน
สินค้าคงคลัง การถูกฟ้ องร้องเป็นคดีในศาล) การตรวจสอบสินค้าคงเหลือ การ
สอบถามจากผู้ที่รู้จักคู่เจรจาหรือผู้ที่เคยทาธุรกิจกับคู่เจรจามาก่อนหรือผู้ที่เคย
เจรจาต่อรองกันมา รวมทั้งการสอบถามคู่เจรจาโดยตรงถึงแนวทางผลของการ
ทาธุรกิจที่ผ่านมาหรือการไปเยี่ยมเยียนโรงงานของคู่เจรจา ข้อมูลในส่วนนี้จะ
มีประโยชน์มากในการเจรจาต่อรอง
ข้อแนะนาสาหรับผู้เจรจาต่อรอง
1. เป็นผู้ฟังที่ดี และพยายามทาความเข้าใจกับแนวคิดและ
แรงจูงใจของคู่เจรจา
2. ใช้เทคนิคการเจรจาทุกอย่างที่รู้ เพราะจะไม่มีวิธีการเจรจาวิธีใด
ที่จะดีที่สุดในทุกสถานการณ์
3. พยายามให้การเจรจาต่อรองทุกครั้งมีผลออกมา แม้ว่าจะเป็น
เพียงข้อสรุปเพื่อการเจรจาครั้งต่อไปก็ตาม
4. เตรียมการเจรจาต่อรอง โดยรวบรวมข้อมูลจากผู้มีความรู้ใน
เรื่องที่เกี่ยวกับหัวข้อการเจรจาต่อรองและคู่เจรจาให้ได้มากที่สุด
5. มีความมั่นคงในการเจรจา อย่าแสดงความอ่อนแอ และอย่าลด
แนวป้ องกันลงเป็นอันขาด

Contenu connexe

Tendances

ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อบทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อTeetut Tresirichod
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้นTik Msr
 
135 402 cross-cultural management12 การเจรจาต่อรองในวัฒนธรรมที่แตกต่าง
135 402 cross-cultural management12 การเจรจาต่อรองในวัฒนธรรมที่แตกต่าง135 402 cross-cultural management12 การเจรจาต่อรองในวัฒนธรรมที่แตกต่าง
135 402 cross-cultural management12 การเจรจาต่อรองในวัฒนธรรมที่แตกต่างWannarat Wattana
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58renusaowiang
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อKruthai Kidsdee
 
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาวิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาธนกร ทองแก้ว
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกThamonwan Theerabunchorn
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศmaerimwittayakom school
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์Rapheephan Phola
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมdnavaroj
 
บทที่ 2 ผลกระทบทางด้านวัฒนธรรมที่มีต่อการดำเนินธุรกิจและการเจราจาต่อรอง
บทที่ 2 ผลกระทบทางด้านวัฒนธรรมที่มีต่อการดำเนินธุรกิจและการเจราจาต่อรองบทที่ 2 ผลกระทบทางด้านวัฒนธรรมที่มีต่อการดำเนินธุรกิจและการเจราจาต่อรอง
บทที่ 2 ผลกระทบทางด้านวัฒนธรรมที่มีต่อการดำเนินธุรกิจและการเจราจาต่อรองTeetut Tresirichod
 
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อบทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อTeetut Tresirichod
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีmaethaya
 

Tendances (20)

หน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญหน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อบทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 
135 402 cross-cultural management12 การเจรจาต่อรองในวัฒนธรรมที่แตกต่าง
135 402 cross-cultural management12 การเจรจาต่อรองในวัฒนธรรมที่แตกต่าง135 402 cross-cultural management12 การเจรจาต่อรองในวัฒนธรรมที่แตกต่าง
135 402 cross-cultural management12 การเจรจาต่อรองในวัฒนธรรมที่แตกต่าง
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
 
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาวิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์
 
