SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
ผลการฝึ กอบรมบนเว็บด้ วยกระบวนการเรียนรู้ แบบ MIAP เพือพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ
                                                      ่
            พนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการ
             ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าพระนครเหนือ
               The Effect of e-Training with MIAP learning process
              for Developing Instructor and Staff Job Competencies
           of King Mongkut’s University of Technology North Bangkok

                               อ.ดร.ปณิ ตา วรรณพิรุณ1, ผศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุ ข2
               1
                 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารเพื่อการศึกษา คณะครุ ศาสตร์อุตสาหกรรม
                               มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
                                             (panitaw@kmutnb.ac.th)
               2
                   สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารเพื่อการศึกษา คณะครุ ศาสตร์อุตสาหกรรม
                                  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
                                          (prachyanunn@kmutnb.ac.th)


 ABSTRACT

                                                             higher than pre-test scores. The instructor and staff
 This objective the research study was to study of           agree that the web-based training was appropriateness
 the effects of e-Training with MIAP learning                in a high level.
 process for developing instructor and staff job
 competencies of King Mongkut’s University of
 Technology North Bangkok (KMUTNB). The                      Keywords: e-Training, web-based training, MIAP,
 research is divided into two stages: 1) develop of          job competencies, Mongkut’s University of
 the web-based training with MIAP learning                   Technology North Bangkok.
 process, 2) study of the effects of e-Training with
 MIAP learning process for developing instructor
 and staff job competencies of King Mongkut’s                บทคัดย่ อ
 University of Technology North Bangkok. The
 sample studies of this research were 40
 instructors and 40 staffs of KMUTNB. The
 research tools were the web-based training with
                                                             การวิ จั ย นี้ มี ว ั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ศึ ก ษาผลการฝึ กอบรม
 MIAP learning process and manual, the training              บนเว็บด้วยกระบวนการเรี ยนรู้แบบ MIAP                    เพื่อพัฒนา
 achievement test, and the instructor and staff
 satisfaction questionnaire. Data was analyzed by            สมรรถนะวิช าชี พ พนัก งานมหาวิ ท ยาลัย สายวิช าการและ
 using average and t-Test dependent.
 The result revealed that:
                                                             สายสนับสนุนวิชาการ ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม
 1. Web-based training for developing instructor             เกล้า พระนครเหนื อ การวิ จัย แบ่ ง เป็ น              2 ระยะ คื อ
 job competencies consist of five units and web-
 based training for developing staff job                     1) การพัฒ นาเว็บ ฝึ กอบรมด้ว ยกระบวนการเรี ย นรู ้ แ บบ
 competencies consist of five units.                         MIAP เพื่อพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพพนักงานมหาวิทยาลัย
 2. e-Training with MIAP learning process for
 developing instructor and staff job competencies            สายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการ และ 2) การศึกษาผล
 is divided into three stages: 1) pre-training, 2)
 training with MIAP learning process is divided              การฝึ กอบรมบนเว็บ ด้ว ยกระบวนการเรี ย นรู้ แ บบ MIAP
 into four stages: Motivation, Information,                  กลุ่ ม ตัว อย่ า งที่ ใ ช้ใ นการวิ จัย คื อ พนั ก งานมหาวิ ท ยาลัย
 Application, and Progress, and 3) summarizing
 the results of training.                                    สายวิ ช าการ 40 คน และสายสนับ สนุ น วิ ช าการ 40 คน
 3. The instructor and staff trained by web-
 based training for developing instructor job                เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจย คือ เว็บฝึ กอบรมสมรรถนะวิชาชีพ
                                                                                           ั
 competencies had statistically significant at .01           พนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการ
 level post-test scores on training achievement
                                                             และคู่มือ แบบวัดผลสัมฤทธิ์ การฝึ กอบรมสมรรถนะวิชาชีพ

                                                       277
พนัก งานมหาวิท ยาลัย สายวิช าการและสายสนับ สนุ น                    ตระหนักถึงบทบาท หน้าที่ความรับผิดชอบของตนเองและ
วิชาการ และแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้เว็บ                         เข้า ใจถึ ง วี ก ารสอน องค์ป ระกอบของการจัด การศึ ก ษา
ฝึ กอบรมสมรรถนะวิช าชี พ สถิ ติที่ ใ ช้ใ นการวิจัย คื อ             กระบวนการจัด กิ จ กรรมการเรี ย นการสอน การวัด และ
ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ                  ประเมินผล และเพื่อให้พนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุน
ทดสอบสมมติฐานด้วยการทดสอบแบบที                                      วิ ช าการมี ค วามรู ้ ความสามารถและมี ท ัก ษะในการคิ ด
ผลการวิจย พบว่า
           ั                                                        วิเคราะห์งาน สามารถจัดทําคู่มือการปฏิบติงานในตําแหน่ง
                                                                                                                        ั
1. เว็บฝึ กอบรมสมรรถนะวิชาชีพพนักงานมหาวิทยาลัย                     ของตนเอง อันจะส่ งผลดีต่อการปฏิบติงานและมหาวิทยาลัย
                                                                                                                     ั
สายวิชาการ ประกอบด้วยเนื้ อหา 5 ตอน เว็บฝึ กอบรม                    ต่อไปในอนาคต
สมรรถนะวิชาชี พพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุ น                       การใช้อินเทอร์ เน็ตเพื่อการฝึ กอบรมจะเป็ นเทคโนโลยีเพื่อ
วิชาการ ประกอบด้วยเนื้อหา 5 ตอน                                     การฝึ กอบรมแห่ งอนาคต เมื่อเปรี ยบเที ยบกับสื่ อทันสมัย
2. การฝึ กอบรมบนเว็บ ด้ว ยกระบวนการเรี ย นรู้ แ บบ                  แบบเดิม ๆ อย่างเช่น วีดิโอเทป หรื อคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน
MIAP แบ่งเป็ น 3 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นก่อนการ                         ซึ่ งมี สิ่ ง ที่ เ พิ่ ม ขึ้ นมาในระบบอิ น เทอร์ เ น็ ต ที่ ช่ ว ยให้ ก าร
ฝึ กอบรม 2) ขั้นการฝึ กอบรม ดําเนิ นกิ จกรรมการ                     ฝึ กอบรมเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพมากขึ้น เพราะการศึกษา
ฝึ กอบรม โดยใช้รูปแบบกิจกรรมการเรี ยนการสอนแบบ                      โดยผ่านระบบอินเทอร์ เน็ตก็จดได้ว่าเป็ นการศึกษาทางไกล
                                                                                                          ั
MIAP แบ่งเป็ น 4 ขั้นตอน คือ ช่วงที่ 1 ขั้นสนใจ                     แบบหนึ่ ง Clark (1996) ได้ให้คาจํากัดความของการใช้
                                                                                                                 ํ
ปั ญหา ช่วงที่ 2 ขั้นศึกษาข้อมูล ช่วงที่ 3 ขั้นพยายาม               อินเทอร์เน็ตหรื อเว็บฝึ กอบรม (Web-Based Training : WBT)
และช่วงที่ 4 ขั้นสําเร็ จผล และ3) ขั้นสรุ ปผลการ                    ว่า เป็ นการสอนรายบุคคลที่ส่งข้อมูลเป็ นสาธารณะหรื อเป็ น
ฝึ กอบรม                                                            การส่ วนตัวด้วยคอมพิวเตอร์ และแสดงผลโดยด้วยการแสดง
3. พนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุน                       ด้วยหน้าจอของเว็บ โดยที่ ไม่ได้ถ่ายทอดข้อมูลในแบบ
วิ ช าการ มี ผ ลสั ม ฤทธิ์ หลัง การฝึ กอบรมสมรรถนะ                  คอมพิวเตอร์ ฝึกอบรม (CBT : Computer-Based Training)
วิชาชีพสู งกว่าก่อนการฝึ กอบรมอย่างมีนยสําคัญทางสถิติ
                                        ั                           แต่เป็ นไปตามความต้องการในการฝึ กอบรม โดยการเก็บ
ที่ระดับ .01 และพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการและ                     ข้อมูลในแหล่งจัดเก็บและเข้าถึงข้อมูลได้โดยระบบเครื อข่าย
สายสนับสนุ นวิชาการมี ความพึงพอใจต่อการฝึ กอบรม                     โดยที่เว็บฝึ กอบรมสามารถปรับเปลี่ยนข้อมูลให้ทนสมัย ได้           ั
บนเว็บด้วยกระบวนการเรี ยนรู้แบบ MIAP อยูในระดับ่                    รวดเร็ ว และการเข้าถึงข้อมูลการฝึ กอบรมควบคุมได้โดย
มาก                                                                 ผูออกแบบการฝึ กอบรม
                                                                        ้
                                                                    วิธีสอนแบบ MIAP คื อ กระบวนการที่ ผูสอนจัด                         ้
คํ า สํ า คั ญ : การฝึ กอบรมบนเว็บ , เว็บ ฝึ กอบรม,                 ประสบการณ์การเรี ยนรู้โดยผ่านขั้นตอนสําคัญ 4 ขั้นตอน
การเรี ยนรู้แบบ MIAP, สมรรถนะวิชาชีพ, มหาวิทยาลัย                   คือ 1) ขั้นสนใจปั ญหา (Motivation) 2) ขั้นศึกษาข้อมูล
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ                                     (Information) 3) ขั้นพยายามหรื อขั้นของการนํามาใช้
                                                                    (Application) และ 4) ขั้นสําเร็ จผล (Progress) เพื่อให้ผเู้ รี ยน
1) บทนํา                                                                              ั                            ํ
                                                                    ได้บรรลุวตถุประสงค์การเรี ยนรู้ที่กาหนดไว้ และสามารถ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนื อ ได้                     พัฒนาสมรรถนะวิชาชีพได้ (สุ ชาติ ศิริสุขไพบูลย์, 2527)
ตระหนักถึ งความสําคัญของการพนักงานมหาวิทยาลัย                       พนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการ
สายวิช าการและสายสนับ สนุ นวิชาการที่ เ ข้า มาปฏิ บ ัติ             มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนื อ เป็ น
ราชการ ซึ่ งถื อ เป็ นกลไกสํ า คัญ ยิ่ ง ในการที่ จ ะช่ ว ย         กลุ่มบุคคลที่มีทกษะทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเป็ นอย่าง
                                                                                               ั
สนับสนุนการปฏิบติงานของมหาวิทยาลัยในทุกด้านและ
                   ั                                                ดี มี ค วามพร้ อ มที่ จ ะปรั บ วิ ธี เ รี ยนรู้ เปลี่ ย นวิ ธี ส อนและ
ช่วยพัฒนามหาวิทยาลัยต่อไปในอนาคต โดยมี การจัด                       ต้อ งการอบรมพัฒ นาความรู้ อ ยู่เ สมอ เป็ นไปตามความ
ฝึ กอบรมเพื่อ ให้พ นัก งานมหาวิท ยาลัย สายวิ ช าการได้              ต้องการในการพัฒนาบุคลากรของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี

                                                              278
พระจอมเกล้าพระนครเหนือ พร้อมทั้งจัดให้มีหน่วยงาน               4.2) ตัวแปรในการวิจย
                                                                                  ั
รองรั บ ขึ้ นในมหาวิ ท ยาลัย จึ ง ควรมี ก ารพัฒ นาเว็บ         ตัวแปรอิสระ คือ เว็บฝึ กอบรมด้วยกระบวนการเรี ยนรู้แบบ
ฝึ กอบรมโดยเฉพาะเรื่ อง สมรรถนะวิ ช าชี พ เพื่ อ               MIAP
ประโยชน์ ใ นการฝึ กอบรมพนัก งานมหาวิท ยาลัย สาย                ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธิ์ การฝึ กอบรม และความพึงพอใจ
วิชาการและสายสนับสนุ นวิชาการ และเป็ นต้นแบบใน
การพัฒนาเว็บฝึ กอบรมสําหรับการพัฒนาบุคลากรต่อไป                กรอบแนวคิดการวิจัย
2) วัตถุประสงค์ การวิจัย                                                 เว็บฝึ กอบรม                          สมรรถนะวิชาชีพ
2.1) เพื่อพัฒนาเว็บฝึ กอบรมด้วยกระบวนการเรี ยนรู้แบบ            (Horton, 2000; Driscoll, 2005)           (Mitrani, Dalziel and Fitt,1992;
                                                                                                          Spencer and Spencer, 1993)
MIAP เพื่อพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพพนักงาน
                                                          -    การออกแบบเว็บฝึ กอบรม                     - สมรรถนะวิชาชีพพนักงาน
มหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการ ของ                                                             มหาวิทยาลัยสายวิชาการ
                                                          -    รู ปแบบของเว็บฝึ กอบรม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ                -    องค์ประกอบของเว็บฝึ กอบรม
                                                                                                         - สมรรถนะวิชาชีพพนักงาน
                                                                                                           มหาวิทยาลัยสายสนับสนุน
2.2) เพื่อศึกษาผลการฝึ กอบรมบนเว็บด้วยกระบวนการ           -    วิธีการใช้เว็บฝึ กอบรม                      วิชาการ
เรี ยนรู ้แบบ MIAP เพื่อพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพพนักงาน
มหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการ ของ                   รู ปแบบการฝึ กอบรมบนเว็บ                การเรียนการสอนรู ปแบบ MIAP
                                                                (Horton, 2000; Driscoll, 2005)             (สุ ชาติ ศิริสุขไพบูลย์, 2527)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
                                                          1. องค์ประกอบรู ปแบบการฝึ กอบรม
                                                             บนเว็บ                                      1.   ขั้นสนใจปั ญหา (Motivation)
3) สมมติฐานการวิจัย                                       2. ขั้นตอนการฝึ กอบรมบนเว็บ                    2.   ขั้นศึกษาข้อมูล (Information)
                                                                2.1 ขั้นก่อนการฝึ กอบรม                  3.   ขั้นพยายาม (Application)
3.1) พนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการมี ผลสัมฤทธิ์                  2.2 ขั้นการฝึ กอบรม (MIAP)               4.   ขั้นสําเร็ จผล (Progress)
                                                                2.3 ขั้นสรุ ปผลการฝึ กอบรม
หลัง การฝึ กอบรมสมรรถนะวิ ช าชี พ สู ง กว่ า ก่ อ นการ    3. การวัดและประเมินผลการฝึ กอบรม
ฝึ กอบรมอย่างมีนยสําคัญทางสถิติ
                 ั
3.2) พนัก งานมหาวิท ยาลัย สายสนับ สนุ นวิช าการ               การฝึ กอบรมบนเว็บด้ วยกระบวนการเรียนรู้ แบบ MIAP เพือพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ
                                                                                                                  ่
มีผลสัมฤทธิ์ หลังการฝึ กอบรมสมรรถนะวิชาชี พสู งกว่า                      พนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการ

ก่อนการฝึ กอบรมอย่างมีนยสําคัญทางสถิติ
                         ั                                     รู ปที่ 1: กรอบแนวคิดการฝึ กอบรมบนเว็บด้ วยกระบวนการ
                                                                         เรี ยนรู้ แบบ MIAP เพื่อพัฒนาสมรรถนะวิชาชี พ
4) ขอบเขตการวิจัย                                                        พนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุน
                     ่
4.1) ประชากรและกลุมตัวอย่าง                                              วิชาการ
ประชากร คื อ พนักงานมหาวิทยาลัยของมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนื อ ที่ อยู่ระหว่าง               5) วิธีดําเนินการวิจัย
การทดลองปฏิบติราชการ อายุราชการไม่เกิน 3 ปี 154
                 ั                                             ระยะที่ 1 การพัฒนาเว็บฝึ กอบรมด้วยกระบวนการเรี ยนรู้
คน แบ่งเป็ น พนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ 94 คน                แบบ MIAP เพื่อพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพพนักงาน
และสายสนับสนุนวิชาการ 60 คน                                    มหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการ
กลุ่มตัวอย่าง คือ พนักงานมหาวิทยาลัยของมหาวิทยาลัย             1) พัฒนากรอบแนวคิดของเว็บฝึ กอบรมสมรรถนะวิชาชีพ
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนื อ ที่ อยู่ระหว่าง               ด้วยกระบวนการเรี ยนรู้แบบ MIAP ดังนี้
การทดลองปฏิ บติราชการ อายุราชการไม่เกิ น 3 ปี 80
                   ั                                           1.1) สังเคราะห์ เอกสารและงานวิจัยที่ เกี่ ยวข้อ งกับการ
คน แบ่งเป็ น พนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ 40 คน                ฝึ กอบรม รู ปแบบการฝึ กอบรมบนเว็บ (e-Training) ใน
และสายสนับสนุนวิชาการ 40 คน โดยการสุ่ มอย่างง่าย               ประเด็ น องค์ ป ระกอบ ขั้น ตอน กิ จ กรรม การวัด และ
                                                               ประเมิ นผลการฝึ กอบรม กระบวนการเรี ยนรู้ แ บบ MIAP

