SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
1



                    การสอบเปรียญชั้นสูง
                  โดย พระมหามาติณ ถีนิติ   M.A.

การสอบบาลี ใ นชั้ น เปรี ย ญตั้ ง แต่ ๔ ประโยคขึ้ น ไป นั้ น มี
      วัตถุประสงค์ดังนี้
      สอบเพื่อเลื่อ นยศ สอบเพื่อเลื่อนวุฒิ สอบตามเพื่อน
สอบชิงรางวัล
สอบเอาบุญ สอบแข่งขัน สอบเล่น สอบอวดโยม สอบตาม
ประเพณี สอบเพื่อต่ออายุพุทธศาสนา การเรียนการสอบมี
การเข้ ม งวดในขั้ น การตรวจข้ อ สอบของกรรมการตรวจ
สอบ
กรรมการต้องการตรวจว่านักเรียนสามารถทำา ได้ตามแบบ
หรือไม่ ผิดมากเกินไปหรือถูกแต่ว่าไม่เหมาะสมกับประโยค
ที่จะผ่าน
    ส่วนนักเรียนเรียนสอบเพื่อวัตถุประสงค์ที่กล่าวมาแล้ว
เน้น การเก็งข้อสอบเพื่อเอาชนะตากรรมการ เน้นการดู
ตำาราเพื่อชั้นสูงยิ่งขึ้นไป เน้นเพื่อการศึกษาบาลี เน้นการ
สอบได้สอบเป็นเป็นสำาคัญส่วนความรู้เอาไว้ก่อน
    สรุปแล้วการสอบสำาหรับผู้สอบสิ่งสำาคัญที่หลีกไม่ได้คือ
กฎไวยากรณ์มคธ แต่งไทยเป็นมคธ แต่งมคธเป็นไป การ
ประกอบฉันทลักษณ์บาลี ทั้งสามอย่างข้างต้น จะทำาได้ต่อ
เมื่อมีทักษะ ถามว่าทักษะเกิดขึ้นได้อย่างไร แน่นอนการ
อ่านการท่องการอบรมมิใช่ทักษะเลย การมีทักษะคือมีใจ
2



รั ก ตั้ ง ใจดู วิ เ คราะห์ สั ง เคราะห์ ก ลั บ ไปกลั บ มา ขยั น พิ นิ จ
พิ จารณาการละเอี ยดลออโครงสร้ า งของภาษามคธ จน
มองเห็ น ภาพของภาษามคธ เมื่ อ พบความไทยสามารถ
แปลงเป็นมคธได้ทันที แวบขึ้นมาในสมอง จนหาที่ผิดไม่ได้
ถ้าทำา ได้อย่างนี้ถือว่ามีทักษะบริ บูร ณ์ การมีทักษะในบาลี
คื อ การมี ค วามรู้ จิ น ตนาการเห็ น ภาพของประโยค ที่ จ ะ
ทำาการเขียนตอบปัญหาได้เช่นนี้ชื่อว่ามีทักษะในภาษาบาลี
เพราะว่าที่เรียนมิได้ใช้พูด แต่จะทำา ก็ย่อมได้ แต่ใช้เขียน
อ่าน ตามกติกาการสอบเท่านั้น นั้นคือถ้าใครทำาได้ชื่อว่ามี
ความสำา เร็จในการเรียนภาษาบาลี พบว่าความจำา ในการ
เรี ย นบาลี เ กิ ด จากทั ก ษะมากกว่ า การท่ อ งปากเปล่ า เช่ น
การเข้าใจเรื่อง ของประโยค ชนิดประโยค ตัวประกอบของ
ประโยค มี ผู้ ท่ อ งพระปาฏิ โ มกข์ ไ ด้ ดี เ พราะอ่ า นเข้ า ใจคำา
แปลแล้วท่องไปตามนั้น กำาหนดทักษะในภาษาบาลีเป็นตัว
กำา หนด มิ ใ ช่ กำา หนดท่ อ งจำา แบบนกแก้ ว นกขุ น ทอง วิ ธี
การหลังนี้เป็นวิธีการของคนไม่รู้ภาษาบาลี
              ทำาอย่างไรจึงจะถึงบาลี คำาตอบคืออ่านบาลีเชิงวินิจวิเคราะห์
ทำาได้อย่างไร เราสามารถทำาได้ เพราะเราสอบได้เป็นมหาเปรียญแล้ว เรามี
หลักการที่ผ่านมาได้ แต่สำา หรับขั้นนี้เป็นขั้นวิเคราะห์หลักการนั้นสานต่อ
ไปสุ่สูชั้นสูง ลำา ดับขึ้นไป เช่น   อ่านประโยค แล้ว ทำา ความเข้าใจว่าคำา นี้
ประโยคนี้เป็นไปได้อย่างไร เช่นเราสามารถตอบคำา ถาม ประโยคที่เราอ่าน
เป็นประโยคอะไร อะไรเป็นหน้าของคำา ตำาแหน่งคำาเดินอย่างไรในภาษานี้
วิภัตติปัจจัย ลิงค์กำาหนดไว้ว่าอย่างไร ตรรกทางภาษากล่าวไว้อย่างไรวางรู
แบไว้อย่างไร ภาษามีหลักแน่นอน เป็นตันติภาษา จะพบว่าคนที่ถึงทักษะ
3


แล้วสามรถแต่ได้ตรงตามคู่มือทุกประการตามที่ข้อสอบตามที่เฉลยไม่ผิดเลย
ทำาได้อย่างไร การท่องคู่มือ 8 เล่มนั้นคงเป็นไปไม่ได้ ลองมาดูหนังสือบาลี มี
ดังนี้คือ คูมือ ตำารา หนังสืออ่านประกอบ      หนังสือนอกตำารา พบว่าข้อ 2
เท่านั้นที่เป็นหลักสูตร ส่วนข้อ 1-3-4 เป็นหนังสือที่เอกชนพิมพ์ขึ้นมา เพื่อ
รับแบ่งเบาภาระให้นักเรียนได้รับสภาพคล่องในการเรียน ลำาพังตำารานั้นถ้า
ขาดครู ห รื อ ขาดพื้ น ฐาน ยากที่ นั ก เรี ย นจะทำา ได้ การเรี ย นภาษามคธไม่
เหมือน การเรียนนักธรรมๆ สามารถเรียนด้วยตนเองได้ แต่ทว่าบาลีนั้นถ้า
ทำาได้ต้องมีข้อ 1-3-4 เป็นตัวช่วยจึงทำาได้
            การอบรมก่อนสอบนี้ช่วยได้เพียงขั้นความเตรียมพร้อมในการรู้
ระเบียบการสอบเท่านั้น ส่วนขั้นอื่นยังไม่พบว่าการอบรมสอบจะทำาให้การ
เรียนได้ผลเต็มที่ อย่างการเรียนแบบมีทักษะ เพราะว่าทักษะคือองค์รวม
ของการเรียนรู้ทั้งหมด นับจากการฝึกปรือ การฝึกหัด การใกล้ครู การอบรม
การกว้างไกลในวิสัยทัศน์ การใช้สื่ออินเตอร์เนต ติดตามความเคลื่อนไหว
เรื่องการเรียนการสอบบาลี
      เคยพบผู้เรี ยนภาษาบาลี ด้ว ยตนเองจนสอบประโยค 9 ได้ท่า นหนึ่ง
คือพระธรรมคุณาภรณ์ (เช้า ป.ธ.9) วัด โพธาราม นครสวรรค์ แต่ท่านเจ้า
คุณรูปนี้ท่านไปมาหาสู่นักปราชญ์บาลีภาษาตลอดเวลา กล่าวคือท่านมีการ
ติดต่อกับสำา นักเรียนวัดมหาธาตุฯ กรุงเทพฯ ตลอดเวลาท่านมีภารกิจทาง
สงฆ์ที่จังหวัดนั้น ท่านไม่มีเวลา ท่านจึงเรียนด้วยตนเอง ผู้เขียนพบท่านที่
คณะ 1 วั ด มหาธาตุ ฯ ที่ ค ณะ 1 วั ด มหาธาตุ ประกอบด้ ว ยตำา หนั ก สมเด็ จ
ที่ ทำา การปกครองสงฆ์ ร ะดั บ ประเทศ พระเถรานุ เ ถระ เคี ย งข้ า งด้ ว ย
มหาวิทยาลัยสงฆ์ และเสนาสนะสงฆ์รองรับอาคันตุกะทั่วประเทศ การไปมา
สะดวก และเคยเป็นที่ชำาระพระไตรปิฎกทุกสมัยที่ผ่านมา แม้ปัจจุบันสถาน
ที่แห่งนี้เป็นอดีตไปแล้ว แต่ศูนย์รวมยังคงใช้สถานที่นี้อยู่ เพราะสถานที่นี้อยู่
ใจกลางพระนคร และมีประวัติศาสตร์อั น ยาวนาน เมื่อเรียนบาลี ระดับ สู ง
เมื่อเอ่ยนามสมเด็จวัณรัต (เฮง ป.ธ.9) ทุกคนย่อมรู้จักดี เพราะท่านเป็นผู้มี
คุณูปการมากมายในวงการภาษาบาลี นับจากยุคสมเด็จพระมหาสมณเจ้า ผู้
ให้กำาเนิดการเรียนการสอนชนิดสมบูรณ์กับภาษาบาลีในไทยสืบมา สมเด็จ
4


