SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  5
Télécharger pour lire hors ligne
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6
ปีการศึกษา 2561
ชื่อโครงงาน ความรุนแรงในครอบครัว (Domestic Violence)
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1 นางสาวชนิสรา เหลืองณัฐรัตน์ เลขที่ 9 ชั้น ม.6 ห้อง 5
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม (ถ้ามี)…………………………………………………
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม .……
1 นางสาวชนิสรา เหลืองณัฐรัตน์ เลขที่ 9
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ความรุนแรงในครอบครัว
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Domestic Violence
ประเภทโครงงาน รายงานทางวิชาการ
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวชนิสรา เหลืองณัฐรัตน์
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน 10 สัปดาห์
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
เนื่องจากในปัจจุบันมีแนวโน้มที่เด็ก วัยรุ่น ในยุคนี้มีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคซึมเศร้ามากขึ้น ซึ่งสาเหตุมาจาก
หลายๆปัจจัย หนึ่งในนั้นมาเกิดจากสังคมครอบครัว ที่อาจมีปัญหาไม่รูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง จึงหยิบยกประเด็นของ
ความรุนแรงในครอบครัวที่เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทาให้เกิดความเสี่ยงนี้ขึ้น และนาเสนอพื้นฐานของครอบครัวที่ควรจะเป็น
และคาแนะนาถึงบุคคลที่เป็นเหยื่อของความรุนแรงในครอบครัว ให้กล้าออกมาเผชิญหน้า และก้าวออกจากความ
รุนแรงนั้นๆ กล้าที่จะปรึกษากับบุคคลที่ไว้ใจ หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และทางออกของปัญหาความรุนแรงนี้
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้คนเห็นความสาคัญของความรุนแรงในครอบครัว
2. เพื่อให้ผู้ที่เจอปัญหากล้าที่จะเข้าพบหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
สารวจเฉพาะกลุ่ม สอบถามถึงปัญหาที่อาจก่อให้เกิดความรุนแรงได้
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
ความรุนแรงในครอบครัวกับผลกระทบทางด้านจิตเวช โดย พญ.อุมามน พวงทอง
ปัญหาความรุนแรงในครอบครัวเป็นทั้งปัญหาสังคมและอาชญากรรมที่นับวันยิ่งรุนแรงมีรูปแบบที่ซับซ้อน
และมีจานวนมากขึ้น ทั้งที่มีให้เห็นตามหน้าหนังสือพิมพ์ หรือที่ไม่ได้รับทราบอีกเป็นจานวนมาก ปัจจุบันมีหน่วยงาน
และความร่วมมือจากหลายฝ่ายมากขึ้นในการพยายามแก้ไขและให้ความช่วยเหลือผู้ประสบเหตุมากขึ้น และมีรูปแบบ
ที่ชัดเจนมากขึ้น บทความทางวิชาการนี้มีจุดประสงค์ในการทบทวนงานวิจัยต่างๆ ทั่วโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแง่มุม
ของผลกระทบด้านสุขภาพทั้งระยะสั้นและระยะยาว จากปัญหาความรุนแรงในครอบครัว เพื่อเน้นย้าให้ทุกฝ่าย
เล็งเห็นความสาคัญของปัญหามากขึ้น ว่าปัญหาความรุนแรงในครอบครัวไม่ได้มีผลกระทบแค่ด้านร่างกายและจิตใจ
ของผู้เป็นเหยื่อโดยตรงเท่านั้น แต่ยังส่งผลกระทบถึงปัญหาโรคทางจิตเวชในอนาคตอีกด้วย ไม่ว่าเหตุการณ์รุนแรงนั้น
