SlideShare a Scribd company logo
1 of 53
Download to read offline
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
รายงานการศึกษาดูงานเรื่อง ความก้าวหน้าการ
พัฒนาการเกษตรของประเทศไต้หวัน: การเรียนรู้
ประสบการณ์และการประยุกต์ใช้แนวปฏิบัติ
ที่ดี (Best Practices) สาหรับประเทศไทย
จัดทําโดย
คณะเจ้าหน้าที่ผู้เข้าร่วมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ
หลักสูตรการวางแผนยุทธศาสตร์ชาติ รุ่นที่ 1 กลุ่มที่ 1
6 มกราคม 2558
2
รายชื่อสมาชิกกลุ่มที่ 1
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการวางแผนยุทธศาสตร์ชาติ รุ่นที่ 1
1.นายเชิญ ไกรนรา นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ สพก.
2.นางสาวประภาศรี พงษ์วัฒนา นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ สบป.
3.นายก่อเกียรติ สมประสงค์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ สทว.
4.นางสาวจิตรลดา พิศาลสุพงศ์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ สพข.
5.นางสาววรวรรณ พลิคามิน นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ สพส.
6.นางสาวศรี ศรีงาม นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ สนส.
7.นายวิศณุ ติวะตันสกุล นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ สศม.
8.นางพวงแก้ว พรพิพัฒน์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ สปผ.
9.นางพรรณทิพา รัตนะ ร.นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ สพต.
10.นางสาวจินดารัตน์ ไทพาณิชย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ สบป.
คณะศึกษาดูงานกลุ่มที่ 1 ณ กระทรวงเกษตร ของประเทศไต้หวัน เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2557
3
คานา
รายงานการศึกษาดูงานเรื่อง ความก๎าวหน๎าการพัฒนาการเกษตรของประเทศไต๎หวัน: การเรียนรู๎
ประสบการณ์และการประยุกต์ใช๎แนวปฏิบัติที่ดี (Best Practices) สําหรับประเทศไทย ฉบับนี้เป็นสํวนหนึ่ง
ของการศึกษาดูงาน ณ ประเทศไต๎หวัน ระหวํางวันที่ 30 กันยายน-4 ตุลาคม 2557 ของผู๎เข๎ารํวมการฝึกอบรม
กลุํมที่ 1 หลักสูตรการวางแผนยุทธศาสตร์ชาติรุํนที่ 1 ของสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ
สังคมแหํงชาติโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเรียนรู๎และศึกษาประสบการณ์ของประเทศไต๎หวันเกี่ยวกับเศรษฐกิจ
มหภาค นโยบายการพัฒนาการเกษตรและความก๎าวหน๎าของการพัฒนาการเกษตรและการบริหารจัดการน้ํา
เป็นต๎น
ทั้งนี้ วิธีการและกระบวนการจัดทํารายงานได๎ดําเนินการกึ่งการวิจัยโดยรวบรวมเนื้อหาหลักจาก
เอกสารและข๎อมูลที่ได๎รับจากการศึกษาดูงานและการประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเฉพาะกลุํมหนํวยงาน
ระดับนโยบาย (Focus Group Discussion) ณ คณะกรรมการเกษตรไต๎หวัน(Council of Agriculture: COA)
ณ กรุงไทเป รวมทั้งการค๎นคว๎าข๎อมูลทุติยภูมิเพิ่มเติมจากแหลํงอื่นๆ หลังจากนั้นได๎ทําการวิเคราะห์นโยบาย
(Policy Analysis) แล๎วทําการวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบ (Comparative Analysis) เพื่อศึกษาความคล๎ายคลึง
และความแตกตําง (Common and Different) ของความก๎าวหน๎าการพัฒนาการเกษตรและนโยบายการ
พัฒนาการเกษตรระหวํางประเทศไต๎หวันและประเทศไทย เพื่อค๎นหาแนวปฏิบัติที่ดีของประเทศไต๎หวันในมิติ
ตํางๆ ที่สามารถนํามาประยุกต์ใช๎กับการพัฒนาการเกษตรของไทย เพื่อเสริมสร๎างให๎ไทยเป็นฐานการผลิต
เกษตรที่ทันสมัยและแขํงขันได๎อยํางยั่งยืน เป็นแหลํงผลิตอาหารปลอดภัยระดับโลกเพื่อสนับสนุนเปูาหมายการ
ผลักดันครัวไทยสูํครัวโลกให๎เกิดผลในทางปฏิบัติอยํางเป็นรูปธรรม ตลอดทั้งเพื่อยกระดับมาตรฐานคุณภาพ
ชีวิตของเกษตรไทยให๎ดีขึ้นและลดความเหลื่อมล้ําของการพัฒนาระหวํางเมืองและชนบท
สุดท๎ายนี้คณะผู๎จัดทํารายงานกลุํมที่ 1 ขอขอบพระคุณ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ
เศรษฐกิจและสังคมแหํงชาติที่ริเริ่มให๎เกิดหลักสูตรฝึกอบรมนี้ และคณะอาจารย์ที่ได๎ให๎ความรู๎ทั้งทางทฤษฏี
และทางปฏิบัติด๎านการวางแผนยุทธศาสตร์ และหวังเป็นอยํางยิ่งวํารายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์สําหรับใช๎
เพื่อการผลักดันการปรับปรุงโครงสร๎างภาคการเกษตรและการเสริมสร๎างขีดความสามารถของภาคเกษตรของ
ไทยในอนาคต
คณะเจ๎าหน๎าที่ผู๎เข๎ารํวมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการวางแผนยุทธศาสตร์ชาติ รุํนที่ 1 กลุํมที่ 1
4
6มกราคม 2558
สารบัญ
เนื้อหา หน้า
รายชื่อสมาชิกกลุํมที่ 1 ข
คํานํา ค
บทสรุปผู๎บริหาร จ
1 ภาพรวมของประเทศไต้หวัน 1
1.1ภาพรวมทางกายภาพและโครงสร๎างเศรษฐกิจของประเทศไต๎หวัน 1
1.2ความสําคัญและความก๎าวหน๎าด๎านการพัฒนาการเกษตรของประเทศไต๎หวัน 2
1.3ผลิตผลเกษตรที่สําคัญและการค๎าสินค๎าเกษตรระหวํางประเทศ 2
2 หน่วยงานหลักในการพัฒนาการเกษตรและจัดการทรัพยากรน้าของประเทศไต้หวัน 3
และกลไกการบริหารจัดการเกษตร(คณะกรรมการการเกษตรไต้หวัน: Council of
Agriculture: COA)และการจัดการน้า (องค์การจัดการทรัพยากรน้า)
2.1 ความเป็นมา 3
2.2 ขอบเขตอํานาจหน๎าที่ 4
2.3 โครงสร๎างการบริหารจัดการ 4
2.4 การบริหารจัดการทรัพยากรน้ําของประเทศไต๎หวัน 5
3 นโยบายการพัฒนาการเกษตรของไต้หวันกาหนดโดยคณะกรรมการการเกษตรไต้หวัน 6
3.1 แผนระยะปานกลางทางการเกษตร (ปี พ.ศ. 2556-2559) 6
3.2 นโยบายหลักในชํวง 4 ปีข๎างหน๎า (ปี พ.ศ. 2556-2559) 7
4 การวิเคราะห์เปรียบเทียบประเด็นการพัฒนาการเกษตรที่สาคัญระหว่าง13
ประเทศไต้หวันและประเทศไทย
4.1 โครงสร๎างการผลิตการเกษตรและการบริหารจัดการ 13
4.2 การยกระดับการเพิ่มขีดความสามารถในการแขํงขันของภาคการเกษตร 22
4.3 ความมั่นคงและความปลอดภัยด๎านสินค๎าเกษตร 26
4.4 เกษตรกร 33
5 สรุปและข้อเสนอแนะ 35
5.1 สรุปความก๎าวหน๎าการพัฒนาการเกษตรของไต๎หวัน 35
5.2 ข๎อเสนอแนะเชิงนโยบายสําหรับการประยุกต์ใช๎กับประเทศไทย 37
เอกสารอ้างอิง 40
5
บทสรุปสาหรับผู้บริหาร
1. ภาพรวมไต๎หวันมีลักษณะทางกายภาพเป็นเกาะทอดยาวจากเหนือสูํใต๎โดยมีแนวเขาอยูํที่สํวนกลางของ
เกาะมีขนาดพื้นที่เล็กกวําประเทศไทย 14.25 เทํา ประชากรทั้งประเทศประมาณ 23 ล๎านคน และมีขนาด
เศรษฐกิจใหญํเป็นอันดับที่ 21 ของโลก ขณะที่ไทยมีขนาดเศรษฐกิจเป็นอันดับที่ 22 (องค์กรการค๎าโลก :
WTO พ.ศ. 2555) ระบบเศรษฐกิจของไต๎หวันพึ่งพาภาคเกษตรกรรมเพียงร๎อยละ 3 ของGDP ซึ่งลดลงอยําง
รวดเร็วจากร๎อยละ 35 เมื่อ 60 ปีที่ผํานมา แตํภาคเกษตรยังคงความสําคัญตํอเศรษฐกิจของประเทศ เนื่องจาก
ประชากรในปัจจุบันประมาณ 1 ล๎านคน ของ810,000 ครัวเรือน หรือร๎อยละ 4.34 ของประชากรทั้งประเทศ
ประกอบอาชีพเกษตรกรรม และสํวนใหญํเป็นเกษตรกรรายยํอยมีพื้นที่ถือครองเฉลี่ย 1.06 เฮกตาร์ หรือ
ประมาณ 6 ไรํ 1 งานตํอครัวเรือน เกษตรกรใช๎เทคโนโลยีสูงในการผลิต ในปี 2555 มูลคําการสํงออกสินค๎า
เกษตรประมาณ 152,700 ล๎านบาท สินค๎าสํงออกหลักคือ ดอกไม๎ ผลิตภัณฑ์สัตว์น้ําและถั่วแระ เป็นต๎น ตลาด
สํงออกหลักคือ ญี่ปุุน จีน(แผํนดินใหญํ) ฮํองกงและสหรัฐอเมริกา เป็นต๎น นอกจากนี้ ไต๎หวันได๎สนับสนุนภาค
เกษตร โดยสํงเสริมการจัดรูปที่ดิน การจัดระบบชลประทานที่หลากหลายตั้งแตํขนาดใหญํและระบบ
ชลประทานภายในฟาร์ม เชํน ระบบทํอ ระบบสเปรย์ ระบบหยด และระบบอัตโนมัติรวมทั้งการทําคันนาปูน
เพื่อชํวยให๎มีการใช๎น้ําทางการเกษตรอยํางมีประสิทธิภาพเป็นต๎น
2.คณะกรรมการการเกษตรไต้หวันหรือสภาการเกษตรไต้หวัน (Council of Agriculture: COA) เป็น
หนํวยงานหลักในการพัฒนาการเกษตรและทรัพยากรน้ําของประเทศไต๎หวัน รวมทั้งรับผิดชอบวางแผนและ
พัฒนาด๎านการเกษตรและความมั่นคงทางอาหารของประเทศ ตลอดจนการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล๎อม โดยมีองค์กรภายใต๎การกํากับดูแลทั้งหมด23 แหํง เพื่อพัฒนาและบริหารจัดการภาคเกษตรกรรม
ของประเทศได๎อยํางเป็นระบบและครบวงจร และนโยบายการพัฒนาการเกษตรที่สําคัญในปี 2556-2559 มี
ดังนี้
2.1 การเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันให้ภาคเกษตรที่สอดคล้องกับความเป็นสากลของ
ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรได๎แกํ 1) บูรณาการภาคเกษตรกับระบบให๎บริการบนคลาวด์ 2) สร๎างความเข๎มแข็ง
ของระบบเตือนภัยและกฎระเบียบตํางๆ เพื่อความมีเสถียรภาพของผลผลิตทางการเกษตรและการตลาด
3) สร๎างความรํวมมือในหลากหลายสาขา เรํงสร๎างหํวงโซํมูลคําของอุตสาหกรรมการเกษตร โดยอาศัย
ผู๎ประกอบการและกลุํมเกษตรกรเป็นกลไกกลางในการบริหารจัดการการผลิตสินค๎าเกษตรให๎มีมูลคําเพิ่มและ
ได๎มาตรฐาน 4) สํงเสริมการวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีที่มีความก๎าวหน๎าด๎านการเกษตร และนําผลการวิจัยไปใช๎
เพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรม เพื่อให๎ภาคการเกษตรเติบโตอยํางตํอเนื่อง 5) สํงเสริมการใช๎พลังงานสีเขียวและ
พัฒนาเทคโนโลยีทางการเกษตรที่มีประสิทธิภาพสูงและมีนวัตกรรมประหยัดพลังงาน 6) สร๎างความเข๎มแข็ง
ด๎านชํองทางการจัดจําหนํายผลผลิตทางการเกษตรสูํตลาดโลก 7) สํงเสริมการทํองเที่ยวเชิงเกษตรระดับสากล
8) สํงเสริมการมีสํวนรํวมกับองค์กรระหวํางประเทศและข๎อตกลงทางการค๎าระหวํางประเทศด๎านการเกษตร
2.2 การปรับโครงสร้างทางการเกษตร ส่งเสริมความสามารถของบุคลากรการเกษตร และพัฒนา
6
สินค้าให้มีมูลค่าเพิ่มดังนี้ 1) สํงเสริมคุณภาพและประสิทธิการทํางานของเกษตรกร โดยมีระบบเกษียณอายุ
ของเกษตรกรสํงเสริมการเชําที่เกษตรกรรมจากเจ๎าของรายเล็กสูํผู๎เชํารายใหญํ และจัดตั้งศูนย์ให๎คําปรึกษา
เกษตรกรรุํนใหมํ เพื่อถํายทอดเทคโนโลยีและให๎คําปรึกษาด๎านการบริหารจัดการแกํเกษตรกร เป็นต๎น2)
รํวมมือกับภาคอุตสาหกรรมในการสํงเสริมการพัฒนาท๎องถิ่น เพื่อปรับปรุงสภาพแวดล๎อมการทําการเกษตร
และชีวิตคนในท๎องถิ่น 3) สร๎างหลักประกันด๎านความมั่นคงและความปลอดภัยในอาหารและผลผลิตทางการ
เกษตร โดยสํงเสริมการบริโภคอาหารภายในประเทศและสร๎างกลไกด๎านความปลอดภัยในอาหารสํงเสริมให๎มี
การใช๎ลักษณะดั้งเดิมของผลิตภัณฑ์เป็นจุดขายเพื่อแสดงถึงความเป็นมาของสินค๎าและตราสินค๎าท๎องถิ่นให๎เป็น
ที่รู๎จักสํงเสริมการผลิต การบริโภคผลผลิตและเพิ่มชํองทางการตลาดของสินค๎าเกษตรให๎มีความหลากหลาย
เป็นต๎น 4) การรักษาระบบนิเวศในแหลํงเกษตรกรรมให๎ยั่งยืนได๎แกํ สํงเสริมการวางแผนการใช๎และรักษา
คุณภาพน้ําทางการเกษตรอนุรักษ์แหลํงประมงปุาไม๎และความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศอยํางยั่งยืน
5) สํงเสริมให๎องค์กรด๎านการเกษตรดูแลเกษตรกรให๎มีความผาสุกโดยดูแลคุณภาพชีวิตของเกษตรกรในด๎าน
ตํางๆ สํงเสริมการวางแผนรายได๎และระบบประกันแกํเกษตรกรและสนับสนุนสินเชื่อในโครงการที่เกี่ยวข๎องกับ
การเกษตรอยํางตํอเนื่อง เป็นต๎น
3.ประเด็นการพัฒนาการเกษตรที่สาคัญของประเทศไต้หวัน
3.1 การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมเพื่อแก๎ไขปัญหาความไมํเป็นธรรมด๎านที่ดินให๎กับประชาชนและ
เป็นต๎นแบบที่สําคัญของหลายประเทศในโลกรวมทั้งประเทศไทย โดยรัฐบาลดําเนินการใน 3 เรื่องสําคัญ คือ
1)การลดค่าเช่าเพื่อลดการตํอต๎านจากเจ๎าของที่ดินโดยรัฐกําหนดอัตราคําเชําขั้นสูงไมํเกินร๎อยละ37.5ของ
รายได๎จากผลผลิตพืชหลักตํอปีที่ประเมินโดยรัฐบาล2)การขายที่ดินเพื่อการเกษตรของรัฐเพื่อให๎เกษตรกรมี
ที่ดินเป็นของตนเองและมีการใช๎ประโยชน์ที่ดินมากขึ้นโดยการจัดลําดับสิทธิของผู๎ซื้อ3) การจัดที่ดินให้
เกษตรกรโดยรัฐนาที่ดินที่ได้จากการเวนคืนมาขายให้กับเกษตรกรเพื่อให๎เกษตรกรเป็นเจ๎าของที่ดินโดยไมํ
เพิ่มภาระทางการเงินและปกปูองผลประโยชน์ของเจ๎าของที่ดินเดิมโดยการจํายคําชดเชยที่เป็นธรรม
3.2 การจัดการแหล่งน้าเพื่อเกษตรกรรมโดยการสร๎างเขื่อนกักเก็บน้ําเพื่อเกษตรกรรมกระจายทั่ว
ประเทศ
3.3 การวิจัยและพัฒนาและการถ่ายทอดเทคโนโลยีในภาคเกษตร โดยรัฐบาลจัดตั้งสถาบันวิจัย
การเกษตรกวํา 10 แหํง เพื่อวิจัยและพัฒนาด๎านการเกษตร ฝึกสอนเกษตรกร แนะนําวิธีการปลูกและการ
กําจัดศัตรูและโรคพืช เป็นต๎น นอกจากนี้ รัฐบาลได๎รํวมกับภาคเอกชนในการถํายทอดเทคโนโลยีภายใต๎การ
ปกปูองทรัพย์สินทางปัญญา การใช๎ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขํงขันการนํา
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาประยุกต์เพื่อตอบสนองตํอตลาด และการพัฒนานวัตกรรมทางเทคโนโลยีเพื่อให๎
องค์กรภาคเกษตรมีพลวัตรและสามารถนําผลการวิจัยและพัฒนาไปสูํตลาดสินค๎าระหวํางประเทศ
3.4 การพัฒนาสถาบันเกษตรกรให้มีความเข้มแข็งโดยจัดอบรมการประกอบธุรกิจให๎กับกลุํมเกษตรกร
การให๎สินเชื่อดอกเบี้ยต่ําเพื่อเป็นทุนในการจัดซื้อที่ดิน โรงเรือน และเครื่องจักรกลการเกษตรตํางๆ เป็นต๎น
7
เพื่อเกษตรกรสามารถดําเนินธุรกิจได๎อยํางมืออาชีพรวมทั้งการจัดทําโครงการสํงเสริมคนรุํนใหมํทําการเกษตร
เพื่อจูงใจคนรุํนใหมํกลับมาทํางานในชนบทโดยให๎เงินกู๎และเงินอุดหนุน ตลอดจนให๎องค์ความรู๎ผํานโรงเรียน
เกษตรกร
4. ข้อเสนอแนะซึ่งเป็นแนวปฏิบัติที่ดีของประเทศไต้หวัน (Best Practices) ซึ่งควรประยุกต์ใช้กับประเทศ
ไทย
4.1 ปรับโครงสร๎างการผลิตสินค๎าเกษตรโดยใช๎การตลาดเป็นตัวนําการผลิต (Demand-Driven
Production) และกําหนดเขตเกษตรกรรมที่เหมาะสมกับศักยภาพของพื้นที่ (Zoning)
4.2 ให๎ความสําคัญกับการวิจัยและพัฒนา สํงเสริมการสร๎างเครือขํายความเชื่อมโยงระหวํางสถาบันการ
วิจัยและสถาบันการศึกษากับผู๎ประกอบการและเกษตรกร เพื่อนําผลวิจัยไปใช๎ประโยชน์ในทางปฏิบัติ
4.3 บูรณาการหนํวยงานภาครัฐที่เกี่ยวข๎องกับการบริหารจัดการน้ําเพื่อให๎มีการจัดสรรน้ําอยํางสมดุลเพื่อ
ใช๎สําหรับการบริโภคอุปโภค น้ําเพื่ออุตสาหกรรม น้ําเพื่อเกษตรกรรม และน้ําเพื่อดูแลรักษาสิ่งแวดล๎อม ตลอด
ทั้งกําหนดมาตรการสํงเสริมการใช๎น้ําอยํางคุ๎มคํา พัฒนาแหลํงน้ําเพื่อการเกษตรให๎กระจายทั่วประเทศรวมทั้ง
พัฒนาเทคโนโลยีทางการชลประทานเพื่อการเกษตรที่ชํวยประหยัดน้ําอยํางมีประสิทธิภาพสําหรับฟาร์มทุก
ขนาด ตลอดทั้งการปฏิรูปที่ดินเพื่อสร๎างโอกาสการเข๎าถึงและถือครองที่ดินเพื่อการผลิตทางการเกษตรอยําง
เทําเทียมกัน
4.4 สํงเสริมการแปรรูปและการสร๎างมูลคําเพิ่มให๎แกํผลผลิตทางการเกษตรที่มีความหลากหลายผลักดัน
การสร๎างตราสินค๎าของผลิตภัณฑ์ที่เป็นสิ่งบํงชี้ทางภูมิศาสตร์ (Geographical Indication: GI) เพื่อสร๎างการ
ยอมรับจากผู๎บริโภคอยํางกว๎างขวาง รวมทั้งการแสวงหาตลาดสํงออกที่หลากหลายมากขึ้น
4.5 พัฒนาข๎อมูลการเกษตรและระบบเตือนภัยลํวงหน๎า โดยพัฒนาเทคโนโลยีด๎านดาวเทียมมา
ประยุกต์ใช๎ในการตรวจสอบและเตือนภัยธรรมชาติลํวงหน๎า เพื่อเกษตรกรสามารถวางแผนการผลิตได๎อยํางมี
ประสิทธิภาพและลดความเสียหายที่จะเกิดขึ้น
4.6 ลดการใช๎สารเคมีทางการเกษตรในกระบวนการผลิตเพื่อยกระดับสูํการเกษตรปลอดภัยและเป็นมิตร
ตํอสิ่งแวดล๎อม (Eco-Friendly) ตลอดหํวงโซํการผลิต โดยวางเปูาหมายให๎ประเทศไทยเป็นฐานการผลิตอาหาร
ปลอดภัยของโลก
4.7 ขยายความรํวมมือทางวิชาการเกษตรระหวํางประเทศไทยกับประเทศไต๎หวัน โดยการแลกเปลี่ยน
ผลงานวิจัยและนักวิจัย การแลกเปลี่ยนแนวปฏิบัติที่ดีทางการเกษตร การประยุกต์ใช๎งานวิจัยทางการเกษตร
ในเชิงพาณิชย์และการปรับปรุงพันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์เป็นต๎น
8
รายงานการศึกษาดูงานเรื่อง ความก้าวหน้าการพัฒนาการเกษตรของ
ประเทศไต้หวัน: การเรียนรู้ประสบการณ์และการประยุกต์ใช้แนวปฏิบัติ
ที่ดี (Best Practices) สาหรับประเทศไทย
1. ภาพรวมของประเทศไต้หวัน
1.1 ภาพรวมทางกายภาพและโครงสร้างเศรษฐกิจของประเทศไต้หวัน
ประเทศไต๎หวันมีลักษณะทางกายภาพเป็นเกาะทอดยาวจากเหนือสูํใต๎โดยมีแนวเขาอยูํที่สํวนกลาง
ของเกาะจัดอยูํในเขตภูเขาไฟและแผํนดินไหว มีพื้นที่ทั้งประเทศ 36,000 ตารางกิโลเมตรตั้งอยูํ
