SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  14
Télécharger pour lire hors ligne
1

                        การสร้างเว็บ ด้วยโปรแกรม Macromedia Dreamweaver 8

         Macromedia Dreamweaver 8 มีการออกแบบมาเพื่อที่จะใช้ในการจัดการกับเอกสารที่ใช้สาหรับ การสร้างเว็บเพจ ซึ่ง
ในสมัยก่อนหากจะมี การสร้างเว็บเพจ ขึ้นแต่ละเว็บเพจนั้น ต้องให้ผู้ที่มีความรู้ในภาษา HTML มาเขียนรหัสคาสั่ง (Code) ให้
แต่ในปัจจุบัน โปรแกรม Macromedia Dreamweaver 8 สามารถที่จะสร้างรหัสคาสั่งให้กับผู้ใช้โดยอัตโนมัติ ซึ่งผู้ใช้ไม่
จาเป็นต้องมีความรู้ด้านของภาษา HTML เนื่องจากโปรแกรม Macromedia Dreamweaver 8 นั้นจะมีลักษณะ การทางานที่
คล้ายๆ กับโปรแกรมพิมพ์เอกสารที่เราเคยใช้และรู้จักกันดี ซึ่งจะมีเครื่องมือและแถบคาสั่งให้เราเลือกใช้ได้ เหมือนกับ Word
Processor จึงช่วยให้สามารถเว็บเพจด้วยความสะดวก และรวดเร็ว


ความสามารถของ Macromedia Dreamweaver 8
    สร้างเว็บเพจภาษาไทย

    รู้จักฟังก์ชั่นต่าง ๆ ของ Macromedia

      Dreamweaver




การกาหนดค่า เพื่อใช้ในการสร้างเว็บเพจ ภาษาไทย
        เลือกคาสั่งที่เมนูบาโดยเลือก Modify จากนั้นเลือก Page Properties (หรือสามารถเลือกได้ที่ปุ่ม Page Properties ที่อยู่
         บนพาแนล Properties Inspector)
        จากนั้นให้เลือกที่หมวดของ Title/Encoding
        ในช่อง Encoding นั้นให้เลือกที่ Thai (Windows)
        จากนั้นคลิก OK
2




รู้จักฟังก์ชั่นต่าง ๆ ของ Macromedia Dreamweaver
         สาหรับฟังก์ชั่น ที่เป็นมาตรฐานในการ ทางานกับโปรแกรม Macromedia Dreamweaver ที่มีการใช้ งานบ่อยๆ ก็มีอยู่ 3
ฟังก์ชั่น ได้แก่
      ฟังก์ชั่น Insert จะเป็นฟังก์ชั่นที่ใช้สาหรับควบคุมเกี่ยวกับวัตถุต่างๆ เช่น เลเยอร์, รูปภาพ ซึ่งแถบเครื่องมือนี้จะ
           ประกอบไปด้วย ชุดเครื่องมือต่างๆ คือ Characters , Common, Form, Frames, head, Invisible
      ฟังก์ชั่น Properties เป็นฟังก์ชั่นลักษณะต่างๆ เช่น ใช้ในการกาหนดค่าของข้อความในเว็บ สีของตัวหนังสือ รูปภาพ
           ตาราง เป็นต้น
      ฟังก์ชั่น Launcher เป็นฟังก์ชั่นสาหรับใช้ในการจัดการหรือควบคุมในส่วนของ สคริปต์ (Behaviors)
3

วิธี เซ็ตให้ โปรแกรม Macromedia Dreamweaver 8 เปิดขึ้นมาเป็น ภาษาไทย
1.เข้าไปที่ Edit->Preferences ดังรูป (หรือกด crl+u)




2.เลือก NEW Document แล้วเปลี่นค่าต่างๆ ให้เป็น ดัง
4

การเริ่มใช้งานโปรแกรม Dreamweaver 8
         เมื่อเข้าสู่โปรแกรม Dreamweaver 8• จะปรากฏกรอบ Workspace Setup ดังรูป ให้คลิกเลือก
Designer แล้วคลิก OK เพื่อเข้าสู่หน้าจอการออกแบบของโปรแกรม Macromedia Dreamweaver 8




จากนั้นจะปรากฎหน้าจอ Start Page ซึ่งเป็นเครื่องมือสาหรับเริ่มต้นการทางาน โดยตัวเลือกจะแบ่งเป็น 3 กลุ่ม
ดังรูป สาหรับการสร้างเว็บเพจเปล่าแบบพื้นฐาน ให้เลือกกลุ่ม Create New แล้วคลิกที่ HTML
5




ส่วนประกอบของโปรแกรม Dreamweaver 8




      แถบชื่อเรื่อง (Title Bar) แสดงชื่อแฟ้มข้อมูลที่กาลังใช้งานอยู่
      แถบคาสั่ง (Menu Bar) เป็นส่วนที่เก็บคาสั่งต่าง ๆ ที่ใช้งานในโปรแกรม Dreamweaver 8
      แถบ Document Tool Bar เป็นส่วนที่ใช้ในการจัดการกับเว็บเพจ ณ ขณะนั้น เช่นการเปลี่ยนมุมมองในการดูหน้าเว็บ
       เพจ
      แถบ Insert Bar เป็นกลุ่มเครื่องมือที่ใช้สร้างองค์ประกอบต่าง ๆ ในเว็บเพจ ซึ่งประกอบด้วยชุดเครื่องมือ 8 ชุดด้วยกัน
      พื้นที่ออกแบบ (Document Window) เป็นส่วนที่ใช้สาหรับใส่เนื้อหาและจัดองค์ประกอบของเว็บเพจ โดย
       ประกอบด้วยมุมมองการทางาน 3 รูปแบบด้วยกันคือ Design, Code และ Code and Design
      แถบสถานะ (Status Bar) เป็นส่วนที่แสดงสถานะของการใช้งานโปรแกรม ณ ขณะนั้น หน้าต่าง Properties เป็นส่วน
       ของคาสั่งที่ใช้ในการกาหนดคุณสมบัติขององค์ประกอบต่าง ๆ ที่เราต้องการเปลี่ยนแปลงหรือตกแต่ง
      Panel Group เป็นกลุ่มของแผงควบคุม ที่ใช้แทนคาสั่งและติดต่อกับฐานข้อมูล


มุมมองต่าง ๆ ของ Document Windows
 ในการออกแบบหน้าเว็บเพจด้วยโปรแกรม Dreamweaver 8 เราสามารถเลือกรูปแบบหรือมุมมองของหน้าต่าง
เว็บเพจได้ 3 รูปแบบด้วยกันคือ
6