จะผ่านไปเป็นระยะเวลานานเท่าใดก็ตาม นอกจากนี้ยังส่งผลกระทบถึงสมาชิกคนอื่นๆในครอบครัวด้วยอย่าง
หลีกเลี่ยงไม่ได้ เช่นกัน ผลกระทบด้านจิตใจนั้นใช้เวลานานมาก ในการเยียวยาบาบัดหลายครั้งอาจไม่จางลงตาม
กาลเวลาเลยก็ได้ แต่เป็นเสมือนหนึ่งแผลเป็นในจิตใจที่ยากจะลืมเลือน
สาเหตุของการใช้ความรุนแรงในครอบครัวมาจาก 3 ปัจจัยหลัก ดังนี้
3
ปัจจัยครอบครัว
เป็นปัจจัยที่มีความสาคัญมากที่สุด พบว่าร้อยละ 30 ของบิดามารดาที่ทาทารุณกับบุตรของตัวเองจะมีประวัติเคยถูก
กระทารุนแรงในครอบครัวช่วงวัยเด็กมาก่อน นอกจากนี้ความรุนแรงจะเกิดขึ้นหรือไม่จะต้องมีความเปราะบางหรือ
แนวโน้มที่จะเกิดปัญหาความรุนแรง (Diathesis) และความเครียด (stress) ครอบครัวที่มีความเสี่ยงสูงในการที่จะเกิด
ปัญหาความรุนแรงในครอบครัว ได้แก่ พ่อแม่เคยถูกทารุณในวัยเด็ก พ่อแม่ที่เจ็บป่วยทางจิตเวชหรือติดสารเสพติด
พ่อแม่อายุน้อยขาดทักษะในการเลี้ยงดูบุตร มีการหย่าร้าง ครอบครัวที่ทะเลาะเบาะแว้งกันบ่อยๆ หรือมีลักษณะโดด
เดี่ยว เป็นต้น
ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ
โดยเฉพาะปัญหาความยากจน ว่างงาน ทาให้มีความเสี่ยงต่อการเกิดความเครียดในครอบครัวและมีการกระทารุนแรง
ในครอบครัวตามมาได้ นอกจากนี้ยังรวมถึงลักษณะนิสัยการใช้จ่ายเกินตัว วัตถุนิยม ทาให้มีการกู้หนี้ยืมสิน เกิดปัญหา
ความเครียดตามมาได้
ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม
สภาพแวดล้อมที่ขาดความปลอดภัยมีความรุนแรงให้พบได้บ่อยๆ มีการใช้สารเสพติดในสังคม มีแหล่งอบายมุข ติด
การพนัน รวมถึงอิทธิพลจากสื่อต่างๆ ทั้งสิ่งพิมพ์ โทรทัศน์ วีดีโอ อินเตอร์เน็ต ที่มีการเผยแพร่ภาพลามกอนาจาร
ต่างๆ และการล่อลวงเด็กหรือสตรีไปสู่ความรุนแรงในรูปแบบต่างๆ
การฝึกให้ครอบครัวจัดการกับความตึงเครียดได้ดี (Stress management skill) เป็นสิ่งสาคัญอย่างยิ่งในการป้องกัน
ความรุนแรงในครอบครัว
ความรุนแรงในครอบครัวมี 3 ประเภท
-ความรุนแรงระหว่างคู่สมรส (intimate partner abuse)
-ความรุนแรงต่อเด็ก (child abuse)
-ความรุนแรงต่อผู้สูงอายุ (elder abuse)
ผลกระทบของปัญหาความรุนแรงในครอบครัว
ผลกระทบของปัญหาความรุนแรงในครอบครัวมีทั้งด้าน ร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ ผลกระทบด้านร่างกายที่รุนแรง
ที่สุดอาจเสียชีวิต หรือรองๆลงมาเป็นการบาดเจ็บทางร่างกายรูปแบบต่างๆ กระดูกหัก ร้าว ฟกช้า แผลฉีกขาด ไป
จนถึงกระทบต่อการทางาน ทาให้ต้องขาดงาน ลาป่วยบ่อยๆได้ ผลกระทบด้านจิตใจและอารมณ์เป็นผลกระทบที่
รุนแรงไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าด้านร่างกายเลย บางครั้งอาจตีค่าประเมินออกเป็นจานวนเงินไม่ได้ เป็นผลกระทบที่ส่งผล
ระยะยาวยิ่งกว่าบาดแผลทางร่างกายมากนัก บางครั้งก็อาจนาไปสู่ภาวะโรคทางจิตเวชหลายๆอย่างได้ เช่น โรค
ซึมเศร้า โรควิตกกังวล ปัญหาการใช้ยาเสพติด หรือโรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังเผชิญเหตุการณ์รุนแรงในชีวิต
หรือที่เรียกกันว่า โรคพีทีเอสดี (Posttraumatic stress disorder) หรือบางครั้งพบในหลายภาวะร่วมกัน มีรายงานใน