                                                         279
และศึ ก ษากรอบแนวคิ ด สมรรถนะวิ ช าชี พ พนั ก งาน                    พนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการ
มหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการ                           ตามรู ปแบบกิ จกรรมการเรี ยนการสอนแบบ MIAP
1.2) สัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth interview: IDI) พนักงาน               แบ่งออกเป็ น 4 ขั้นตอน คือ
มหาวิท ยาลัย สายวิช าการจํา นวน 15 ท่ า น ในประเด็น                           - ขั้นสนใจปัญหา (Motivation)
“การจั ด การความรู้ ส มรรถนะวิ ช าชี พ ที่ พ นั ก งาน                         - ขั้นศึกษาข้อมูล (Information)
มหาวิทยาลัยสายวิชาการต้องการรู้ ”                โดยใช้แบบ                    - ขั้นพยายาม (Application)
สัมภาษณ์เชิงลึกสมรรถนะวิชาชีพพนักงานมหาวิทยาลัย                               - ขั้นสําเร็ จผล (Progress)
สายวิชาการ                                                           2.3) ขั้นการพัฒนา (Development)
1.3) จัดประชุมระดมสมอง (Focus group discussion:                      2.3.1) พัฒ นาเว็บ ฝึ กอบรมด้วยโดยการจัด การเนื้ อ หาและ
FGD) หัวหน้างานบุคลากรทุกคณะ และกองบริ หาร                           กิจกรรมในระบบบริ หารจัดการเรี ยนรู้
และจัด การทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ จํา นวน 46 ท่ า น ใน                    2.3.2) พัฒ นาคู่ มื อ การใช้ง านเว็บ ฝึ กอบรมสํา หรั บ ผูดู แ ล
                                                                                                                              ้
ประเด็น “การจัดการความรู้สมรรถนะวิชาชีพที่พนักงาน                    ระบบ และคู่มือการใช้งานเว็บฝึ กอบรม
มหาวิ ท ยาลัย สายวิ ช าการและสายสนับ สนุ น วิ ช าการ                 2.3.3) พัฒนาแบบวัดผลสัมฤทธิ์ ก่อนและหลังการฝึ กอบรม
จําเป็ นต้องรู้”                                                     สมรรถนะวิชาชี พพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ และ
1.4) สรุ ป กรอบแนวคิ ด ในการพัฒนาเว็บ ฝึ กอบรม                       สายสนับสนุนวิชาการ
สมรรถนะวิชาชีพพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการและ                        2.4) ขั้นการนําไปทดลองใช้ (Implementation)
สายสนับสนุนวิชาการ                                                   2.4.1) การทดสอบแบบหนึ่ งต่อหนึ่ ง (One-to-one testing)
2)             พัฒนาเว็บ ฝึ กอบรมสมรรถนะวิชาชี พด้ว ย                โดยให้พนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุ น
กระบวนการเรี ยนรู้ แ บบ MIAP ตามขั้ นตอนการ                          วิชาการที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จํานวน 3 คน ใช้เว็บฝึ กอบรมที่
ออกแบบระบบการเรี ยนการสอน (Instructional System                      พัฒนาขึ้น สังเกตและการสัมภาษณ์ ปั ญหาและข้อเสนอแนะ
Design: ISD) (ณมน จีรังสุ วรรณ, 2549) 5 ขั้นตอน ดังนี้               การใช้งาน จากนั้นนําข้อมูลมาปรับปรุ ง แก้ไขข้อบกพร่ อง
2.1) ขั้นการวิเคราะห์ (Analysis)                                     ของเว็บฝึ กอบรม
      วิ เ คราะห์ เ นื้ อ หาการฝึ กอบรมสมรรถนะวิ ช าชี พ             2.4.2) การทดสอบกับกลุ่มเล็ก (Small group testing) โดย
พนัก งานมหาวิท ยาลัย สายวิช าการและสายสนับ สนุ น                     ให้พ นัก งานมหาวิ ท ยาลัย สายวิ ช าการและสายสนับ สนุ น
วิช าการ จัด ทํา แผนภาพมโนทัศ น์ ข องเนื้ อ หา กํา หนด               วิชาการที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จํานวน 5 คน ใช้เว็บฝึ กอบรมที่
หั ว ข้อ ของหน่ ว ยเรี ยน หั ว ข้อ หลัก หั ว ข้อ รอง สร้ า ง         ปรั บปรุ งจากการทดสอบแบบหนึ่ งต่อหนึ่ ง สังเกตและการ
แผนภาพมโนทัศน์เป็ นการเริ่ มต้นขอบเขตเนื้อหา                         สัมภาษณ์ ปั ญหาและข้อเสนอแนะการใช้งาน จากนั้นนํา
2.2) ขั้นการออกแบบ (Design)                                          ข้อมูลมาปรับปรุ ง แก้ไขข้อบกพร่ องของเว็บฝึ กอบรม
2.2.1) ออกแบบจุ ดประสงค์การฝึ กอบรม เพื่อ กําหนด                     2.4.3) การทดลองนําร่ อง (Field trial) โดยให้พนักงาน
วัต ถุ ป ระสงค์ ใ นแต่ ล ะหั ว ข้ อ หลั ก หั ว ข้ อ รอง และ          มหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุ นวิชาการที่ไม่ใช่
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม                                             กลุ่มตัวอย่าง จํานวน 15 คน ใช้เว็บฝึ กอบรมที่ปรับปรุ งจาก
2.2.2) ออกแบบโครงข่ายเนื้ อหา (Content Network)                      การทดสอบแบบกลุมเล็ก     ่
แสดงการเชื่อมโยงและลําดับชั้นตอนเนื้อหา                              2.4.4) หาคุ ณ ภาพของแบบวัด ผลสั ม ฤทธิ์ การฝึ กอบรม
2.2.3) ออกแบบโมดูลของเนื้ อหา (Module) เพื่อแสดง                     สมรรถนะวิชาชีพพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ โดยให้
เนื้ อหาแต่ละหน่วยในการอบรมประกอบด้วยหัวข้อหลัก                      พนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ 15 คน ทําแบบวัดเพื่อหา
และหัวข้อรอง                                                         คุณภาพของแบบวัดโดยหาค่าความเที่ยง (Reliability) ด้วย
2.2.4) ออกแบบสตอรี่ บอร์ดของเว็บฝึ กอบรม                             สูตรการหาค่าสัมประสิ ทธิ์แอลฟ่ าของครอนบาค(Cronbach’s
2.2.5) ออกแบบยุทธศาสตร์ การฝึ กอบรมผ่านเว็บสําหรับ