หน่วย 2
หน่วย 2หน่วย 2
หน่วย 2
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
บทที่ 2 ผลกระทบทางด้านวัฒนธรรมที่มีต่อการดำเนินธุรกิจและการเจราจาต่อรอง
บทที่ 2 ผลกระทบทางด้านวัฒนธรรมที่มีต่อการดำเนินธุรกิจและการเจราจาต่อรองบทที่ 2 ผลกระทบทางด้านวัฒนธรรมที่มีต่อการดำเนินธุรกิจและการเจราจาต่อรอง
บทที่ 2 ผลกระทบทางด้านวัฒนธรรมที่มีต่อการดำเนินธุรกิจและการเจราจาต่อรอง
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อบทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
 

Plus de Thida Noodaeng

คุณภาพการให้บริการของสำนักทะเบียน
คุณภาพการให้บริการของสำนักทะเบียนคุณภาพการให้บริการของสำนักทะเบียน
คุณภาพการให้บริการของสำนักทะเบียนThida Noodaeng
 
ข้อมูลทั่วไปของอำเภอวัฒนานคร (อ้างอิงจากนายวิฑูรย์)
ข้อมูลทั่วไปของอำเภอวัฒนานคร (อ้างอิงจากนายวิฑูรย์)ข้อมูลทั่วไปของอำเภอวัฒนานคร (อ้างอิงจากนายวิฑูรย์)
ข้อมูลทั่วไปของอำเภอวัฒนานคร (อ้างอิงจากนายวิฑูรย์)Thida Noodaeng
 
พลังงานนิวเคลียร์
พลังงานนิวเคลียร์พลังงานนิวเคลียร์
พลังงานนิวเคลียร์Thida Noodaeng
 
โครงการกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
โครงการกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาโครงการกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
โครงการกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาThida Noodaeng
 
แรงจูงใจในการทำงาน
แรงจูงใจในการทำงานแรงจูงใจในการทำงาน
แรงจูงใจในการทำงานThida Noodaeng
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์Thida Noodaeng
 
การจัดการคุณภาพ 1
การจัดการคุณภาพ 1การจัดการคุณภาพ 1
การจัดการคุณภาพ 1Thida Noodaeng
 
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟThida Noodaeng
 
รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์Thida Noodaeng
 
บทที่ 5 นโยบายมหาภาค
บทที่ 5 นโยบายมหาภาคบทที่ 5 นโยบายมหาภาค
บทที่ 5 นโยบายมหาภาคThida Noodaeng
 
การใช้พลังงานนิวเคลียร์
การใช้พลังงานนิวเคลียร์การใช้พลังงานนิวเคลียร์
การใช้พลังงานนิวเคลียร์Thida Noodaeng
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าThida Noodaeng
 

Plus de Thida Noodaeng (12)

คุณภาพการให้บริการของสำนักทะเบียน
คุณภาพการให้บริการของสำนักทะเบียนคุณภาพการให้บริการของสำนักทะเบียน
คุณภาพการให้บริการของสำนักทะเบียน
 
ข้อมูลทั่วไปของอำเภอวัฒนานคร (อ้างอิงจากนายวิฑูรย์)
ข้อมูลทั่วไปของอำเภอวัฒนานคร (อ้างอิงจากนายวิฑูรย์)ข้อมูลทั่วไปของอำเภอวัฒนานคร (อ้างอิงจากนายวิฑูรย์)
ข้อมูลทั่วไปของอำเภอวัฒนานคร (อ้างอิงจากนายวิฑูรย์)
 
พลังงานนิวเคลียร์
พลังงานนิวเคลียร์พลังงานนิวเคลียร์
พลังงานนิวเคลียร์
 
โครงการกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
โครงการกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาโครงการกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
โครงการกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
 
แรงจูงใจในการทำงาน
แรงจูงใจในการทำงานแรงจูงใจในการทำงาน
แรงจูงใจในการทำงาน
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์
 
การจัดการคุณภาพ 1
การจัดการคุณภาพ 1การจัดการคุณภาพ 1
การจัดการคุณภาพ 1
 
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
 
รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์
 
บทที่ 5 นโยบายมหาภาค
บทที่ 5 นโยบายมหาภาคบทที่ 5 นโยบายมหาภาค
บทที่ 5 นโยบายมหาภาค
 
การใช้พลังงานนิวเคลียร์
การใช้พลังงานนิวเคลียร์การใช้พลังงานนิวเคลียร์
การใช้พลังงานนิวเคลียร์
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
 

ลักษณะของการเจรจาต่อรอง