ประเทศแคนนาดา (national non-institutionalized studies) ว่า ผู้ป่วยพีทีเอสดีจะมีภาวะการใช้สารเสพติดร่วม
ด้วยสูงถึง 60% ในผู้ชาย และ 80% ในผู้หญิง (Pamela stewart, Carol Parker (2006)) นอกจากนี้ยังส่งผลกระทบ
ต่อประสิทธิภาพการทางานที่ลดลงและการปฎิบัติหน้าที่ในบทบาทสมาชิกของครอบครัวที่ผิดปกติได้ ที่สาคัญเหยื่อ
ของการถูกกระทาความรุนแรงรวมถึงการล่วงละเมิดทางเพศจะเพิ่มความเสี่ยงอย่างมากในการเป็นผู้กระทาหรือใช้
ความรุนแรงกับผู้อื่นต่อไป
4
ด้านพุทธิปัญญา (cognitive pathways) จะรวมถึง ความเชื่อ ทัศนคติ และการรับรู้เกี่ยวกับความรุนแรงในครอบครัว
ตัวอย่างเช่นเด็กที่เคยถูกกระทาความรุนแรงในครอบครัวมาก่อน มีแนวโน้มที่จะมีทัศนคติไม่ถูกต้องเกี่ยวกับเรื่องนี้
รวมถึงความสามารถในการเชื่อมโยงกับปัญหาทางสุขภาพในปัจจุบันด้วย
ที่สาคัญกว่านี้ คือ ความสัมพันธ์ระหว่างการถูกทาร้ายในวัยเด็กกับการประสบความสาเร็จด้านการศึกษา (education
achievement) พบว่าเด็กที่ถูกกระทาความรุนแรงจะมีผลลัพธ์ทางการศึกษาที่แย่ลงอย่างชัดเจน รายงานของ
Solomon and Serres พบว่าเด็กที่ถูกกระทาความรุนแรงโดยทางคาพูดต่างๆ จะได้คะแนนการทดสอบทางภาษาต่า
กว่าเด็กทั่วไป รายงานของ Kinard พบว่าเด็กที่ถูกกระทาความรุนแรงจะได้ผลการทดสอบที่น้อยกว่า, ความเอาใจใส่
ต่อการเรียนลดลง และต้องการระบบการศึกษาพิเศษสูงกว่าเด็กทั่วไป รายงานของ Eckenrede et al. พบว่าเด็กที่
ได้รับการดูแลเลี้ยงดูอย่างไม่เหมาะสมจะได้คะแนนเฉลี่ยด้านการอ่านและคานวนน้อยกว่าเด็กทั่วไป โดยเฉพาะอย่าง
ยิ่งเด็กที่ถูกทอดทิ้ง (Neglected children) จะได้คะแนนต่ากว่าเด็กที่ถูกกระทาความรุนแรงทางกายหรือล่วงละเมิด
ทางเพศ (physically or sexually abused children) Perez และWidowm ยังพบว่าความสามารถด้านวิชาการ
การศึกษาและความเฉลียวฉลาดนี้ส่งผลกระทบระยะยาวจนถึงเป็นผู้ใหญ่
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
เริ่มจากตั้งปัญหาที่ต้องการสารวจ และค้นหา รวบรวมข้อมูล จากนั้นนาไปสารวจว่ามีใครที่เจอปัญหาหรือ
เรื่องเล็กน้อยที่สามารถนาไปสู่ปัญหาใหญ่ได้ จากนั้นนาข้อมูลที่สารวจมาสรุปและเสนอแนะวิธีการแก้ปัญหา
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ อุปกรณ์การเรียน
งบประมาณ
200 บาท
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
1
6
1
7
1 คิดหัวข้อโครงงาน ชนิสรา
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล ชนิสรา
3 จัดทาโครงร่างงาน ชนิสรา
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน ชนิสรา
5 ปรับปรุงทดสอบ ชนิสรา
6 การทาเอกสารรายงาน ชนิสรา
7 ประเมินผลงาน ชนิสรา
8 นาเสนอโครงงาน ชนิสรา
5
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
สามารถแนะนาแนวทางการแก้ไขปัญหาให้กับผู้ที่พบปัญหาได้ และมีผู้ที่กล้าออกมาแสดงความคิดเห็นใน
เรื่องนี้มากขึ้น
สถานที่ดาเนินการ
บ้านและโรงเรียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
สุขศึกษาและพลศึกษา/การงานอาชีพและเทคโนโลยี
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
http://www.familynetwork.or.th/node/15717