      Show Code View ใช้แสดงหน้าจอออกแบบเป็นภาษา HTML



      Show Code and Design View ใช้แสดงหน้าจอออกแบบเป็นภาษา HTML และหน้าจอออกแบบจริง



      Show Design View ใช้แสดงหน้าจอออกแบบเป็นหน้าจอออกแบบจริง

การซ่อนและแสดงเครื่องมือออกแบบ
      การซ่อนและแสดงเครื่องมือออกแบบในโปรแกรม Dreamweaver 8 สามารถทาได้หลายวิธีด้วยกัน ดังนี้คือ
      วิธีที่ 1 โดยการคลิกที่คาสั่ง Windows แล้วคลิกคาสั่งที่ต้องการใช้งาน
      วิธีที่ 2 โดยการคลิกที่ปุ่มลูกศรเล็ก ๆ หน้าแถบ Panel
      วิธีที่ 3 กดแป้นพิมพ์ <F4> เพื่อซ่อนหรือแสดงเครื่องมือทั้งหมด
7

การกาหนดโฟลเดอร์เพื่อเก็บเว็บไซต์ที่สร้างใหม่
          การเริ่มต้นสร้างเว็บไซต์ใหม่ในโปรแกรม Dreamweaver 8 จะต้องเริ่มต้นจากการตั้งชื่อเว็บไซต์ และกาหนดตาแหน่ง
เช่น ไดร์ฟ และโฟลเดอร์ ที่จะใช้เก็บไฟล์ต่าง ๆ ของเว็บไซต์ที่เราจะออกแบบ ซึ่งทาได้ตามขั้นตอนดังนี้คือ
     1. คลิกคาสั่ง Site>New Site…
     2. จะปรากฏกรอบ Site Definition ขึ้นมา ให้พิมพ์ชื่อเว็บไซต์ที่ต้องการ แล้วคลิกปุ่ม Next
     3. ให้คลิกเลือก No, I do not want…….. แล้วคลิกปุ่ม Next
     4. ระบุชื่อไดร์ฟและโฟลเดอร์ที่จะใช้เก็บข้อมูลของเว็บไซต์ที่จะทาการออกแบบ จากนั้นคลิกปุ่ม Next
     5. คลิกที่ช่อง How do you connect to your remote server ? แล้วคลิกตัวเลือก None จากนั้นให้คลิกที่ปุ่ม Next
     6. จะแสดงกรอบให้เห็นว่าได้กาหนดเว็บไซต์ใหม่เป็นที่เรียบร้อยแล้ว คลิกที่ปุ่ม Done เพื่อเริ่มต้นการออกแบบเว็บเพจ
     7. จะปรากฏชื่อของเว็บไซต์ พร้อมทั้งตาแหน่งที่เก็บเว็บไซต์ แสดงไว้ใน Panel Group
8




การสร้างหน้าเว็บเพจใหม่
การสร้างเว็บเพจใหม่ สามารถทาได้โดย
    1. คลิกคาสั่ง File>New... ที่แถบเมนู
    2. จะปรากฎกรอบ New Document ขึ้นมา โดยคลิกที่ตัวเลือก Basic page ในช่อง Category
    3. คลิกตัวเลือก HTML ที่ช่อง Basic page
    4. คลิกปุ่ม Create




การกาหนดคุณสมบัติพื้นฐานของเว็บเพจ
          ก่อนการออกแบบเว็บเพจทุกครั้ง ควรเริ่มจากการกาหนดคุณสมบัติพื้นฐาน เช่น ชื่อเว็บเพจ (Title) สีพื้น (Background
color) สีของข้อความ (Text color) เป็นต้น Page Properties โดยสามารถกาหนดได้ด้วยคาสั่ง Modify
9

1. การกาหนดลักษณะการแสดงผล (Appearance)
Appearance เป็นคุณสมบัติทั่วไป ในการแสดงผลของหน้าเว็บเพจ มีรายละเอียดดังนี้คือ




                          Page font รูปแบบตัวอักษร
                          Size ขนาดตัวอักษร
                          Text color สีของข้อความทั่วไป
                          Background color สีพื้นหลังของหน้าเว็บเพจ
                          Background image ภาพฉากหลังของหน้าเว็บเพจ
                          Repeat วิธีแสดงภาพฉากหลังแบบซ้า ๆ
                          Left margin ระยะของด้านซ้ายของหน้าเว็บเพจ
                          Right margin ระยะของด้านขวาของหน้าเว็บเพจ
                          Top margin ระยะของด้านบนของหน้าเว็บเพจ
                          Bottom margin ระยะของด้านล่างของหน้าเว็บเพจ


2. การกาหนดลักษณะข้อความหัวเรื่องและภาษา (Title/Encoding)
Title/Encoding เป็นการกาหนดชื่อและภาษาที่ใช้ของเว็บเพจ มีรายละเอียดดังนี้คือ
10




การบันทึก (Save) เว็บเพจ
          ไฟล์เว็บเพจของ Dreamweaver 8 ถ้ายังไม่ได้บันทึก (Save) ข้อมูลที่ทาการแก้ไข จะสังเกตได้จากบนแถบชื่อเรื่อง
(Title Bar) จะมีเครื่องหมาย * ปรากฏอยู่ท้ายชื่อไฟล์ ซึ่งเป็นเครื่องหมายเตือนว่ายังไม่ได้บันทึก (Save) ข้อมูลของไฟล์นั้น
ไฟล์ข้อมูลของ Dreamweaver 8 จะถูกจัดเก็บให้เป็นไฟล์ประเภท html ให้อัตโนมัติ คาสั่งที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูล สามารถ
เลือกใช้ได้ดังนี้คือ
               o File>Save… จัดเก็บไฟล์โดยใช้ชื่อเดิม
               o File>Save As… จัดเก็บไฟล์โดยใช้ชื่อใหม่
               o File>Save as Template… จัดเก็บเป็นไฟล์เทมเพลต
               o File>Save to Remote Server จัดเก็บไว้ที่ Remote Server
               o File>Save All จัดเก็บทุกไฟล์ที่เปิดใช้งานอยู่
               o นอกจากนี้ยังสามารถใช้แป้นพิมพ์ <Ctrl>+<S> แทนการใช้คาสั่ง File>Save… หรือ File>Save As… ได้


การดูผลการออบแบบบนบราวเซอร์
         การออกแบบเว็บเพจด้วยโปรแกรม Dreamweaver 8 ผู้ออกแบบควรทาการตรวจสอบการแสดงผลที่เว็บบราวเซอร์
(Web Browser) ด้วย เพราะการแสดงผลบางอย่างไม่สามารถจะแสดงผลใน Dreamweaver 8 ได้ สาหรับการดูผลที่เว็บบราวเซอร์
(Browser) ทาได้ดังนี้คือ
     คลิกคาสั่ง File>Preview in Browser>iexplorer (หรือคลิกแป้นพิมพ์ <F12>)
     จะปรากฏหน้าของเว็บเพจในเว็บบราวเซอร์ (Web Browser)