                                                               280
Alpha Coefficient) ได้ค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.75 หาค่า                      ผูเ้ รี ยนและผูสอน และเครื่ องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล
                                                                                           ้
                     ่
ความยากง่ายอยูระหว่าง 0.36-0.72                                            1.3) ชี้ แจงวัตถุประสงค์การฝึ กอบรม ขั้นตอน การและ
2.4.5) หาคุ ณภาพของแบบวัดผลสัมฤทธิ์ การฝึ กอบรม                            กิ จ กรรมการฝึ กอบรม การวัด และประเมิ น ผล และฝึ ก
สมรรถนะวิชาชี พพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุ น                              ปฏิบติการใช้ระบบบริ หารจัดการเว็บฝึ กอบรม
                                                                                    ั
วิช าการ โดยให้พ นัก งานมหาวิท ยาลัย สายสนับ สนุ น                         2) การฝึ กอบรมบนเว็บด้วยกระบวนการเรี ยนรู้แบบ MIAP
วิชาการ 15 คน ทําแบบวัดเพื่อหาคุณภาพของแบบวัด                              2.1) วัดคะแนนผลสัมฤทธิ์ก่อนการอบรม
โดยหาค่าความเที่ยงด้วยสู ตรการหาค่าสัมประสิ ทธิ์ แอล                       2.2) ดําเนิ นการฝึ กอบรมบนเว็บด้วยกระบวนการเรี ยนรู้แบบ
ฟ่ าของครอนบาค ได้ค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.86 หาค่า                          MIAP ที่พฒนาขึ้น
                                                                                         ั
                   ่
ความยากง่ายอยูระหว่าง 0.45-0.75                                            2.3) วัดคะแนนผลสัมฤทธิ์ หลังการอบรม
2.5) ขั้นการประเมินผล (Evaluation)                                         2.4) สอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการฝึ กอบรมบนเว็บด้วย
2.5.1) ประเมินคุณภาพเว็บฝึ กอบรมด้านเนื้ อหา โดยนํา                        กระบวนการเรี ยนรู ้แบบ MIAP
เว็บฝึ กอบรมและคู่มือ ที่ พฒนาขึ้ นเสนอให้ผูเ้ ชี่ ยวชาญ
                                  ั                                        3) สรุ ปผลการใช้เว็บฝึ กอบรมสมรรถนะวิชาชีพ
ด้านเนื้ อหา 5 ท่าน ประเมินคุณภาพและความเหมาะสม                            3.1) สรุ ปผลและเปรี ยบเทียบความแตกต่างระหว่างคะแนน
ของเว็บ ฝึ กอบรมด้า นเนื้ อ หา และปรั บ ปรุ ง ตามเว็บ                      ผลสั ม ฤทธิ์ ก่ อ นและหลัง การฝึ กอบรม ของพนั ก งาน
ฝึ กอบรมและคู่มือ ตามข้อเสนอแนะ                                            มหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุ นวิชาการ ด้วย t-
2.5.2) ประเมิ นคุณภาพเว็บฝึ กอบรมด้านการออกแบบ                             test แบบ Dependent
ระบบการฝึ กอบรมและด้านเทคนิ ค โดยนําเว็บฝึ กอบรม                           3.2) วิเคราะห์ขอมูลความพึงพอใจของพนักงานมหาวิทยาลัย
                                                                                               ้
และคู่ มื อ ที่ พ ัฒ นาขึ้ นเสนอให้ ผู้เ ชี่ ย วชาญด้า นการ                ที่ มี ต่ อ การฝึ กอบรมบนเว็บ ด้ว ยกระบวนการเรี ย นรู้ แ บบ
ออกแบบระบบการฝึ กอบรมและด้า นเทคนิ ค 5 ท่ า น                              MIAP โดยใช้ค่าเฉลี่ยและส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ประเมิ นคุ ณภาพและความเหมาะสมของเว็บฝึ กอบรม
ด้า นการออกแบบระบบการฝึ กอบรมและด้า นเทคนิ ค                               เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจย ประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์เชิ ง
                                                                                                      ั
แ ล ะ ป รั บ ป รุ ง ต า ม เ ว็ บ ฝึ ก อ บ ร ม แ ล ะ คู่ มื อ ต า ม         ลึกสมรรถนะวิชาชีพ, แบบบันทึกการประชุมระดมสมอง
ข้อเสนอแนะ                                                                 สมรรถนะวิชาชีพ, แบบประเมินคุณภาพเว็บฝึ กอบรมด้าน
                                                                           เนื้ อหา       ด้านการออกแบบระบบการฝึ กอบรมและด้าน
ระยะที่ 2 การศึกษาผลการฝึ กอบรมบนเว็บด้วย                                  เทคนิ ค ,         เว็บ ฝึ กอบรมสมรรถนะวิ ช าชี พ พนัก งาน
กระบวนการเรี ยนรู้แบบ MIAP เพื่อพัฒนาสมรรถนะ                               มหาวิ ท ยาลัย สายวิช าการและสายสนับ สนุ น วิช าการและ
วิชาชีพพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการและสาย                                  คู่มือ, แบบวัดผลสัมฤทธิ์ การฝึ กอบรม และแบบสอบถาม
สนับสนุนวิชาการ                                                            ความพึงพอใจในการใช้เว็บฝึ กอบรม
การศึกษาผลของการใช้เว็บฝึ กอบรมใช้แบบแผนการวิจย             ั
แบบ One Group Pretest-Posttest Design (William and                         6) สรุปผลการวิจัย
Stephen, 2009) ซึ่ งมีข้ นตอนการดําเนิ นการดังนี้
                         ั                                                 ตอนที่ 1 สรุ ปผลการพัฒนาเว็บฝึ กอบรมสมรรถนะวิชาชีพ
1) การเตรี ยมการก่อนการฝึ กอบรม                                            ด้วยกระบวนการเรี ยนรู้แบบ MIAP
1.1) การเตรี ยมความพร้อมของสถานที่ห้อง ปฏิบติการ       ั                   1) รู ปแบบการฝึ กอบรมบนเว็บด้วยกระบวนการเรี ยนรู้แบบ
คอมพิวเตอร์ ได้แก่ เครื่ องคอมพิวเตอร์ ระบบเครื อข่าย                      MIAP
อินเทอร์ เน็ตและโปรแกรมที่เกี่ยวข้อง                                       1.1) องค์ ป ระกอบรู ปแบบการฝึ กอบรมบนเว็ บ ด้ ว ย
1.2) เตรี ย มความพร้ อ มของแผนการจัด การฝึ กอบรม                           กระบวนการเรี ยนรู้แบบ MIAP ประกอบด้วย 1) หลักการ
ระบบบริ ห ารจัด การเว็บ ฝึ กอบรม คู่ มื อ ปฏิ บ ัติ สํา หรั บ              แนวคิด และทฤษฎี พ้ืนฐาน 2) วัตถุประสงค์ของการ


                                                                     281
ฝึ กอบรม 3) วิธีการและกิจกรรมฝึ กอบรม และ 4) การ                          ตารางที่ 1: ผลการประเมินคุณภาพเว็บฝึ กอบรมสมรรถนะ
วัดและการประเมินผลการฝึ กอบรม                                                       วิชาชีพ
1.2) ขั้นตอนการฝึ กอบรมบนเว็บ 3 ขั้นตอน คือ                                    การประเมินคุณภาพ       X     S.D.     ความเหมาะสม
1.2.1) ขั้นก่อนการฝึ กอบรม                                                -   ด้านเนื้อหา            4.78   0.42       มากที่สุด
1.2.2) ขั้นการฝึ กอบรม ดําเนินกิจกรรมการฝึ กอบรม                          -   ด้านการออกแบบ          4.65   0.48       มากที่สุด
โดยใช้รูปแบบกิจกรรมการเรี ยนการสอนแบบ MIAP                                    ระบบการฝึ กอบรม
                                                                          -   ด้านการออกแบบหน้าจอ    4.44   0.51         มาก
แบ่งออกเป็ น 4 ขั้นตอน คือ
                                                                          -   ด้านเทคนิค             4.75   0.44       มากที่สุด
          ช่วงที่ 1 ขั้นสนใจปัญหา (Motivation)
          ช่วงที่ 2 ขั้นศึกษาข้อมูล (Information)
                                                                          จากตารางที่ 1             ผลการประเมิ น คุ ณ ภาพเว็บ ฝึ กอบรม
          ช่วงที่ 3 ขั้นพยายาม (Application)
                                                                          สมรรถนะวิชาชีพ พบว่า คุณภาพเว็บฝึ กอบรมสมรรถนะ
          ช่วงที่ 4 ขั้นสําเร็ จผล (Progress)
                                                                          วิช าชี พ มี ด้านเนื้ อ หา ด้านเทคนิ ค และด้านการออกแบบ
1.2.3) ขั้นสรุ ปผลการฝึ กอบรม ประกอบด้วย การวัด
                                                                          ระบบการฝึ กอบรม มีความเหมาะสมมากที่สุด และด้านการ
และประเมินผลการฝึ กอบรม
                                                                          ออกแบบหน้าจอ มีความเหมาะสมมาก
2) เว็บ ฝึ กอบรมสมรรถนะวิ ช าชี พ ด้ว ยกระบวนการ
เรี ยนรู้แบบ MIAP
2.1) เ ว็ บ ฝึ ก อ บ ร ม ส ม ร ร ถ น ะ วิ ช า ชี พ พ นั ก ง า น
มหาวิ ท ยาลัย สายวิ ช าการและสายสนับ สนุ น วิ ช าการ
มจพ.
2.1.1) เว็ บ ฝึ ก อ บ ร ม ส ม ร ร ถนะ วิ ช าชี พ พ นั ก ง า น
มหาวิ ท ยาลัย สายวิ ช าการและสายสนับ สนุ น วิ ช าการ
จัด การเนื้ อ หาและกิ จ กรรมด้ว ยระบบบริ หารจัด การ
เ รี ย น รู้ ข อ ง                    MOODLE เ ข้ า ถึ ง ไ ด้ ที่
http://www.etraining.kmutnb.ac.th ประกอบด้วย 11                           รู ปที่ 2: หน้ าหลักเว็บฝึ กอบรมสมรรถนะวิชาชี พพนักงาน
หัวข้อ คือ คําอธิ บายเนื้อหาการอบรม วัตถุประสงค์การ                                 มหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการ
อบรม หัวข้อหลัก หัวข้อรอง กระดานข่าว ห้องสนทนา
กระดานเสวนา อภิธานศัพท์ แบบทดสอบก่อนการ
อบรม แบบทดสอบหลังการอบรม และแบบสอบถาม
ความพึงพอใจในการใช้เว็บฝึ กอบรมสมรรถนะวิชาชี พ
เนื้ อหาที่ ใช้ในการฝึ กอบรมสมรรถนะวิชาชี พพนักงาน
มหาวิ ท ยาลัย สายวิ ช าการ แบ่ ง ออกเป็ น 5 ตอน คื อ
ระเบี ย บ มจพ. ข้อ บังคับ มจพ. ประกาศ ก.บ.ม. มจพ.
ประกาศ มจพ. และประกาศ ก.พ.อ.
2.1.2) ผลการประเมิ นคุ ณภาพเว็บฝึ กอบรมสมรรถนะ
วิ ช าชี พ พนั ก งานมหาวิ ท ยาลัย สายวิ ช าการและสาย
สนับสนุนวิชาการ โดยผูเ้ ชี่ยวชาญ แสดงดังตารางที่ 1