Contenu connexe

Similaire à Project computer09

2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)Dduang07
 
Pathological gamers
Pathological gamersPathological gamers
Pathological gamersssuserab0e2b
 
2560 project 2
2560 project  22560 project  2
2560 project 2Dduang07
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561NodChaa
 
2562 final-project-8
2562 final-project-82562 final-project-8
2562 final-project-8fauunutcha
 
แบบเสนอ
แบบเสนอแบบเสนอ
แบบเสนอChapa Paha
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Krittapornn Chanasaen
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Thanwarath Khemthong
 
กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงาน
กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงานกิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงาน
กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงานwaew jittranut
 

Similaire à Project computer09 (20)

Com final2
Com final2Com final2
Com final2
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)
 
W.111
W.111W.111
W.111
 
Pathological gamers
Pathological gamersPathological gamers
Pathological gamers
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
2560 project 2
2560 project  22560 project  2
2560 project 2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561
 
2562 final-project-8
2562 final-project-82562 final-project-8
2562 final-project-8
 
แบบเสนอ
แบบเสนอแบบเสนอ
แบบเสนอ
 
Com2561 32
Com2561 32Com2561 32
Com2561 32
 
AT1
AT1AT1
AT1
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2561 project -2
2561 project -22561 project -2
2561 project -2
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงาน
กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงานกิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงาน
กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงาน
 