หํางจากจังหวัดกวางโจวของจีนแผํนดินใหญํ 266.26 กม.(ประเทศไทยมีขนาดพื้นที่ใหญํกวํา
ประเทศไต๎หวัน 14.25 เทํา) มีประชากรทั้งประเทศประมาณ 23 ล๎านคน อัตราการขยายตัวของ
ประชากรคํอนข๎างต่ําประมาณร๎อยละ 0.29 ตํอปี แบํงการใช๎ประโยชน์ที่ดินของประเทศออกเป็น
พื้นที่ปุาเขาที่มีความสูงตั้งแตํ 1,000-4,000 เมตร คิดเป็นร๎อยละ 33 พื้นที่ดินที่มีความลาดเอียงซึ่ง
มีความสูงตั้งแตํ 100-1,000 เมตร คิดเป็นร๎อยละ 38 และพื้นที่ราบที่มีความสูงต่ํากวํา 100 เมตร
ร๎อยละ 29 ไต๎หวันเป็นประเทศที่มีบทบาทสําคัญในระบบเศรษฐกิจโลกเป็นอยํางยิ่ง เนื่องจากเป็น
ประเทศที่เป็นผู๎นําทางด๎านอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและผู๎ผลิตสินค๎าอุตสาหกรรม
อิเล็กทรอนิคส์รายใหญํ
แผนที่ประเทศไต้หวัน
9
จากข๎อมูลขององค์กรการค๎าโลก (WTO) ในปี พ.ศ. 2555 ประเทศไต๎หวันมีขนาดเศรษฐกิจใหญํ
เป็นอันดับที่ 21 ของโลก (ไทยมีขนาดเศรษฐกิจเป็นอันดับที่ 22) โดยใช๎เกณฑ์จากผลิตภัณฑ์มวล
รวมประชาชาติ (Gross Domestic Product: GDP) และระหวํางปี พ.ศ. 2505-2557 มีอัตราการ
ขยายตัวของ GDP เฉลี่ยร๎อยละ7.12 ตํอปี ทําให๎ได๎รับการกลําวถึงวําเศรษฐกิจของประเทศไต๎หวัน
มีความก๎าวหน๎าอยํางโดดเดํน (Taiwan Miracle) และเป็นหนึ่งใน 4 เสือแหํงเอเชีย (อีก 3
ประเทศคือ ฮํองกง สิงคโปร์และเกาหลีใต๎) นอกจากนี้ยังเป็นประเทศผู๎สํงออกสินค๎าในอันดับที่ 17
ของโลก (ประเทศไทยอยูํในอันดับที่ 23) ในด๎านขีดความสามารถในการแขํงขันระหวํางประเทศ
จากการจัดอันดับของ World Economic Forum : WEF ชํวงระหวํางปี พ.ศ. 2556–2557
ประเทศไต๎หวันมีขีดความสามารถในการแขํงขันอยูํในอันดับที่ 12 ของโลก (ประเทศไทยอยูํใน
อันดับที่ 37 )และกองทุนการเงินระหวํางประเทศ (IMF) ได๎จัดอันดับให๎ไต๎หวันอยูํในกลุํมประเทศ
พัฒนาแล๎ว
1.2 ความสาคัญและความก้าวหน้าด้านการพัฒนาการเกษตรของประเทศไต้หวัน
การพัฒนาการเกษตรของไต๎หวันถือได๎วําไมํได๎เป็นเพียงธุรกิจแตํยังเป็นวิถีชีวิตของประชาชนตลอด
30 ปีที่ผํานมาระบบเศรษฐกิจของไต๎หวันพึ่งพาภาคเกษตรกรรมเพียงร๎อยละ 3 ของGDP ซึ่งลดลง
อยํางรวดเร็วจากร๎อยละ 35 เมื่อ 60 ปีที่ผํานมาอยํางไรก็ตามภาคเกษตรยังมีความสําคัญเนื่องจาก
ปัจจุบันมีประชากรที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมประมาณ 1 ล๎านคน จํานวน 810,000 ครัวเรือน
หรือคิดเป็นร๎อยละ 4.34 ของประชากรทั้งประเทศ ซึ่งสํวนใหญํเป็นเกษตรกรรายยํอยมีพื้นที่ถือ
ครองที่ดินเฉลี่ย 1.06 เฮกตาร์ หรือประมาณ 6 ไรํ 1 งานตํอครัวเรือน โดยมีจํานวนสมาชิกใน
ครัวเรือนเฉลี่ย 5 คน/ครัวเรือน มีการใช๎เทคโนโลยีที่ทันสมัยเพื่อสนับสนุนการผลิตทางการเกษตร
อยํางกว๎างขวาง ในปี 2555 ภาคเกษตรกรรมสามารถสร๎างมูลคําทางเศรษฐกิจประมาณ 473,000
ล๎านบาทตํอปี ซึ่งเป็นรายได๎จากการปลูกพืชประมาณร๎อยละ 46.64ปศุสัตว์ร๎อยละ 31.00 ประมง
ร๎อยละ22.22และผลิตภัณฑ์จากปุาไม๎ร๎อยละ0.08โดยมูลคําผลผลิตทางการเกษตรคิดเป็นร๎อยละ
1.90ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศของไต๎หวัน(ภาคอุตสาหกรรมร๎อยละ 29.70 และภาค
บริการร๎อยละ 68.40)หากรวมกิจกรรมที่เกี่ยวข๎องกับการเกษตร เชํนอุตสาหกรรมการเกษตรและ
การพักผํอนหยํอนใจในฟาร์มทําให๎สัดสํวนภาคเกษตรเพิ่มขึ้นถึงร๎อยละ 11ของGDPสํงผลให๎ภาค
เกษตรของประเทศไต๎หวันมีบทบาทสําคัญตํอความมั่นคงทางอาหารการพัฒนาชนบทและการ
อนุรักษ์ระบบนิเวศ โดยมีพื้นที่ทําการเกษตรอินทรีย์จํานวน 7,697.2 ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ 1 ของ
พื้นที่ทําการเกษตรทั้งหมดของประเทศ ประเทศไต๎หวันได๎สํงเสริมการจัดรูปที่ดิน การจัดระบบ
ชลประทานที่หลากหลายตั้งแตํขนาดใหญํและระบบชลประทานภายในฟาร์ม เชํน ระบบทํอ ระบบ
สเปรย์ ระบบหยด และระบบอัตโนมัติรวมทั้งการทําคันนาปูนเพื่อชํวยให๎มีการใช๎น้ําอยํางมี
ประสิทธิภาพ
10
1.3 ผลิตผลเกษตรที่สาคัญและการค้าสินค้าเกษตรระหว่างประเทศ
ผลผลิตที่สําคัญของประเทศไต๎หวันประกอบด๎วย ข๎าวซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจที่สําคัญที่สุดและ
อ๎อยไต๎หวันถูกเรียกวํา"อาณาจักรผลไม๎" เนื่องจากมีผลไม๎หลากหลายชนิดที่แตกตํางกันตลอดทั้งปี
โดยในชํวงฤดูร๎อนมีผลไม๎ที่สามารถเก็บเกี่ยวได๎กวํา 20 ชนิด ผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์หลัก เชํน หมูและ
ไกํ การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ําและการทําประมงทะเลลึก เชํน ปลาไหลและปลาหมึก นอกจากนี้ยังมี
ผลผลิตชา ดอกไม๎ และปลาสวยงาม เป็นต๎น ตั้งแตํปี 2550 เป็นต๎นมากระทรวงเกษตรของไต๎หวัน
ได๎พยายามขยายตลาดสินค๎าเกษตรไปยังตลาดเปูาหมายทั่วโลก ในปี 2555 มูลคําการสํงออก
สินค๎าเกษตรขยายตัวร๎อยละ 9 เมื่อเทียบกับปี 2554 คิดเป็นมูลคําประมาณ 152,700 ล๎านบาท
สินค๎าสํงออกหลักคือ ดอกไม๎ ผลิตภัณฑ์สัตว์น้ําและถั่วแระ เป็นต๎น โดยมีตลาดสํงออกหลักคือ
ญี่ปุุน จีน (แผํนดินใหญํ) ฮํองกงและสหรัฐอเมริกา เป็นต๎น นอกจากนี้ประเทศไต๎หวันยังมีการ
นําเข๎าสินค๎าเกษตรอินทรีย์จากไทย ได๎แกํ ธัญพืชและผลิตภัณฑ์แปรรูป เชํน ข๎าวเหนียวและ
พาสต๎า งา และหนํอไม๎ฝรั่ง และสินค๎าเกษตรทั่วไป เชํน ผลิตภัณฑ์มันสําปะหลัง เป็นต๎น สําหรับ
ประเทศไทยมีการนําเข๎าสินค๎าปลาทูนําสดแชํเย็นแชํแข็งจากไต๎หวัน
ตัวอย่างผลผลิตเกษตรที่สาคัญของประเทศไต้หวัน
2 หน่วยงานหลักในการพัฒนาการเกษตรและจัดการทรัพยากรน้าของประเทศไต้หวัน และกลไกการ
บริหารจัดการเกษตร(คณะกรรมการการเกษตรไต้หวันหรือสภาการเกษตรไต้หวัน:Council of
Agriculture: COA) และบริหารจัดการน้า (องค์การจัดการทรัพยากรน้า)
2.1 ความเป็นมา
2.1.1 ปี พ.ศ.2491 ภายหลังสงครามระหวํางจีนและญี่ปุุนสิ้นสุดลง รัฐบาลพรรคชาตินิยมก๏ก
มินตั๋งได๎กํอตั้งคณะกรรมการรํวมเพื่อการฟื้นฟูชนบท (Joint Commission on Rural
Reconstruction) ภายใต๎ความตกลงด๎านเศรษฐกิจระหวํางจีนและสหรัฐอเมริกา
2.1.2 เมื่อพรรคชาตินิยมก๏กมินตั๋งได๎สถาปนาสาธารณรัฐจีนบนเกาะไต๎หวันในปี พ.ศ.2492
คณะกรรมการรํวมฯ ได๎ย๎ายมายังไต๎หวันพร๎อมกับรัฐบาลพรรคชาตินิยมด๎วยและเป็น
กลไกสําคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาชนบทในไต๎หวันในชํวงระยะแรก โดยในปีเดียวกัน
รัฐบาลพรรคชาตินิยมได๎จัดตั้งสํานักการเกษตรขึ้นภายใต๎กระทรวงเศรษฐกิจเพื่อกํากับ
ดูแลการเกษตรของประเทศ
11
2.1.3 ในปี พ.ศ. 2522 ความรํวมมือทางเศรษฐกิจระหวํางสหรัฐอเมริกาและไต๎หวันได๎สิ้นสุดลง
สหรัฐอเมริกาถอนตัวจากคณะกรรมการรํวมเพื่อการฟื้นฟูชนบท แตํรัฐบาลไต๎หวันได๎
เล็งเห็นประโยชน์ในการพัฒนาการเกษตรจากกลไกดังกลําว จึงได๎ปฏิรูปโครงสร๎างของ
คณะกรรมการรํวมฯ ใหมํและได๎จัดตั้งเป็นคณะกรรมการวางแผนและพัฒนาการเกษตร
(Council for Agricultural Planning and Development: CAPD) และให๎อยูํภายใต๎
การกํากับดูแลของรัฐบาลโดยตรง
2.1.4 ในปีพ.ศ. 2527 ได๎มีการจัดตั้งคณะกรรมการการเกษตร (Council of Agriculture:
COA) โดยการผนวกรวมคณะกรรมการวางแผนและพัฒนาการเกษตรกับสํานักการเกษตร
ซึ่งขณะนั้นสํานักการเกษตรยังเป็นหนํวยงานภายใต๎กระทรวงเศรษฐกิจของไต๎หวัน ทั้งนี้
เพื่อกําหนดทิศทางการดําเนินนโยบายด๎านการเกษตรให๎มีความสอดคล๎องกับการพัฒนา
เศรษฐกิจของประเทศยิ่งขึ้น
2.1.5 ตํอมาในปี พ.ศ. 2542 สํวนงานด๎านการเกษตร การปุาไม๎ และอาหารของจังหวัดตํางๆ ที่
เคยมีการดําเนินงานเป็นอิสระจากคณะกรรมการการเกษตร ได๎เข๎ามาอยูํภายใต๎อํานาจ
การบริหารของคณะกรรมการการเกษตรทั้งหมดจากนโยบายการรวมศูนย์อํานาจเพื่อการ
ขับเคลื่อนการพัฒนาที่เป็นเอกภาพของรัฐบาลไต๎หวัน
2.2 ขอบเขตอานาจหน้าที่คณะกรรมการการเกษตรไต๎หวันเป็นหนํวยงานภายใต๎การกํากับดูแลของ
นายกรัฐมนตรีไต๎หวันมีบทบาทความรับผิดชอบในการวางแผนและพัฒนาด๎านการเกษตร ปุาไม๎
ประมง ปศุสัตว์ และความมั่นคงทางอาหารของประเทศ นอกจากนี้ ยังมีความรับผิดชอบด๎านการ
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล๎อม เชํน ดิน น้ํา ปุาไม๎ สัตว์และพันธุ์พืชเป็นต๎น รวมทั้ง
การสํงเสริมการพัฒนาระบบเศรษฐกิจและวัฒนธรรมของเขตชนบท ซึ่งเทียบเทํากับ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของประเทศไทย
2.3 โครงสร้างการบริหารจัดการ
2.3.1 คณะกรรมการการเกษตรไต๎หวัน ประกอบด๎วย สํานักนโยบายและแผน สํานัก
อุตสาหกรรมสัตว์ สํานักบริการเกษตรกร สํานักความรํวมมือระหวํางประเทศ สํานัก
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักชลประทานและวิศวกรรม สํานักเลขาธิการ สํานักการ
เจ๎าหน๎าที่ สํานักสถิติ สํานักตรวจสอบภายใน สํานักตํอต๎านการทุจริต คณะกรรมการด๎าน
กฎหมาย และศูนย์รับเรื่องร๎องเรียน
2.3.2 มีองค์กรภายใต๎การกํากับดูแลทั้งหมด23 แหํง หนํวยงานที่สําคัญ เชํน องค์การเกษตรและ
อาหาร องค์การประมง องค์การอนามัยสัตว์และพืช สํานักการคลังเกษตร สํานัก
ปุาไม๎ สํานักอนุรักษ์ดินและน้ํา สถาบันวิจัยการเกษตรแหํงไต๎หวัน สถาบันวิจัยการปุาไม๎
แหํงไต๎หวัน สถาบันวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์และพืชน้ํา สถาบันวิจัยปศุสัตว์ สถาบันวิจัย
12
อนามัยสัตว์ สถาบันวิจัยสารพิษและสารเคมีการเกษตรแหํงไต๎หวัน สถาบันวิจัยสัตว์
เฉพาะถิ่น สถานีพัฒนาการเกษตร สถานีวิจัยและทดลองพันธุ์ชา สถานีวิจัยและ
ขยายพันธุ์เมล็ดพืช และสํานักบริหารโครงการเทคโนโลยีชีวเกษตร เป็นต๎น
2.3.3 ในปี พ.ศ.2547หลังจากที่ได๎มีการจัดตั้งสํานักการคลังเกษตร (Bureau of Agricultural
Finance: BOAF) ภายใต๎คณะกรรมการการเกษตรแล๎ว อํานาจการคลังด๎านการเกษตร
ทั้งหมดของกระทรวงการคลังแหํงไต๎หวันได๎ถูกโอนมาอยูํภายใต๎คณะกรรมการการเกษตร
โดยสํานักการคลังเกษตรทําหน๎าที่กํากับดูแลสถาบันการเงินและการวางแผนเงินกู๎เพื่อ
การเกษตร รวมทั้งธนาคารเพื่อการเกษตรแหํงไต๎หวันซึ่งได๎กํอตั้งขึ้นในปี พ.ศ.2548
แผนภูมิที่ 1: โครงสร้างการบริหารของคณะกรรมการการเกษตรไต้หวัน
ที่มา:Council of Agriculture, Taiwan.2557.
2.4การบริหารจัดการทรัพยากรน้าของประเทศไต้หวัน
ไต๎หวันเป็นดินแดนที่เป็นเกาะซึ่งมีปริมาณน้ําฝนมากกวําคําเฉลี่ยโลก 2.6 เทํา แตํจากที่มีประชากรถึง 23 ล๎าน
คนและมีการใช๎น้ําเฉลี่ยมากกวํา 2,700 ลูกบาศก์เมตร/คน/ปี มากกวําคําเฉลี่ยโลกถึง 2 เทํา (1,385 ลูกบาศก์
เมตรตํอคนตํอปี) ประกอบกับมีข๎อจํากัดด๎านภูมิประเทศและภูมิอากาศรวมทั้งการพัฒนาแหลํงกักเก็บน้ํา ทํา
ให๎ไต๎หวันมีแนวโน๎มจะขาดแคลนน้ําได๎ในอนาคต ด๎วยเหตุนี้จึงมีความจําเป็นต๎องบริหารจัดการน้ําอยํางจริงจัง
13
และมีความตื่นตัวในการรณรงค์การบริหารจัดการน้ําและการใช๎น้ําในทุกภาคสํวน โดยเฉพาะภาครัฐได๎จัดตั้ง
องค์การทรัพยากรน้ํา (Water Resources Agency : WRA) สังกัดกระทรวงการพัฒนาเศรษฐกิจเมื่อปี พ.ศ.
2545 โดยการยุบรวมหนํวยงานที่เกี่ยวกับการจัดจัดการน้ําบางหนํวยงาน เชํน สํานักทรัพยากรน้ํา หนํวยงาน
อนุรักษ์ทรัพยากรน้ําและคณะกรรมการเฉพาะด๎านน้ําของกรุงไทเปให๎เป็นหนํวยงานใหญํคือ องค์การบริหาร
จัดการน้ํา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสํงเสริมการบริหารของหนํวยงานที่เกี่ยวข๎องด๎านน้ําให๎มีประสิทธิภาพมากขึ้น
รวมทั้งยกระดับการจัดการธุรกิจที่เกี่ยวกับน้ํา โดยบทบาทที่สําคัญขององค์การทรัพยากรน้ําคือ
 การให๎บริการการใช๎น้ําแกํสาธารณะ โดยการจัดหาน้ําประปา น้ําสําหรับภาคอุตสาหกรรม น้ําสําหรับ
ภาคเกษตรกรรมและน้ําสําหรับดูแลรักษาสิ่งแวดล๎อม
 การควบคุมปริมาณน้ํา โดยการปกปูองชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนจากภัยน้ําทํวมและการสร๎าง
ความปลอดภัยในการดําเนินชีวิตประจําวัน นอกจากนี้ยังให๎ความสําคัญกับการให๎การศึกษาและการปลูก
จิตสํานึกการใช๎น้ําอยํางคุ๎มคําของเด็กและเยาวชน โดยได๎มีการพัฒนาแอพลิเคชั่นในมือถือให๎เด็กเยาวชน
และประชาชนสามารถดาวน์โหลดไปศึกษาการใช๎น้ําในกิจกรรมการใช๎ชีวิตประจําวันของตัวเอง และมีการตํอ
ยอดให๎กับสถานศึกษาและหนํวยงานตํางๆ ให๎หันมาให๎ความสําคัญและลงมือดําเนินการใช๎น้ําอยํางคุ๎มคําอยําง
เป็นรูปธรรม โดยได๎มอบประกาศ เกียรติคุณให๎กับองค์กรที่ใช๎น้ําคุ๎มคํา ตลอดทั้งในอนาคตยังสนับสนุนให๎มีการ
อนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรน้ําอีกด๎วย
การจัดโครงสร๎างขององค์การจัดการทรัพยากรน้ําแบํงออกเป็น
 สํานักงานสํวนกลาง ประกอบด๎วย สํานักวางแผน สํานักอุทกวิทยา สํานักจัดการและพัฒนา
ทรัพยากรน้ํา สํานักแมํน้ําและชายฝั่งทะเล สํานักอนุรักษ์ทรัพยากรน้ํา สํานักกํอสร๎าง
สํานักบริหารน้ํา สํานักจัดการที่ดิน การจัดการข๎อมูลขําวสาร ทีมสํารวจแมํน้ํา ศูนย์บรรเทาภัยจาก
น้ํา สํานักเลขาธิการ ฝุายการเจ๎าหน๎าที่ สํานักงานงบประมาณ การบัญชีและสถิติ และสํานักบริการ
สาธารณะและจริยธรรม
 สํานักงานประจําภาค ประกอบด๎วยสํานักงานทรัพยากรน้ําภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคใต๎
 สํานักงานจัดการแมํน้ําที่ 1-10
 สํานักงานจัดการน้ําไทเป และ
 สถาบันวางแผนทรัพยากรน้ํา
3 นโยบายการพัฒนาการเกษตรของไต้หวัน กาหนดโดยคณะกรรมการการเกษตรไต้หวัน
3.1 แผนระยะปานกลางทางการเกษตร (ปี พ.ศ. 2556-2559)
3.1.1 การวิเคราะห์สถานการณ์ทางการเกษตรในอนาคต
(1) การพัฒนาเศรษฐกิจระหว่างประเทศส่งผลกระทบโดยตรงต่อการรวมกลุ่มของ
ภูมิภาคและการค้าสินค้าเกษตรได้รับผลโดยตรงจากการเปิดเสรีการค้า
14
นับตั้งแตํไต๎หวันเข๎ารํวมองค์การการค๎าโลก (WTO) ในปี 2545 อุตสาหกรรมทาง
การเกษตรของไต๎หวันต๎องเผชิญกับการเปิดเสรีมากยิ่งขึ้น จากข๎อตกลงทางการค๎าที่
ชื่อ Trade Party Partnership (TPP) เสนอโดยนิวซีแลนด์และสิงคโปร์ที่กําหนดให๎
ลดภาษีศุลกากรลงให๎เหลือ 0 ในปี 2558และการลงนามในข๎อตกลงทางการค๎า
Economic Cooperation Framework Agreement (ECFA) กับจีนในปี 2553ซึ่ง
แม๎สถานการณ์ระหวํางทั้ง 2 ประเทศจะไมํราบรื่นนัก แตํเพื่อการก๎าวสูํการมีสํวน
รํวมทางการค๎าระหวํางประเทศมากขึ้น ประกอบกับการค๎ากับจีนทวีความสําคัญมาก
ขึ้นจากการที่เศรษฐกิจจีนก๎าวขึ้นมาเป็นอันดับ 2 ของโลกในปีดังกลําว ทําให๎ไต๎หวัน
ต๎องเผชิญกับการค๎าระหวํางประเทศและภาคเกษตรต๎องพบกับความท๎าทายตํางๆ
ในอนาคตอยํางหลีกเลี่ยงไมํได๎
(2) การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างรวดเร็วส่งผลต่อความมั่นคงด้านอาหาร
ไต๎หวันมีการคาดการณ์อุณหภูมิระหวํางปีพ.ศ. 2440 – 2551พบวําอุณหภูมิบริเวณ
ที่ราบเพิ่มขึ้น 1.2 องศาเซลเซียสและอุณหภูมิบริเวณผิวหน๎าน้ําทะเลเพิ่มขึ้น 1 องศา
เซลเซียสการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศดังกลําวสํงผลตํอผลผลิตและราคาสินค๎า
ทางการเกษตร ดังนั้นจึงต๎องมีการวางแผนเพื่อความมั่นคงทางด๎านอาหารอยํางมี
ประสิทธิภาพ เพื่อรับมือและลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง และรักษาแหลํง
เพาะปลูกและธรรมชาติให๎ยั่งยืน
(3) เทคโนโลยีใหม่ทางการเกษตรและเทคโนโลยีที่เกี่ยวเนื่องก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว
นวัตกรรมทางการเกษตรเป็นเครื่องจักรสําคัญในการพัฒนาการเกษตรกรรมของ
ประเทศสํวนใหญํมีการใช๎องค์ความรู๎ในการพัฒนาเทคโนโลยีทางการเกษตรและ
ประยุกต์เทคโนโลยีใหมํๆ ทั้งเทคโนโลยีชีวภาพ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฯลฯ เพื่อ
เพิ่มผลผลิตทางการเกษตร ในปี พ.ศ. 2553 มูลคําของผลผลิตจากเทคโนโลยีชีวภาพ
ทางการเกษตรอยูํที่ประมาณ 29.10 พันล๎านเหรียญ แสดงให๎เห็นวํา
เทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตรมีบทบาทสําคัญตํอภาคเกษตรกรรม สํวนเทคโนโลยี
สารสนเทศ ระบบอินเตอร์เน็ต ก็มีบทบาทตํอการเชื่อมโยงสังคมโลก สํงผลตํอบุคคล
องค์กร และประเทศ ดังนั้น รูปแบบของอุตสาหกรรมเกษตรในอนาคตจะมีลักษณะ
ของการรวมกันของอุตสาหกรรมที่แตกตํางหลากหลาย ครอบคลุมทั้ง
ภาคอุตสาหกรรมและบริการ และระบบตํางๆ ของประเทศทั้งหมดสํงผลให๎มีการใช๎