                                                                          รู ปที่ 3: หน้ าหลักเว็บฝึ กอบรมสมรรถนะวิชาชี พพนักงาน
                                                                                    มหาวิทยาลัยสายวิชาการ
                                                                    282
ตอนที่ 2 ผลการฝึ กอบรมบนเว็บด้วยกระบวนการเรี ยนรู้                 2) ผลการศึกษาความพึงพอใจของพนักงานมหาวิทยาลัยสาย
แบบ MIAP เพื่อพัฒนาสมรรถนะวิชาชี พพนักงาน                          วิชาการและสายสนับสนุ นวิชาการ       พบว่า พนักงาน
มหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการ                         มหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุ นวิชาการมีความ
1) ผลการเปรี ยบเที ย บผลสั ม ฤทธิ์ การฝึ กอบรมของ                  พึงพอใจต่อการฝึ กอบรมบนเว็บด้วยกระบวนการเรี ยนรู้แบบ
พนั ก งานมหาวิ ท ยาลัย สายวิ ช าการ 40 คน และสาย                                      ่
                                                                   MIAP ในภาพรวมอยูในระดับมากที่สุด ( X = 4.56, S.D. =
สนับสนุนวิชาการ 40 คน ก่อนและหลังการฝึ กอบรมบน                     0.57)
เว็บด้วยกระบวนการเรี ยนรู้แบบ MIAP แสดงดังตาราง
ที่ 2-3 ดังนี้                                                     7) อภิปรายผล
                                                                   7.1) ผลการพัฒนาเว็บฝึ กอบรมสมรรถนะวิชาชีพ
ตารางที่ 2: ผลการเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ การฝึ กอบรม                เว็บฝึ กอบรมสมรรถนะวิชาชี พ 11 หัวข้อ สอดคล้องกับ
           ของพนั ก งานมหาวิ ท ยาลั ย สายวิ ช าการ                 แนวคิดของ Kilby (1998) ที่ กล่าวว่าเว็บฝึ กอบรมควร
           ก่อนและหลังการอบรม                                      ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบหลัก คื อ 1) สื่ อสําหรั บ
    ผลสั มฤทธิ์
                  คะแนนเต็ม           S.D.   t-test   Sig.
                                                                   นําเสนอ ได้แก่ ข้อความ กราฟิ ก และภาพเคลื่ อนไหว วีดิ
  การฝึ กอบรม                  X
                                                                   ทัศน์และเสี ยง 2) การปฏิสัมพันธ์ 3) การจัดการฐานข้อมูล
  ก่อนฝึ กอบรม       40       23.20   4.02 20.04** .00
                                                                   4) ส่ วนสนับสนุนการเรี ยนการสอน ได้แก่ อิเล็คทรอนิ กส์
  หลังฝึ กอบรม       40       32.54   2.71
                                                                   บอร์ ด เช่น BBS, Web Board จดหมายอิเล็คทรอนิกส์ และ
**p < .01
                                                                   การสนทนาผ่ า นเครื อข่ า ย เนื้ อ หาที่ ใ ช้ใ นการฝึ กอบรม
                                                                   สมรรถนะวิชาชีพพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการและสาย
จากตารางที่ 2 ผลการเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ ก่อนและ
                                                                   สนับสนุ นวิชาการ 5 ตอน สอดคล้องกับแนวคิดสมรรถนะ
หลังการฝึ กอบรมบนเว็บ ด้วยกระบวนการเรี ยนรู้ แ บบ
                                                                   วิชาชี พของ เพ็ญจันทร์ แสนประสาน และคณะ (2548)
MIAP พบว่า พนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการมีค่าเฉลี่ย
                                                                   แบ่งเป็ น 3 ประเภท คือ 1) สมรรถนะหลัก 2) สมรรถนะ
ของคะแนนผลสัมฤทธิ์ การฝึ กอบรมหลังฝึ กอบรมสู งกว่า
                                                                   วิชาชีพ และ 3) สมรรถนะเชิงเทคนิค
ก่อนฝึ กอบรม อย่างมีนยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01
                     ั
                                                                   องค์ป ระกอบรู ป แบบการฝึ กอบรมบนเว็บ ขั้น ตอนการ
                                                                   ฝึ กอบรมบนเว็บ และการดําเนิ นกิจกรรมการฝึ กอบรม โดย
ตารางที่ 3: ผลการเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ การฝึ กอบรม
                                                                   ใช้รูปแบบ MIAP สามารถพัฒนาผลสัมฤทธิ์ สมรรถนะ
           ของพนั ก งานมหาวิ ท ยาลัย สายสนั บ สนุ น
                                                                   วิชาชี พได้ และผูเ้ ข้ารั บ การฝึ กอบรมมี ความพึงพอใจมาก
           วิชาการก่อนและหลังการอบรม
                                                                   สอดคล้องกับการวิจยของชลอ พลนิ ล (2551) ที่พบว่า การ
                                                                                          ั
    ผลสั มฤทธิ์   คะแนนเต็ม    X      S.D.   t-test Sig.
                                                                   จัดการเรี ยนรู้ MIAP เป็ นวิธีที่เหมาะสมสําหรับใช้ในการจัด
  การฝึ กอบรม
  ก่อนฝึ กอบรม       40       20.44   6.14 14.60** .00
                                                                   กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ ด้า นวิช าชี พ และอัค รวุฒิ จิ น ดานุ รั ก ษ์
  หลังฝึ กอบรม       40       30.35   2.95                         (2553) ที่พบว่า กระบวนการ MIAP 5 ขั้นตอน คือ ขั้นศึกษา
**p < .01                                                          วิเ คราะห์ แ ละออกแบบ ขั้น เตรี ย มการสอน ขั้น ปฏิ บ ัติก าร
                                                                   สอน ขั้น บ่ ม เพาะ และ ขั้น ประเมิ น ผล สามารถพัฒ นา
จากตารางที่ 3 ผลการเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ ก่อนและ                  ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนได้ และผูเ้ รี ยนมี ความพึงพอใจต่อ
หลังการฝึ กอบรมบนเว็บ ด้วยกระบวนการเรี ยนรู้ แ บบ                  รู ปแบบการเรี ยนมาก
MIAP พบว่า พนักงานมหาวิท ยาลัย สายสนับ สนุ น                       7.2) ผลการฝึ กอบรมบนเว็บ ด้วยกระบวนการเรี ย นรู้ แ บบ
วิชาการมี ค่าเฉลี่ ยของคะแนนผลสัมฤทธิ์ การฝึ กอบรม                 MIAP เพื่อพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพพนักงานมหาวิทยาลัย
หลังฝึ กอบรมสู งกว่าก่อนฝึ กอบรม อย่างมีนยสําคัญทาง
                                         ั                         สายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการ
สถิติที่ระดับ .01
                                                             283
พนัก งานมหาวิท ยาลัย สายวิช าการและสายสนับ สนุ น                        สุ ชาติ ศิริสุขไพบูลย์. (2527). เทคนิคและวิธีการสอนวิชาชี พ
วิ ช าการมี ค่ า เฉลี่ ย ของผลสั ม ฤทธิ์ การฝึ กอบรมหลัง                     MIAP. กรุ งเทพมหานคร: สถาบันเทคโนโลยีพระจอม
ฝึ กอบรม สู งกว่าก่อนฝึ กอบรม อย่างมีนยสําคัญทางสถิติ
                                           ั                                 เกล้าพระนครเหนือ.
ที่ระดับ .01 แสดงให้เห็นว่าการฝึ กอบรมบนเว็บด้วย                        อัครวุฒิ จินดานุรักษ์. (2553). การพัฒนารู ปแบบการสอน
กระบวนการเรี ย นรู้ แ บบ MIAP                สามารถพัฒ นา                    คณิ ตศาสตร์ ด้วยกระบวนการ MIAP. วิทยานิพนธ์ครุ
ความสามารถด้า นสมรรถนะวิ ช าชี พ ของพนั ก งาน                                ศาสตร์อุตสาหกรรมดุษฎีบณฑิต, มหาวิทยาลัย
                                                                                                          ั
มหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุ นวิชาการได้                               เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
สอดคล้องกับ Piriyasurawong and Nilsook (2010) ที่                       Clark, G. (1996). Glossary of CBT/WBT terms.
                                                                            [Online]. Accessed 2 November 2001. Available
พบว่า เว็บ ฝึ กอบรมสามารถผลสั ม ฤทธิ์ การฝึ กอบรม                           from http://www.clark.net/pub/nractive/alt5.htm
                                                                        Driscoll, M. (2005). Advanced web-based training
พฤติ ก รรมการเรี ย นรู้ การมี ส่ ว นร่ ว มในการฝึ กอบรม                     strategies : unlocking instructionally sound online
และความพึงพอใจของผูเ้ ข้ารับการอบรมได้                                      learning. San Francisco, CA : Pfeiffer.
                                                                        Horton, W. (2000). Designing web-based training :
                                                                            How to teach anyone anything anywhere anytime.
                                                                            New York : John Wiley & Sons.
8) กิตติกรรมประกาศ                                                      Kilby, T. (1998). Web-Based Learning. Ca: WBI
                                                                            Training Information Center.
ขอขอบพระคุณ ผศ.ดร.ณมน จี รังสุ วรรณ และผศ.ดร.                           Mitrani, A., Dalziel, M., & Fitt, D. (1992). Competency
พัลลภ พิริ ยะสุ ระวงศ์ ผศ.คันธรส แสนวงศ์ สําหรั บ                           based human resource management: Value driven
                                                                            strategies for recruitment, development, and
คําแนะนําอันเป็ นประโยชน์ ขอขอบพระคุณ และกอง                                reward. London: McGraw-Hill.
บริ ห า ร แ ละ จั ด ก า ร ท รั พ ย า ก ร ม นุ ษ ย์ พ นั ก ง า น         Piriyasurawong, P. & Nilsook, P. (2010). Web-based
                                                                            Training on Knowledge Management for
มหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุ นวิชาการทุก                              Vocational Teachers in Thailand. Asian Journal of
                                                                            Distance Education, 8(2), 65–71
ท่านที่สละเวลาอันมีค่าเข้าร่ วมโครงการวิจย ขอขอบคุณ
                                                ั                       Spencer, M & Spencer, M.S. (1993). Competence at
สํา นัก วิ จัย วิท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี มหาวิ ท ยาลัย                     work: Models for Superiors Performance. New
                                                                            York: John Wiley and Sons.
เทคโนโลยีพ ระจอมเกล้า พระนครเหนื อ สํา หรั บ ทุ น                       William, W. & Stephen G. J. (2009). Research methods
                                                                            in education: an introduction. (9thed.). Boston:
สนับสนุนนักวิจยทัวไป ประจําปี 2552
                     ั ่                                                    Pearson.