พระวัณรั ติ (เฮง) ท่านใช้สถานที่นี้ ค ณะ 1 วัด มหาธาตุฯ ดำา เนินการตั้ง แต่
การดำา รงตำา แหน่งแม่กองบาลีสนามหลวง สังฆนตรี อธิบดีสงฆ์วัดมหาธาตุ
แม้ปัจจุบันการเรียนบาลีถูกสถาบันอื่นสำานักอื่นนำาไปสานต่อหมดแล้วแต่ใน
ทางประวั ติศ าสตร์ ยั งคงถู กอ้ า งในวั น อดี ต เจ้า อาวาส และสมาคมศิ ษ ย์ วั ด
มหาธาตุอยู่
อย่างไรก็ตาม เมื่อการสานต่อดำาเนินการไปเช่นนี้ สิ่งที่น่าจะเป็นประโยชน์
ต่อไปคือการเรียนให้ยึดคุณภาพการเรียนการสอบเป็นหลัก มิใช่ยึดสถาบัน
เป็นหลัก สิ่งที่วงการบาลีจะขาดเสียมิได้คือ คู่มือประกอบการเรียนบาลี มี
หนังสือบาลีจำา นวนมากชุดหนึ่งของ ส .ธรรมภักดี ที่ท่านจะมองข้า มเสี ย
มิได้ พยายามหามาอ่าน แม้จะขาดตลาดไปเพราะตลาดบาลีปัจจุบัน มีคนรุ่น
ใหม่ได้พัฒนาไปได้เร็วถูกกว่า การใช้ คู่มือประกอบการเรียนของ ส .ธรรม
ภักดี ซึ่งเป็นหนังสือคู่มือที่ทำา ขึ้นโดยนักเรียนชั้นหัวกระทิกระทำา เอาไว้แก่
วงการบาลีและมีมาตรฐานที่สุดเท่าที่พบมาทิ้งไว้ ถ้าผู้ด้อยโอกาสทางการ
เรียน ควรหามาอ่านเรียนด้วยตนเองด้วย หนังสือชุดต่างๆที่สามารถหาได้
ตามวัด ตามห้องสมุดเก่า สำานักเรียนเก่า พอหาได้ หรับ ส ธรรมภักดีเองมีไว้
บริการท่านเพียง ส่วนน้อย เพราะประสบปัญหาต้นทุนในการผลิตสูง ดังที่
ท่ า นทราบบาลี เ ป็ น เรื่ อ งของวั ด ไม่ ใ ช่ เ รื่ อ งการค้ า พาณิ ช ย์ จึ ง แจ้ ง ให้
นักศึกษาทางภาษาบาลีได้ทราบโดยทั่วกันเพื่อเลือกปฏืบัติในโอกาสต่อไป
       สำา หรั บ ทางเลื อ กใหม่ ที่ ท่ า นพึ ง ทราบเพิ่ ม เติ ม คื อ สนพ เลี่ ย งเซี ย ง
จุฬาบรรณาคาร มหามกุฎ อื่น ๆ
       อุ ทิศ ศิ ริวรรณ อีก มากมาย และสำา นั ก เรีย นสำา คัญ ทั่ว ประเทศ เช่น
สามพระยา ปากนำ้า เป็นต้นและภาคใต้ เหนื อ ออก ตก มีการออกหนัง สื อ
เช่ น ประโยคเก็ ง มี อ บรมทุ ก ภาคสงฆ์         ที่ ค อยเสนอท่ า นอย่ า งไม่ ข าดสาย
และจะไม่ผิดหวังถ้าใครมีโลกทัศน์กว้างไกล และเป็นคนรู้จักขวนขวายไม่
จับเจ่าอยู่กับที่ และที่สำาคัญคือคนที่เรียนด้วยตนเองควรมีเพื่อนคู่คิดที่สอบ
ได้แล้วอยู่เคียงข้างตลอดเวลา เพทื่อถามข้อสงสัยเมื่อเกิดขึ้น มิต้องไปเสีย
เวลาในการค้นหาด้วยตนเอง
5


               บาลี ภาษาเป็ น คำา สอน และเป็ นปรัช ญาแยกได้ ส่ ว นที่เ ป็น คำา
สอนคือใช้ให้ทำา ทำาไปเลยตามนั้นไม่มีคำาว่าผิด ส่วนที่ปรัชญาคือ ใช้ให้ทำา
แล้วก็ทำาขวนขวายไปตามนั้นเพิ่มเติมตามอุปนิวัยคนช่างคิดช่างรู้เท่าที่ตนมี
คำาสอนนั้นไม่ต้องไปคิดไปฝึกสั่งมาว่าศีล 5 ต้องทำาอย่างนี้ให้ลงมือปฏิบัติได้
เลย ส่วนปรัชญานั้น ทำาดีได้ดีทำาชั่วได้ชั่วเราเห็นว่าปรัชญาในศาสนาพุทธ
นั้นเราจะใช้วิธีใดในการทำาความดีและวิธีใดในการหลีกความชั่วเราต้องหา
วิธีเอา อย่าไขว้เขว ในคำา สอนก็ดี ในปรัชญาก็ดี บางอย่างเป็นได้ทั้ง สอง
อย่าง บางอย่างเป็นได้อย่างเดียว เมื่อเราเรียนเป็นมหา เราไม่ได้เรียนเรื่อง
เพื่อคำาสอนและเพื่อปรัชญา แต่เราเรียนตามตำาราจำาสอบ แต่ถ้าเราเข้าใจว่า
นี่ คือคำาสอนนี่คือปรัชญา นี่เป็นทั้งปรัชญาเป็นทั้งคำาสอน มันจะทำาให้เรา
เข้าใจและเรียนรู้ภาษาบาลีได้ง่ายขึ้น นี่เองคือทักษะชนิด หนึ่งที่เราควรปู
ทางเข้าสู่     จึงขอให้ท่านจงโชคดีทุกท่านในการเรียนบาลีภาษาในระดับสูง