ทรัพยากรตํางๆ อยํางมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งแนวโน๎มดังกลําวจะชํวยเพิ่ม
ศักยภาพการแขํงขันด๎านเกษตรกรรมให๎แกํประเทศได๎
15
(4) การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการบริโภคอาหารและความปลอดภัยด้านอาหารทวี
ความสาคัญมากขึ้นในอนาคต
จากการพัฒนาของประเทศกําลังพัฒนาและประเทศเกิดใหมํที่มีรายได๎และจํานวน
ประชากรเพิ่มมากขึ้นสํงผลให๎ความต๎องการบริโภคอาหารของโลกเพิ่มสูงขึ้น
อยํางรวดเร็วประกอบกับผู๎บริโภคหันมาให๎ความสนใจในผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพและ
ปลอดภัยมากขึ้น รวมทั้งจากการประมาณการเจริญเติบโตของประชากรไต๎หวันในปี
พ.ศ.2560 พบวํา ประชากรที่มีอายุเกินกวํา 65 ปีจะมีประมาณร๎อยละ 14 และจะ
เพิ่มสูงขึ้นเป็นร๎อยละ 20 ในปี พ.ศ. 2568 ทําให๎ไต๎หวันเริ่มเข๎าสูํสังคมผู๎สูงอายุ ซึ่งจะ
สํงผลตํอการบริโภคอาหารของประเทศด๎วย
3.2 นโยบายหลักในช่วง 4 ปีข้างหน้า(ปี พ.ศ.2556-2559)
เกษตรกรรมจัดเป็นอุตสาหกรรมพื้นฐานของประเทศ แตํการเผชิญหน๎ากับการเปิดเสรี
ทางการค๎า การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอยํางรวดเร็ว ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูํ
อยํางจํากัด ผลผลิตทางการเกษตรที่มีความไมํแนํนอน และชํองทางการจัดจําหนํายสินค๎าที่
ยังไมํเพียงพอ ทําให๎ไต๎หวันต๎องเรํงแก๎ไขข๎อบกพรํองเหลํานี้ ทั้งนี้ รัฐบาลจําเป็นต๎องกําหนด
มาตรการเพื่อดึงดูดคนรุํนใหมํให๎เข๎ามามีบทบาทมากยิ่งขึ้นในธุรกิจการเกษตรเพื่อเรํงให๎
เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร๎าง เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และกระตุ๎นการใช๎ทรัพยากร
ให๎เกิดประโยชน์ เพื่อให๎การพัฒนาเกษตรกรรมเป็นไปอยํางยั่งยืน
ในอนาคตสภาการเกษตรไต๎หวันจะนําเสนอนโยบาย “เพิ่มรายได๎และความมั่นคงของ
ประชากร” โดยมุํงเน๎นที่สุขภาพและความมั่นคงของชีวิต ใช๎การผสมผสานระหวําง
เทคโนโลยีทางการเกษตรที่ทันสมัยกับการเกษตรวิถีชาวบ๎าน ประกอบกับการใช๎
เทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีสีเขียวเข๎ามาชํวยเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ
การเกษตร เพื่อให๎ภาคเกษตรของไต๎หวันสามารถตอบสนองตํอความต๎องการของโลกได๎
ซึ่งนโยบายทางการเกษตรในอนาคตของไต๎หวัน มีรายละเอียดดังนี้
(1) การเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันให้ภาคเกษตรที่สอดคล้องกับความเป็น
สากลของผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร
(1.1) บูรณาการภาคเกษตรกับระบบให้บริการบนคลาวด์ (Cloud Service
System) ได๎แกํ การให๎บริการข๎อมูลทางการเกษตรและการตลาดแกํ
ภาคอุตสาหกรรม การติดตามผลผลิตทางการเกษตรสําหรับผู๎บริโภคเพื่อ
ความเชื่อมั่นด๎านความปลอดภัยในผลผลิต การรวบรวมเครือขําย
การให๎บริการทํองเที่ยวเชิงเกษตรไว๎ด๎วยกันเพื่อความสะดวกในการค๎นหา
16
ข๎อมูลของผู๎บริโภคและการเตือนภัยทางธรรมชาติ เชํน ข๎อมูลปริมาณน้ําฝน
เตือนภัยโคลนถลํม เป็นต๎น
(1.2) สร้างความเข้มแข็งของระบบเตือนภัยและกฎระเบียบต่างๆ เพื่อความมี
เสถียรภาพของผลผลิตทางการเกษตรและการตลาด เชํน การวางเปูาหมาย
การผลิตประจําปี การลงสํารวจพื้นที่เพาะปลูก การติดตามผลผลิต ราคา
ตลาด และการแจ๎งเตือน การวางแผนการตลาดหรือมาตรการปรับตัวทาง
การตลาดเพื่อเป็นแนวทางให๎เกษตรกรปรับปรุงคุณภาพของผลผลิตและการ
แขํงขัน เป็นต๎น
(1.3) สร้างความร่วมมือในหลากหลายสาขา เร่งสร้างห่วงโซ่มูลค่าของ
อุตสาหกรรมการเกษตร โดยอาศัยผู้ประกอบการและกลุ่มเกษตรกรเป็น
กลไกกลางในการบริหารจัดการการผลิตสินค้าเกษตรให้มีมูลค่าเพิ่มและได้
มาตรฐานสิ่งเหลํานี้จะชํวยให๎หํวงโซํอุปทานมีเสถียรภาพมากยิ่งขึ้น และกลุํม
เกษตรกรจะกลายเป็นศูนย์กลางการผลิตสินค๎าอุตสาหกรรมการเกษตรที่มี
ความเชี่ยวชาญของภูมิภาค
(1.4) ส่งเสริมการวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีที่มีความก้าวหน้าด้านการเกษตร และนา
ผลการวิจัยไปใช้เพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรม เพื่อให้ภาคการเกษตรเติบโต
อย่างต่อเนื่อง โดยการรํวมมือกันระหวํางภาคอุตสาหกรรมการเกษตรกับ
มหาวิทยาลัยในโครงการวิจัยและพัฒนาที่เกี่ยวข๎องตํางๆ และสนับสนุน
ผลผลิตที่มีศักยภาพใหมํๆ รวมไปถึงการลงทุนทางด๎านเกษตรกรรม
(1.5) ส่งเสริมการใช้พลังงานสีเขียวและพัฒนาเทคโนโลยีทางการเกษตรที่มี
ประสิทธิภาพสูงและมีนวัตกรรมประหยัดพลังงาน เพื่อชํวยในการรักษา
สภาพแวดล๎อม ประหยัดคําใช๎จํายให๎แกํเกษตรกร และชํวยให๎ผลผลิตทางการ
เกษตรมีความปลอดภัย รวมทั้งเป็นการรักษาคุณคําทางโภชนาการ
(1.6) สร้างความเข้มแข็งด้านช่องทางการจัดจาหน่ายผลผลิตทางการเกษตรสู่
ตลาดโลก โดยพัฒนามาตรฐานการผลิตให๎อยูํในระดับสากล มองหาโอกาสใน
ตลาดตํางประเทศ สร๎างตราสินค๎าเป็นของตนเอง รํวมมือกับหุ๎นสํวนทางการ
ค๎าในตํางประเทศ เพื่อให๎สินค๎าเกษตรของไต๎หวันเป็นที่รู๎จักและสามารถสร๎าง
ภาพลักษณ์ที่ดีได๎
(1.7) ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรระดับสากล โดยกําหนดพื้นที่
การทํองเที่ยวเชิงเกษตรในท๎องถิ่นที่จะนําเสนอถึงจิตวิญญาณ วิถีชีวิต
สุขภาพที่แข็งแรงและการอนุรักษ์สิ่งแวดล๎อมของคนในท๎องถิ่น โดยจัด
17
กิจกรรมตํางๆ เพื่อตอบสนองความต๎องการของนักทํองเที่ยวที่มี
ความหลากหลายให๎ได๎รับประสบการณ์ดังกลําว รวมไปถึงการปลูกฝังให๎
เยาวชนในท๎องถิ่นตระหนักถึงคุณคําของท๎องถิ่นและรับรู๎ถึงประโยชน์ที่
หลากหลายของเกษตรกรรม เพื่อให๎เยาวชนเหลํานั้นสามารถนําไปใช๎สร๎าง
มูลคําให๎แกํท๎องถิ่นได๎ตํอไปในอนาคต รวมทั้งให๎การรับรองมาตรฐานคุณภาพ
การบริการแกํฟาร์มที่เข๎ารํวมการทํองเที่ยวเชิงเกษตรระดับสากล
(1.8) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมกับองค์กรระหว่างประเทศและข้อตกลงทางการค้า
ระหว่างประเทศด้านการเกษตร เพื่อขจัดอุปสรรคทางการค๎าทั้งในรูปภาษี
และที่ไมํใชํภาษี และเพิ่มบทบาททางการค๎าระหวํางประเทศในสินค๎าเกษตร
ของไต๎หวัน
(2) การปรับโครงสร้างทางการเกษตร ส่งเสริมความสามารถของบุคลากรการเกษตร
และพัฒนาสินค้าให้มีมูลค่าเพิ่ม
(2.1) ส่งเสริมคุณภาพและประสิทธิการทางานของเกษตรกร
(2.1.1) มีระบบเกษียณอายุของเกษตรกร โดยยกเลิกระบบการอุดหนุน
การเกษตร กระตุ๎นให๎มีการสํงตํอสิทธิ์ในที่ดินของเกษตรกรที่
เกษียณ และจัดให๎มีแผนงานพัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกรหลัง
เกษียณ
(2.1.2) สํงเสริมนโยบายการเชําที่เกษตรกรรมจากเจ๎าของรายเล็กสูํผู๎เชํา
รายใหญํ ด๎วยการกระตุ๎นให๎เกษตรกรมืออาชีพรุํนใหมํหรือกลุํม
เกษตรกรเชําที่ดินจากเกษตรกรที่ไมํสามารถ/ไมํต๎องการทํา
การเกษตรเพื่อเพาะปลูกพืชที่สามารถทดแทนการนําเข๎าและมี
ลูํทางการตลาด เพื่อขยายพื้นที่เกษตรกรรมและสร๎างความมี
ชีวิตชีวาให๎กับท๎องถิ่น
(2.1.3) สํงเสริมให๎มีวิทยาลัยชาวนา โดยเชื่อมโยงการวิจัย การศึกษา
ทรัพยากรการตลาด เพื่อให๎ความรู๎อยํางกว๎างขวางและฝึกอบรมแกํ
18
เกษตรกรรวมทั้งมีโครงการอบรมขั้นสูงให๎คนรุํนใหมํที่สนใจทํา
การเกษตร
(2.1.4) จัดตั้งศูนย์ให๎คําปรึกษาเกษตรกรรุํนใหมํ โดยการถํายทอด
เทคโนโลยี ให๎คําปรึกษาด๎านการบริหารจัดการ และสร๎างสิ่งจูงใจ
ให๎แกํเกษตรกรรุํนใหมํ
(2.2) ร่วมมือกับภาคอุตสาหกรรมในการส่งเสริมการพัฒนาท้องถิ่น เพื่อปรับปรุง
สภาพแวดล้อมการทาการเกษตรและชีวิตคนในท้องถิ่น
(2.2.1) มีโครงการพัฒนาท๎องถิ่นรํวมกันระหวํางอุตสาหกรรมและคนใน
ชุมชน เพื่อการปรับปรุงการผลิต สิ่งแวดล๎อม และรูปแบบ
การดําเนินชีวิต
(2.2.2) จัดสรรพื้นที่การเกษตร โดยจัดให๎มีสิ่งอํานวยความสะดวกไมํไกล
จากพื้นที่ มีการใช๎เทคโนโลยีที่ทันสมัย เพื่อให๎สามารถบรรลุ
เปูาหมายทั้งการเพิ่มขีดความสามารถทางการแขํงขันเชิง
อุตสาหกรรมและการรักษาสิ่งแวดล๎อมไปพร๎อมกัน
(3) สร้างหลักประกันด้านความมั่นคงและปลอดภัยในอาหารและผลผลิตทางการ
เกษตร
(3.1) ส่งเสริมการบริโภคอาหารภายในประเทศ และสร้างกลไกด้าน
ความปลอดภัยในอาหาร
(3.1.1) สํงเสริมการผลิตอาหารที่หลากหลาย และกระตุ๎นให๎อุตสาหกรรม
อาหารและอาหารแปรรูปใช๎วัตถุดิบภายในประเทศ
(3.1.2) สร๎างระบบการบริหารจัดการเรื่องความปลอดภัยในอาหาร เชํน
มีระบบจัดการคลังสินค๎าทันสมัยและมีมาตรฐาน เป็นต๎น
(3.2) ถ่ายทอดลักษณะเฉพาะของอุตสาหกรรมทางการเกษตรไต้หวัน เพื่อแสดง
ถึงความเป็นมาของสินค้าและตราสินค้าท้องถิ่นให้เป็นที่รู้จัก สํงเสริมให๎มี
การใช๎ลักษณะดั้งเดิมของผลิตภัณฑ์เป็นจุดขาย สร๎างภาพลักษณ์ร๎านขาย
สินค๎าเกษตร สร๎างคุณคําของตราสินค๎าท๎องถิ่นในเชิงวัฒนธรรมและการ
สร๎างสรรค์ รวมถึงให๎คําปรึกษาในการขายสินค๎าเพื่อให๎ผู๎บริโภคเข๎าถึงความ
แตกตํางของคุณภาพ ความปลอดภัยในผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรของไต๎หวัน
เชํน การสํงเสริมภาพลักษณ์ชาไต๎หวัน โดยมีตราสัญลักษณ์ที่แสดงถึงคุณภาพ
19
ของการเป็นชาไต๎หวันแท๎ หรือมีการออกแบบให๎เป็นชุดของฝากที่แสดงให๎
เห็นถึงวัฒนธรรมของชาไต๎หวัน เป็นต๎น
(3.3) ส่งเสริมการผลิต การบริโภคผลผลิตทางการเกษตร และเพิ่มช่องทาง
การตลาดให้มีความหลากหลาย
(3.3.1) พัฒนาข๎อกําหนดใหมํเพื่อให๎มีการใช๎วัตถุดิบในท๎องถิ่นเป็น
สํวนประกอบของสินค๎ามากยิ่งขึ้น
(3.3.2) สํงเสริมให๎มีการบริโภคสินค๎าที่ผลิตในท๎องถิ่นเอง โดยใช๎กิจกรรม
การตลาดเข๎ามาชํวย รวมถึงเพิ่มชํองทางการจัดจําหนํายสินค๎า
ให๎แกํเกษตรกร เชํน ร๎านซูเปอร์มาร์เก็ต ระบบการซื้อขายผําน
ระบบอินเตอร์เน็ต เป็นต๎น
(3.3.3) สํงเสริมการเรียนการสอนด๎านโภชนาการให๎แกํเยาวชน โดยรํวมมือ
กับกระทรวงศึกษาธิการในการจัดทําหลักสูตร เพื่อให๎ประชาชนหัน
มาบริโภคผลผลิตทางการเกษตรภายในประเทศเพื่อเสริมสร๎าง
สุขภาพที่ดี
(3.4) ส่งเสริมการใช้ปุ๋ยที่เหมาะสมและเป็นมิตรกับการดาเนินธุรกิจรูปแบบใหม่
เพื่อสร้างระบบเกษตรกรรมสีเขียวที่ใช้คาร์บอนต่า โดยชํวยเหลือแนะนํา
การใช๎ปุ๋ยที่เหมาะสมโดยกลุํมที่ปรึกษาการวิจัยของสภาการเกษตร และเสริม
ความเข๎มแข็งของทีมตรวจสอบการใช๎ปุ๋ยคุณภาพและปรับปรุง
การผลิตปุ๋ยคอกปุ๋ยหมักที่มีคุณภาพ รวมทั้งสํงเสริมการลดปริมาณคาร์บอน
การใช๎น้ําอยํางประหยัด การลดมลพิษ และการจัดการปศุสัตว์และซาก
สัตว์ปีกที่เหมาะสม
(3.5) ส่งเสริมระบบการผลิตทางการเกษตรที่ปลอดภัย โดยมีระบบรับรอง
การทดสอบความปลอดภัยในผลผลิตที่มีความหลากหลายและได๎มาตรฐาน
(3.6) ส่งเสริมการตรวจและป้องกันโรคในสัตว์และพืช โดยมีการตรวจหา
เชื้อโรคในสัตว์ที่มีมาตรฐานและคิดค๎นยารักษาโรคที่มีคุณภาพ รวมไปถึงมี
ระบบการตรวจหาสารตกค๎างของยาฆําแมลงในผลผลิตทางการเกษตร
(3.7) ส่งเสริมการตรวจสอบการใช้ยาฆ่าแมลงให้มีความปลอดภัยโดยมี
มาตรฐานเดียวกับประเทศอื่นๆ และระดับโลกโดยเสริมสร๎าง
ความเข๎มแข็งของการพัฒนาเทคโนโลยีที่ใช๎ตรวจจับการตกค๎างของ
ยาฆําแมลง จัดให๎มีระบบการสอดสํองดูแล การควบคุมการใช๎ยาใน
ฟาร์มสัตว์ ยาฆําแมลง โลหะหนัก สี และการตรวจสอบเป็นระยะทั้งใน
20
ฟาร์ม ตลาดค๎าสํง รวมทั้งให๎มีการขยายเวลาการเก็บเกี่ยวพืชผล
หากพบสารตกค๎างจากยาฆําแมลงที่เกินมาตรฐานสากล จัดทําคูํมือเกี่ยวกับ
แนวปฏิบัติในการทดสอบสารตกค๎างจากยาฆําแมลงในผักและผลไม๎ และจัด
ให๎มีสถานีทดสอบสารตกค๎างจากยาฆําแมลงด๎วยวิธีชีวภาพ เพื่อเพิ่ม
ความปลอดภัยให๎ผู๎บริโภค
(4) การรักษาระบบนิเวศในแหล่งเกษตรกรรมให้ยั่งยืน
(4.1) ปรับระบบการทาเกษตรกรรมและส่งเสริมการผลิตอาหารให้มี
ความหลากหลาย โดยการปรับปรุงพื้นที่เพาะปลูกอยํางตํอเนื่อง ด๎วยการ
เพาะปลูกเชิงนิเวศและปลูกพืชหมุนเวียน ซึ่งจะทําให๎การผลิตทางการเกษตร
ของประเทศมีความยั่งยืน และเป็นการพึ่งพาอาหารภายในประเทศ
(4.2) ส่งเสริมให้มีการใช้พื้นที่เพาะปลูกอย่างมีประสิทธิภาพ การสํารวจพื้นที่
เพาะปลูกจะชํวยให๎สามารถแบํงประเภทของพื้นที่เพาะปลูก และแบํงพื้นที่
การพัฒนาทางการเกษตร โดยการเก็บข๎อมูลทางภูมิศาสตร์เพื่อนํามาใช๎
วางแผนระบบการใช๎ประโยชน์ของพื้นที่ในระยะยาว รวมถึงการนํา
กฎระเบียบที่เกี่ยวข๎องเข๎ามาบริหารพื้นที่ ซึ่งจะเป็นการรักษาพื้นที่
ทางการเกษตรอยํางยั่งยืน
(4.3) ส่งเสริมการวางแผนการใช้และรักษาคุณภาพน้าทางการเกษตร จากการที่
ประเทศประสบปัญหาการทรุดตัวของแผํนดิน จึงต๎องมีการวางแผนเพื่อ
ปูองกันปัญหาดังกลําว เชํน การลดความต๎องการใช๎น้ําเพื่อการเกษตร
การวางแผนการใช๎น้ําอยํางมีประสิทธิภาพ การสร๎างสิ่งอํานวยความสะดวก
ด๎านชลประทานและกักเก็บน้ํา การบริหารแหลํงน้ําโดยจัดสรรให๎กับแหลํง
เพาะปลูกในพื้นที่ตํางๆ อยํางทั่วถึง การใช๎เทคโนโลยีระบบบริหารจัดการน้ํา
การใช๎วิศวกรรมสิ่งแวดล๎อมในการแก๎ปัญหาการระบายน้ําในพื้นที่เพาะปลูก
และควบคุมคุณภาพของน้ํา เป็นต๎น
(4.4) การอนุรักษ์แหล่งประมงของประเทศอย่างยั่งยืน โดยปรับปรุงสิ่งอํานวย
ความสะดวกทั้งบริเวณชายฝั่งและนอกฝั่งที่มีการทําประมงหรือเพาะเลี้ยง
สัตว์น้ํา รักษาความสะอาดของน้ําทะเล ฟื้นฟูแหลํงประมง ควบคุมจํานวน
เรือประมง กําหนดเขตอนุรักษ์สัตว์น้ํา สร๎างความตระหนักของการอนุรักษ์
แหลํงประมง รวมไปถึงการให๎ความรํวมมือในการอนุรักษ์แหลํงประมง
ระหวํางประเทศ โดยการจัดสรรโควต๎าการทําประมงและปฏิบัติตามข๎อตกลง
 การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏิบัติที่ดี
 การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏิบัติที่ดี
 การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏิบัติที่ดี
 การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏิบัติที่ดี
 การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏิบัติที่ดี
 การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏิบัติที่ดี
 การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏิบัติที่ดี
 การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏิบัติที่ดี
 การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏิบัติที่ดี
 การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏิบัติที่ดี
 การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏิบัติที่ดี
 การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏิบัติที่ดี
 การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏิบัติที่ดี
 การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏิบัติที่ดี
 การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏิบัติที่ดี
 การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏิบัติที่ดี
 การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏิบัติที่ดี
 การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏิบัติที่ดี
 การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏิบัติที่ดี
 การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏิบัติที่ดี
 การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏิบัติที่ดี
 การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏิบัติที่ดี
 การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏิบัติที่ดี
 การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏิบัติที่ดี
 การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏิบัติที่ดี
 การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏิบัติที่ดี
 การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏิบัติที่ดี
 การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏิบัติที่ดี
 การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏิบัติที่ดี
 การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏิบัติที่ดี
 การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏิบัติที่ดี
 การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏิบัติที่ดี
 การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏิบัติที่ดี