การเปิด (Open) ขึ้นมาแก้ไข
เว็บเพจที่ได้ออกแบบยังไม่เสร็จหรือต้องการทาการแก้ไขใหม่ สามารถเปิดเว็บเพจนั้น ๆ ขึ้นมาแก้ไขได้ ตามขั้นตอนดังนี้ คือ
     1. เรียกใช้งานในส่วนของ Group Panel จากนั้นให้คลิกเลือกชื่อของเว็บไซต์ที่ต้องการแก้ไขขึ้นมา
     2. ดับเบิลคลิกชื่อไฟล์ประเภท htm หรือ html ที่ต้องการแก้ไข
     3. ไฟล์ที่ต้องการแก้ไขจะปรากฏขึ้นมา
11




การแทรกข้อความบนหน้าเว็บเพจ
         การแทรกข้อความ และอักขระพิเศษ และการจัดรูปแบบข้อความ


การใส่ Title
          หัวเรื่องหรือไตเติล (Title) ของเว็บเพจ มีความสาคัญมาก เพราะเป็นข้อความที่แสดงบนบราวเซอร์เพื่อให้ผู้เข้าชม
เว็บไซต์เข้าใจว่าเนื้อหาในหน้าเว็บเพจนั้นเกี่ยวกับเรื่องใด นอกจากนี้ยังเป็นข้อมูลสาคัญที่ Search Engine ใช้ค้นหาเว็บเพจอีก
ด้วย
การใส่หัวเรื่องของเว็บเพจสามารถทาได้ 2 วิธีดังนี้คือ
12




การใส่ข้อความบนหน้าเว็บ
การแทรกข้อความในหน้าเว็บเพจ ผู้ออกแบบเพียงแต่พิมพ์ข้อความที่ต้องการลงไป หรืออาจจะคัดลอก (Copy) ข้อความที่พิมพ์
ไว้เรียบร้อยแล้วจากไฟล์อื่นมาใช้ก็ได้
        1. การพิมพ์ข้อความในหน้าเว็บเพจ
        การพิมพ์ข้อความในหน้าเว็บเพจสามารถทาได้ง่าย โดยพิมพ์ข้อความที่ต้องการ เมื่อต้องการขึ้นบรรทัดใหม่ให้กด
แป้นพิมพ์ หรือกดแป้นพิมพ์ พร้อมกับ ในกรณีที่ต้องการให้ระยะบรรทัดไม่ห่างกันมาก
        2. การคัดลอกข้อความจากไฟล์อื่นมาไว้ในหน้าเว็บเพจ
           เราสามารถคัดลอกข้อความที่พิมพ์ไว้ด้วยโปรแกรมอื่น แล้วนามาวางไว้ในหน้าเว็บเพจได้ ซึ่งส่วนมากในการทา
เว็บไซต์ มักจะนิยมพิมพ์ข้อความที่ต้องการเตรียมไว้โดยใช้โปรแกรม Notepad แล้วเก็บบันทึกไว้เป็นแบบ Text File (มีนามสกุล
เป็น txt) โดยมีวิธีการดังนี้คือ
                          เปิดไฟล์ที่เก็บข้อความที่ต้องการขึ้นมา จากนั้นระบายข้อความที่ต้องการ
                          คลิกคาสั่ง Edit>Copy หรือกดแป้นพิมพ์ <Ctrl>+<C>
                          เปิดหน้าของเว็บเพจที่ออกแบบด้วยโปรแกรม Dreamweaver 8 จากนั้นคลิกคาสั่ง Edit>Paste หรือ
                                กดแป้นพิมพ์ <Ctrl>+<V>
                          ข้อความที่คัดลอกมาจะแสดงในหน้าเว็บเพจ

        3. การเว้นวรรคระหว่างข้อความ
        การใส่ข้อความบนหน้าเว็บเพจนั้น ปกติแล้วโปรแกรม Dreamweaver 8 จะเว้นวรรคให้เพียง 1 ครั้งเท่านั้น แต่อย่างไรก็
ตามเราสามารถที่จะเว้นวรรคมากกว่า 1 ครั้งได้ โดย กดแป้นพิมพ์ <Ctrl>+<Shift>+<Space>

การจัดรูปแบบข้อความบนหน้าเว็บ
การจัดรูปแบบอักษรในงานออกแบบเว็บเพจด้วยโปรแกรม Dreamweaver 8 สามารถทาได้ดังนี้คือ
13

    1. ระบายข้อความที่ต้องการจัดรูปแบบอักษร
    2. กาหนดค่าในส่วนของพาเนล Properties




การแทรกตัวอักษรพิเศษ (Symbol)
      1. การเพิ่มระยะเว้นวรรคระหว่างข้อความ
 Dreamweaver 8 กาหนดให้เว้นวรรคระหว่างข้อความได้เพียง 1 ช่องเท่านั้น เมื่อต้องการที่จะให้มีระยะเว้นวรรคมากขึ้น จะต้อง
ใช้คาสั่งเพื่อเพิ่มระยะการเว้นวรรค ซึ่งทาได้ดังนี้คือ
                   วางเคอร์เซอร์ในตาแหน่งที่ต้องการเพิ่มระยะเว้นวรรค
                   คลิกแถบ "Common" แล้วคลิกเลือกแถบ "Text"
                   จากนั้นกดแป้นพิมพ์ <Ctrl>+<Shift>+<Space Bar> หรือคลิกเครื่องมือ "BR" แล้วคลิกคาสั่ง "Non-
                      Breaking Space"
         2. การแทรกสัญลักษณ์พิเศษ
สัญลักษณ์พิเศษที่ไม่มีในแป้นพิมพ์ สามารถจะแทรกเพิ่มเติมได้จากแถบ Characters โดยทาได้ดังนี้คือ
              วางเคอร์เซอร์ในตาแหน่งที่ต้องการแทรกสัญลักษณ์พิเศษ
              คลิกแถบ "Common" แล้วคลิกเลือกแถบ "Text"
              จากนั้นคลิกเครื่องมือ "BR" แล้วคลิกเลือกสัญลักษณ์ตามต้องการ



การใส่วันที่
การใส่วันที่ในหน้าเว็บเพจ นอกจากเพื่อต้องการแสดงวันที่แล้ว เรายังสามารถกาหนดรูปแบบวันที่ พร้อมทั้งกาหนดให้วันที่
ปรับเปลี่ยนตามวันได้อัตโนมัติด้วย โดยทาตามขั้นตอนดังนี้คือ
     วางเคอร์เซอร์ในตาแหน่งที่ต้องการแทรกวันที่
     คลิกแถบ "Common" บน Insert Bar

        จากนั้นคลิกเครื่องมือ     จะปรากฏกรอบให้กาหนดรูปแบบ
        ให้เลือกรูปแบบตามที่ต้องการแล้วคลิก OK
14

       ถ้าต้องการให้วันที่ปรับเปลี่ยนอัตโนมัติให้คลิกเครื่องหมายถูก ที่หน้าข้อความ Update Automatically on Save