             • ประธานคือผู้กระทำา ในเรื่องของประโยค ประธานอยู่ที่วิภัต ติ
               อาขยาตภาษาบาลีและพบประธานในนาม สรรพนาม ชื่อคน
               และจะสอดคล้ อ งกั บ กิ ริ ย ามี วิ ภั ต ติ ชี้ บ อกต้ อ งสอดคล้ อ งกั น มิ
               ฉะนั้นผิดไวยากรณ์ การสอบตรวจตรงที่กิริยาไม่สอดคล้องกับ
               ประธานถือว่าผิดมาก
             • ประธานเกิดจากวาจก เมื่อวาจกเน้นผู้กระทำา คือทำาเอง ให้เขา
               ทำา ทำา ลอยๆ ให้กรรมเป็นตัว กระทำา เพราะตัว ถูกตั้งให้เป็นผู้
               กระทำา คือประธาน เพราะ)นั้นเมื่อสร้างเที ยบเคียงประโยคจึง
               กำาหนดประธานสำา คัญที่สุด และประธานจะขึ้นมาแบบซำ้า ซาก
               ไม่ได้ นี่คือจุดสำาคัญของประธาน
             • กรรม ตัวกรรมคือตัวผู้ถูกกระทำา จะใช้คำานิยามด้วย “ซึ่ง” คน
               กินซึ่งข้าว หรือ คนกินข้าวๆคำานี้คือกรรม ในบาลีเมื่อแต่แปลก
               ลับคำา แปลที่ให้แต่งจะไม่คั้งให้ครงตามที่ควรจะเป็ฯแต่จะเป็น
               สำา นวน เช่น เขากินข้าว แต่เมื่อจะแต่งต้องกำา หนดว่า คนนั้น
               ย่อมกินซึ่งข้าว แล้วอันดับต่อไป หาวิภัตติมาแต่ง หากิริยามา
6


   แต่ ง หาปั จ จั ย มาแต่ ง หาธาตุ ม าแต่ ง จนสมบู ร ณ์ แล้ ว ลำา ดั บ
   สัมพันธ์ตามกฎบาลีไวยากรณ์
• กาลคือเวลาที่เกิดขึ้นเป็นอดีต ปัจจุบัน อนาคต ต้องตีความให้
   ได้ว่ากาลอะไร ทำาไปแล้ว พึ่งทำา หรือจะทำา เมื่อทราบว่าอยู่ใน
   ขั้ น ตอนอะไรแล้ ว จึ ง ไปที่ กิ ริ ย าอาขยาตๆ จึ ง สำา คั ญ มากใน
   ประโยคบาลี เพื่อการสื่อ
• สรุปนามและอาขยาตสำาคัญที่สุดในบาลีชั้นแต่งไทยเป็นมคธ
• อันดับต่อไปสำานวนไวยากรณ์มนุษย์บาลี คือการแปลงกิริยาให้
   เป็นนาม การแปลงนามให้เป็นกิริยา อันนี้ต้องไปดูตัทธิต และ
   กิตก์จะพิสดารออกไปอีก ก่อนมาถึงขั้นนี้ต้องคล่อง การใช้นาม
   และอาขยาตในการสร่างประโยคอย่างมีทักษะก่อน
• อั น ดั บ สู ง สุ ด คื อ นิบ าตบาลี และสมั ญ ญาภิ ธ านบาลี การเรี ย ง
   ประโยค
• ส่วนทักษาการแต่งแปลตีความคำา แปลแต่ง และตีความแต่งคำา
   แปล เช่นไม่ยึดติด คำาว่า ( ก็-จึง- ที่ ธรรมดา -ชื่อว่า ) อะไร
   เหล่านี้ที่สื่อภาษาให้เข้าใจไทยภาษา เพราะบาลีใช้ไวยากรณ์
   เดินเรื่อง ส่วนทักษะไทยนั้นใช้ความหมายประเพณีการใช้เดิน
   เรื่องเดินประโยค แนวความคิดระหว่างการทำาประโยคของชน
   เผ่ า อารยั น และเผ่ า มิ ใ ฃ่ อ ารยั น นั่ น ต่ า งกั น จะสั ง เกตพบที่
   โครงสร้าง ในการสร้างประโยคทางภาษาเพื่อสื่อกันแต่ในที่นี้
   เพื่อสื่อสอบ


ทักษะเชิงปฏิบัติ
ลองประโยคว่า คนกินข้าว เราจะแต่งบาลีอย่างไร
มนุ สฺ โ ส โอทนำ ภุ ญฺ ช ตีติ จะแต่ ง ว่ า โอทนำ ปจิ ตำ / โอทนำ ปกฺ กำ
ก็ได้แต่ว่าในที่นี้เอาประโยคแรก เพราะผู้เขียนมั่นใจว่าถูกแน่ แต่
ประโยคหลังสองประโยคผู้เขียนลืมไปแล้วว่าใช่หรือไม่ เพราะว่า
ธาตุ ปั จ จั ย สำา คั ญ มทากเมื่ อ แต่ ง ลงไปแล้ ว ต้ อ งมั น ใจว่ า ประกอบ
7


           อย่างไร ใช้อย่างไรแน่นอน จึงลงมือแต่ง ในสนามสอบไม่มีอภัย
           แม้ที่สงสัยกลับถูกที่มันในกลับผิดก็ตาม ต้องที่มั่นใจว่าถูกกลับผิด
           เอาไว้อย่างไรเสียเราแสดงภูมิ แต่ที่ไม่แน่ใจว่าถูกหรือผิดแต่ฝืน
           แต่งลงไปนั่นแม้ถูกแต่ลังเล อย่าทำาเลย เพราะว่า การลังเลทำาให้
           นิสัยเสีย มันต้องผิดที่ใดจนได้ เพราะข้อสอบมิได้มีประโยคเดียว
           เอาที่มั่นใจดีกว่า
ประโยคว่าคนกินข้าวในภาษาบาลีนี้ยังมีทางที่ใช้ดีกว่านี้อีก แต่ไม่มีเวลาคิด
เพราะว่าต้องการสื่อให้รู้ว่า มันต้องอย่างนี้แล้วสอย่างนี้ จึงถูกอย่างนี้ มิใช่
อย่ า งนั้ น และอย่ า งนั้ น แล้ ว ผิ ด เมื่ อ เข้ า ใจประโยคแล้ ว ต้ อ งถามตนเองว่ า
ทำาไมเป็นเช่นนั้นด้วย
เพื่อความแน่ชัด        คนกินข้าวเป็นปัจจุบันกาล รู้ว่าประธานเป็ นลิงค์ว จนะ
วิภัต ติอะไรแล้ ว ต่อไปกรรมมาหน้ า กิริ ย า และกินเป็นปั จจุ บัน กาล ถ้าเป็น
อดี ต เป็ น ภุ ญฺ ช สิ ภุ ญฺ ชิ ถ้ า เป็ น อนาคตเป็ น ภุ ญฺ ชิ สฺ ส ติ แปลว่ า กิ น แล้ ว
อนาคตแปลว่ า จั ก กิ น ประธานไม่ มี ก าล แต่ กิ ริ ย ามี ก าล กรรมมี ซึ่ ง มี อี ก
มากมายในวิภัตติอื่น แต่ทางสัมพันธ์ไม่เรียกว่ากรรมเรียกเป็นอย่างอื่น
เพราะตรรกทางภาษา เมื่อเราได้ประโยคนี้หนึ่งประโยค เราก็สามารถไปใน
บ้านบาลีได้เลยว่า


ใครกินข้าว: โก โอทนำ ภุญฺชติ.
ท่านกินข้าว: ตวำ โอทนำ ภุญฺชสิ.
กินข้าวแล้วหรือท่าน: กึ ปน ภุญชถ ตุมฺเห.
ข้าแต่ท่านผู้เจริญกินข้าวแล้วยัง: ภุญชถ ภนฺเต.
เมื่อไหร่กินข้าว: กสฺมา ภุญชติ
มนุษย์กินข้าวตอนเย็น: สายณหสมเย โอทนำ ภุญชติ.
จนเป็นประโยคยาวว่า : ก็ ในสมัยนั้นแล ใครกินข้าวตอนเย็น ที่โรงครัว
ในหอฉัน ในวัด กลางเมืองสาวัตถี:
ตสฺมึ สมเย สาวตถิยำ ปน โข สายณหสมเย อาราเม ภุญชนสาลายำ                           โก โอ
ทนำ ภุญชติ
8