More Related Content

What's hot

การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคของหลอดเลือดโคโรนารี
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคของหลอดเลือดโคโรนารี การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคของหลอดเลือดโคโรนารี
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคของหลอดเลือดโคโรนารี Chutchavarn Wongsaree
 
สารคดีชีวประวัติ มารี คูรี
สารคดีชีวประวัติ มารี คูรีสารคดีชีวประวัติ มารี คูรี
สารคดีชีวประวัติ มารี คูรีdokdai
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์Gawewat Dechaapinun
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalfreelance
 
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ  เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ  เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...Utai Sukviwatsirikul
 
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565MungMink2
 
ประวัติลูกเสือ
ประวัติลูกเสือประวัติลูกเสือ
ประวัติลูกเสือguest64f3d9
 
ตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงานตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงานJitiya Purksametanan
 
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือการเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือusaneetoi
 
Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017
Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017
Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017Aphisit Aunbusdumberdor
 
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกของพาฟลอฟ
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกของพาฟลอฟทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกของพาฟลอฟ
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกของพาฟลอฟนพณัฐ อินทร์จันทร์
 
Elasticity
ElasticityElasticity
Elasticitybnongluk
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)Sakarin Habusaya
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555Utai Sukviwatsirikul
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์Papawee Laonoi
 

What's hot (20)

การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคของหลอดเลือดโคโรนารี
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคของหลอดเลือดโคโรนารี การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคของหลอดเลือดโคโรนารี
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคของหลอดเลือดโคโรนารี
 
Pp+บุหรี่..
Pp+บุหรี่..Pp+บุหรี่..
Pp+บุหรี่..
 
สารคดีชีวประวัติ มารี คูรี
สารคดีชีวประวัติ มารี คูรีสารคดีชีวประวัติ มารี คูรี
สารคดีชีวประวัติ มารี คูรี
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
 
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medical
 
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ  เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ  เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...
 