switta
swittaswitta
switta
 
Phosis
PhosisPhosis
Phosis
 

Project computer09

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6 ปีการศึกษา 2561 ชื่อโครงงาน ความรุนแรงในครอบครัว (Domestic Violence) ชื่อผู้ทาโครงงาน 1 นางสาวชนิสรา เหลืองณัฐรัตน์ เลขที่ 9 ชั้น ม.6 ห้อง 5 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม (ถ้ามี)………………………………………………… ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม .…… 1 นางสาวชนิสรา เหลืองณัฐรัตน์ เลขที่ 9 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ความรุนแรงในครอบครัว ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Domestic Violence ประเภทโครงงาน รายงานทางวิชาการ ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวชนิสรา เหลืองณัฐรัตน์ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน 10 สัปดาห์ ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) เนื่องจากในปัจจุบันมีแนวโน้มที่เด็ก วัยรุ่น ในยุคนี้มีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคซึมเศร้ามากขึ้น ซึ่งสาเหตุมาจาก หลายๆปัจจัย หนึ่งในนั้นมาเกิดจากสังคมครอบครัว ที่อาจมีปัญหาไม่รูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง จึงหยิบยกประเด็นของ ความรุนแรงในครอบครัวที่เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทาให้เกิดความเสี่ยงนี้ขึ้น และนาเสนอพื้นฐานของครอบครัวที่ควรจะเป็น และคาแนะนาถึงบุคคลที่เป็นเหยื่อของความรุนแรงในครอบครัว ให้กล้าออกมาเผชิญหน้า และก้าวออกจากความ รุนแรงนั้นๆ กล้าที่จะปรึกษากับบุคคลที่ไว้ใจ หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และทางออกของปัญหาความรุนแรงนี้ วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้คนเห็นความสาคัญของความรุนแรงในครอบครัว 2. เพื่อให้ผู้ที่เจอปัญหากล้าที่จะเข้าพบหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) สารวจเฉพาะกลุ่ม สอบถามถึงปัญหาที่อาจก่อให้เกิดความรุนแรงได้ หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) ความรุนแรงในครอบครัวกับผลกระทบทางด้านจิตเวช โดย พญ.อุมามน พวงทอง ปัญหาความรุนแรงในครอบครัวเป็นทั้งปัญหาสังคมและอาชญากรรมที่นับวันยิ่งรุนแรงมีรูปแบบที่ซับซ้อน และมีจานวนมากขึ้น ทั้งที่มีให้เห็นตามหน้าหนังสือพิมพ์ หรือที่ไม่ได้รับทราบอีกเป็นจานวนมาก ปัจจุบันมีหน่วยงาน และความร่วมมือจากหลายฝ่ายมากขึ้นในการพยายามแก้ไขและให้ความช่วยเหลือผู้ประสบเหตุมากขึ้น และมีรูปแบบ ที่ชัดเจนมากขึ้น บทความทางวิชาการนี้มีจุดประสงค์ในการทบทวนงานวิจัยต่างๆ ทั่วโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแง่มุม ของผลกระทบด้านสุขภาพทั้งระยะสั้นและระยะยาว จากปัญหาความรุนแรงในครอบครัว เพื่อเน้นย้าให้ทุกฝ่าย เล็งเห็นความสาคัญของปัญหามากขึ้น ว่าปัญหาความรุนแรงในครอบครัวไม่ได้มีผลกระทบแค่ด้านร่างกายและจิตใจ ของผู้เป็นเหยื่อโดยตรงเท่านั้น แต่ยังส่งผลกระทบถึงปัญหาโรคทางจิตเวชในอนาคตอีกด้วย ไม่ว่าเหตุการณ์รุนแรงนั้น จะผ่านไปเป็นระยะเวลานานเท่าใดก็ตาม นอกจากนี้ยังส่งผลกระทบถึงสมาชิกคนอื่นๆในครอบครัวด้วยอย่าง หลีกเลี่ยงไม่ได้ เช่นกัน ผลกระทบด้านจิตใจนั้นใช้เวลานานมาก ในการเยียวยาบาบัดหลายครั้งอาจไม่จางลงตาม กาลเวลาเลยก็ได้ แต่เป็นเสมือนหนึ่งแผลเป็นในจิตใจที่ยากจะลืมเลือน สาเหตุของการใช้ความรุนแรงในครอบครัวมาจาก 3 ปัจจัยหลัก ดังนี้