ประโยคนี้ความไทยชั้นเยี่ยมต้องแต่งว่า : พอดีตอนนั้นที่วัดกลางเมืองสาวัต
ถี มีคนเข้าไปกินข้าวเย็นที่โรงครัวหอฉัน
ที่ขีดเส้นทับให้รอแก้ให้ถูกถ้าผิด
ตอน 2 เกร็ด แนวคิด เสริม ทัก ษะ
การมีการทักษะคือการฝึกปรือ แต่การเสริมทักษะคือการหมั่นศึกษา
เกร็ดย่อยทั้งหมดที่มีอยู่ใน 8 ภาคอย่างละเอียดลออ


       การแต่งที่พบประโยคที่ยากเพื่อการตีความและการถอดความ
       การคาดเดาการเทียบเคียงไม่มีในชั้นนี้
       การเทียบเคียงต้องถูกที่สุดคือ ใกล้เคียงสุด ส่วนใหญ่การเลือกใช้
ธาตุ
       การเลือกหน้าที่คำาและความหมายศัพท์
       เช่น ธาตุในคำากล่าว คำาบอก คำาสอน การเรียก ในหมวดการพูดมี
หลายคำา
       สื่อความหมายเชิงอิริยาบถต่างกัน
       เช่นนั่ง ๆดูอะไร นั่งเรียน หรือนั่งกิน หรือนั่งฟังธรรม นั่งกอดกัน
       กิริยา กิน ยืน เดิน นั่ง นอน วิง ตาย ต้องคล่อง
                                      ่
       วิธีเดียวคือหัดผสมและแต่งประโยค เราไม่ได้เรียนเรื่อง กัต เอกัต
อเนกัตถประโยค
        แต่เราเข้าไปเลย ความเดียว ความซ้อน เลขนอกใน
       กาววางอิติ และสนธิอิติ คุมพากษ์
ข้อสังเกต
การกระทำาซึ่ง
กมมำ กโรติ
ย่อมกระทำาซึ่งการงาน
การไปสู่เพื่อบิณฑบาต
สาวตฺถิยำ ปิณฺฑาย คโต
การเรีบยงต่างกัน
9


เราเคยทราบว่า สเจ แปลว่า ไซร้ เหน็บเข้าไป
 แต่ในชั้นนี้ถามว่า จะเรียงไว้ตรงไหนจึงถูกใน ประโยค เวลาแปลคาดได้
แต่งคาดเดาไม่ได้เลย


สิ่งที่สำาคัญคือความ เช่น


ความปธานนัย
ประโยค ย ต
ความกัตนอกกรรมใน
ความเพื่ออัน
ตุง
ความว่าการ
วฏฺฏติ
ความในภาวศัพท์
คมนภาวำ
ความรูปะรรม
ความนามธรรม
กลยาณกตำ กมฺมำ
ความควร
วฏฏีติ
ความถามตอบ
จะเรียงเฉพาะคำาสำาคัญ นอกนั้นเรียงประโยคแรก
ไปไหน
ไปสาวตถี เรียงเพียง สาวตฺถิยนตีติ เท่านั้น
ความท้องเรื่อง
คือมีกิริยาในระหว่างทุกตอน
ความนิทาน
มีสูตรสำาเร็จ จะเน้นที่เกี่ยวกับสูตร อภิธรรม วินัย สำานวนต่างกัน
ความสงสัย
10


ส่วนใหญ่ถูกอมไว้เหลือแต่กิริยาสำาคัญ


ความถามตอบ
ความคนสองคนในอิติอมความ วิเสสลาภี
ความลักขณะ
สตฺถริ คจฉนฺเต
ความในหุตฺวา


ความพิเศษที่ต้องจำา
ถ้านักศึกษาทำาได้ เช่น แต่งจากการอ่านในหลักสูตรแปลภาค 1 ได้
เมื่ออ่านจบทำาได้แต่งมคธได้ ถือว่าผ่านได้
เข้าใจเห็นจิตภาพของภาษานี้แล้ว
ทั้งหมดคือการทำา 8 ภาคนี้ให้คล่อง
นอกนั้นเหมือนกันหมด จนแตกฉานในรูปแบบ แล้วขึ้นไปแต่งคาถา
และเรียนวิเคราะห์วิสุทธิมรรค หลักสูตรภาษาบาลีมีเท่านี้
สำานวนครึ่งศัพท์
กิริยาซ้อน
โรทนฺโต อฎฺฐาสิ ยืนร้องให้อยู่ แต่เมื่อสำานวนจะพูดเพียงว่า-ยืนร้อง-เท่านั้น
สำานวนยาว ตาว
ปัจจุบันของอดีตเช่นนี้ แทนที่ท่านจะใช้อาขยาตล้วน แต่ท่านกลับใช้กิริยา
กิตต์เข้ามาช่วย
การใช้คำาเสริมมากเกินเมื่อพบข้อสอบ แต่ที่จำาเป็นมันมีนิดเดียว ดีเกินกว่า
เหตุตกได้
เพราะบาลีเป็นภาษาอมความ ส่วนใหญ่แสดงเป็นรหัสที่ปัจจัยและวิภัตติ
เลาแปลต้องเพิ่มมาเอง

More Related Content

What's hot

แบบฝึก
แบบฝึกแบบฝึก
แบบฝึกpmthan
 
1 12+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+1
1 12+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+11 12+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+1
1 12+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+1Tongsamut vorasan
 
เรื่องสำนวน สุภาษิต คำพังเพย
เรื่องสำนวน สุภาษิต คำพังเพยเรื่องสำนวน สุภาษิต คำพังเพย
เรื่องสำนวน สุภาษิต คำพังเพยNiran Dankasai
 
สื่อครูมาณี ปี59
สื่อครูมาณี ปี59สื่อครูมาณี ปี59
สื่อครูมาณี ปี59Manee Prakmanon
 
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่นการสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่นkruthai40
 
(การทำข้อสอบ Reading passage)
(การทำข้อสอบ Reading passage)(การทำข้อสอบ Reading passage)
(การทำข้อสอบ Reading passage)pingpingmum
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพัน พัน
 

What's hot (13)

แบบฝึก
แบบฝึกแบบฝึก
แบบฝึก
 
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
 
ไทยครูเนื้อ
ไทยครูเนื้อไทยครูเนื้อ
ไทยครูเนื้อ
 
1 12+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+1
1 12+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+11 12+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+1
1 12+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+1
 
สุภาษิตไทย
สุภาษิตไทยสุภาษิตไทย
สุภาษิตไทย
 
เรื่องสำนวน สุภาษิต คำพังเพย
เรื่องสำนวน สุภาษิต คำพังเพยเรื่องสำนวน สุภาษิต คำพังเพย
เรื่องสำนวน สุภาษิต คำพังเพย
 
สุภาษิต
สุภาษิตสุภาษิต
สุภาษิต
 
สไลด์สอน
สไลด์สอนสไลด์สอน
สไลด์สอน
 
สื่อครูมาณี ปี59
สื่อครูมาณี ปี59สื่อครูมาณี ปี59
สื่อครูมาณี ปี59
 
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่นการสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
 
01 หน่วย 1
01 หน่วย 101 หน่วย 1
01 หน่วย 1
 
(การทำข้อสอบ Reading passage)
(การทำข้อสอบ Reading passage)(การทำข้อสอบ Reading passage)
(การทำข้อสอบ Reading passage)
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 

Viewers also liked

Viewers also liked (11)

มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
 
แต่งไทย ป.ธ. 9 พระมหานพพร อริยญาโณ
แต่งไทย ป.ธ. 9 พระมหานพพร อริยญาโณแต่งไทย ป.ธ. 9 พระมหานพพร อริยญาโณ
แต่งไทย ป.ธ. 9 พระมหานพพร อริยญาโณ
 
Copy of copy of งานนำเสนอ121
Copy of copy of งานนำเสนอ121Copy of copy of งานนำเสนอ121
Copy of copy of งานนำเสนอ121
 
Meet moath al akhrass
Meet moath al akhrassMeet moath al akhrass
Meet moath al akhrass
 
งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3
 
เรื่องรัตนตรัย For mergemarttrini
เรื่องรัตนตรัย   For mergemarttriniเรื่องรัตนตรัย   For mergemarttrini
เรื่องรัตนตรัย For mergemarttrini
 
Comunud eenglish collective
Comunud eenglish collectiveComunud eenglish collective
Comunud eenglish collective
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
อัลบั้มรูป
อัลบั้มรูปอัลบั้มรูป
อัลบั้มรูป
 
การศึกษาวิเคราะห์ท่าทีของพระพุทธศาสนาเรื่องการเปลี่ยน
การศึกษาวิเคราะห์ท่าทีของพระพุทธศาสนาเรื่องการเปลี่ยนการศึกษาวิเคราะห์ท่าทีของพระพุทธศาสนาเรื่องการเปลี่ยน
การศึกษาวิเคราะห์ท่าทีของพระพุทธศาสนาเรื่องการเปลี่ยน
 
พุทธภาษิตนักเรียน
พุทธภาษิตนักเรียนพุทธภาษิตนักเรียน
พุทธภาษิตนักเรียน
 

Similar to การสอบเปรียญชั้นสูง

บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านKanjana Pothinam
 
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยบทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยthaneerat
 
เล่มที่ 1 2 slideshare
เล่มที่ 1 2 slideshareเล่มที่ 1 2 slideshare
เล่มที่ 1 2 slideshareNumuk
 
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6thaneerat
 
สอนแปลธรรมบท
สอนแปลธรรมบทสอนแปลธรรมบท
สอนแปลธรรมบทTongsamut vorasan
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนkittitach06709
 
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑พัน พัน
 
ทรรศนะ2
ทรรศนะ2ทรรศนะ2
ทรรศนะ2krubuatoom
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1sripayom
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1sripayom
 
แบบทดสอบเรื่องคำนาม.pdf
แบบทดสอบเรื่องคำนาม.pdfแบบทดสอบเรื่องคำนาม.pdf
แบบทดสอบเรื่องคำนาม.pdfssusera5136e
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)niralai
 
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวเล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวนิตยา ทองดียิ่ง
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) niralai
 
คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)Nongkran Jarurnphong
 
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูงปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูงvru.ac.th
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยBeeby Bicky
 

Similar to การสอบเปรียญชั้นสูง (20)

บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
 
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยบทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
 
เล่มที่ 1 2 slideshare
เล่มที่ 1 2 slideshareเล่มที่ 1 2 slideshare
เล่มที่ 1 2 slideshare
 
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
 
สอนแปลธรรมบท
สอนแปลธรรมบทสอนแปลธรรมบท
สอนแปลธรรมบท
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอน
 
หลักการเรียงบทอาลปนะ๑
หลักการเรียงบทอาลปนะ๑หลักการเรียงบทอาลปนะ๑
หลักการเรียงบทอาลปนะ๑
 
ทดลองส่ง 538144213
ทดลองส่ง 538144213ทดลองส่ง 538144213
ทดลองส่ง 538144213
 
กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
 
ทรรศนะ2
ทรรศนะ2ทรรศนะ2
ทรรศนะ2
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
 
แบบทดสอบเรื่องคำนาม.pdf
แบบทดสอบเรื่องคำนาม.pdfแบบทดสอบเรื่องคำนาม.pdf
แบบทดสอบเรื่องคำนาม.pdf
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
 
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวเล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
 
คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)
 
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูงปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 