CPG COPD Thailand 2553
CPG COPD Thailand 2553CPG COPD Thailand 2553
CPG COPD Thailand 2553
 
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
 
ประวัติลูกเสือ
ประวัติลูกเสือประวัติลูกเสือ
ประวัติลูกเสือ
 
ตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงานตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
 
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือการเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
 
Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017
Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017
Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017
 
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกของพาฟลอฟ
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกของพาฟลอฟทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกของพาฟลอฟ
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกของพาฟลอฟ
 
Elasticity
ElasticityElasticity
Elasticity
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
 
01 intro new=030920
01 intro new=03092001 intro new=030920
01 intro new=030920
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์
 

Similar to การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏิบัติที่ดี

เพิ่มผลสัมฤทธิ์นักศึกษา กศน.ระดับ ม.ปลาย.pdf
เพิ่มผลสัมฤทธิ์นักศึกษา กศน.ระดับ ม.ปลาย.pdfเพิ่มผลสัมฤทธิ์นักศึกษา กศน.ระดับ ม.ปลาย.pdf
เพิ่มผลสัมฤทธิ์นักศึกษา กศน.ระดับ ม.ปลาย.pdfJohnniJakkapongPongj
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงพัน พัน
 
Proposal54 mk 8_nov10(final)
Proposal54 mk 8_nov10(final)Proposal54 mk 8_nov10(final)
Proposal54 mk 8_nov10(final)chorchamp
 
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559Klangpanya
 
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีMinistry of Science and Technology
 
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี Klangpanya
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Bai'mon Chankaew
 

Similar to การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏิบัติที่ดี (10)

4 page1
4 page14 page1
4 page1
 
ต่าย
ต่ายต่าย
ต่าย
 
เพิ่มผลสัมฤทธิ์นักศึกษา กศน.ระดับ ม.ปลาย.pdf
เพิ่มผลสัมฤทธิ์นักศึกษา กศน.ระดับ ม.ปลาย.pdfเพิ่มผลสัมฤทธิ์นักศึกษา กศน.ระดับ ม.ปลาย.pdf
เพิ่มผลสัมฤทธิ์นักศึกษา กศน.ระดับ ม.ปลาย.pdf
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
Proposal54 mk 8_nov10(final)
Proposal54 mk 8_nov10(final)Proposal54 mk 8_nov10(final)
Proposal54 mk 8_nov10(final)
 
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
 
รายวิชาสังคมศึกษา 6
รายวิชาสังคมศึกษา 6  รายวิชาสังคมศึกษา 6
รายวิชาสังคมศึกษา 6
 
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
 
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
อนาคตของจีนกับแผนพัฒนาฯ 5 ปี
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 

More from Dr.Choen Krainara

Certificate of Completion in Cyber Risk Supervision
Certificate of Completion in Cyber Risk SupervisionCertificate of Completion in Cyber Risk Supervision
Certificate of Completion in Cyber Risk SupervisionDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Becoming an Effective Leader
Certificate of Completion in Becoming an Effective LeaderCertificate of Completion in Becoming an Effective Leader
Certificate of Completion in Becoming an Effective LeaderDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Project Management
Certificate of Completion in Project ManagementCertificate of Completion in Project Management
Certificate of Completion in Project ManagementDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Project Management Leadership
Certificate of Completion in Project Management LeadershipCertificate of Completion in Project Management Leadership
Certificate of Completion in Project Management LeadershipDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Risk Management
Certificate of Completion in Risk ManagementCertificate of Completion in Risk Management
Certificate of Completion in Risk ManagementDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict Settings
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict SettingsCertificate of Completion in Child Protection in Conflict Settings
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict SettingsDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Finance and Budgets in Emergencies
Certificate of Completion in Finance and Budgets in EmergenciesCertificate of Completion in Finance and Budgets in Emergencies
Certificate of Completion in Finance and Budgets in EmergenciesDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and Security
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and SecurityCertificate of Completion in IRC Personal Safety and Security
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and SecurityDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian Action
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian ActionCertificate of Completion in Environment in Humanitarian Action
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian ActionDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Working in Partnerships
Certificate of Completion in Working in PartnershipsCertificate of Completion in Working in Partnerships
Certificate of Completion in Working in PartnershipsDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Safeguarding Essentials
Certificate of Completion in Safeguarding EssentialsCertificate of Completion in Safeguarding Essentials
Certificate of Completion in Safeguarding EssentialsDr.Choen Krainara
 

More from Dr.Choen Krainara (20)

Certificate of Completion in Cyber Risk Supervision
Certificate of Completion in Cyber Risk SupervisionCertificate of Completion in Cyber Risk Supervision
Certificate of Completion in Cyber Risk Supervision
 
Certificate of Completion in Becoming an Effective Leader
Certificate of Completion in Becoming an Effective LeaderCertificate of Completion in Becoming an Effective Leader
Certificate of Completion in Becoming an Effective Leader
 
Certificate of Completion in Project Management
Certificate of Completion in Project ManagementCertificate of Completion in Project Management
Certificate of Completion in Project Management
 
Certificate of Completion in Project Management Leadership
Certificate of Completion in Project Management LeadershipCertificate of Completion in Project Management Leadership
Certificate of Completion in Project Management Leadership
 
Certificate of Completion in Risk Management
Certificate of Completion in Risk ManagementCertificate of Completion in Risk Management
Certificate of Completion in Risk Management
 
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict Settings
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict SettingsCertificate of Completion in Child Protection in Conflict Settings
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict Settings
 
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...
 
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...
 
Certificate of Completion in Finance and Budgets in Emergencies
Certificate of Completion in Finance and Budgets in EmergenciesCertificate of Completion in Finance and Budgets in Emergencies
Certificate of Completion in Finance and Budgets in Emergencies
 
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...
 
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and Security
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and SecurityCertificate of Completion in IRC Personal Safety and Security
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and Security
 
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...
 
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian Action
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian ActionCertificate of Completion in Environment in Humanitarian Action
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian Action
 
Certificate of Completion in Working in Partnerships
Certificate of Completion in Working in PartnershipsCertificate of Completion in Working in Partnerships
Certificate of Completion in Working in Partnerships
 
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...
 
Certificate of Completion in Safeguarding Essentials
Certificate of Completion in Safeguarding EssentialsCertificate of Completion in Safeguarding Essentials
Certificate of Completion in Safeguarding Essentials
 

การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏิบัติที่ดี

  • 1. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ รายงานการศึกษาดูงานเรื่อง ความก้าวหน้าการ พัฒนาการเกษตรของประเทศไต้หวัน: การเรียนรู้ ประสบการณ์และการประยุกต์ใช้แนวปฏิบัติ ที่ดี (Best Practices) สาหรับประเทศไทย จัดทําโดย คณะเจ้าหน้าที่ผู้เข้าร่วมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตรการวางแผนยุทธศาสตร์ชาติ รุ่นที่ 1 กลุ่มที่ 1 6 มกราคม 2558
  • 2. 2 รายชื่อสมาชิกกลุ่มที่ 1 โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการวางแผนยุทธศาสตร์ชาติ รุ่นที่ 1 1.นายเชิญ ไกรนรา นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ สพก. 2.นางสาวประภาศรี พงษ์วัฒนา นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ สบป. 3.นายก่อเกียรติ สมประสงค์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ สทว. 4.นางสาวจิตรลดา พิศาลสุพงศ์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ สพข. 5.นางสาววรวรรณ พลิคามิน นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ สพส. 6.นางสาวศรี ศรีงาม นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ สนส. 7.นายวิศณุ ติวะตันสกุล นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ สศม. 8.นางพวงแก้ว พรพิพัฒน์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ สปผ. 9.นางพรรณทิพา รัตนะ ร.นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ สพต. 10.นางสาวจินดารัตน์ ไทพาณิชย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ สบป. คณะศึกษาดูงานกลุ่มที่ 1 ณ กระทรวงเกษตร ของประเทศไต้หวัน เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2557
  • 3. 3 คานา รายงานการศึกษาดูงานเรื่อง ความก๎าวหน๎าการพัฒนาการเกษตรของประเทศไต๎หวัน: การเรียนรู๎ ประสบการณ์และการประยุกต์ใช๎แนวปฏิบัติที่ดี (Best Practices) สําหรับประเทศไทย ฉบับนี้เป็นสํวนหนึ่ง ของการศึกษาดูงาน ณ ประเทศไต๎หวัน ระหวํางวันที่ 30 กันยายน-4 ตุลาคม 2557 ของผู๎เข๎ารํวมการฝึกอบรม กลุํมที่ 1 หลักสูตรการวางแผนยุทธศาสตร์ชาติรุํนที่ 1 ของสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ สังคมแหํงชาติโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเรียนรู๎และศึกษาประสบการณ์ของประเทศไต๎หวันเกี่ยวกับเศรษฐกิจ มหภาค นโยบายการพัฒนาการเกษตรและความก๎าวหน๎าของการพัฒนาการเกษตรและการบริหารจัดการน้ํา เป็นต๎น ทั้งนี้ วิธีการและกระบวนการจัดทํารายงานได๎ดําเนินการกึ่งการวิจัยโดยรวบรวมเนื้อหาหลักจาก เอกสารและข๎อมูลที่ได๎รับจากการศึกษาดูงานและการประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเฉพาะกลุํมหนํวยงาน ระดับนโยบาย (Focus Group Discussion) ณ คณะกรรมการเกษตรไต๎หวัน(Council of Agriculture: COA) ณ กรุงไทเป รวมทั้งการค๎นคว๎าข๎อมูลทุติยภูมิเพิ่มเติมจากแหลํงอื่นๆ หลังจากนั้นได๎ทําการวิเคราะห์นโยบาย (Policy Analysis) แล๎วทําการวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบ (Comparative Analysis) เพื่อศึกษาความคล๎ายคลึง และความแตกตําง (Common and Different) ของความก๎าวหน๎าการพัฒนาการเกษตรและนโยบายการ พัฒนาการเกษตรระหวํางประเทศไต๎หวันและประเทศไทย เพื่อค๎นหาแนวปฏิบัติที่ดีของประเทศไต๎หวันในมิติ ตํางๆ ที่สามารถนํามาประยุกต์ใช๎กับการพัฒนาการเกษตรของไทย เพื่อเสริมสร๎างให๎ไทยเป็นฐานการผลิต เกษตรที่ทันสมัยและแขํงขันได๎อยํางยั่งยืน เป็นแหลํงผลิตอาหารปลอดภัยระดับโลกเพื่อสนับสนุนเปูาหมายการ ผลักดันครัวไทยสูํครัวโลกให๎เกิดผลในทางปฏิบัติอยํางเป็นรูปธรรม ตลอดทั้งเพื่อยกระดับมาตรฐานคุณภาพ ชีวิตของเกษตรไทยให๎ดีขึ้นและลดความเหลื่อมล้ําของการพัฒนาระหวํางเมืองและชนบท สุดท๎ายนี้คณะผู๎จัดทํารายงานกลุํมที่ 1 ขอขอบพระคุณ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแหํงชาติที่ริเริ่มให๎เกิดหลักสูตรฝึกอบรมนี้ และคณะอาจารย์ที่ได๎ให๎ความรู๎ทั้งทางทฤษฏี และทางปฏิบัติด๎านการวางแผนยุทธศาสตร์ และหวังเป็นอยํางยิ่งวํารายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์สําหรับใช๎ เพื่อการผลักดันการปรับปรุงโครงสร๎างภาคการเกษตรและการเสริมสร๎างขีดความสามารถของภาคเกษตรของ ไทยในอนาคต คณะเจ๎าหน๎าที่ผู๎เข๎ารํวมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการวางแผนยุทธศาสตร์ชาติ รุํนที่ 1 กลุํมที่ 1
  • 4. 4 6มกราคม 2558 สารบัญ เนื้อหา หน้า รายชื่อสมาชิกกลุํมที่ 1 ข คํานํา ค บทสรุปผู๎บริหาร จ 1 ภาพรวมของประเทศไต้หวัน 1 1.1ภาพรวมทางกายภาพและโครงสร๎างเศรษฐกิจของประเทศไต๎หวัน 1 1.2ความสําคัญและความก๎าวหน๎าด๎านการพัฒนาการเกษตรของประเทศไต๎หวัน 2 1.3ผลิตผลเกษตรที่สําคัญและการค๎าสินค๎าเกษตรระหวํางประเทศ 2 2 หน่วยงานหลักในการพัฒนาการเกษตรและจัดการทรัพยากรน้าของประเทศไต้หวัน 3 และกลไกการบริหารจัดการเกษตร(คณะกรรมการการเกษตรไต้หวัน: Council of Agriculture: COA)และการจัดการน้า (องค์การจัดการทรัพยากรน้า) 2.1 ความเป็นมา 3 2.2 ขอบเขตอํานาจหน๎าที่ 4 2.3 โครงสร๎างการบริหารจัดการ 4 2.4 การบริหารจัดการทรัพยากรน้ําของประเทศไต๎หวัน 5 3 นโยบายการพัฒนาการเกษตรของไต้หวันกาหนดโดยคณะกรรมการการเกษตรไต้หวัน 6 3.1 แผนระยะปานกลางทางการเกษตร (ปี พ.ศ. 2556-2559) 6 3.2 นโยบายหลักในชํวง 4 ปีข๎างหน๎า (ปี พ.ศ. 2556-2559) 7 4 การวิเคราะห์เปรียบเทียบประเด็นการพัฒนาการเกษตรที่สาคัญระหว่าง13 ประเทศไต้หวันและประเทศไทย 4.1 โครงสร๎างการผลิตการเกษตรและการบริหารจัดการ 13 4.2 การยกระดับการเพิ่มขีดความสามารถในการแขํงขันของภาคการเกษตร 22 4.3 ความมั่นคงและความปลอดภัยด๎านสินค๎าเกษตร 26 4.4 เกษตรกร 33 5 สรุปและข้อเสนอแนะ 35 5.1 สรุปความก๎าวหน๎าการพัฒนาการเกษตรของไต๎หวัน 35 5.2 ข๎อเสนอแนะเชิงนโยบายสําหรับการประยุกต์ใช๎กับประเทศไทย 37 เอกสารอ้างอิง 40
  • 5. 5 บทสรุปสาหรับผู้บริหาร 1. ภาพรวมไต๎หวันมีลักษณะทางกายภาพเป็นเกาะทอดยาวจากเหนือสูํใต๎โดยมีแนวเขาอยูํที่สํวนกลางของ เกาะมีขนาดพื้นที่เล็กกวําประเทศไทย 14.25 เทํา ประชากรทั้งประเทศประมาณ 23 ล๎านคน และมีขนาด เศรษฐกิจใหญํเป็นอันดับที่ 21 ของโลก ขณะที่ไทยมีขนาดเศรษฐกิจเป็นอันดับที่ 22 (องค์กรการค๎าโลก : WTO พ.ศ. 2555) ระบบเศรษฐกิจของไต๎หวันพึ่งพาภาคเกษตรกรรมเพียงร๎อยละ 3 ของGDP ซึ่งลดลงอยําง รวดเร็วจากร๎อยละ 35 เมื่อ 60 ปีที่ผํานมา แตํภาคเกษตรยังคงความสําคัญตํอเศรษฐกิจของประเทศ เนื่องจาก ประชากรในปัจจุบันประมาณ 1 ล๎านคน ของ810,000 ครัวเรือน หรือร๎อยละ 4.34 ของประชากรทั้งประเทศ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม และสํวนใหญํเป็นเกษตรกรรายยํอยมีพื้นที่ถือครองเฉลี่ย 1.06 เฮกตาร์ หรือ ประมาณ 6 ไรํ 1 งานตํอครัวเรือน เกษตรกรใช๎เทคโนโลยีสูงในการผลิต ในปี 2555 มูลคําการสํงออกสินค๎า เกษตรประมาณ 152,700 ล๎านบาท สินค๎าสํงออกหลักคือ ดอกไม๎ ผลิตภัณฑ์สัตว์น้ําและถั่วแระ เป็นต๎น ตลาด สํงออกหลักคือ ญี่ปุุน จีน(แผํนดินใหญํ) ฮํองกงและสหรัฐอเมริกา เป็นต๎น นอกจากนี้ ไต๎หวันได๎สนับสนุนภาค เกษตร โดยสํงเสริมการจัดรูปที่ดิน การจัดระบบชลประทานที่หลากหลายตั้งแตํขนาดใหญํและระบบ ชลประทานภายในฟาร์ม เชํน ระบบทํอ ระบบสเปรย์ ระบบหยด และระบบอัตโนมัติรวมทั้งการทําคันนาปูน เพื่อชํวยให๎มีการใช๎น้ําทางการเกษตรอยํางมีประสิทธิภาพเป็นต๎น 2.คณะกรรมการการเกษตรไต้หวันหรือสภาการเกษตรไต้หวัน (Council of Agriculture: COA) เป็น หนํวยงานหลักในการพัฒนาการเกษตรและทรัพยากรน้ําของประเทศไต๎หวัน รวมทั้งรับผิดชอบวางแผนและ พัฒนาด๎านการเกษตรและความมั่นคงทางอาหารของประเทศ ตลอดจนการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล๎อม โดยมีองค์กรภายใต๎การกํากับดูแลทั้งหมด23 แหํง เพื่อพัฒนาและบริหารจัดการภาคเกษตรกรรม ของประเทศได๎อยํางเป็นระบบและครบวงจร และนโยบายการพัฒนาการเกษตรที่สําคัญในปี 2556-2559 มี ดังนี้ 2.1 การเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันให้ภาคเกษตรที่สอดคล้องกับความเป็นสากลของ ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรได๎แกํ 1) บูรณาการภาคเกษตรกับระบบให๎บริการบนคลาวด์ 2) สร๎างความเข๎มแข็ง ของระบบเตือนภัยและกฎระเบียบตํางๆ เพื่อความมีเสถียรภาพของผลผลิตทางการเกษตรและการตลาด 3) สร๎างความรํวมมือในหลากหลายสาขา เรํงสร๎างหํวงโซํมูลคําของอุตสาหกรรมการเกษตร โดยอาศัย ผู๎ประกอบการและกลุํมเกษตรกรเป็นกลไกกลางในการบริหารจัดการการผลิตสินค๎าเกษตรให๎มีมูลคําเพิ่มและ ได๎มาตรฐาน 4) สํงเสริมการวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีที่มีความก๎าวหน๎าด๎านการเกษตร และนําผลการวิจัยไปใช๎ เพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรม เพื่อให๎ภาคการเกษตรเติบโตอยํางตํอเนื่อง 5) สํงเสริมการใช๎พลังงานสีเขียวและ พัฒนาเทคโนโลยีทางการเกษตรที่มีประสิทธิภาพสูงและมีนวัตกรรมประหยัดพลังงาน 6) สร๎างความเข๎มแข็ง ด๎านชํองทางการจัดจําหนํายผลผลิตทางการเกษตรสูํตลาดโลก 7) สํงเสริมการทํองเที่ยวเชิงเกษตรระดับสากล 8) สํงเสริมการมีสํวนรํวมกับองค์กรระหวํางประเทศและข๎อตกลงทางการค๎าระหวํางประเทศด๎านการเกษตร 2.2 การปรับโครงสร้างทางการเกษตร ส่งเสริมความสามารถของบุคลากรการเกษตร และพัฒนา
  • 6. 6 สินค้าให้มีมูลค่าเพิ่มดังนี้ 1) สํงเสริมคุณภาพและประสิทธิการทํางานของเกษตรกร โดยมีระบบเกษียณอายุ ของเกษตรกรสํงเสริมการเชําที่เกษตรกรรมจากเจ๎าของรายเล็กสูํผู๎เชํารายใหญํ และจัดตั้งศูนย์ให๎คําปรึกษา เกษตรกรรุํนใหมํ เพื่อถํายทอดเทคโนโลยีและให๎คําปรึกษาด๎านการบริหารจัดการแกํเกษตรกร เป็นต๎น2) รํวมมือกับภาคอุตสาหกรรมในการสํงเสริมการพัฒนาท๎องถิ่น เพื่อปรับปรุงสภาพแวดล๎อมการทําการเกษตร และชีวิตคนในท๎องถิ่น 3) สร๎างหลักประกันด๎านความมั่นคงและความปลอดภัยในอาหารและผลผลิตทางการ เกษตร โดยสํงเสริมการบริโภคอาหารภายในประเทศและสร๎างกลไกด๎านความปลอดภัยในอาหารสํงเสริมให๎มี การใช๎ลักษณะดั้งเดิมของผลิตภัณฑ์เป็นจุดขายเพื่อแสดงถึงความเป็นมาของสินค๎าและตราสินค๎าท๎องถิ่นให๎เป็น ที่รู๎จักสํงเสริมการผลิต การบริโภคผลผลิตและเพิ่มชํองทางการตลาดของสินค๎าเกษตรให๎มีความหลากหลาย เป็นต๎น 4) การรักษาระบบนิเวศในแหลํงเกษตรกรรมให๎ยั่งยืนได๎แกํ สํงเสริมการวางแผนการใช๎และรักษา คุณภาพน้ําทางการเกษตรอนุรักษ์แหลํงประมงปุาไม๎และความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศอยํางยั่งยืน 5) สํงเสริมให๎องค์กรด๎านการเกษตรดูแลเกษตรกรให๎มีความผาสุกโดยดูแลคุณภาพชีวิตของเกษตรกรในด๎าน ตํางๆ สํงเสริมการวางแผนรายได๎และระบบประกันแกํเกษตรกรและสนับสนุนสินเชื่อในโครงการที่เกี่ยวข๎องกับ การเกษตรอยํางตํอเนื่อง เป็นต๎น 3.ประเด็นการพัฒนาการเกษตรที่สาคัญของประเทศไต้หวัน 3.1 การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมเพื่อแก๎ไขปัญหาความไมํเป็นธรรมด๎านที่ดินให๎กับประชาชนและ เป็นต๎นแบบที่สําคัญของหลายประเทศในโลกรวมทั้งประเทศไทย โดยรัฐบาลดําเนินการใน 3 เรื่องสําคัญ คือ 1)การลดค่าเช่าเพื่อลดการตํอต๎านจากเจ๎าของที่ดินโดยรัฐกําหนดอัตราคําเชําขั้นสูงไมํเกินร๎อยละ37.5ของ รายได๎จากผลผลิตพืชหลักตํอปีที่ประเมินโดยรัฐบาล2)การขายที่ดินเพื่อการเกษตรของรัฐเพื่อให๎เกษตรกรมี ที่ดินเป็นของตนเองและมีการใช๎ประโยชน์ที่ดินมากขึ้นโดยการจัดลําดับสิทธิของผู๎ซื้อ3) การจัดที่ดินให้ เกษตรกรโดยรัฐนาที่ดินที่ได้จากการเวนคืนมาขายให้กับเกษตรกรเพื่อให๎เกษตรกรเป็นเจ๎าของที่ดินโดยไมํ เพิ่มภาระทางการเงินและปกปูองผลประโยชน์ของเจ๎าของที่ดินเดิมโดยการจํายคําชดเชยที่เป็นธรรม 3.2 การจัดการแหล่งน้าเพื่อเกษตรกรรมโดยการสร๎างเขื่อนกักเก็บน้ําเพื่อเกษตรกรรมกระจายทั่ว ประเทศ 3.3 การวิจัยและพัฒนาและการถ่ายทอดเทคโนโลยีในภาคเกษตร โดยรัฐบาลจัดตั้งสถาบันวิจัย การเกษตรกวํา 10 แหํง เพื่อวิจัยและพัฒนาด๎านการเกษตร ฝึกสอนเกษตรกร แนะนําวิธีการปลูกและการ กําจัดศัตรูและโรคพืช เป็นต๎น นอกจากนี้ รัฐบาลได๎รํวมกับภาคเอกชนในการถํายทอดเทคโนโลยีภายใต๎การ ปกปูองทรัพย์สินทางปัญญา การใช๎ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขํงขันการนํา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาประยุกต์เพื่อตอบสนองตํอตลาด และการพัฒนานวัตกรรมทางเทคโนโลยีเพื่อให๎ องค์กรภาคเกษตรมีพลวัตรและสามารถนําผลการวิจัยและพัฒนาไปสูํตลาดสินค๎าระหวํางประเทศ 3.4 การพัฒนาสถาบันเกษตรกรให้มีความเข้มแข็งโดยจัดอบรมการประกอบธุรกิจให๎กับกลุํมเกษตรกร การให๎สินเชื่อดอกเบี้ยต่ําเพื่อเป็นทุนในการจัดซื้อที่ดิน โรงเรือน และเครื่องจักรกลการเกษตรตํางๆ เป็นต๎น
  • 7. 7 เพื่อเกษตรกรสามารถดําเนินธุรกิจได๎อยํางมืออาชีพรวมทั้งการจัดทําโครงการสํงเสริมคนรุํนใหมํทําการเกษตร เพื่อจูงใจคนรุํนใหมํกลับมาทํางานในชนบทโดยให๎เงินกู๎และเงินอุดหนุน ตลอดจนให๎องค์ความรู๎ผํานโรงเรียน เกษตรกร 4. ข้อเสนอแนะซึ่งเป็นแนวปฏิบัติที่ดีของประเทศไต้หวัน (Best Practices) ซึ่งควรประยุกต์ใช้กับประเทศ ไทย 4.1 ปรับโครงสร๎างการผลิตสินค๎าเกษตรโดยใช๎การตลาดเป็นตัวนําการผลิต (Demand-Driven Production) และกําหนดเขตเกษตรกรรมที่เหมาะสมกับศักยภาพของพื้นที่ (Zoning) 4.2 ให๎ความสําคัญกับการวิจัยและพัฒนา สํงเสริมการสร๎างเครือขํายความเชื่อมโยงระหวํางสถาบันการ วิจัยและสถาบันการศึกษากับผู๎ประกอบการและเกษตรกร เพื่อนําผลวิจัยไปใช๎ประโยชน์ในทางปฏิบัติ 4.3 บูรณาการหนํวยงานภาครัฐที่เกี่ยวข๎องกับการบริหารจัดการน้ําเพื่อให๎มีการจัดสรรน้ําอยํางสมดุลเพื่อ ใช๎สําหรับการบริโภคอุปโภค น้ําเพื่ออุตสาหกรรม น้ําเพื่อเกษตรกรรม และน้ําเพื่อดูแลรักษาสิ่งแวดล๎อม ตลอด ทั้งกําหนดมาตรการสํงเสริมการใช๎น้ําอยํางคุ๎มคํา พัฒนาแหลํงน้ําเพื่อการเกษตรให๎กระจายทั่วประเทศรวมทั้ง พัฒนาเทคโนโลยีทางการชลประทานเพื่อการเกษตรที่ชํวยประหยัดน้ําอยํางมีประสิทธิภาพสําหรับฟาร์มทุก ขนาด ตลอดทั้งการปฏิรูปที่ดินเพื่อสร๎างโอกาสการเข๎าถึงและถือครองที่ดินเพื่อการผลิตทางการเกษตรอยําง เทําเทียมกัน 4.4 สํงเสริมการแปรรูปและการสร๎างมูลคําเพิ่มให๎แกํผลผลิตทางการเกษตรที่มีความหลากหลายผลักดัน การสร๎างตราสินค๎าของผลิตภัณฑ์ที่เป็นสิ่งบํงชี้ทางภูมิศาสตร์ (Geographical Indication: GI) เพื่อสร๎างการ ยอมรับจากผู๎บริโภคอยํางกว๎างขวาง รวมทั้งการแสวงหาตลาดสํงออกที่หลากหลายมากขึ้น 4.5 พัฒนาข๎อมูลการเกษตรและระบบเตือนภัยลํวงหน๎า โดยพัฒนาเทคโนโลยีด๎านดาวเทียมมา ประยุกต์ใช๎ในการตรวจสอบและเตือนภัยธรรมชาติลํวงหน๎า เพื่อเกษตรกรสามารถวางแผนการผลิตได๎อยํางมี ประสิทธิภาพและลดความเสียหายที่จะเกิดขึ้น 4.6 ลดการใช๎สารเคมีทางการเกษตรในกระบวนการผลิตเพื่อยกระดับสูํการเกษตรปลอดภัยและเป็นมิตร ตํอสิ่งแวดล๎อม (Eco-Friendly) ตลอดหํวงโซํการผลิต โดยวางเปูาหมายให๎ประเทศไทยเป็นฐานการผลิตอาหาร ปลอดภัยของโลก 4.7 ขยายความรํวมมือทางวิชาการเกษตรระหวํางประเทศไทยกับประเทศไต๎หวัน โดยการแลกเปลี่ยน ผลงานวิจัยและนักวิจัย การแลกเปลี่ยนแนวปฏิบัติที่ดีทางการเกษตร การประยุกต์ใช๎งานวิจัยทางการเกษตร ในเชิงพาณิชย์และการปรับปรุงพันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์เป็นต๎น