  • 3. 3 ปัจจัยครอบครัว เป็นปัจจัยที่มีความสาคัญมากที่สุด พบว่าร้อยละ 30 ของบิดามารดาที่ทาทารุณกับบุตรของตัวเองจะมีประวัติเคยถูก กระทารุนแรงในครอบครัวช่วงวัยเด็กมาก่อน นอกจากนี้ความรุนแรงจะเกิดขึ้นหรือไม่จะต้องมีความเปราะบางหรือ แนวโน้มที่จะเกิดปัญหาความรุนแรง (Diathesis) และความเครียด (stress) ครอบครัวที่มีความเสี่ยงสูงในการที่จะเกิด ปัญหาความรุนแรงในครอบครัว ได้แก่ พ่อแม่เคยถูกทารุณในวัยเด็ก พ่อแม่ที่เจ็บป่วยทางจิตเวชหรือติดสารเสพติด พ่อแม่อายุน้อยขาดทักษะในการเลี้ยงดูบุตร มีการหย่าร้าง ครอบครัวที่ทะเลาะเบาะแว้งกันบ่อยๆ หรือมีลักษณะโดด เดี่ยว เป็นต้น ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ โดยเฉพาะปัญหาความยากจน ว่างงาน ทาให้มีความเสี่ยงต่อการเกิดความเครียดในครอบครัวและมีการกระทารุนแรง ในครอบครัวตามมาได้ นอกจากนี้ยังรวมถึงลักษณะนิสัยการใช้จ่ายเกินตัว วัตถุนิยม ทาให้มีการกู้หนี้ยืมสิน เกิดปัญหา ความเครียดตามมาได้ ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม สภาพแวดล้อมที่ขาดความปลอดภัยมีความรุนแรงให้พบได้บ่อยๆ มีการใช้สารเสพติดในสังคม มีแหล่งอบายมุข ติด การพนัน รวมถึงอิทธิพลจากสื่อต่างๆ ทั้งสิ่งพิมพ์ โทรทัศน์ วีดีโอ อินเตอร์เน็ต ที่มีการเผยแพร่ภาพลามกอนาจาร ต่างๆ และการล่อลวงเด็กหรือสตรีไปสู่ความรุนแรงในรูปแบบต่างๆ การฝึกให้ครอบครัวจัดการกับความตึงเครียดได้ดี (Stress management skill) เป็นสิ่งสาคัญอย่างยิ่งในการป้องกัน ความรุนแรงในครอบครัว ความรุนแรงในครอบครัวมี 3 ประเภท -ความรุนแรงระหว่างคู่สมรส (intimate partner abuse) -ความรุนแรงต่อเด็ก (child abuse) -ความรุนแรงต่อผู้สูงอายุ (elder abuse) ผลกระทบของปัญหาความรุนแรงในครอบครัว ผลกระทบของปัญหาความรุนแรงในครอบครัวมีทั้งด้าน ร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ ผลกระทบด้านร่างกายที่รุนแรง ที่สุดอาจเสียชีวิต หรือรองๆลงมาเป็นการบาดเจ็บทางร่างกายรูปแบบต่างๆ กระดูกหัก ร้าว ฟกช้า แผลฉีกขาด ไป จนถึงกระทบต่อการทางาน ทาให้ต้องขาดงาน ลาป่วยบ่อยๆได้ ผลกระทบด้านจิตใจและอารมณ์เป็นผลกระทบที่ รุนแรงไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าด้านร่างกายเลย บางครั้งอาจตีค่าประเมินออกเป็นจานวนเงินไม่ได้ เป็นผลกระทบที่ส่งผล ระยะยาวยิ่งกว่าบาดแผลทางร่างกายมากนัก บางครั้งก็อาจนาไปสู่ภาวะโรคทางจิตเวชหลายๆอย่างได้ เช่น โรค ซึมเศร้า โรควิตกกังวล ปัญหาการใช้ยาเสพติด หรือโรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังเผชิญเหตุการณ์รุนแรงในชีวิต หรือที่เรียกกันว่า โรคพีทีเอสดี (Posttraumatic stress disorder) หรือบางครั้งพบในหลายภาวะร่วมกัน มีรายงานใน ประเทศแคนนาดา (national non-institutionalized studies) ว่า ผู้ป่วยพีทีเอสดีจะมีภาวะการใช้สารเสพติดร่วม ด้วยสูงถึง 60% ในผู้ชาย และ 80% ในผู้หญิง (Pamela stewart, Carol Parker (2006)) นอกจากนี้ยังส่งผลกระทบ ต่อประสิทธิภาพการทางานที่ลดลงและการปฎิบัติหน้าที่ในบทบาทสมาชิกของครอบครัวที่ผิดปกติได้ ที่สาคัญเหยื่อ ของการถูกกระทาความรุนแรงรวมถึงการล่วงละเมิดทางเพศจะเพิ่มความเสี่ยงอย่างมากในการเป็นผู้กระทาหรือใช้ ความรุนแรงกับผู้อื่นต่อไป