การสอบเปรียญชั้นสูง

  • 1. 1 การสอบเปรียญชั้นสูง โดย พระมหามาติณ ถีนิติ M.A. การสอบบาลี ใ นชั้ น เปรี ย ญตั้ ง แต่ ๔ ประโยคขึ้ น ไป นั้ น มี วัตถุประสงค์ดังนี้ สอบเพื่อเลื่อ นยศ สอบเพื่อเลื่อนวุฒิ สอบตามเพื่อน สอบชิงรางวัล สอบเอาบุญ สอบแข่งขัน สอบเล่น สอบอวดโยม สอบตาม ประเพณี สอบเพื่อต่ออายุพุทธศาสนา การเรียนการสอบมี การเข้ ม งวดในขั้ น การตรวจข้ อ สอบของกรรมการตรวจ สอบ กรรมการต้องการตรวจว่านักเรียนสามารถทำา ได้ตามแบบ หรือไม่ ผิดมากเกินไปหรือถูกแต่ว่าไม่เหมาะสมกับประโยค ที่จะผ่าน ส่วนนักเรียนเรียนสอบเพื่อวัตถุประสงค์ที่กล่าวมาแล้ว เน้น การเก็งข้อสอบเพื่อเอาชนะตากรรมการ เน้นการดู ตำาราเพื่อชั้นสูงยิ่งขึ้นไป เน้นเพื่อการศึกษาบาลี เน้นการ สอบได้สอบเป็นเป็นสำาคัญส่วนความรู้เอาไว้ก่อน สรุปแล้วการสอบสำาหรับผู้สอบสิ่งสำาคัญที่หลีกไม่ได้คือ กฎไวยากรณ์มคธ แต่งไทยเป็นมคธ แต่งมคธเป็นไป การ ประกอบฉันทลักษณ์บาลี ทั้งสามอย่างข้างต้น จะทำาได้ต่อ เมื่อมีทักษะ ถามว่าทักษะเกิดขึ้นได้อย่างไร แน่นอนการ อ่านการท่องการอบรมมิใช่ทักษะเลย การมีทักษะคือมีใจ
  • 2. 2 รั ก ตั้ ง ใจดู วิ เ คราะห์ สั ง เคราะห์ ก ลั บ ไปกลั บ มา ขยั น พิ นิ จ พิ จารณาการละเอี ยดลออโครงสร้ า งของภาษามคธ จน มองเห็ น ภาพของภาษามคธ เมื่ อ พบความไทยสามารถ แปลงเป็นมคธได้ทันที แวบขึ้นมาในสมอง จนหาที่ผิดไม่ได้ ถ้าทำา ได้อย่างนี้ถือว่ามีทักษะบริ บูร ณ์ การมีทักษะในบาลี คื อ การมี ค วามรู้ จิ น ตนาการเห็ น ภาพของประโยค ที่ จ ะ ทำาการเขียนตอบปัญหาได้เช่นนี้ชื่อว่ามีทักษะในภาษาบาลี เพราะว่าที่เรียนมิได้ใช้พูด แต่จะทำา ก็ย่อมได้ แต่ใช้เขียน อ่าน ตามกติกาการสอบเท่านั้น นั้นคือถ้าใครทำาได้ชื่อว่ามี ความสำา เร็จในการเรียนภาษาบาลี พบว่าความจำา ในการ เรี ย นบาลี เ กิ ด จากทั ก ษะมากกว่ า การท่ อ งปากเปล่ า เช่ น การเข้าใจเรื่อง ของประโยค ชนิดประโยค ตัวประกอบของ ประโยค มี ผู้ ท่ อ งพระปาฏิ โ มกข์ ไ ด้ ดี เ พราะอ่ า นเข้ า ใจคำา แปลแล้วท่องไปตามนั้น กำาหนดทักษะในภาษาบาลีเป็นตัว กำา หนด มิ ใ ช่ กำา หนดท่ อ งจำา แบบนกแก้ ว นกขุ น ทอง วิ ธี การหลังนี้เป็นวิธีการของคนไม่รู้ภาษาบาลี ทำาอย่างไรจึงจะถึงบาลี คำาตอบคืออ่านบาลีเชิงวินิจวิเคราะห์ ทำาได้อย่างไร เราสามารถทำาได้ เพราะเราสอบได้เป็นมหาเปรียญแล้ว เรามี หลักการที่ผ่านมาได้ แต่สำา หรับขั้นนี้เป็นขั้นวิเคราะห์หลักการนั้นสานต่อ ไปสุ่สูชั้นสูง ลำา ดับขึ้นไป เช่น อ่านประโยค แล้ว ทำา ความเข้าใจว่าคำา นี้ ประโยคนี้เป็นไปได้อย่างไร เช่นเราสามารถตอบคำา ถาม ประโยคที่เราอ่าน เป็นประโยคอะไร อะไรเป็นหน้าของคำา ตำาแหน่งคำาเดินอย่างไรในภาษานี้ วิภัตติปัจจัย ลิงค์กำาหนดไว้ว่าอย่างไร ตรรกทางภาษากล่าวไว้อย่างไรวางรู แบไว้อย่างไร ภาษามีหลักแน่นอน เป็นตันติภาษา จะพบว่าคนที่ถึงทักษะ
  • 3. 3 แล้วสามรถแต่ได้ตรงตามคู่มือทุกประการตามที่ข้อสอบตามที่เฉลยไม่ผิดเลย ทำาได้อย่างไร การท่องคู่มือ 8 เล่มนั้นคงเป็นไปไม่ได้ ลองมาดูหนังสือบาลี มี ดังนี้คือ คูมือ ตำารา หนังสืออ่านประกอบ หนังสือนอกตำารา พบว่าข้อ 2 เท่านั้นที่เป็นหลักสูตร ส่วนข้อ 1-3-4 เป็นหนังสือที่เอกชนพิมพ์ขึ้นมา เพื่อ รับแบ่งเบาภาระให้นักเรียนได้รับสภาพคล่องในการเรียน ลำาพังตำารานั้นถ้า ขาดครู ห รื อ ขาดพื้ น ฐาน ยากที่ นั ก เรี ย นจะทำา ได้ การเรี ย นภาษามคธไม่ เหมือน การเรียนนักธรรมๆ สามารถเรียนด้วยตนเองได้ แต่ทว่าบาลีนั้นถ้า ทำาได้ต้องมีข้อ 1-3-4 เป็นตัวช่วยจึงทำาได้ การอบรมก่อนสอบนี้ช่วยได้เพียงขั้นความเตรียมพร้อมในการรู้ ระเบียบการสอบเท่านั้น ส่วนขั้นอื่นยังไม่พบว่าการอบรมสอบจะทำาให้การ เรียนได้ผลเต็มที่ อย่างการเรียนแบบมีทักษะ เพราะว่าทักษะคือองค์รวม ของการเรียนรู้ทั้งหมด นับจากการฝึกปรือ การฝึกหัด การใกล้ครู การอบรม การกว้างไกลในวิสัยทัศน์ การใช้สื่ออินเตอร์เนต ติดตามความเคลื่อนไหว เรื่องการเรียนการสอบบาลี เคยพบผู้เรี ยนภาษาบาลี ด้ว ยตนเองจนสอบประโยค 9 ได้ท่า นหนึ่ง คือพระธรรมคุณาภรณ์ (เช้า ป.ธ.9) วัด โพธาราม นครสวรรค์ แต่ท่านเจ้า คุณรูปนี้ท่านไปมาหาสู่นักปราชญ์บาลีภาษาตลอดเวลา กล่าวคือท่านมีการ ติดต่อกับสำา นักเรียนวัดมหาธาตุฯ กรุงเทพฯ ตลอดเวลาท่านมีภารกิจทาง สงฆ์ที่จังหวัดนั้น ท่านไม่มีเวลา ท่านจึงเรียนด้วยตนเอง ผู้เขียนพบท่านที่ คณะ 1 วั ด มหาธาตุ ฯ ที่ ค ณะ 1 วั ด มหาธาตุ ประกอบด้ ว ยตำา หนั ก สมเด็ จ ที่ ทำา การปกครองสงฆ์ ร ะดั บ ประเทศ พระเถรานุ เ ถระ เคี ย งข้ า งด้ ว ย มหาวิทยาลัยสงฆ์ และเสนาสนะสงฆ์รองรับอาคันตุกะทั่วประเทศ การไปมา สะดวก และเคยเป็นที่ชำาระพระไตรปิฎกทุกสมัยที่ผ่านมา แม้ปัจจุบันสถาน ที่แห่งนี้เป็นอดีตไปแล้ว แต่ศูนย์รวมยังคงใช้สถานที่นี้อยู่ เพราะสถานที่นี้อยู่ ใจกลางพระนคร และมีประวัติศาสตร์อั น ยาวนาน เมื่อเรียนบาลี ระดับ สู ง เมื่อเอ่ยนามสมเด็จวัณรัต (เฮง ป.ธ.9) ทุกคนย่อมรู้จักดี เพราะท่านเป็นผู้มี คุณูปการมากมายในวงการภาษาบาลี นับจากยุคสมเด็จพระมหาสมณเจ้า ผู้ ให้กำาเนิดการเรียนการสอนชนิดสมบูรณ์กับภาษาบาลีในไทยสืบมา สมเด็จ