  • 8. 8 รายงานการศึกษาดูงานเรื่อง ความก้าวหน้าการพัฒนาการเกษตรของ ประเทศไต้หวัน: การเรียนรู้ประสบการณ์และการประยุกต์ใช้แนวปฏิบัติ ที่ดี (Best Practices) สาหรับประเทศไทย 1. ภาพรวมของประเทศไต้หวัน 1.1 ภาพรวมทางกายภาพและโครงสร้างเศรษฐกิจของประเทศไต้หวัน ประเทศไต๎หวันมีลักษณะทางกายภาพเป็นเกาะทอดยาวจากเหนือสูํใต๎โดยมีแนวเขาอยูํที่สํวนกลาง ของเกาะจัดอยูํในเขตภูเขาไฟและแผํนดินไหว มีพื้นที่ทั้งประเทศ 36,000 ตารางกิโลเมตรตั้งอยูํ หํางจากจังหวัดกวางโจวของจีนแผํนดินใหญํ 266.26 กม.(ประเทศไทยมีขนาดพื้นที่ใหญํกวํา ประเทศไต๎หวัน 14.25 เทํา) มีประชากรทั้งประเทศประมาณ 23 ล๎านคน อัตราการขยายตัวของ ประชากรคํอนข๎างต่ําประมาณร๎อยละ 0.29 ตํอปี แบํงการใช๎ประโยชน์ที่ดินของประเทศออกเป็น พื้นที่ปุาเขาที่มีความสูงตั้งแตํ 1,000-4,000 เมตร คิดเป็นร๎อยละ 33 พื้นที่ดินที่มีความลาดเอียงซึ่ง มีความสูงตั้งแตํ 100-1,000 เมตร คิดเป็นร๎อยละ 38 และพื้นที่ราบที่มีความสูงต่ํากวํา 100 เมตร ร๎อยละ 29 ไต๎หวันเป็นประเทศที่มีบทบาทสําคัญในระบบเศรษฐกิจโลกเป็นอยํางยิ่ง เนื่องจากเป็น ประเทศที่เป็นผู๎นําทางด๎านอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและผู๎ผลิตสินค๎าอุตสาหกรรม อิเล็กทรอนิคส์รายใหญํ แผนที่ประเทศไต้หวัน
  • 9. 9 จากข๎อมูลขององค์กรการค๎าโลก (WTO) ในปี พ.ศ. 2555 ประเทศไต๎หวันมีขนาดเศรษฐกิจใหญํ เป็นอันดับที่ 21 ของโลก (ไทยมีขนาดเศรษฐกิจเป็นอันดับที่ 22) โดยใช๎เกณฑ์จากผลิตภัณฑ์มวล รวมประชาชาติ (Gross Domestic Product: GDP) และระหวํางปี พ.ศ. 2505-2557 มีอัตราการ ขยายตัวของ GDP เฉลี่ยร๎อยละ7.12 ตํอปี ทําให๎ได๎รับการกลําวถึงวําเศรษฐกิจของประเทศไต๎หวัน มีความก๎าวหน๎าอยํางโดดเดํน (Taiwan Miracle) และเป็นหนึ่งใน 4 เสือแหํงเอเชีย (อีก 3 ประเทศคือ ฮํองกง สิงคโปร์และเกาหลีใต๎) นอกจากนี้ยังเป็นประเทศผู๎สํงออกสินค๎าในอันดับที่ 17 ของโลก (ประเทศไทยอยูํในอันดับที่ 23) ในด๎านขีดความสามารถในการแขํงขันระหวํางประเทศ จากการจัดอันดับของ World Economic Forum : WEF ชํวงระหวํางปี พ.ศ. 2556–2557 ประเทศไต๎หวันมีขีดความสามารถในการแขํงขันอยูํในอันดับที่ 12 ของโลก (ประเทศไทยอยูํใน อันดับที่ 37 )และกองทุนการเงินระหวํางประเทศ (IMF) ได๎จัดอันดับให๎ไต๎หวันอยูํในกลุํมประเทศ พัฒนาแล๎ว 1.2 ความสาคัญและความก้าวหน้าด้านการพัฒนาการเกษตรของประเทศไต้หวัน การพัฒนาการเกษตรของไต๎หวันถือได๎วําไมํได๎เป็นเพียงธุรกิจแตํยังเป็นวิถีชีวิตของประชาชนตลอด 30 ปีที่ผํานมาระบบเศรษฐกิจของไต๎หวันพึ่งพาภาคเกษตรกรรมเพียงร๎อยละ 3 ของGDP ซึ่งลดลง อยํางรวดเร็วจากร๎อยละ 35 เมื่อ 60 ปีที่ผํานมาอยํางไรก็ตามภาคเกษตรยังมีความสําคัญเนื่องจาก ปัจจุบันมีประชากรที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมประมาณ 1 ล๎านคน จํานวน 810,000 ครัวเรือน หรือคิดเป็นร๎อยละ 4.34 ของประชากรทั้งประเทศ ซึ่งสํวนใหญํเป็นเกษตรกรรายยํอยมีพื้นที่ถือ ครองที่ดินเฉลี่ย 1.06 เฮกตาร์ หรือประมาณ 6 ไรํ 1 งานตํอครัวเรือน โดยมีจํานวนสมาชิกใน ครัวเรือนเฉลี่ย 5 คน/ครัวเรือน มีการใช๎เทคโนโลยีที่ทันสมัยเพื่อสนับสนุนการผลิตทางการเกษตร อยํางกว๎างขวาง ในปี 2555 ภาคเกษตรกรรมสามารถสร๎างมูลคําทางเศรษฐกิจประมาณ 473,000 ล๎านบาทตํอปี ซึ่งเป็นรายได๎จากการปลูกพืชประมาณร๎อยละ 46.64ปศุสัตว์ร๎อยละ 31.00 ประมง ร๎อยละ22.22และผลิตภัณฑ์จากปุาไม๎ร๎อยละ0.08โดยมูลคําผลผลิตทางการเกษตรคิดเป็นร๎อยละ 1.90ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศของไต๎หวัน(ภาคอุตสาหกรรมร๎อยละ 29.70 และภาค บริการร๎อยละ 68.40)หากรวมกิจกรรมที่เกี่ยวข๎องกับการเกษตร เชํนอุตสาหกรรมการเกษตรและ การพักผํอนหยํอนใจในฟาร์มทําให๎สัดสํวนภาคเกษตรเพิ่มขึ้นถึงร๎อยละ 11ของGDPสํงผลให๎ภาค เกษตรของประเทศไต๎หวันมีบทบาทสําคัญตํอความมั่นคงทางอาหารการพัฒนาชนบทและการ อนุรักษ์ระบบนิเวศ โดยมีพื้นที่ทําการเกษตรอินทรีย์จํานวน 7,697.2 ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ 1 ของ พื้นที่ทําการเกษตรทั้งหมดของประเทศ ประเทศไต๎หวันได๎สํงเสริมการจัดรูปที่ดิน การจัดระบบ ชลประทานที่หลากหลายตั้งแตํขนาดใหญํและระบบชลประทานภายในฟาร์ม เชํน ระบบทํอ ระบบ สเปรย์ ระบบหยด และระบบอัตโนมัติรวมทั้งการทําคันนาปูนเพื่อชํวยให๎มีการใช๎น้ําอยํางมี ประสิทธิภาพ
  • 10. 10 1.3 ผลิตผลเกษตรที่สาคัญและการค้าสินค้าเกษตรระหว่างประเทศ ผลผลิตที่สําคัญของประเทศไต๎หวันประกอบด๎วย ข๎าวซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจที่สําคัญที่สุดและ อ๎อยไต๎หวันถูกเรียกวํา"อาณาจักรผลไม๎" เนื่องจากมีผลไม๎หลากหลายชนิดที่แตกตํางกันตลอดทั้งปี โดยในชํวงฤดูร๎อนมีผลไม๎ที่สามารถเก็บเกี่ยวได๎กวํา 20 ชนิด ผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์หลัก เชํน หมูและ ไกํ การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ําและการทําประมงทะเลลึก เชํน ปลาไหลและปลาหมึก นอกจากนี้ยังมี ผลผลิตชา ดอกไม๎ และปลาสวยงาม เป็นต๎น ตั้งแตํปี 2550 เป็นต๎นมากระทรวงเกษตรของไต๎หวัน ได๎พยายามขยายตลาดสินค๎าเกษตรไปยังตลาดเปูาหมายทั่วโลก ในปี 2555 มูลคําการสํงออก สินค๎าเกษตรขยายตัวร๎อยละ 9 เมื่อเทียบกับปี 2554 คิดเป็นมูลคําประมาณ 152,700 ล๎านบาท สินค๎าสํงออกหลักคือ ดอกไม๎ ผลิตภัณฑ์สัตว์น้ําและถั่วแระ เป็นต๎น โดยมีตลาดสํงออกหลักคือ ญี่ปุุน จีน (แผํนดินใหญํ) ฮํองกงและสหรัฐอเมริกา เป็นต๎น นอกจากนี้ประเทศไต๎หวันยังมีการ นําเข๎าสินค๎าเกษตรอินทรีย์จากไทย ได๎แกํ ธัญพืชและผลิตภัณฑ์แปรรูป เชํน ข๎าวเหนียวและ พาสต๎า งา และหนํอไม๎ฝรั่ง และสินค๎าเกษตรทั่วไป เชํน ผลิตภัณฑ์มันสําปะหลัง เป็นต๎น สําหรับ ประเทศไทยมีการนําเข๎าสินค๎าปลาทูนําสดแชํเย็นแชํแข็งจากไต๎หวัน ตัวอย่างผลผลิตเกษตรที่สาคัญของประเทศไต้หวัน 2 หน่วยงานหลักในการพัฒนาการเกษตรและจัดการทรัพยากรน้าของประเทศไต้หวัน และกลไกการ บริหารจัดการเกษตร(คณะกรรมการการเกษตรไต้หวันหรือสภาการเกษตรไต้หวัน:Council of Agriculture: COA) และบริหารจัดการน้า (องค์การจัดการทรัพยากรน้า) 2.1 ความเป็นมา 2.1.1 ปี พ.ศ.2491 ภายหลังสงครามระหวํางจีนและญี่ปุุนสิ้นสุดลง รัฐบาลพรรคชาตินิยมก๏ก มินตั๋งได๎กํอตั้งคณะกรรมการรํวมเพื่อการฟื้นฟูชนบท (Joint Commission on Rural Reconstruction) ภายใต๎ความตกลงด๎านเศรษฐกิจระหวํางจีนและสหรัฐอเมริกา 2.1.2 เมื่อพรรคชาตินิยมก๏กมินตั๋งได๎สถาปนาสาธารณรัฐจีนบนเกาะไต๎หวันในปี พ.ศ.2492 คณะกรรมการรํวมฯ ได๎ย๎ายมายังไต๎หวันพร๎อมกับรัฐบาลพรรคชาตินิยมด๎วยและเป็น กลไกสําคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาชนบทในไต๎หวันในชํวงระยะแรก โดยในปีเดียวกัน รัฐบาลพรรคชาตินิยมได๎จัดตั้งสํานักการเกษตรขึ้นภายใต๎กระทรวงเศรษฐกิจเพื่อกํากับ ดูแลการเกษตรของประเทศ
  • 11. 11 2.1.3 ในปี พ.ศ. 2522 ความรํวมมือทางเศรษฐกิจระหวํางสหรัฐอเมริกาและไต๎หวันได๎สิ้นสุดลง สหรัฐอเมริกาถอนตัวจากคณะกรรมการรํวมเพื่อการฟื้นฟูชนบท แตํรัฐบาลไต๎หวันได๎ เล็งเห็นประโยชน์ในการพัฒนาการเกษตรจากกลไกดังกลําว จึงได๎ปฏิรูปโครงสร๎างของ คณะกรรมการรํวมฯ ใหมํและได๎จัดตั้งเป็นคณะกรรมการวางแผนและพัฒนาการเกษตร (Council for Agricultural Planning and Development: CAPD) และให๎อยูํภายใต๎ การกํากับดูแลของรัฐบาลโดยตรง 2.1.4 ในปีพ.ศ. 2527 ได๎มีการจัดตั้งคณะกรรมการการเกษตร (Council of Agriculture: COA) โดยการผนวกรวมคณะกรรมการวางแผนและพัฒนาการเกษตรกับสํานักการเกษตร ซึ่งขณะนั้นสํานักการเกษตรยังเป็นหนํวยงานภายใต๎กระทรวงเศรษฐกิจของไต๎หวัน ทั้งนี้ เพื่อกําหนดทิศทางการดําเนินนโยบายด๎านการเกษตรให๎มีความสอดคล๎องกับการพัฒนา เศรษฐกิจของประเทศยิ่งขึ้น 2.1.5 ตํอมาในปี พ.ศ. 2542 สํวนงานด๎านการเกษตร การปุาไม๎ และอาหารของจังหวัดตํางๆ ที่ เคยมีการดําเนินงานเป็นอิสระจากคณะกรรมการการเกษตร ได๎เข๎ามาอยูํภายใต๎อํานาจ การบริหารของคณะกรรมการการเกษตรทั้งหมดจากนโยบายการรวมศูนย์อํานาจเพื่อการ ขับเคลื่อนการพัฒนาที่เป็นเอกภาพของรัฐบาลไต๎หวัน 2.2 ขอบเขตอานาจหน้าที่คณะกรรมการการเกษตรไต๎หวันเป็นหนํวยงานภายใต๎การกํากับดูแลของ นายกรัฐมนตรีไต๎หวันมีบทบาทความรับผิดชอบในการวางแผนและพัฒนาด๎านการเกษตร ปุาไม๎ ประมง ปศุสัตว์ และความมั่นคงทางอาหารของประเทศ นอกจากนี้ ยังมีความรับผิดชอบด๎านการ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล๎อม เชํน ดิน น้ํา ปุาไม๎ สัตว์และพันธุ์พืชเป็นต๎น รวมทั้ง การสํงเสริมการพัฒนาระบบเศรษฐกิจและวัฒนธรรมของเขตชนบท ซึ่งเทียบเทํากับ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของประเทศไทย 2.3 โครงสร้างการบริหารจัดการ 2.3.1 คณะกรรมการการเกษตรไต๎หวัน ประกอบด๎วย สํานักนโยบายและแผน สํานัก อุตสาหกรรมสัตว์ สํานักบริการเกษตรกร สํานักความรํวมมือระหวํางประเทศ สํานัก วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักชลประทานและวิศวกรรม สํานักเลขาธิการ สํานักการ เจ๎าหน๎าที่ สํานักสถิติ สํานักตรวจสอบภายใน สํานักตํอต๎านการทุจริต คณะกรรมการด๎าน กฎหมาย และศูนย์รับเรื่องร๎องเรียน 2.3.2 มีองค์กรภายใต๎การกํากับดูแลทั้งหมด23 แหํง หนํวยงานที่สําคัญ เชํน องค์การเกษตรและ อาหาร องค์การประมง องค์การอนามัยสัตว์และพืช สํานักการคลังเกษตร สํานัก ปุาไม๎ สํานักอนุรักษ์ดินและน้ํา สถาบันวิจัยการเกษตรแหํงไต๎หวัน สถาบันวิจัยการปุาไม๎ แหํงไต๎หวัน สถาบันวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์และพืชน้ํา สถาบันวิจัยปศุสัตว์ สถาบันวิจัย
  • 12. 12 อนามัยสัตว์ สถาบันวิจัยสารพิษและสารเคมีการเกษตรแหํงไต๎หวัน สถาบันวิจัยสัตว์ เฉพาะถิ่น สถานีพัฒนาการเกษตร สถานีวิจัยและทดลองพันธุ์ชา สถานีวิจัยและ ขยายพันธุ์เมล็ดพืช และสํานักบริหารโครงการเทคโนโลยีชีวเกษตร เป็นต๎น 2.3.3 ในปี พ.ศ.2547หลังจากที่ได๎มีการจัดตั้งสํานักการคลังเกษตร (Bureau of Agricultural Finance: BOAF) ภายใต๎คณะกรรมการการเกษตรแล๎ว อํานาจการคลังด๎านการเกษตร ทั้งหมดของกระทรวงการคลังแหํงไต๎หวันได๎ถูกโอนมาอยูํภายใต๎คณะกรรมการการเกษตร โดยสํานักการคลังเกษตรทําหน๎าที่กํากับดูแลสถาบันการเงินและการวางแผนเงินกู๎เพื่อ การเกษตร รวมทั้งธนาคารเพื่อการเกษตรแหํงไต๎หวันซึ่งได๎กํอตั้งขึ้นในปี พ.ศ.2548 แผนภูมิที่ 1: โครงสร้างการบริหารของคณะกรรมการการเกษตรไต้หวัน ที่มา:Council of Agriculture, Taiwan.2557. 2.4การบริหารจัดการทรัพยากรน้าของประเทศไต้หวัน ไต๎หวันเป็นดินแดนที่เป็นเกาะซึ่งมีปริมาณน้ําฝนมากกวําคําเฉลี่ยโลก 2.6 เทํา แตํจากที่มีประชากรถึง 23 ล๎าน คนและมีการใช๎น้ําเฉลี่ยมากกวํา 2,700 ลูกบาศก์เมตร/คน/ปี มากกวําคําเฉลี่ยโลกถึง 2 เทํา (1,385 ลูกบาศก์ เมตรตํอคนตํอปี) ประกอบกับมีข๎อจํากัดด๎านภูมิประเทศและภูมิอากาศรวมทั้งการพัฒนาแหลํงกักเก็บน้ํา ทํา ให๎ไต๎หวันมีแนวโน๎มจะขาดแคลนน้ําได๎ในอนาคต ด๎วยเหตุนี้จึงมีความจําเป็นต๎องบริหารจัดการน้ําอยํางจริงจัง
  • 13. 13 และมีความตื่นตัวในการรณรงค์การบริหารจัดการน้ําและการใช๎น้ําในทุกภาคสํวน โดยเฉพาะภาครัฐได๎จัดตั้ง องค์การทรัพยากรน้ํา (Water Resources Agency : WRA) สังกัดกระทรวงการพัฒนาเศรษฐกิจเมื่อปี พ.ศ. 2545 โดยการยุบรวมหนํวยงานที่เกี่ยวกับการจัดจัดการน้ําบางหนํวยงาน เชํน สํานักทรัพยากรน้ํา หนํวยงาน อนุรักษ์ทรัพยากรน้ําและคณะกรรมการเฉพาะด๎านน้ําของกรุงไทเปให๎เป็นหนํวยงานใหญํคือ องค์การบริหาร จัดการน้ํา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสํงเสริมการบริหารของหนํวยงานที่เกี่ยวข๎องด๎านน้ําให๎มีประสิทธิภาพมากขึ้น รวมทั้งยกระดับการจัดการธุรกิจที่เกี่ยวกับน้ํา โดยบทบาทที่สําคัญขององค์การทรัพยากรน้ําคือ  การให๎บริการการใช๎น้ําแกํสาธารณะ โดยการจัดหาน้ําประปา น้ําสําหรับภาคอุตสาหกรรม น้ําสําหรับ ภาคเกษตรกรรมและน้ําสําหรับดูแลรักษาสิ่งแวดล๎อม  การควบคุมปริมาณน้ํา โดยการปกปูองชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนจากภัยน้ําทํวมและการสร๎าง ความปลอดภัยในการดําเนินชีวิตประจําวัน นอกจากนี้ยังให๎ความสําคัญกับการให๎การศึกษาและการปลูก จิตสํานึกการใช๎น้ําอยํางคุ๎มคําของเด็กและเยาวชน โดยได๎มีการพัฒนาแอพลิเคชั่นในมือถือให๎เด็กเยาวชน และประชาชนสามารถดาวน์โหลดไปศึกษาการใช๎น้ําในกิจกรรมการใช๎ชีวิตประจําวันของตัวเอง และมีการตํอ ยอดให๎กับสถานศึกษาและหนํวยงานตํางๆ ให๎หันมาให๎ความสําคัญและลงมือดําเนินการใช๎น้ําอยํางคุ๎มคําอยําง เป็นรูปธรรม โดยได๎มอบประกาศ เกียรติคุณให๎กับองค์กรที่ใช๎น้ําคุ๎มคํา ตลอดทั้งในอนาคตยังสนับสนุนให๎มีการ อนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรน้ําอีกด๎วย การจัดโครงสร๎างขององค์การจัดการทรัพยากรน้ําแบํงออกเป็น  สํานักงานสํวนกลาง ประกอบด๎วย สํานักวางแผน สํานักอุทกวิทยา สํานักจัดการและพัฒนา ทรัพยากรน้ํา สํานักแมํน้ําและชายฝั่งทะเล สํานักอนุรักษ์ทรัพยากรน้ํา สํานักกํอสร๎าง สํานักบริหารน้ํา สํานักจัดการที่ดิน การจัดการข๎อมูลขําวสาร ทีมสํารวจแมํน้ํา ศูนย์บรรเทาภัยจาก น้ํา สํานักเลขาธิการ ฝุายการเจ๎าหน๎าที่ สํานักงานงบประมาณ การบัญชีและสถิติ และสํานักบริการ สาธารณะและจริยธรรม  สํานักงานประจําภาค ประกอบด๎วยสํานักงานทรัพยากรน้ําภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคใต๎  สํานักงานจัดการแมํน้ําที่ 1-10  สํานักงานจัดการน้ําไทเป และ  สถาบันวางแผนทรัพยากรน้ํา 3 นโยบายการพัฒนาการเกษตรของไต้หวัน กาหนดโดยคณะกรรมการการเกษตรไต้หวัน 3.1 แผนระยะปานกลางทางการเกษตร (ปี พ.ศ. 2556-2559) 3.1.1 การวิเคราะห์สถานการณ์ทางการเกษตรในอนาคต (1) การพัฒนาเศรษฐกิจระหว่างประเทศส่งผลกระทบโดยตรงต่อการรวมกลุ่มของ ภูมิภาคและการค้าสินค้าเกษตรได้รับผลโดยตรงจากการเปิดเสรีการค้า