9) เอกสารอ้ างอิง

ชลอ พลนิล. (2551). ปฏิบัติการพัฒนาทักษะการซ่ อม
    ระบบฉี ดเชื อเพลิงอิเล็กทรอนิกส์ วิชางานระบบฉี ด
                 ้
    เชื อเพลิงอิเล็กทรอนิกส์ ของนักเรี ยน ระดับ
        ้
    ประกาศนียบัตรวิชาชี พ หลักสู ตรพุทธศักราช 2545
    สาขางานยานยนต์ คณะวิชาเครื่ องกล วิทยาลัย
    สารพัดช่ างอุบลราชธานี . วิทยานิพนธ์ครุ ศาสตรม
    หาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.
ณมน จีรังสุ วรรณ. (2549). หลักการออกแบบและ
    ประเมิน. กรุ งเทพมหานคร: ศูนย์ผลิตตําราเรี ยน
    สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
เพ็ญจันทร์ แสนประสาน และคณะ. (2548). การจัดการ
    ทางการพยาบาลสู่ การเรี ยนรู้ . กรุ งเทพมหานคร:
    สุ ขมวิทการพิมพ์.
          ุ
                                                                  284

More Related Content

What's hot

Mooc infographics-gamification-infographics
Mooc infographics-gamification-infographicsMooc infographics-gamification-infographics
Mooc infographics-gamification-infographicsiyabest
 
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญระดับอุดมศึกษา
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญระดับอุดมศึกษาการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญระดับอุดมศึกษา
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญระดับอุดมศึกษาPrachyanun Nilsook
 
โครงการE learning2559
โครงการE learning2559โครงการE learning2559
โครงการE learning2559Pa'rig Prig
 
77การเรียนการสอนบนเว็บ
77การเรียนการสอนบนเว็บ77การเรียนการสอนบนเว็บ
77การเรียนการสอนบนเว็บLUKNONGLUK
 
กิจกรรมที่ 2 องค์ความรู้ในด้านต่างๆ
กิจกรรมที่ 2 องค์ความรู้ในด้านต่างๆกิจกรรมที่ 2 องค์ความรู้ในด้านต่างๆ
กิจกรรมที่ 2 องค์ความรู้ในด้านต่างๆwariety
 
คำอธาบยรายวิชาคอมพิวเตอร์เพิ่มเติม ม5
คำอธาบยรายวิชาคอมพิวเตอร์เพิ่มเติม ม5คำอธาบยรายวิชาคอมพิวเตอร์เพิ่มเติม ม5
คำอธาบยรายวิชาคอมพิวเตอร์เพิ่มเติม ม5นนท์ จรุงศิรวัฒน์
 
มาตรฐานการจัดการศึกษาทางไกล
มาตรฐานการจัดการศึกษาทางไกลมาตรฐานการจัดการศึกษาทางไกล
มาตรฐานการจัดการศึกษาทางไกลจำรัส สอนกล้า
 
04.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ e learning
04.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ e learning04.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ e learning
04.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ e learningPrachoom Rangkasikorn
 
LearnSquare Administrator
LearnSquare AdministratorLearnSquare Administrator
LearnSquare AdministratorNECTEC, NSTDA
 
02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv
02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv
02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltvPrachoom Rangkasikorn
 
Book 1-report obec year 63 -teacher suchera
Book 1-report obec year 63 -teacher sucheraBook 1-report obec year 63 -teacher suchera
Book 1-report obec year 63 -teacher sucheraSucheraSupapimonwan
 
วิชาการจัดการธุรกิจ้วยคอมพิวเตอร์
วิชาการจัดการธุรกิจ้วยคอมพิวเตอร์วิชาการจัดการธุรกิจ้วยคอมพิวเตอร์
วิชาการจัดการธุรกิจ้วยคอมพิวเตอร์Prapaporn Boonplord
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์Sasitorn Sangpinit
 

What's hot (20)

Mooc infographics-gamification-infographics
Mooc infographics-gamification-infographicsMooc infographics-gamification-infographics
Mooc infographics-gamification-infographics
 
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญระดับอุดมศึกษา
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญระดับอุดมศึกษาการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญระดับอุดมศึกษา
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญระดับอุดมศึกษา
 
แบบนิเทศDlitปัจจัย+บริหาร
แบบนิเทศDlitปัจจัย+บริหารแบบนิเทศDlitปัจจัย+บริหาร
แบบนิเทศDlitปัจจัย+บริหาร
 