  • 4. 4 ด้านพุทธิปัญญา (cognitive pathways) จะรวมถึง ความเชื่อ ทัศนคติ และการรับรู้เกี่ยวกับความรุนแรงในครอบครัว ตัวอย่างเช่นเด็กที่เคยถูกกระทาความรุนแรงในครอบครัวมาก่อน มีแนวโน้มที่จะมีทัศนคติไม่ถูกต้องเกี่ยวกับเรื่องนี้ รวมถึงความสามารถในการเชื่อมโยงกับปัญหาทางสุขภาพในปัจจุบันด้วย ที่สาคัญกว่านี้ คือ ความสัมพันธ์ระหว่างการถูกทาร้ายในวัยเด็กกับการประสบความสาเร็จด้านการศึกษา (education achievement) พบว่าเด็กที่ถูกกระทาความรุนแรงจะมีผลลัพธ์ทางการศึกษาที่แย่ลงอย่างชัดเจน รายงานของ Solomon and Serres พบว่าเด็กที่ถูกกระทาความรุนแรงโดยทางคาพูดต่างๆ จะได้คะแนนการทดสอบทางภาษาต่า กว่าเด็กทั่วไป รายงานของ Kinard พบว่าเด็กที่ถูกกระทาความรุนแรงจะได้ผลการทดสอบที่น้อยกว่า, ความเอาใจใส่ ต่อการเรียนลดลง และต้องการระบบการศึกษาพิเศษสูงกว่าเด็กทั่วไป รายงานของ Eckenrede et al. พบว่าเด็กที่ ได้รับการดูแลเลี้ยงดูอย่างไม่เหมาะสมจะได้คะแนนเฉลี่ยด้านการอ่านและคานวนน้อยกว่าเด็กทั่วไป โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งเด็กที่ถูกทอดทิ้ง (Neglected children) จะได้คะแนนต่ากว่าเด็กที่ถูกกระทาความรุนแรงทางกายหรือล่วงละเมิด ทางเพศ (physically or sexually abused children) Perez และWidowm ยังพบว่าความสามารถด้านวิชาการ การศึกษาและความเฉลียวฉลาดนี้ส่งผลกระทบระยะยาวจนถึงเป็นผู้ใหญ่ วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน เริ่มจากตั้งปัญหาที่ต้องการสารวจ และค้นหา รวบรวมข้อมูล จากนั้นนาไปสารวจว่ามีใครที่เจอปัญหาหรือ เรื่องเล็กน้อยที่สามารถนาไปสู่ปัญหาใหญ่ได้ จากนั้นนาข้อมูลที่สารวจมาสรุปและเสนอแนะวิธีการแก้ปัญหา เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ อุปกรณ์การเรียน งบประมาณ 200 บาท ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 1 6 1 7 1 คิดหัวข้อโครงงาน ชนิสรา 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล ชนิสรา 3 จัดทาโครงร่างงาน ชนิสรา 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน ชนิสรา 5 ปรับปรุงทดสอบ ชนิสรา 6 การทาเอกสารรายงาน ชนิสรา 7 ประเมินผลงาน ชนิสรา 8 นาเสนอโครงงาน ชนิสรา
  • 5. 5 ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) สามารถแนะนาแนวทางการแก้ไขปัญหาให้กับผู้ที่พบปัญหาได้ และมีผู้ที่กล้าออกมาแสดงความคิดเห็นใน เรื่องนี้มากขึ้น สถานที่ดาเนินการ บ้านและโรงเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง สุขศึกษาและพลศึกษา/การงานอาชีพและเทคโนโลยี แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) http://www.familynetwork.or.th/node/15717