  • 14. 14 นับตั้งแตํไต๎หวันเข๎ารํวมองค์การการค๎าโลก (WTO) ในปี 2545 อุตสาหกรรมทาง การเกษตรของไต๎หวันต๎องเผชิญกับการเปิดเสรีมากยิ่งขึ้น จากข๎อตกลงทางการค๎าที่ ชื่อ Trade Party Partnership (TPP) เสนอโดยนิวซีแลนด์และสิงคโปร์ที่กําหนดให๎ ลดภาษีศุลกากรลงให๎เหลือ 0 ในปี 2558และการลงนามในข๎อตกลงทางการค๎า Economic Cooperation Framework Agreement (ECFA) กับจีนในปี 2553ซึ่ง แม๎สถานการณ์ระหวํางทั้ง 2 ประเทศจะไมํราบรื่นนัก แตํเพื่อการก๎าวสูํการมีสํวน รํวมทางการค๎าระหวํางประเทศมากขึ้น ประกอบกับการค๎ากับจีนทวีความสําคัญมาก ขึ้นจากการที่เศรษฐกิจจีนก๎าวขึ้นมาเป็นอันดับ 2 ของโลกในปีดังกลําว ทําให๎ไต๎หวัน ต๎องเผชิญกับการค๎าระหวํางประเทศและภาคเกษตรต๎องพบกับความท๎าทายตํางๆ ในอนาคตอยํางหลีกเลี่ยงไมํได๎ (2) การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างรวดเร็วส่งผลต่อความมั่นคงด้านอาหาร ไต๎หวันมีการคาดการณ์อุณหภูมิระหวํางปีพ.ศ. 2440 – 2551พบวําอุณหภูมิบริเวณ ที่ราบเพิ่มขึ้น 1.2 องศาเซลเซียสและอุณหภูมิบริเวณผิวหน๎าน้ําทะเลเพิ่มขึ้น 1 องศา เซลเซียสการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศดังกลําวสํงผลตํอผลผลิตและราคาสินค๎า ทางการเกษตร ดังนั้นจึงต๎องมีการวางแผนเพื่อความมั่นคงทางด๎านอาหารอยํางมี ประสิทธิภาพ เพื่อรับมือและลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง และรักษาแหลํง เพาะปลูกและธรรมชาติให๎ยั่งยืน (3) เทคโนโลยีใหม่ทางการเกษตรและเทคโนโลยีที่เกี่ยวเนื่องก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว นวัตกรรมทางการเกษตรเป็นเครื่องจักรสําคัญในการพัฒนาการเกษตรกรรมของ ประเทศสํวนใหญํมีการใช๎องค์ความรู๎ในการพัฒนาเทคโนโลยีทางการเกษตรและ ประยุกต์เทคโนโลยีใหมํๆ ทั้งเทคโนโลยีชีวภาพ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฯลฯ เพื่อ เพิ่มผลผลิตทางการเกษตร ในปี พ.ศ. 2553 มูลคําของผลผลิตจากเทคโนโลยีชีวภาพ ทางการเกษตรอยูํที่ประมาณ 29.10 พันล๎านเหรียญ แสดงให๎เห็นวํา เทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตรมีบทบาทสําคัญตํอภาคเกษตรกรรม สํวนเทคโนโลยี สารสนเทศ ระบบอินเตอร์เน็ต ก็มีบทบาทตํอการเชื่อมโยงสังคมโลก สํงผลตํอบุคคล องค์กร และประเทศ ดังนั้น รูปแบบของอุตสาหกรรมเกษตรในอนาคตจะมีลักษณะ ของการรวมกันของอุตสาหกรรมที่แตกตํางหลากหลาย ครอบคลุมทั้ง ภาคอุตสาหกรรมและบริการ และระบบตํางๆ ของประเทศทั้งหมดสํงผลให๎มีการใช๎ ทรัพยากรตํางๆ อยํางมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งแนวโน๎มดังกลําวจะชํวยเพิ่ม ศักยภาพการแขํงขันด๎านเกษตรกรรมให๎แกํประเทศได๎
  • 15. 15 (4) การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการบริโภคอาหารและความปลอดภัยด้านอาหารทวี ความสาคัญมากขึ้นในอนาคต จากการพัฒนาของประเทศกําลังพัฒนาและประเทศเกิดใหมํที่มีรายได๎และจํานวน ประชากรเพิ่มมากขึ้นสํงผลให๎ความต๎องการบริโภคอาหารของโลกเพิ่มสูงขึ้น อยํางรวดเร็วประกอบกับผู๎บริโภคหันมาให๎ความสนใจในผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพและ ปลอดภัยมากขึ้น รวมทั้งจากการประมาณการเจริญเติบโตของประชากรไต๎หวันในปี พ.ศ.2560 พบวํา ประชากรที่มีอายุเกินกวํา 65 ปีจะมีประมาณร๎อยละ 14 และจะ เพิ่มสูงขึ้นเป็นร๎อยละ 20 ในปี พ.ศ. 2568 ทําให๎ไต๎หวันเริ่มเข๎าสูํสังคมผู๎สูงอายุ ซึ่งจะ สํงผลตํอการบริโภคอาหารของประเทศด๎วย 3.2 นโยบายหลักในช่วง 4 ปีข้างหน้า(ปี พ.ศ.2556-2559) เกษตรกรรมจัดเป็นอุตสาหกรรมพื้นฐานของประเทศ แตํการเผชิญหน๎ากับการเปิดเสรี ทางการค๎า การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอยํางรวดเร็ว ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูํ อยํางจํากัด ผลผลิตทางการเกษตรที่มีความไมํแนํนอน และชํองทางการจัดจําหนํายสินค๎าที่ ยังไมํเพียงพอ ทําให๎ไต๎หวันต๎องเรํงแก๎ไขข๎อบกพรํองเหลํานี้ ทั้งนี้ รัฐบาลจําเป็นต๎องกําหนด มาตรการเพื่อดึงดูดคนรุํนใหมํให๎เข๎ามามีบทบาทมากยิ่งขึ้นในธุรกิจการเกษตรเพื่อเรํงให๎ เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร๎าง เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และกระตุ๎นการใช๎ทรัพยากร ให๎เกิดประโยชน์ เพื่อให๎การพัฒนาเกษตรกรรมเป็นไปอยํางยั่งยืน ในอนาคตสภาการเกษตรไต๎หวันจะนําเสนอนโยบาย “เพิ่มรายได๎และความมั่นคงของ ประชากร” โดยมุํงเน๎นที่สุขภาพและความมั่นคงของชีวิต ใช๎การผสมผสานระหวําง เทคโนโลยีทางการเกษตรที่ทันสมัยกับการเกษตรวิถีชาวบ๎าน ประกอบกับการใช๎ เทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีสีเขียวเข๎ามาชํวยเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ การเกษตร เพื่อให๎ภาคเกษตรของไต๎หวันสามารถตอบสนองตํอความต๎องการของโลกได๎ ซึ่งนโยบายทางการเกษตรในอนาคตของไต๎หวัน มีรายละเอียดดังนี้ (1) การเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันให้ภาคเกษตรที่สอดคล้องกับความเป็น สากลของผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร (1.1) บูรณาการภาคเกษตรกับระบบให้บริการบนคลาวด์ (Cloud Service System) ได๎แกํ การให๎บริการข๎อมูลทางการเกษตรและการตลาดแกํ ภาคอุตสาหกรรม การติดตามผลผลิตทางการเกษตรสําหรับผู๎บริโภคเพื่อ ความเชื่อมั่นด๎านความปลอดภัยในผลผลิต การรวบรวมเครือขําย การให๎บริการทํองเที่ยวเชิงเกษตรไว๎ด๎วยกันเพื่อความสะดวกในการค๎นหา
  • 16. 16 ข๎อมูลของผู๎บริโภคและการเตือนภัยทางธรรมชาติ เชํน ข๎อมูลปริมาณน้ําฝน เตือนภัยโคลนถลํม เป็นต๎น (1.2) สร้างความเข้มแข็งของระบบเตือนภัยและกฎระเบียบต่างๆ เพื่อความมี เสถียรภาพของผลผลิตทางการเกษตรและการตลาด เชํน การวางเปูาหมาย การผลิตประจําปี การลงสํารวจพื้นที่เพาะปลูก การติดตามผลผลิต ราคา ตลาด และการแจ๎งเตือน การวางแผนการตลาดหรือมาตรการปรับตัวทาง การตลาดเพื่อเป็นแนวทางให๎เกษตรกรปรับปรุงคุณภาพของผลผลิตและการ แขํงขัน เป็นต๎น (1.3) สร้างความร่วมมือในหลากหลายสาขา เร่งสร้างห่วงโซ่มูลค่าของ อุตสาหกรรมการเกษตร โดยอาศัยผู้ประกอบการและกลุ่มเกษตรกรเป็น กลไกกลางในการบริหารจัดการการผลิตสินค้าเกษตรให้มีมูลค่าเพิ่มและได้ มาตรฐานสิ่งเหลํานี้จะชํวยให๎หํวงโซํอุปทานมีเสถียรภาพมากยิ่งขึ้น และกลุํม เกษตรกรจะกลายเป็นศูนย์กลางการผลิตสินค๎าอุตสาหกรรมการเกษตรที่มี ความเชี่ยวชาญของภูมิภาค (1.4) ส่งเสริมการวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีที่มีความก้าวหน้าด้านการเกษตร และนา ผลการวิจัยไปใช้เพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรม เพื่อให้ภาคการเกษตรเติบโต อย่างต่อเนื่อง โดยการรํวมมือกันระหวํางภาคอุตสาหกรรมการเกษตรกับ มหาวิทยาลัยในโครงการวิจัยและพัฒนาที่เกี่ยวข๎องตํางๆ และสนับสนุน ผลผลิตที่มีศักยภาพใหมํๆ รวมไปถึงการลงทุนทางด๎านเกษตรกรรม (1.5) ส่งเสริมการใช้พลังงานสีเขียวและพัฒนาเทคโนโลยีทางการเกษตรที่มี ประสิทธิภาพสูงและมีนวัตกรรมประหยัดพลังงาน เพื่อชํวยในการรักษา สภาพแวดล๎อม ประหยัดคําใช๎จํายให๎แกํเกษตรกร และชํวยให๎ผลผลิตทางการ เกษตรมีความปลอดภัย รวมทั้งเป็นการรักษาคุณคําทางโภชนาการ (1.6) สร้างความเข้มแข็งด้านช่องทางการจัดจาหน่ายผลผลิตทางการเกษตรสู่ ตลาดโลก โดยพัฒนามาตรฐานการผลิตให๎อยูํในระดับสากล มองหาโอกาสใน ตลาดตํางประเทศ สร๎างตราสินค๎าเป็นของตนเอง รํวมมือกับหุ๎นสํวนทางการ ค๎าในตํางประเทศ เพื่อให๎สินค๎าเกษตรของไต๎หวันเป็นที่รู๎จักและสามารถสร๎าง ภาพลักษณ์ที่ดีได๎ (1.7) ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรระดับสากล โดยกําหนดพื้นที่ การทํองเที่ยวเชิงเกษตรในท๎องถิ่นที่จะนําเสนอถึงจิตวิญญาณ วิถีชีวิต สุขภาพที่แข็งแรงและการอนุรักษ์สิ่งแวดล๎อมของคนในท๎องถิ่น โดยจัด
  • 17. 17 กิจกรรมตํางๆ เพื่อตอบสนองความต๎องการของนักทํองเที่ยวที่มี ความหลากหลายให๎ได๎รับประสบการณ์ดังกลําว รวมไปถึงการปลูกฝังให๎ เยาวชนในท๎องถิ่นตระหนักถึงคุณคําของท๎องถิ่นและรับรู๎ถึงประโยชน์ที่ หลากหลายของเกษตรกรรม เพื่อให๎เยาวชนเหลํานั้นสามารถนําไปใช๎สร๎าง มูลคําให๎แกํท๎องถิ่นได๎ตํอไปในอนาคต รวมทั้งให๎การรับรองมาตรฐานคุณภาพ การบริการแกํฟาร์มที่เข๎ารํวมการทํองเที่ยวเชิงเกษตรระดับสากล (1.8) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมกับองค์กรระหว่างประเทศและข้อตกลงทางการค้า ระหว่างประเทศด้านการเกษตร เพื่อขจัดอุปสรรคทางการค๎าทั้งในรูปภาษี และที่ไมํใชํภาษี และเพิ่มบทบาททางการค๎าระหวํางประเทศในสินค๎าเกษตร ของไต๎หวัน (2) การปรับโครงสร้างทางการเกษตร ส่งเสริมความสามารถของบุคลากรการเกษตร และพัฒนาสินค้าให้มีมูลค่าเพิ่ม (2.1) ส่งเสริมคุณภาพและประสิทธิการทางานของเกษตรกร (2.1.1) มีระบบเกษียณอายุของเกษตรกร โดยยกเลิกระบบการอุดหนุน การเกษตร กระตุ๎นให๎มีการสํงตํอสิทธิ์ในที่ดินของเกษตรกรที่ เกษียณ และจัดให๎มีแผนงานพัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกรหลัง เกษียณ (2.1.2) สํงเสริมนโยบายการเชําที่เกษตรกรรมจากเจ๎าของรายเล็กสูํผู๎เชํา รายใหญํ ด๎วยการกระตุ๎นให๎เกษตรกรมืออาชีพรุํนใหมํหรือกลุํม เกษตรกรเชําที่ดินจากเกษตรกรที่ไมํสามารถ/ไมํต๎องการทํา การเกษตรเพื่อเพาะปลูกพืชที่สามารถทดแทนการนําเข๎าและมี ลูํทางการตลาด เพื่อขยายพื้นที่เกษตรกรรมและสร๎างความมี ชีวิตชีวาให๎กับท๎องถิ่น (2.1.3) สํงเสริมให๎มีวิทยาลัยชาวนา โดยเชื่อมโยงการวิจัย การศึกษา ทรัพยากรการตลาด เพื่อให๎ความรู๎อยํางกว๎างขวางและฝึกอบรมแกํ
  • 18. 18 เกษตรกรรวมทั้งมีโครงการอบรมขั้นสูงให๎คนรุํนใหมํที่สนใจทํา การเกษตร (2.1.4) จัดตั้งศูนย์ให๎คําปรึกษาเกษตรกรรุํนใหมํ โดยการถํายทอด เทคโนโลยี ให๎คําปรึกษาด๎านการบริหารจัดการ และสร๎างสิ่งจูงใจ ให๎แกํเกษตรกรรุํนใหมํ (2.2) ร่วมมือกับภาคอุตสาหกรรมในการส่งเสริมการพัฒนาท้องถิ่น เพื่อปรับปรุง สภาพแวดล้อมการทาการเกษตรและชีวิตคนในท้องถิ่น (2.2.1) มีโครงการพัฒนาท๎องถิ่นรํวมกันระหวํางอุตสาหกรรมและคนใน ชุมชน เพื่อการปรับปรุงการผลิต สิ่งแวดล๎อม และรูปแบบ การดําเนินชีวิต (2.2.2) จัดสรรพื้นที่การเกษตร โดยจัดให๎มีสิ่งอํานวยความสะดวกไมํไกล จากพื้นที่ มีการใช๎เทคโนโลยีที่ทันสมัย เพื่อให๎สามารถบรรลุ เปูาหมายทั้งการเพิ่มขีดความสามารถทางการแขํงขันเชิง อุตสาหกรรมและการรักษาสิ่งแวดล๎อมไปพร๎อมกัน (3) สร้างหลักประกันด้านความมั่นคงและปลอดภัยในอาหารและผลผลิตทางการ เกษตร (3.1) ส่งเสริมการบริโภคอาหารภายในประเทศ และสร้างกลไกด้าน ความปลอดภัยในอาหาร (3.1.1) สํงเสริมการผลิตอาหารที่หลากหลาย และกระตุ๎นให๎อุตสาหกรรม อาหารและอาหารแปรรูปใช๎วัตถุดิบภายในประเทศ (3.1.2) สร๎างระบบการบริหารจัดการเรื่องความปลอดภัยในอาหาร เชํน มีระบบจัดการคลังสินค๎าทันสมัยและมีมาตรฐาน เป็นต๎น (3.2) ถ่ายทอดลักษณะเฉพาะของอุตสาหกรรมทางการเกษตรไต้หวัน เพื่อแสดง ถึงความเป็นมาของสินค้าและตราสินค้าท้องถิ่นให้เป็นที่รู้จัก สํงเสริมให๎มี การใช๎ลักษณะดั้งเดิมของผลิตภัณฑ์เป็นจุดขาย สร๎างภาพลักษณ์ร๎านขาย สินค๎าเกษตร สร๎างคุณคําของตราสินค๎าท๎องถิ่นในเชิงวัฒนธรรมและการ สร๎างสรรค์ รวมถึงให๎คําปรึกษาในการขายสินค๎าเพื่อให๎ผู๎บริโภคเข๎าถึงความ แตกตํางของคุณภาพ ความปลอดภัยในผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรของไต๎หวัน เชํน การสํงเสริมภาพลักษณ์ชาไต๎หวัน โดยมีตราสัญลักษณ์ที่แสดงถึงคุณภาพ
  • 19. 19 ของการเป็นชาไต๎หวันแท๎ หรือมีการออกแบบให๎เป็นชุดของฝากที่แสดงให๎ เห็นถึงวัฒนธรรมของชาไต๎หวัน เป็นต๎น (3.3) ส่งเสริมการผลิต การบริโภคผลผลิตทางการเกษตร และเพิ่มช่องทาง การตลาดให้มีความหลากหลาย (3.3.1) พัฒนาข๎อกําหนดใหมํเพื่อให๎มีการใช๎วัตถุดิบในท๎องถิ่นเป็น สํวนประกอบของสินค๎ามากยิ่งขึ้น (3.3.2) สํงเสริมให๎มีการบริโภคสินค๎าที่ผลิตในท๎องถิ่นเอง โดยใช๎กิจกรรม การตลาดเข๎ามาชํวย รวมถึงเพิ่มชํองทางการจัดจําหนํายสินค๎า ให๎แกํเกษตรกร เชํน ร๎านซูเปอร์มาร์เก็ต ระบบการซื้อขายผําน ระบบอินเตอร์เน็ต เป็นต๎น (3.3.3) สํงเสริมการเรียนการสอนด๎านโภชนาการให๎แกํเยาวชน โดยรํวมมือ กับกระทรวงศึกษาธิการในการจัดทําหลักสูตร เพื่อให๎ประชาชนหัน มาบริโภคผลผลิตทางการเกษตรภายในประเทศเพื่อเสริมสร๎าง สุขภาพที่ดี (3.4) ส่งเสริมการใช้ปุ๋ยที่เหมาะสมและเป็นมิตรกับการดาเนินธุรกิจรูปแบบใหม่ เพื่อสร้างระบบเกษตรกรรมสีเขียวที่ใช้คาร์บอนต่า โดยชํวยเหลือแนะนํา การใช๎ปุ๋ยที่เหมาะสมโดยกลุํมที่ปรึกษาการวิจัยของสภาการเกษตร และเสริม ความเข๎มแข็งของทีมตรวจสอบการใช๎ปุ๋ยคุณภาพและปรับปรุง การผลิตปุ๋ยคอกปุ๋ยหมักที่มีคุณภาพ รวมทั้งสํงเสริมการลดปริมาณคาร์บอน การใช๎น้ําอยํางประหยัด การลดมลพิษ และการจัดการปศุสัตว์และซาก สัตว์ปีกที่เหมาะสม (3.5) ส่งเสริมระบบการผลิตทางการเกษตรที่ปลอดภัย โดยมีระบบรับรอง การทดสอบความปลอดภัยในผลผลิตที่มีความหลากหลายและได๎มาตรฐาน (3.6) ส่งเสริมการตรวจและป้องกันโรคในสัตว์และพืช โดยมีการตรวจหา เชื้อโรคในสัตว์ที่มีมาตรฐานและคิดค๎นยารักษาโรคที่มีคุณภาพ รวมไปถึงมี ระบบการตรวจหาสารตกค๎างของยาฆําแมลงในผลผลิตทางการเกษตร (3.7) ส่งเสริมการตรวจสอบการใช้ยาฆ่าแมลงให้มีความปลอดภัยโดยมี มาตรฐานเดียวกับประเทศอื่นๆ และระดับโลกโดยเสริมสร๎าง ความเข๎มแข็งของการพัฒนาเทคโนโลยีที่ใช๎ตรวจจับการตกค๎างของ ยาฆําแมลง จัดให๎มีระบบการสอดสํองดูแล การควบคุมการใช๎ยาใน ฟาร์มสัตว์ ยาฆําแมลง โลหะหนัก สี และการตรวจสอบเป็นระยะทั้งใน
  • 20. 20 ฟาร์ม ตลาดค๎าสํง รวมทั้งให๎มีการขยายเวลาการเก็บเกี่ยวพืชผล หากพบสารตกค๎างจากยาฆําแมลงที่เกินมาตรฐานสากล จัดทําคูํมือเกี่ยวกับ แนวปฏิบัติในการทดสอบสารตกค๎างจากยาฆําแมลงในผักและผลไม๎ และจัด ให๎มีสถานีทดสอบสารตกค๎างจากยาฆําแมลงด๎วยวิธีชีวภาพ เพื่อเพิ่ม ความปลอดภัยให๎ผู๎บริโภค (4) การรักษาระบบนิเวศในแหล่งเกษตรกรรมให้ยั่งยืน (4.1) ปรับระบบการทาเกษตรกรรมและส่งเสริมการผลิตอาหารให้มี ความหลากหลาย โดยการปรับปรุงพื้นที่เพาะปลูกอยํางตํอเนื่อง ด๎วยการ เพาะปลูกเชิงนิเวศและปลูกพืชหมุนเวียน ซึ่งจะทําให๎การผลิตทางการเกษตร ของประเทศมีความยั่งยืน และเป็นการพึ่งพาอาหารภายในประเทศ (4.2) ส่งเสริมให้มีการใช้พื้นที่เพาะปลูกอย่างมีประสิทธิภาพ การสํารวจพื้นที่ เพาะปลูกจะชํวยให๎สามารถแบํงประเภทของพื้นที่เพาะปลูก และแบํงพื้นที่ การพัฒนาทางการเกษตร โดยการเก็บข๎อมูลทางภูมิศาสตร์เพื่อนํามาใช๎ วางแผนระบบการใช๎ประโยชน์ของพื้นที่ในระยะยาว รวมถึงการนํา กฎระเบียบที่เกี่ยวข๎องเข๎ามาบริหารพื้นที่ ซึ่งจะเป็นการรักษาพื้นที่ ทางการเกษตรอยํางยั่งยืน (4.3) ส่งเสริมการวางแผนการใช้และรักษาคุณภาพน้าทางการเกษตร จากการที่ ประเทศประสบปัญหาการทรุดตัวของแผํนดิน จึงต๎องมีการวางแผนเพื่อ ปูองกันปัญหาดังกลําว เชํน การลดความต๎องการใช๎น้ําเพื่อการเกษตร การวางแผนการใช๎น้ําอยํางมีประสิทธิภาพ การสร๎างสิ่งอํานวยความสะดวก ด๎านชลประทานและกักเก็บน้ํา การบริหารแหลํงน้ําโดยจัดสรรให๎กับแหลํง เพาะปลูกในพื้นที่ตํางๆ อยํางทั่วถึง การใช๎เทคโนโลยีระบบบริหารจัดการน้ํา การใช๎วิศวกรรมสิ่งแวดล๎อมในการแก๎ปัญหาการระบายน้ําในพื้นที่เพาะปลูก และควบคุมคุณภาพของน้ํา เป็นต๎น (4.4) การอนุรักษ์แหล่งประมงของประเทศอย่างยั่งยืน โดยปรับปรุงสิ่งอํานวย ความสะดวกทั้งบริเวณชายฝั่งและนอกฝั่งที่มีการทําประมงหรือเพาะเลี้ยง สัตว์น้ํา รักษาความสะอาดของน้ําทะเล ฟื้นฟูแหลํงประมง ควบคุมจํานวน เรือประมง กําหนดเขตอนุรักษ์สัตว์น้ํา สร๎างความตระหนักของการอนุรักษ์ แหลํงประมง รวมไปถึงการให๎ความรํวมมือในการอนุรักษ์แหลํงประมง ระหวํางประเทศ โดยการจัดสรรโควต๎าการทําประมงและปฏิบัติตามข๎อตกลง