แบบนิเทศDlitครูผู้สอน
แบบนิเทศDlitครูผู้สอนแบบนิเทศDlitครูผู้สอน
แบบนิเทศDlitครูผู้สอน
 
โครงการE learning2559
โครงการE learning2559โครงการE learning2559
โครงการE learning2559
 
77การเรียนการสอนบนเว็บ
77การเรียนการสอนบนเว็บ77การเรียนการสอนบนเว็บ
77การเรียนการสอนบนเว็บ
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3
 
แบบนิเทศDlitนักเรียน
แบบนิเทศDlitนักเรียนแบบนิเทศDlitนักเรียน
แบบนิเทศDlitนักเรียน
 
กิจกรรมที่ 2 องค์ความรู้ในด้านต่างๆ
กิจกรรมที่ 2 องค์ความรู้ในด้านต่างๆกิจกรรมที่ 2 องค์ความรู้ในด้านต่างๆ
กิจกรรมที่ 2 องค์ความรู้ในด้านต่างๆ
 
คำอธาบยรายวิชาคอมพิวเตอร์เพิ่มเติม ม5
คำอธาบยรายวิชาคอมพิวเตอร์เพิ่มเติม ม5คำอธาบยรายวิชาคอมพิวเตอร์เพิ่มเติม ม5
คำอธาบยรายวิชาคอมพิวเตอร์เพิ่มเติม ม5
 
มาตรฐานการจัดการศึกษาทางไกล
มาตรฐานการจัดการศึกษาทางไกลมาตรฐานการจัดการศึกษาทางไกล
มาตรฐานการจัดการศึกษาทางไกล
 
04.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ e learning
04.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ e learning04.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ e learning
04.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ e learning
 
LearnSquare Administrator
LearnSquare AdministratorLearnSquare Administrator
LearnSquare Administrator
 
02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv
02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv
02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv
 
Book 1-report obec year 63 -teacher suchera
Book 1-report obec year 63 -teacher sucheraBook 1-report obec year 63 -teacher suchera
Book 1-report obec year 63 -teacher suchera
 
วิชาการจัดการธุรกิจ้วยคอมพิวเตอร์
วิชาการจัดการธุรกิจ้วยคอมพิวเตอร์วิชาการจัดการธุรกิจ้วยคอมพิวเตอร์
วิชาการจัดการธุรกิจ้วยคอมพิวเตอร์
 
Facebook
FacebookFacebook
Facebook
 
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodleคู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

Similar to The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor and Staff Job Competencies of King Mongkut’s University of Technology North Bangkok. [2012]

Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษาแนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษาK S
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรpaween
 
T hink ttt
T hink tttT hink ttt
T hink tttkrutip
 
1ผลการวิเคราะห์ swot ของศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
1ผลการวิเคราะห์ swot   ของศูนย์คอมพิวเตอร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย1ผลการวิเคราะห์ swot   ของศูนย์คอมพิวเตอร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
1ผลการวิเคราะห์ swot ของศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลยjeabjeabloei
 
การประเมินผู้เรียนตามมาตรฐาน Tqf
การประเมินผู้เรียนตามมาตรฐาน Tqfการประเมินผู้เรียนตามมาตรฐาน Tqf
การประเมินผู้เรียนตามมาตรฐาน TqfPrachyanun Nilsook
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานSoldic Kalayanee
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานMintra Pudprom
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานKaRn Tik Tok
 
Ch5 e-learning-text
Ch5 e-learning-textCh5 e-learning-text
Ch5 e-learning-textChangnoi Etc
 
Research5
Research5Research5
Research5School
 
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา05
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา05สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา05
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา05Prachyanun Nilsook
 
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่ายรายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่ายJiraporn Chaimongkol
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนPrachyanun Nilsook
 
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...Mnr Prn
 
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐาน
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐานสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐาน
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐานนะนาท นะคะ
 

Similar to The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor and Staff Job Competencies of King Mongkut’s University of Technology North Bangkok. [2012] (20)

Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
 
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษาแนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตร
 
T hink ttt
T hink tttT hink ttt
T hink ttt
 
Etrainingbpcd
EtrainingbpcdEtrainingbpcd
Etrainingbpcd
 
เอกสารทางวิชาการ
เอกสารทางวิชาการเอกสารทางวิชาการ
เอกสารทางวิชาการ
 
1ผลการวิเคราะห์ swot ของศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
1ผลการวิเคราะห์ swot   ของศูนย์คอมพิวเตอร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย1ผลการวิเคราะห์ swot   ของศูนย์คอมพิวเตอร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
1ผลการวิเคราะห์ swot ของศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
 
การประเมินผู้เรียนตามมาตรฐาน Tqf
การประเมินผู้เรียนตามมาตรฐาน Tqfการประเมินผู้เรียนตามมาตรฐาน Tqf
การประเมินผู้เรียนตามมาตรฐาน Tqf
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
Etrainingbpcd
EtrainingbpcdEtrainingbpcd
Etrainingbpcd
 
Ch5 e-learning-text
Ch5 e-learning-textCh5 e-learning-text
Ch5 e-learning-text
 
Research5
Research5Research5
Research5
 
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา05
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา05สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา05
สารสนเทศเพื่อการบริหารทางการศึกษา05
 
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่ายรายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
 
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
 
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐาน
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐานสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐาน
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐาน
 
E learning start
E learning startE learning start
E learning start
 

More from Panita Wannapiroon Kmutnb

Emerging Trends and Technologies in Education
Emerging Trends and Technologies in EducationEmerging Trends and Technologies in Education
Emerging Trends and Technologies in EducationPanita Wannapiroon Kmutnb
 
Strategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-LearningStrategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-LearningPanita Wannapiroon Kmutnb
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could LearningEducation 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could LearningPanita Wannapiroon Kmutnb
 
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETINGUSING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETINGPanita Wannapiroon Kmutnb
 
มหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยธนบุรีมหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยธนบุรีPanita Wannapiroon Kmutnb
 
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรมชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรมPanita Wannapiroon Kmutnb
 
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiapชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiapPanita Wannapiroon Kmutnb
 
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอนเทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอนPanita Wannapiroon Kmutnb
 
เทคนิคการสอน ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
เทคนิคการสอน  ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรมเทคนิคการสอน  ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
เทคนิคการสอน ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรมPanita Wannapiroon Kmutnb
 
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...Panita Wannapiroon Kmutnb
 

More from Panita Wannapiroon Kmutnb (20)

Emerging Trends and Technologies in Education
Emerging Trends and Technologies in EducationEmerging Trends and Technologies in Education
Emerging Trends and Technologies in Education
 
Strategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-LearningStrategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-Learning
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
 
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could LearningEducation 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning
 
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETINGUSING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
 
มหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยธนบุรีมหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยธนบุรี
 
Interactive e learning_etech
Interactive e learning_etechInteractive e learning_etech
Interactive e learning_etech
 
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรมชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
 
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiapชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
 
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอนเทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
 
เทคนิคการสอน ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
เทคนิคการสอน  ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรมเทคนิคการสอน  ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
เทคนิคการสอน ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
 
Ctu 1 intro_analyze_the_issue
Ctu 1 intro_analyze_the_issueCtu 1 intro_analyze_the_issue
Ctu 1 intro_analyze_the_issue
 
Interactive e leraning_ctu
Interactive e leraning_ctuInteractive e leraning_ctu
Interactive e leraning_ctu
 
Interactive e leraning_vec5
Interactive e leraning_vec5Interactive e leraning_vec5
Interactive e leraning_vec5
 
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
 
Interactive e leraning_vec2
Interactive e leraning_vec2Interactive e leraning_vec2
Interactive e leraning_vec2
 
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
 
Interactive e leraning
Interactive e leraningInteractive e leraning
Interactive e leraning
 
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
 
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
 

The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor and Staff Job Competencies of King Mongkut’s University of Technology North Bangkok. [2012]