การใส่เส้นคั่นเนื้อหา
1. การแทรกเส้นแบ่งเนื้อหา มีวิธีการดังนี้คือ
       วางเคอร์เซอร์ในตาแหน่งที่ต้องการแทรกเส้น
       คลิกเลือกแถบ "HTML" บน Insert Bar
       จากนั้นคลิกเครื่องมือ
2. การปรับแต่งสีเส้น
       คลิกที่เส้นคั่นที่ต้องการปรับแต่ง
       กาหนดค่าในส่วนของพาเนล Properties ซึ่งประกอบด้วย
            o W คือความยาวของเส้น ซึ่งจะเลือกกาหนดเป็นแบบพิกเซล หรือ % ก็ได้
            o H คือความหนาของเส้น ค่าปกติจะกาหนดความหนาไว้ที่ 3 พิกเซล
            o Align คือการจัดวางเส้น จะเลือกแบบชิดซ้าย กลาง ขวา ก็ได้
            o Shading คือการกาหนดให้เส้นเป็นแบบเส้นทึบหรือเส้นโปร่ง

Contenu connexe

Tendances

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 html
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 htmlหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 html
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 htmldevilp Nnop
 
คู่มือการใช้งาน Word 2007
คู่มือการใช้งาน Word 2007คู่มือการใช้งาน Word 2007
คู่มือการใช้งาน Word 2007chanoncm2555
 
ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007
ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007
ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007tanongsak
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 dw8
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 dw8หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 dw8
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 dw8arachaporn
 
รายงานคอม
รายงานคอมรายงานคอม
รายงานคอมdekthai
 
เครื่องมือพื้นฐานของโปรแกรม
เครื่องมือพื้นฐานของโปรแกรมเครื่องมือพื้นฐานของโปรแกรม
เครื่องมือพื้นฐานของโปรแกรมPongpitak Toey
 
Lesson 5 การสร้าง form
Lesson 5 การสร้าง formLesson 5 การสร้าง form
Lesson 5 การสร้าง formErrorrrrr
 
การใช้งาน Microsoft office word 2007
การใช้งาน Microsoft office word 2007การใช้งาน Microsoft office word 2007
การใช้งาน Microsoft office word 2007sirirat khamthanet
 
คู่มือMicrosoftword2010
คู่มือMicrosoftword2010คู่มือMicrosoftword2010
คู่มือMicrosoftword2010noismart
 
Web dreamcs5
Web dreamcs5Web dreamcs5
Web dreamcs5kruood
 
07 ใบเนื้อหา หน่วยที่ 8
07 ใบเนื้อหา หน่วยที่ 807 ใบเนื้อหา หน่วยที่ 8
07 ใบเนื้อหา หน่วยที่ 8Natchanon Srinuan
 
ส่วนประกอบวิชวลเบสิก
ส่วนประกอบวิชวลเบสิกส่วนประกอบวิชวลเบสิก
ส่วนประกอบวิชวลเบสิกNuunamnoy Singkham
 
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtml
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtmlใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtml
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtmlSamorn Tara
 
Lesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรม
Lesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรมLesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรม
Lesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรมErrorrrrr
 
ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6
ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6
ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6Tom Nuntiya
 
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtml
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtmlใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtml
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtmlSamorn Tara
 
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)kruthanyaporn
 

Tendances (20)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 html
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 htmlหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 html
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 html
 
คู่มือการใช้งาน Word 2007
คู่มือการใช้งาน Word 2007คู่มือการใช้งาน Word 2007
คู่มือการใช้งาน Word 2007
 
ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007
ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007
ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7
 
Dw ch06 form_and_php
Dw ch06 form_and_phpDw ch06 form_and_php
Dw ch06 form_and_php
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 dw8
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 dw8หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 dw8
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 dw8
 
รายงานคอม
รายงานคอมรายงานคอม
รายงานคอม
 
เครื่องมือพื้นฐานของโปรแกรม
เครื่องมือพื้นฐานของโปรแกรมเครื่องมือพื้นฐานของโปรแกรม
เครื่องมือพื้นฐานของโปรแกรม
 
การใช้งาน Ms office 2010
การใช้งาน Ms office 2010การใช้งาน Ms office 2010
การใช้งาน Ms office 2010
 
Lesson 5 การสร้าง form
Lesson 5 การสร้าง formLesson 5 การสร้าง form
Lesson 5 การสร้าง form
 
การใช้งาน Microsoft office word 2007
การใช้งาน Microsoft office word 2007การใช้งาน Microsoft office word 2007
การใช้งาน Microsoft office word 2007
 
คู่มือMicrosoftword2010
คู่มือMicrosoftword2010คู่มือMicrosoftword2010
คู่มือMicrosoftword2010
 
Web dreamcs5
Web dreamcs5Web dreamcs5
Web dreamcs5
 
07 ใบเนื้อหา หน่วยที่ 8
07 ใบเนื้อหา หน่วยที่ 807 ใบเนื้อหา หน่วยที่ 8
07 ใบเนื้อหา หน่วยที่ 8
 
ส่วนประกอบวิชวลเบสิก
ส่วนประกอบวิชวลเบสิกส่วนประกอบวิชวลเบสิก
ส่วนประกอบวิชวลเบสิก
 
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtml
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtmlใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtml
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtml
 
Lesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรม
Lesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรมLesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรม
Lesson 1 แนะนำการใช้โปรแกรม
 
ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6
ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6
ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6
 
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtml
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtmlใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtml
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtml
 
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
 

En vedette

การสร้างเว็บเพจ
การสร้างเว็บเพจการสร้างเว็บเพจ
การสร้างเว็บเพจsirasa
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าChakkrawut Mueangkhon
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าuntika
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าuntika
 
Macromedia dreamweaver 8
Macromedia dreamweaver 8Macromedia dreamweaver 8
Macromedia dreamweaver 8Nadda Laosakul
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าThaweekoon Intharachai
 
18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าDoc Edu
 
การวิเคราะห์ทางสเปกโทรสโกปีใช้จริง1
การวิเคราะห์ทางสเปกโทรสโกปีใช้จริง1การวิเคราะห์ทางสเปกโทรสโกปีใช้จริง1
การวิเคราะห์ทางสเปกโทรสโกปีใช้จริง1kaoijai
 

En vedette (12)

Dreamweaver
DreamweaverDreamweaver
Dreamweaver
 
การสร้างเว็บเพจ
การสร้างเว็บเพจการสร้างเว็บเพจ
การสร้างเว็บเพจ
 
Dreamweaver
DreamweaverDreamweaver
Dreamweaver
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
Macromedia dreamweaver 8
Macromedia dreamweaver 8Macromedia dreamweaver 8
Macromedia dreamweaver 8
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
Dreamweaver
DreamweaverDreamweaver
Dreamweaver
 