  • 4. 4 พระวัณรั ติ (เฮง) ท่านใช้สถานที่นี้ ค ณะ 1 วัด มหาธาตุฯ ดำา เนินการตั้ง แต่ การดำา รงตำา แหน่งแม่กองบาลีสนามหลวง สังฆนตรี อธิบดีสงฆ์วัดมหาธาตุ แม้ปัจจุบันการเรียนบาลีถูกสถาบันอื่นสำานักอื่นนำาไปสานต่อหมดแล้วแต่ใน ทางประวั ติศ าสตร์ ยั งคงถู กอ้ า งในวั น อดี ต เจ้า อาวาส และสมาคมศิ ษ ย์ วั ด มหาธาตุอยู่ อย่างไรก็ตาม เมื่อการสานต่อดำาเนินการไปเช่นนี้ สิ่งที่น่าจะเป็นประโยชน์ ต่อไปคือการเรียนให้ยึดคุณภาพการเรียนการสอบเป็นหลัก มิใช่ยึดสถาบัน เป็นหลัก สิ่งที่วงการบาลีจะขาดเสียมิได้คือ คู่มือประกอบการเรียนบาลี มี หนังสือบาลีจำา นวนมากชุดหนึ่งของ ส .ธรรมภักดี ที่ท่านจะมองข้า มเสี ย มิได้ พยายามหามาอ่าน แม้จะขาดตลาดไปเพราะตลาดบาลีปัจจุบัน มีคนรุ่น ใหม่ได้พัฒนาไปได้เร็วถูกกว่า การใช้ คู่มือประกอบการเรียนของ ส .ธรรม ภักดี ซึ่งเป็นหนังสือคู่มือที่ทำา ขึ้นโดยนักเรียนชั้นหัวกระทิกระทำา เอาไว้แก่ วงการบาลีและมีมาตรฐานที่สุดเท่าที่พบมาทิ้งไว้ ถ้าผู้ด้อยโอกาสทางการ เรียน ควรหามาอ่านเรียนด้วยตนเองด้วย หนังสือชุดต่างๆที่สามารถหาได้ ตามวัด ตามห้องสมุดเก่า สำานักเรียนเก่า พอหาได้ หรับ ส ธรรมภักดีเองมีไว้ บริการท่านเพียง ส่วนน้อย เพราะประสบปัญหาต้นทุนในการผลิตสูง ดังที่ ท่ า นทราบบาลี เ ป็ น เรื่ อ งของวั ด ไม่ ใ ช่ เ รื่ อ งการค้ า พาณิ ช ย์ จึ ง แจ้ ง ให้ นักศึกษาทางภาษาบาลีได้ทราบโดยทั่วกันเพื่อเลือกปฏืบัติในโอกาสต่อไป สำา หรั บ ทางเลื อ กใหม่ ที่ ท่ า นพึ ง ทราบเพิ่ ม เติ ม คื อ สนพ เลี่ ย งเซี ย ง จุฬาบรรณาคาร มหามกุฎ อื่น ๆ อุ ทิศ ศิ ริวรรณ อีก มากมาย และสำา นั ก เรีย นสำา คัญ ทั่ว ประเทศ เช่น สามพระยา ปากนำ้า เป็นต้นและภาคใต้ เหนื อ ออก ตก มีการออกหนัง สื อ เช่ น ประโยคเก็ ง มี อ บรมทุ ก ภาคสงฆ์ ที่ ค อยเสนอท่ า นอย่ า งไม่ ข าดสาย และจะไม่ผิดหวังถ้าใครมีโลกทัศน์กว้างไกล และเป็นคนรู้จักขวนขวายไม่ จับเจ่าอยู่กับที่ และที่สำาคัญคือคนที่เรียนด้วยตนเองควรมีเพื่อนคู่คิดที่สอบ ได้แล้วอยู่เคียงข้างตลอดเวลา เพทื่อถามข้อสงสัยเมื่อเกิดขึ้น มิต้องไปเสีย เวลาในการค้นหาด้วยตนเอง
  • 5. 5 บาลี ภาษาเป็ น คำา สอน และเป็ นปรัช ญาแยกได้ ส่ ว นที่เ ป็น คำา สอนคือใช้ให้ทำา ทำาไปเลยตามนั้นไม่มีคำาว่าผิด ส่วนที่ปรัชญาคือ ใช้ให้ทำา แล้วก็ทำาขวนขวายไปตามนั้นเพิ่มเติมตามอุปนิวัยคนช่างคิดช่างรู้เท่าที่ตนมี คำาสอนนั้นไม่ต้องไปคิดไปฝึกสั่งมาว่าศีล 5 ต้องทำาอย่างนี้ให้ลงมือปฏิบัติได้ เลย ส่วนปรัชญานั้น ทำาดีได้ดีทำาชั่วได้ชั่วเราเห็นว่าปรัชญาในศาสนาพุทธ นั้นเราจะใช้วิธีใดในการทำาความดีและวิธีใดในการหลีกความชั่วเราต้องหา วิธีเอา อย่าไขว้เขว ในคำา สอนก็ดี ในปรัชญาก็ดี บางอย่างเป็นได้ทั้ง สอง อย่าง บางอย่างเป็นได้อย่างเดียว เมื่อเราเรียนเป็นมหา เราไม่ได้เรียนเรื่อง เพื่อคำาสอนและเพื่อปรัชญา แต่เราเรียนตามตำาราจำาสอบ แต่ถ้าเราเข้าใจว่า นี่ คือคำาสอนนี่คือปรัชญา นี่เป็นทั้งปรัชญาเป็นทั้งคำาสอน มันจะทำาให้เรา เข้าใจและเรียนรู้ภาษาบาลีได้ง่ายขึ้น นี่เองคือทักษะชนิด หนึ่งที่เราควรปู ทางเข้าสู่ จึงขอให้ท่านจงโชคดีทุกท่านในการเรียนบาลีภาษาในระดับสูง • ประธานคือผู้กระทำา ในเรื่องของประโยค ประธานอยู่ที่วิภัต ติ อาขยาตภาษาบาลีและพบประธานในนาม สรรพนาม ชื่อคน และจะสอดคล้ อ งกั บ กิ ริ ย ามี วิ ภั ต ติ ชี้ บ อกต้ อ งสอดคล้ อ งกั น มิ ฉะนั้นผิดไวยากรณ์ การสอบตรวจตรงที่กิริยาไม่สอดคล้องกับ ประธานถือว่าผิดมาก • ประธานเกิดจากวาจก เมื่อวาจกเน้นผู้กระทำา คือทำาเอง ให้เขา ทำา ทำา ลอยๆ ให้กรรมเป็นตัว กระทำา เพราะตัว ถูกตั้งให้เป็นผู้ กระทำา คือประธาน เพราะ)นั้นเมื่อสร้างเที ยบเคียงประโยคจึง กำาหนดประธานสำา คัญที่สุด และประธานจะขึ้นมาแบบซำ้า ซาก ไม่ได้ นี่คือจุดสำาคัญของประธาน • กรรม ตัวกรรมคือตัวผู้ถูกกระทำา จะใช้คำานิยามด้วย “ซึ่ง” คน กินซึ่งข้าว หรือ คนกินข้าวๆคำานี้คือกรรม ในบาลีเมื่อแต่แปลก ลับคำา แปลที่ให้แต่งจะไม่คั้งให้ครงตามที่ควรจะเป็ฯแต่จะเป็น สำา นวน เช่น เขากินข้าว แต่เมื่อจะแต่งต้องกำา หนดว่า คนนั้น ย่อมกินซึ่งข้าว แล้วอันดับต่อไป หาวิภัตติมาแต่ง หากิริยามา
  • 6. 6 แต่ ง หาปั จ จั ย มาแต่ ง หาธาตุ ม าแต่ ง จนสมบู ร ณ์ แล้ ว ลำา ดั บ สัมพันธ์ตามกฎบาลีไวยากรณ์ • กาลคือเวลาที่เกิดขึ้นเป็นอดีต ปัจจุบัน อนาคต ต้องตีความให้ ได้ว่ากาลอะไร ทำาไปแล้ว พึ่งทำา หรือจะทำา เมื่อทราบว่าอยู่ใน ขั้ น ตอนอะไรแล้ ว จึ ง ไปที่ กิ ริ ย าอาขยาตๆ จึ ง สำา คั ญ มากใน ประโยคบาลี เพื่อการสื่อ • สรุปนามและอาขยาตสำาคัญที่สุดในบาลีชั้นแต่งไทยเป็นมคธ • อันดับต่อไปสำานวนไวยากรณ์มนุษย์บาลี คือการแปลงกิริยาให้ เป็นนาม การแปลงนามให้เป็นกิริยา อันนี้ต้องไปดูตัทธิต และ กิตก์จะพิสดารออกไปอีก ก่อนมาถึงขั้นนี้ต้องคล่อง การใช้นาม และอาขยาตในการสร่างประโยคอย่างมีทักษะก่อน • อั น ดั บ สู ง สุ ด คื อ นิบ าตบาลี และสมั ญ ญาภิ ธ านบาลี การเรี ย ง ประโยค • ส่วนทักษาการแต่งแปลตีความคำา แปลแต่ง และตีความแต่งคำา แปล เช่นไม่ยึดติด คำาว่า ( ก็-จึง- ที่ ธรรมดา -ชื่อว่า ) อะไร เหล่านี้ที่สื่อภาษาให้เข้าใจไทยภาษา เพราะบาลีใช้ไวยากรณ์ เดินเรื่อง ส่วนทักษะไทยนั้นใช้ความหมายประเพณีการใช้เดิน เรื่องเดินประโยค แนวความคิดระหว่างการทำาประโยคของชน เผ่ า อารยั น และเผ่ า มิ ใ ฃ่ อ ารยั น นั่ น ต่ า งกั น จะสั ง เกตพบที่ โครงสร้าง ในการสร้างประโยคทางภาษาเพื่อสื่อกันแต่ในที่นี้ เพื่อสื่อสอบ ทักษะเชิงปฏิบัติ ลองประโยคว่า คนกินข้าว เราจะแต่งบาลีอย่างไร มนุ สฺ โ ส โอทนำ ภุ ญฺ ช ตีติ จะแต่ ง ว่ า โอทนำ ปจิ ตำ / โอทนำ ปกฺ กำ ก็ได้แต่ว่าในที่นี้เอาประโยคแรก เพราะผู้เขียนมั่นใจว่าถูกแน่ แต่ ประโยคหลังสองประโยคผู้เขียนลืมไปแล้วว่าใช่หรือไม่ เพราะว่า ธาตุ ปั จ จั ย สำา คั ญ มทากเมื่ อ แต่ ง ลงไปแล้ ว ต้ อ งมั น ใจว่ า ประกอบ