18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
การวิเคราะห์ทางสเปกโทรสโกปีใช้จริง1
การวิเคราะห์ทางสเปกโทรสโกปีใช้จริง1การวิเคราะห์ทางสเปกโทรสโกปีใช้จริง1
การวิเคราะห์ทางสเปกโทรสโกปีใช้จริง1
 
Ir lecture-2010
Ir lecture-2010Ir lecture-2010
Ir lecture-2010
 

Similaire à การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8

โปรแกรม dream 8
โปรแกรม dream 8โปรแกรม dream 8
โปรแกรม dream 8kruppp46
 
คู่มือการใช้ Dream cs3
คู่มือการใช้ Dream cs3คู่มือการใช้ Dream cs3
คู่มือการใช้ Dream cs3wanida401
 
คู่มือประกอบการสร้างเว็บไซต์ Dream
คู่มือประกอบการสร้างเว็บไซต์  Dreamคู่มือประกอบการสร้างเว็บไซต์  Dream
คู่มือประกอบการสร้างเว็บไซต์ Dreamsommat
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6arachaporn
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6arachaporn
 
รายงาน window
รายงาน windowรายงาน window
รายงาน windowNooLuck
 
รายงาน คอม
รายงาน คอมรายงาน คอม
รายงาน คอมNooLuck
 
Dream weaver cs3
Dream weaver cs3Dream weaver cs3
Dream weaver cs3first351
 
คู่มือ Dream cs3
คู่มือ Dream cs3คู่มือ Dream cs3
คู่มือ Dream cs3Natda Wanatda
 
คู่มือประกอบการสร้างเว็บไซต์ด้วย Word
คู่มือประกอบการสร้างเว็บไซต์ด้วย Wordคู่มือประกอบการสร้างเว็บไซต์ด้วย Word
คู่มือประกอบการสร้างเว็บไซต์ด้วย Wordjompon
 
คู่มือประกอบการสร้างเว็บไซต์ด้วย Word
คู่มือประกอบการสร้างเว็บไซต์ด้วย Wordคู่มือประกอบการสร้างเว็บไซต์ด้วย Word
คู่มือประกอบการสร้างเว็บไซต์ด้วย Wordjompon
 
คู่มือประกอบการสร้างเว็บไซต์Pdf
คู่มือประกอบการสร้างเว็บไซต์Pdfคู่มือประกอบการสร้างเว็บไซต์Pdf
คู่มือประกอบการสร้างเว็บไซต์Pdfjompon
 
ใบความรู้ที่ 2.4 ขั้นตอนการสร้างเว็บhtml
ใบความรู้ที่ 2.4 ขั้นตอนการสร้างเว็บhtmlใบความรู้ที่ 2.4 ขั้นตอนการสร้างเว็บhtml
ใบความรู้ที่ 2.4 ขั้นตอนการสร้างเว็บhtmlSmo Tara
 
Webpagemaker2
Webpagemaker2Webpagemaker2
Webpagemaker2beauten
 
Webpagemaker2
Webpagemaker2Webpagemaker2
Webpagemaker2beauten
 
คู่มือ Joomla
คู่มือ Joomlaคู่มือ Joomla
คู่มือ JoomlaJatupon Panjoi
 

Similaire à การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8 (20)

โปรแกรม dream 8
โปรแกรม dream 8โปรแกรม dream 8
โปรแกรม dream 8
 
คู่มือการใช้ Dream cs3
คู่มือการใช้ Dream cs3คู่มือการใช้ Dream cs3
คู่มือการใช้ Dream cs3
 
คู่มือประกอบการสร้างเว็บไซต์ Dream
คู่มือประกอบการสร้างเว็บไซต์  Dreamคู่มือประกอบการสร้างเว็บไซต์  Dream
คู่มือประกอบการสร้างเว็บไซต์ Dream
 
PHP & Dreamweaver ch03
PHP & Dreamweaver  ch03 PHP & Dreamweaver  ch03
PHP & Dreamweaver ch03
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
 
รายงาน window
รายงาน windowรายงาน window
รายงาน window
 
รายงาน คอม
รายงาน คอมรายงาน คอม
รายงาน คอม
 
Dream weaver cs3
Dream weaver cs3Dream weaver cs3
Dream weaver cs3
 
คู่มือ Dream cs3
คู่มือ Dream cs3คู่มือ Dream cs3
คู่มือ Dream cs3
 
คู่มือประกอบการสร้างเว็บไซต์ด้วย Word
คู่มือประกอบการสร้างเว็บไซต์ด้วย Wordคู่มือประกอบการสร้างเว็บไซต์ด้วย Word
คู่มือประกอบการสร้างเว็บไซต์ด้วย Word
 
คู่มือประกอบการสร้างเว็บไซต์ด้วย Word
คู่มือประกอบการสร้างเว็บไซต์ด้วย Wordคู่มือประกอบการสร้างเว็บไซต์ด้วย Word
คู่มือประกอบการสร้างเว็บไซต์ด้วย Word
 
Dreamweaver
DreamweaverDreamweaver
Dreamweaver
 
คู่มือประกอบการสร้างเว็บไซต์Pdf
คู่มือประกอบการสร้างเว็บไซต์Pdfคู่มือประกอบการสร้างเว็บไซต์Pdf
คู่มือประกอบการสร้างเว็บไซต์Pdf
 
ใบความรู้ที่ 2.4 ขั้นตอนการสร้างเว็บhtml
ใบความรู้ที่ 2.4 ขั้นตอนการสร้างเว็บhtmlใบความรู้ที่ 2.4 ขั้นตอนการสร้างเว็บhtml
ใบความรู้ที่ 2.4 ขั้นตอนการสร้างเว็บhtml
 