  • 7. 7 อย่างไร ใช้อย่างไรแน่นอน จึงลงมือแต่ง ในสนามสอบไม่มีอภัย แม้ที่สงสัยกลับถูกที่มันในกลับผิดก็ตาม ต้องที่มั่นใจว่าถูกกลับผิด เอาไว้อย่างไรเสียเราแสดงภูมิ แต่ที่ไม่แน่ใจว่าถูกหรือผิดแต่ฝืน แต่งลงไปนั่นแม้ถูกแต่ลังเล อย่าทำาเลย เพราะว่า การลังเลทำาให้ นิสัยเสีย มันต้องผิดที่ใดจนได้ เพราะข้อสอบมิได้มีประโยคเดียว เอาที่มั่นใจดีกว่า ประโยคว่าคนกินข้าวในภาษาบาลีนี้ยังมีทางที่ใช้ดีกว่านี้อีก แต่ไม่มีเวลาคิด เพราะว่าต้องการสื่อให้รู้ว่า มันต้องอย่างนี้แล้วสอย่างนี้ จึงถูกอย่างนี้ มิใช่ อย่ า งนั้ น และอย่ า งนั้ น แล้ ว ผิ ด เมื่ อ เข้ า ใจประโยคแล้ ว ต้ อ งถามตนเองว่ า ทำาไมเป็นเช่นนั้นด้วย เพื่อความแน่ชัด คนกินข้าวเป็นปัจจุบันกาล รู้ว่าประธานเป็ นลิงค์ว จนะ วิภัต ติอะไรแล้ ว ต่อไปกรรมมาหน้ า กิริ ย า และกินเป็นปั จจุ บัน กาล ถ้าเป็น อดี ต เป็ น ภุ ญฺ ช สิ ภุ ญฺ ชิ ถ้ า เป็ น อนาคตเป็ น ภุ ญฺ ชิ สฺ ส ติ แปลว่ า กิ น แล้ ว อนาคตแปลว่ า จั ก กิ น ประธานไม่ มี ก าล แต่ กิ ริ ย ามี ก าล กรรมมี ซึ่ ง มี อี ก มากมายในวิภัตติอื่น แต่ทางสัมพันธ์ไม่เรียกว่ากรรมเรียกเป็นอย่างอื่น เพราะตรรกทางภาษา เมื่อเราได้ประโยคนี้หนึ่งประโยค เราก็สามารถไปใน บ้านบาลีได้เลยว่า ใครกินข้าว: โก โอทนำ ภุญฺชติ. ท่านกินข้าว: ตวำ โอทนำ ภุญฺชสิ. กินข้าวแล้วหรือท่าน: กึ ปน ภุญชถ ตุมฺเห. ข้าแต่ท่านผู้เจริญกินข้าวแล้วยัง: ภุญชถ ภนฺเต. เมื่อไหร่กินข้าว: กสฺมา ภุญชติ มนุษย์กินข้าวตอนเย็น: สายณหสมเย โอทนำ ภุญชติ. จนเป็นประโยคยาวว่า : ก็ ในสมัยนั้นแล ใครกินข้าวตอนเย็น ที่โรงครัว ในหอฉัน ในวัด กลางเมืองสาวัตถี: ตสฺมึ สมเย สาวตถิยำ ปน โข สายณหสมเย อาราเม ภุญชนสาลายำ โก โอ ทนำ ภุญชติ
  • 8. 8 ประโยคนี้ความไทยชั้นเยี่ยมต้องแต่งว่า : พอดีตอนนั้นที่วัดกลางเมืองสาวัต ถี มีคนเข้าไปกินข้าวเย็นที่โรงครัวหอฉัน ที่ขีดเส้นทับให้รอแก้ให้ถูกถ้าผิด ตอน 2 เกร็ด แนวคิด เสริม ทัก ษะ การมีการทักษะคือการฝึกปรือ แต่การเสริมทักษะคือการหมั่นศึกษา เกร็ดย่อยทั้งหมดที่มีอยู่ใน 8 ภาคอย่างละเอียดลออ การแต่งที่พบประโยคที่ยากเพื่อการตีความและการถอดความ การคาดเดาการเทียบเคียงไม่มีในชั้นนี้ การเทียบเคียงต้องถูกที่สุดคือ ใกล้เคียงสุด ส่วนใหญ่การเลือกใช้ ธาตุ การเลือกหน้าที่คำาและความหมายศัพท์ เช่น ธาตุในคำากล่าว คำาบอก คำาสอน การเรียก ในหมวดการพูดมี หลายคำา สื่อความหมายเชิงอิริยาบถต่างกัน เช่นนั่ง ๆดูอะไร นั่งเรียน หรือนั่งกิน หรือนั่งฟังธรรม นั่งกอดกัน กิริยา กิน ยืน เดิน นั่ง นอน วิง ตาย ต้องคล่อง ่ วิธีเดียวคือหัดผสมและแต่งประโยค เราไม่ได้เรียนเรื่อง กัต เอกัต อเนกัตถประโยค แต่เราเข้าไปเลย ความเดียว ความซ้อน เลขนอกใน กาววางอิติ และสนธิอิติ คุมพากษ์ ข้อสังเกต การกระทำาซึ่ง กมมำ กโรติ ย่อมกระทำาซึ่งการงาน การไปสู่เพื่อบิณฑบาต สาวตฺถิยำ ปิณฺฑาย คโต การเรีบยงต่างกัน
  • 9. 9 เราเคยทราบว่า สเจ แปลว่า ไซร้ เหน็บเข้าไป แต่ในชั้นนี้ถามว่า จะเรียงไว้ตรงไหนจึงถูกใน ประโยค เวลาแปลคาดได้ แต่งคาดเดาไม่ได้เลย สิ่งที่สำาคัญคือความ เช่น ความปธานนัย ประโยค ย ต ความกัตนอกกรรมใน ความเพื่ออัน ตุง ความว่าการ วฏฺฏติ ความในภาวศัพท์ คมนภาวำ ความรูปะรรม ความนามธรรม กลยาณกตำ กมฺมำ ความควร วฏฏีติ ความถามตอบ จะเรียงเฉพาะคำาสำาคัญ นอกนั้นเรียงประโยคแรก ไปไหน ไปสาวตถี เรียงเพียง สาวตฺถิยนตีติ เท่านั้น ความท้องเรื่อง คือมีกิริยาในระหว่างทุกตอน ความนิทาน มีสูตรสำาเร็จ จะเน้นที่เกี่ยวกับสูตร อภิธรรม วินัย สำานวนต่างกัน ความสงสัย
  • 10. 10 ส่วนใหญ่ถูกอมไว้เหลือแต่กิริยาสำาคัญ ความถามตอบ ความคนสองคนในอิติอมความ วิเสสลาภี ความลักขณะ สตฺถริ คจฉนฺเต ความในหุตฺวา ความพิเศษที่ต้องจำา ถ้านักศึกษาทำาได้ เช่น แต่งจากการอ่านในหลักสูตรแปลภาค 1 ได้ เมื่ออ่านจบทำาได้แต่งมคธได้ ถือว่าผ่านได้ เข้าใจเห็นจิตภาพของภาษานี้แล้ว ทั้งหมดคือการทำา 8 ภาคนี้ให้คล่อง นอกนั้นเหมือนกันหมด จนแตกฉานในรูปแบบ แล้วขึ้นไปแต่งคาถา และเรียนวิเคราะห์วิสุทธิมรรค หลักสูตรภาษาบาลีมีเท่านี้ สำานวนครึ่งศัพท์ กิริยาซ้อน โรทนฺโต อฎฺฐาสิ ยืนร้องให้อยู่ แต่เมื่อสำานวนจะพูดเพียงว่า-ยืนร้อง-เท่านั้น สำานวนยาว ตาว ปัจจุบันของอดีตเช่นนี้ แทนที่ท่านจะใช้อาขยาตล้วน แต่ท่านกลับใช้กิริยา กิตต์เข้ามาช่วย การใช้คำาเสริมมากเกินเมื่อพบข้อสอบ แต่ที่จำาเป็นมันมีนิดเดียว ดีเกินกว่า เหตุตกได้ เพราะบาลีเป็นภาษาอมความ ส่วนใหญ่แสดงเป็นรหัสที่ปัจจัยและวิภัตติ เลาแปลต้องเพิ่มมาเอง