E book4
E book4E book4
E book4
 
Webpagemaker2
Webpagemaker2Webpagemaker2
Webpagemaker2
 
Webpagemaker2
Webpagemaker2Webpagemaker2
Webpagemaker2
 
คู่มือ Joomla
คู่มือ Joomlaคู่มือ Joomla
คู่มือ Joomla
 
Joomla
JoomlaJoomla
Joomla
 

การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8

  • 1. 1 การสร้างเว็บ ด้วยโปรแกรม Macromedia Dreamweaver 8 Macromedia Dreamweaver 8 มีการออกแบบมาเพื่อที่จะใช้ในการจัดการกับเอกสารที่ใช้สาหรับ การสร้างเว็บเพจ ซึ่ง ในสมัยก่อนหากจะมี การสร้างเว็บเพจ ขึ้นแต่ละเว็บเพจนั้น ต้องให้ผู้ที่มีความรู้ในภาษา HTML มาเขียนรหัสคาสั่ง (Code) ให้ แต่ในปัจจุบัน โปรแกรม Macromedia Dreamweaver 8 สามารถที่จะสร้างรหัสคาสั่งให้กับผู้ใช้โดยอัตโนมัติ ซึ่งผู้ใช้ไม่ จาเป็นต้องมีความรู้ด้านของภาษา HTML เนื่องจากโปรแกรม Macromedia Dreamweaver 8 นั้นจะมีลักษณะ การทางานที่ คล้ายๆ กับโปรแกรมพิมพ์เอกสารที่เราเคยใช้และรู้จักกันดี ซึ่งจะมีเครื่องมือและแถบคาสั่งให้เราเลือกใช้ได้ เหมือนกับ Word Processor จึงช่วยให้สามารถเว็บเพจด้วยความสะดวก และรวดเร็ว ความสามารถของ Macromedia Dreamweaver 8  สร้างเว็บเพจภาษาไทย  รู้จักฟังก์ชั่นต่าง ๆ ของ Macromedia Dreamweaver การกาหนดค่า เพื่อใช้ในการสร้างเว็บเพจ ภาษาไทย  เลือกคาสั่งที่เมนูบาโดยเลือก Modify จากนั้นเลือก Page Properties (หรือสามารถเลือกได้ที่ปุ่ม Page Properties ที่อยู่ บนพาแนล Properties Inspector)  จากนั้นให้เลือกที่หมวดของ Title/Encoding  ในช่อง Encoding นั้นให้เลือกที่ Thai (Windows)  จากนั้นคลิก OK
  • 2. 2 รู้จักฟังก์ชั่นต่าง ๆ ของ Macromedia Dreamweaver สาหรับฟังก์ชั่น ที่เป็นมาตรฐานในการ ทางานกับโปรแกรม Macromedia Dreamweaver ที่มีการใช้ งานบ่อยๆ ก็มีอยู่ 3 ฟังก์ชั่น ได้แก่  ฟังก์ชั่น Insert จะเป็นฟังก์ชั่นที่ใช้สาหรับควบคุมเกี่ยวกับวัตถุต่างๆ เช่น เลเยอร์, รูปภาพ ซึ่งแถบเครื่องมือนี้จะ ประกอบไปด้วย ชุดเครื่องมือต่างๆ คือ Characters , Common, Form, Frames, head, Invisible  ฟังก์ชั่น Properties เป็นฟังก์ชั่นลักษณะต่างๆ เช่น ใช้ในการกาหนดค่าของข้อความในเว็บ สีของตัวหนังสือ รูปภาพ ตาราง เป็นต้น  ฟังก์ชั่น Launcher เป็นฟังก์ชั่นสาหรับใช้ในการจัดการหรือควบคุมในส่วนของ สคริปต์ (Behaviors)
  • 3. 3 วิธี เซ็ตให้ โปรแกรม Macromedia Dreamweaver 8 เปิดขึ้นมาเป็น ภาษาไทย 1.เข้าไปที่ Edit->Preferences ดังรูป (หรือกด crl+u) 2.เลือก NEW Document แล้วเปลี่นค่าต่างๆ ให้เป็น ดัง
  • 4. 4 การเริ่มใช้งานโปรแกรม Dreamweaver 8 เมื่อเข้าสู่โปรแกรม Dreamweaver 8• จะปรากฏกรอบ Workspace Setup ดังรูป ให้คลิกเลือก Designer แล้วคลิก OK เพื่อเข้าสู่หน้าจอการออกแบบของโปรแกรม Macromedia Dreamweaver 8 จากนั้นจะปรากฎหน้าจอ Start Page ซึ่งเป็นเครื่องมือสาหรับเริ่มต้นการทางาน โดยตัวเลือกจะแบ่งเป็น 3 กลุ่ม ดังรูป สาหรับการสร้างเว็บเพจเปล่าแบบพื้นฐาน ให้เลือกกลุ่ม Create New แล้วคลิกที่ HTML
  • 5. 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม Dreamweaver 8  แถบชื่อเรื่อง (Title Bar) แสดงชื่อแฟ้มข้อมูลที่กาลังใช้งานอยู่  แถบคาสั่ง (Menu Bar) เป็นส่วนที่เก็บคาสั่งต่าง ๆ ที่ใช้งานในโปรแกรม Dreamweaver 8  แถบ Document Tool Bar เป็นส่วนที่ใช้ในการจัดการกับเว็บเพจ ณ ขณะนั้น เช่นการเปลี่ยนมุมมองในการดูหน้าเว็บ เพจ  แถบ Insert Bar เป็นกลุ่มเครื่องมือที่ใช้สร้างองค์ประกอบต่าง ๆ ในเว็บเพจ ซึ่งประกอบด้วยชุดเครื่องมือ 8 ชุดด้วยกัน  พื้นที่ออกแบบ (Document Window) เป็นส่วนที่ใช้สาหรับใส่เนื้อหาและจัดองค์ประกอบของเว็บเพจ โดย ประกอบด้วยมุมมองการทางาน 3 รูปแบบด้วยกันคือ Design, Code และ Code and Design  แถบสถานะ (Status Bar) เป็นส่วนที่แสดงสถานะของการใช้งานโปรแกรม ณ ขณะนั้น หน้าต่าง Properties เป็นส่วน ของคาสั่งที่ใช้ในการกาหนดคุณสมบัติขององค์ประกอบต่าง ๆ ที่เราต้องการเปลี่ยนแปลงหรือตกแต่ง  Panel Group เป็นกลุ่มของแผงควบคุม ที่ใช้แทนคาสั่งและติดต่อกับฐานข้อมูล มุมมองต่าง ๆ ของ Document Windows ในการออกแบบหน้าเว็บเพจด้วยโปรแกรม Dreamweaver 8 เราสามารถเลือกรูปแบบหรือมุมมองของหน้าต่าง เว็บเพจได้ 3 รูปแบบด้วยกันคือ
  • 6. 6 Show Code View ใช้แสดงหน้าจอออกแบบเป็นภาษา HTML Show Code and Design View ใช้แสดงหน้าจอออกแบบเป็นภาษา HTML และหน้าจอออกแบบจริง Show Design View ใช้แสดงหน้าจอออกแบบเป็นหน้าจอออกแบบจริง การซ่อนและแสดงเครื่องมือออกแบบ การซ่อนและแสดงเครื่องมือออกแบบในโปรแกรม Dreamweaver 8 สามารถทาได้หลายวิธีด้วยกัน ดังนี้คือ วิธีที่ 1 โดยการคลิกที่คาสั่ง Windows แล้วคลิกคาสั่งที่ต้องการใช้งาน วิธีที่ 2 โดยการคลิกที่ปุ่มลูกศรเล็ก ๆ หน้าแถบ Panel วิธีที่ 3 กดแป้นพิมพ์ <F4> เพื่อซ่อนหรือแสดงเครื่องมือทั้งหมด
  • 7. 7 การกาหนดโฟลเดอร์เพื่อเก็บเว็บไซต์ที่สร้างใหม่ การเริ่มต้นสร้างเว็บไซต์ใหม่ในโปรแกรม Dreamweaver 8 จะต้องเริ่มต้นจากการตั้งชื่อเว็บไซต์ และกาหนดตาแหน่ง เช่น ไดร์ฟ และโฟลเดอร์ ที่จะใช้เก็บไฟล์ต่าง ๆ ของเว็บไซต์ที่เราจะออกแบบ ซึ่งทาได้ตามขั้นตอนดังนี้คือ 1. คลิกคาสั่ง Site>New Site… 2. จะปรากฏกรอบ Site Definition ขึ้นมา ให้พิมพ์ชื่อเว็บไซต์ที่ต้องการ แล้วคลิกปุ่ม Next 3. ให้คลิกเลือก No, I do not want…….. แล้วคลิกปุ่ม Next 4. ระบุชื่อไดร์ฟและโฟลเดอร์ที่จะใช้เก็บข้อมูลของเว็บไซต์ที่จะทาการออกแบบ จากนั้นคลิกปุ่ม Next 5. คลิกที่ช่อง How do you connect to your remote server ? แล้วคลิกตัวเลือก None จากนั้นให้คลิกที่ปุ่ม Next 6. จะแสดงกรอบให้เห็นว่าได้กาหนดเว็บไซต์ใหม่เป็นที่เรียบร้อยแล้ว คลิกที่ปุ่ม Done เพื่อเริ่มต้นการออกแบบเว็บเพจ 7. จะปรากฏชื่อของเว็บไซต์ พร้อมทั้งตาแหน่งที่เก็บเว็บไซต์ แสดงไว้ใน Panel Group
  • 8. 8 การสร้างหน้าเว็บเพจใหม่ การสร้างเว็บเพจใหม่ สามารถทาได้โดย 1. คลิกคาสั่ง File>New... ที่แถบเมนู 2. จะปรากฎกรอบ New Document ขึ้นมา โดยคลิกที่ตัวเลือก Basic page ในช่อง Category 3. คลิกตัวเลือก HTML ที่ช่อง Basic page 4. คลิกปุ่ม Create การกาหนดคุณสมบัติพื้นฐานของเว็บเพจ ก่อนการออกแบบเว็บเพจทุกครั้ง ควรเริ่มจากการกาหนดคุณสมบัติพื้นฐาน เช่น ชื่อเว็บเพจ (Title) สีพื้น (Background color) สีของข้อความ (Text color) เป็นต้น Page Properties โดยสามารถกาหนดได้ด้วยคาสั่ง Modify
  • 9. 9 1. การกาหนดลักษณะการแสดงผล (Appearance) Appearance เป็นคุณสมบัติทั่วไป ในการแสดงผลของหน้าเว็บเพจ มีรายละเอียดดังนี้คือ  Page font รูปแบบตัวอักษร  Size ขนาดตัวอักษร  Text color สีของข้อความทั่วไป  Background color สีพื้นหลังของหน้าเว็บเพจ  Background image ภาพฉากหลังของหน้าเว็บเพจ  Repeat วิธีแสดงภาพฉากหลังแบบซ้า ๆ  Left margin ระยะของด้านซ้ายของหน้าเว็บเพจ  Right margin ระยะของด้านขวาของหน้าเว็บเพจ  Top margin ระยะของด้านบนของหน้าเว็บเพจ  Bottom margin ระยะของด้านล่างของหน้าเว็บเพจ 2. การกาหนดลักษณะข้อความหัวเรื่องและภาษา (Title/Encoding) Title/Encoding เป็นการกาหนดชื่อและภาษาที่ใช้ของเว็บเพจ มีรายละเอียดดังนี้คือ
  • 10. 10 การบันทึก (Save) เว็บเพจ ไฟล์เว็บเพจของ Dreamweaver 8 ถ้ายังไม่ได้บันทึก (Save) ข้อมูลที่ทาการแก้ไข จะสังเกตได้จากบนแถบชื่อเรื่อง (Title Bar) จะมีเครื่องหมาย * ปรากฏอยู่ท้ายชื่อไฟล์ ซึ่งเป็นเครื่องหมายเตือนว่ายังไม่ได้บันทึก (Save) ข้อมูลของไฟล์นั้น ไฟล์ข้อมูลของ Dreamweaver 8 จะถูกจัดเก็บให้เป็นไฟล์ประเภท html ให้อัตโนมัติ คาสั่งที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูล สามารถ เลือกใช้ได้ดังนี้คือ o File>Save… จัดเก็บไฟล์โดยใช้ชื่อเดิม o File>Save As… จัดเก็บไฟล์โดยใช้ชื่อใหม่ o File>Save as Template… จัดเก็บเป็นไฟล์เทมเพลต o File>Save to Remote Server จัดเก็บไว้ที่ Remote Server o File>Save All จัดเก็บทุกไฟล์ที่เปิดใช้งานอยู่ o นอกจากนี้ยังสามารถใช้แป้นพิมพ์ <Ctrl>+<S> แทนการใช้คาสั่ง File>Save… หรือ File>Save As… ได้ การดูผลการออบแบบบนบราวเซอร์ การออกแบบเว็บเพจด้วยโปรแกรม Dreamweaver 8 ผู้ออกแบบควรทาการตรวจสอบการแสดงผลที่เว็บบราวเซอร์ (Web Browser) ด้วย เพราะการแสดงผลบางอย่างไม่สามารถจะแสดงผลใน Dreamweaver 8 ได้ สาหรับการดูผลที่เว็บบราวเซอร์ (Browser) ทาได้ดังนี้คือ  คลิกคาสั่ง File>Preview in Browser>iexplorer (หรือคลิกแป้นพิมพ์ <F12>)  จะปรากฏหน้าของเว็บเพจในเว็บบราวเซอร์ (Web Browser) การเปิด (Open) ขึ้นมาแก้ไข เว็บเพจที่ได้ออกแบบยังไม่เสร็จหรือต้องการทาการแก้ไขใหม่ สามารถเปิดเว็บเพจนั้น ๆ ขึ้นมาแก้ไขได้ ตามขั้นตอนดังนี้ คือ 1. เรียกใช้งานในส่วนของ Group Panel จากนั้นให้คลิกเลือกชื่อของเว็บไซต์ที่ต้องการแก้ไขขึ้นมา 2. ดับเบิลคลิกชื่อไฟล์ประเภท htm หรือ html ที่ต้องการแก้ไข 3. ไฟล์ที่ต้องการแก้ไขจะปรากฏขึ้นมา
  • 11. 11 การแทรกข้อความบนหน้าเว็บเพจ การแทรกข้อความ และอักขระพิเศษ และการจัดรูปแบบข้อความ การใส่ Title หัวเรื่องหรือไตเติล (Title) ของเว็บเพจ มีความสาคัญมาก เพราะเป็นข้อความที่แสดงบนบราวเซอร์เพื่อให้ผู้เข้าชม เว็บไซต์เข้าใจว่าเนื้อหาในหน้าเว็บเพจนั้นเกี่ยวกับเรื่องใด นอกจากนี้ยังเป็นข้อมูลสาคัญที่ Search Engine ใช้ค้นหาเว็บเพจอีก ด้วย การใส่หัวเรื่องของเว็บเพจสามารถทาได้ 2 วิธีดังนี้คือ
  • 12. 12 การใส่ข้อความบนหน้าเว็บ การแทรกข้อความในหน้าเว็บเพจ ผู้ออกแบบเพียงแต่พิมพ์ข้อความที่ต้องการลงไป หรืออาจจะคัดลอก (Copy) ข้อความที่พิมพ์ ไว้เรียบร้อยแล้วจากไฟล์อื่นมาใช้ก็ได้ 1. การพิมพ์ข้อความในหน้าเว็บเพจ การพิมพ์ข้อความในหน้าเว็บเพจสามารถทาได้ง่าย โดยพิมพ์ข้อความที่ต้องการ เมื่อต้องการขึ้นบรรทัดใหม่ให้กด แป้นพิมพ์ หรือกดแป้นพิมพ์ พร้อมกับ ในกรณีที่ต้องการให้ระยะบรรทัดไม่ห่างกันมาก 2. การคัดลอกข้อความจากไฟล์อื่นมาไว้ในหน้าเว็บเพจ เราสามารถคัดลอกข้อความที่พิมพ์ไว้ด้วยโปรแกรมอื่น แล้วนามาวางไว้ในหน้าเว็บเพจได้ ซึ่งส่วนมากในการทา เว็บไซต์ มักจะนิยมพิมพ์ข้อความที่ต้องการเตรียมไว้โดยใช้โปรแกรม Notepad แล้วเก็บบันทึกไว้เป็นแบบ Text File (มีนามสกุล เป็น txt) โดยมีวิธีการดังนี้คือ  เปิดไฟล์ที่เก็บข้อความที่ต้องการขึ้นมา จากนั้นระบายข้อความที่ต้องการ  คลิกคาสั่ง Edit>Copy หรือกดแป้นพิมพ์ <Ctrl>+<C>  เปิดหน้าของเว็บเพจที่ออกแบบด้วยโปรแกรม Dreamweaver 8 จากนั้นคลิกคาสั่ง Edit>Paste หรือ กดแป้นพิมพ์ <Ctrl>+<V>  ข้อความที่คัดลอกมาจะแสดงในหน้าเว็บเพจ 3. การเว้นวรรคระหว่างข้อความ การใส่ข้อความบนหน้าเว็บเพจนั้น ปกติแล้วโปรแกรม Dreamweaver 8 จะเว้นวรรคให้เพียง 1 ครั้งเท่านั้น แต่อย่างไรก็ ตามเราสามารถที่จะเว้นวรรคมากกว่า 1 ครั้งได้ โดย กดแป้นพิมพ์ <Ctrl>+<Shift>+<Space> การจัดรูปแบบข้อความบนหน้าเว็บ การจัดรูปแบบอักษรในงานออกแบบเว็บเพจด้วยโปรแกรม Dreamweaver 8 สามารถทาได้ดังนี้คือ
  • 13. 13 1. ระบายข้อความที่ต้องการจัดรูปแบบอักษร 2. กาหนดค่าในส่วนของพาเนล Properties การแทรกตัวอักษรพิเศษ (Symbol) 1. การเพิ่มระยะเว้นวรรคระหว่างข้อความ Dreamweaver 8 กาหนดให้เว้นวรรคระหว่างข้อความได้เพียง 1 ช่องเท่านั้น เมื่อต้องการที่จะให้มีระยะเว้นวรรคมากขึ้น จะต้อง ใช้คาสั่งเพื่อเพิ่มระยะการเว้นวรรค ซึ่งทาได้ดังนี้คือ  วางเคอร์เซอร์ในตาแหน่งที่ต้องการเพิ่มระยะเว้นวรรค  คลิกแถบ "Common" แล้วคลิกเลือกแถบ "Text"  จากนั้นกดแป้นพิมพ์ <Ctrl>+<Shift>+<Space Bar> หรือคลิกเครื่องมือ "BR" แล้วคลิกคาสั่ง "Non- Breaking Space" 2. การแทรกสัญลักษณ์พิเศษ สัญลักษณ์พิเศษที่ไม่มีในแป้นพิมพ์ สามารถจะแทรกเพิ่มเติมได้จากแถบ Characters โดยทาได้ดังนี้คือ  วางเคอร์เซอร์ในตาแหน่งที่ต้องการแทรกสัญลักษณ์พิเศษ  คลิกแถบ "Common" แล้วคลิกเลือกแถบ "Text"  จากนั้นคลิกเครื่องมือ "BR" แล้วคลิกเลือกสัญลักษณ์ตามต้องการ การใส่วันที่ การใส่วันที่ในหน้าเว็บเพจ นอกจากเพื่อต้องการแสดงวันที่แล้ว เรายังสามารถกาหนดรูปแบบวันที่ พร้อมทั้งกาหนดให้วันที่ ปรับเปลี่ยนตามวันได้อัตโนมัติด้วย โดยทาตามขั้นตอนดังนี้คือ  วางเคอร์เซอร์ในตาแหน่งที่ต้องการแทรกวันที่  คลิกแถบ "Common" บน Insert Bar  จากนั้นคลิกเครื่องมือ จะปรากฏกรอบให้กาหนดรูปแบบ  ให้เลือกรูปแบบตามที่ต้องการแล้วคลิก OK
  • 14. 14  ถ้าต้องการให้วันที่ปรับเปลี่ยนอัตโนมัติให้คลิกเครื่องหมายถูก ที่หน้าข้อความ Update Automatically on Save การใส่เส้นคั่นเนื้อหา 1. การแทรกเส้นแบ่งเนื้อหา มีวิธีการดังนี้คือ  วางเคอร์เซอร์ในตาแหน่งที่ต้องการแทรกเส้น  คลิกเลือกแถบ "HTML" บน Insert Bar  จากนั้นคลิกเครื่องมือ 2. การปรับแต่งสีเส้น  คลิกที่เส้นคั่นที่ต้องการปรับแต่ง  กาหนดค่าในส่วนของพาเนล Properties ซึ่งประกอบด้วย o W คือความยาวของเส้น ซึ่งจะเลือกกาหนดเป็นแบบพิกเซล หรือ % ก็ได้ o H คือความหนาของเส้น ค่าปกติจะกาหนดความหนาไว้ที่ 3 พิกเซล o Align คือการจัดวางเส้น จะเลือกแบบชิดซ้าย กลาง ขวา ก็ได้ o Shading คือการกาหนดให้เส้นเป็นแบบเส้นทึบหรือเส้นโปร่ง