  • 1. ผลการฝึ กอบรมบนเว็บด้ วยกระบวนการเรียนรู้ แบบ MIAP เพือพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ ่ พนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการ ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าพระนครเหนือ The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor and Staff Job Competencies of King Mongkut’s University of Technology North Bangkok อ.ดร.ปณิ ตา วรรณพิรุณ1, ผศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุ ข2 1 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารเพื่อการศึกษา คณะครุ ศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (panitaw@kmutnb.ac.th) 2 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารเพื่อการศึกษา คณะครุ ศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (prachyanunn@kmutnb.ac.th) ABSTRACT higher than pre-test scores. The instructor and staff This objective the research study was to study of agree that the web-based training was appropriateness the effects of e-Training with MIAP learning in a high level. process for developing instructor and staff job competencies of King Mongkut’s University of Technology North Bangkok (KMUTNB). The Keywords: e-Training, web-based training, MIAP, research is divided into two stages: 1) develop of job competencies, Mongkut’s University of the web-based training with MIAP learning Technology North Bangkok. process, 2) study of the effects of e-Training with MIAP learning process for developing instructor and staff job competencies of King Mongkut’s บทคัดย่ อ University of Technology North Bangkok. The sample studies of this research were 40 instructors and 40 staffs of KMUTNB. The research tools were the web-based training with การวิ จั ย นี้ มี ว ั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ศึ ก ษาผลการฝึ กอบรม MIAP learning process and manual, the training บนเว็บด้วยกระบวนการเรี ยนรู้แบบ MIAP เพื่อพัฒนา achievement test, and the instructor and staff satisfaction questionnaire. Data was analyzed by สมรรถนะวิช าชี พ พนัก งานมหาวิ ท ยาลัย สายวิช าการและ using average and t-Test dependent. The result revealed that: สายสนับสนุนวิชาการ ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม 1. Web-based training for developing instructor เกล้า พระนครเหนื อ การวิ จัย แบ่ ง เป็ น 2 ระยะ คื อ job competencies consist of five units and web- based training for developing staff job 1) การพัฒ นาเว็บ ฝึ กอบรมด้ว ยกระบวนการเรี ย นรู ้ แ บบ competencies consist of five units. MIAP เพื่อพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพพนักงานมหาวิทยาลัย 2. e-Training with MIAP learning process for developing instructor and staff job competencies สายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการ และ 2) การศึกษาผล is divided into three stages: 1) pre-training, 2) training with MIAP learning process is divided การฝึ กอบรมบนเว็บ ด้ว ยกระบวนการเรี ย นรู้ แ บบ MIAP into four stages: Motivation, Information, กลุ่ ม ตัว อย่ า งที่ ใ ช้ใ นการวิ จัย คื อ พนั ก งานมหาวิ ท ยาลัย Application, and Progress, and 3) summarizing the results of training. สายวิ ช าการ 40 คน และสายสนับ สนุ น วิ ช าการ 40 คน 3. The instructor and staff trained by web- based training for developing instructor job เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจย คือ เว็บฝึ กอบรมสมรรถนะวิชาชีพ ั competencies had statistically significant at .01 พนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการ level post-test scores on training achievement และคู่มือ แบบวัดผลสัมฤทธิ์ การฝึ กอบรมสมรรถนะวิชาชีพ 277
  • 2. พนัก งานมหาวิท ยาลัย สายวิช าการและสายสนับ สนุ น ตระหนักถึงบทบาท หน้าที่ความรับผิดชอบของตนเองและ วิชาการ และแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้เว็บ เข้า ใจถึ ง วี ก ารสอน องค์ป ระกอบของการจัด การศึ ก ษา ฝึ กอบรมสมรรถนะวิช าชี พ สถิ ติที่ ใ ช้ใ นการวิจัย คื อ กระบวนการจัด กิ จ กรรมการเรี ย นการสอน การวัด และ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ ประเมินผล และเพื่อให้พนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุน ทดสอบสมมติฐานด้วยการทดสอบแบบที วิ ช าการมี ค วามรู ้ ความสามารถและมี ท ัก ษะในการคิ ด ผลการวิจย พบว่า ั วิเคราะห์งาน สามารถจัดทําคู่มือการปฏิบติงานในตําแหน่ง ั 1. เว็บฝึ กอบรมสมรรถนะวิชาชีพพนักงานมหาวิทยาลัย ของตนเอง อันจะส่ งผลดีต่อการปฏิบติงานและมหาวิทยาลัย ั สายวิชาการ ประกอบด้วยเนื้ อหา 5 ตอน เว็บฝึ กอบรม ต่อไปในอนาคต สมรรถนะวิชาชี พพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุ น การใช้อินเทอร์ เน็ตเพื่อการฝึ กอบรมจะเป็ นเทคโนโลยีเพื่อ วิชาการ ประกอบด้วยเนื้อหา 5 ตอน การฝึ กอบรมแห่ งอนาคต เมื่อเปรี ยบเที ยบกับสื่ อทันสมัย 2. การฝึ กอบรมบนเว็บ ด้ว ยกระบวนการเรี ย นรู้ แ บบ แบบเดิม ๆ อย่างเช่น วีดิโอเทป หรื อคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน MIAP แบ่งเป็ น 3 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นก่อนการ ซึ่ งมี สิ่ ง ที่ เ พิ่ ม ขึ้ นมาในระบบอิ น เทอร์ เ น็ ต ที่ ช่ ว ยให้ ก าร ฝึ กอบรม 2) ขั้นการฝึ กอบรม ดําเนิ นกิ จกรรมการ ฝึ กอบรมเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพมากขึ้น เพราะการศึกษา ฝึ กอบรม โดยใช้รูปแบบกิจกรรมการเรี ยนการสอนแบบ โดยผ่านระบบอินเทอร์ เน็ตก็จดได้ว่าเป็ นการศึกษาทางไกล ั MIAP แบ่งเป็ น 4 ขั้นตอน คือ ช่วงที่ 1 ขั้นสนใจ แบบหนึ่ ง Clark (1996) ได้ให้คาจํากัดความของการใช้ ํ ปั ญหา ช่วงที่ 2 ขั้นศึกษาข้อมูล ช่วงที่ 3 ขั้นพยายาม อินเทอร์เน็ตหรื อเว็บฝึ กอบรม (Web-Based Training : WBT) และช่วงที่ 4 ขั้นสําเร็ จผล และ3) ขั้นสรุ ปผลการ ว่า เป็ นการสอนรายบุคคลที่ส่งข้อมูลเป็ นสาธารณะหรื อเป็ น ฝึ กอบรม การส่ วนตัวด้วยคอมพิวเตอร์ และแสดงผลโดยด้วยการแสดง 3. พนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุน ด้วยหน้าจอของเว็บ โดยที่ ไม่ได้ถ่ายทอดข้อมูลในแบบ วิ ช าการ มี ผ ลสั ม ฤทธิ์ หลัง การฝึ กอบรมสมรรถนะ คอมพิวเตอร์ ฝึกอบรม (CBT : Computer-Based Training) วิชาชีพสู งกว่าก่อนการฝึ กอบรมอย่างมีนยสําคัญทางสถิติ ั แต่เป็ นไปตามความต้องการในการฝึ กอบรม โดยการเก็บ ที่ระดับ .01 และพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการและ ข้อมูลในแหล่งจัดเก็บและเข้าถึงข้อมูลได้โดยระบบเครื อข่าย สายสนับสนุ นวิชาการมี ความพึงพอใจต่อการฝึ กอบรม โดยที่เว็บฝึ กอบรมสามารถปรับเปลี่ยนข้อมูลให้ทนสมัย ได้ ั บนเว็บด้วยกระบวนการเรี ยนรู้แบบ MIAP อยูในระดับ่ รวดเร็ ว และการเข้าถึงข้อมูลการฝึ กอบรมควบคุมได้โดย มาก ผูออกแบบการฝึ กอบรม ้ วิธีสอนแบบ MIAP คื อ กระบวนการที่ ผูสอนจัด ้ คํ า สํ า คั ญ : การฝึ กอบรมบนเว็บ , เว็บ ฝึ กอบรม, ประสบการณ์การเรี ยนรู้โดยผ่านขั้นตอนสําคัญ 4 ขั้นตอน การเรี ยนรู้แบบ MIAP, สมรรถนะวิชาชีพ, มหาวิทยาลัย คือ 1) ขั้นสนใจปั ญหา (Motivation) 2) ขั้นศึกษาข้อมูล เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (Information) 3) ขั้นพยายามหรื อขั้นของการนํามาใช้ (Application) และ 4) ขั้นสําเร็ จผล (Progress) เพื่อให้ผเู้ รี ยน 1) บทนํา ั ํ ได้บรรลุวตถุประสงค์การเรี ยนรู้ที่กาหนดไว้ และสามารถ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนื อ ได้ พัฒนาสมรรถนะวิชาชีพได้ (สุ ชาติ ศิริสุขไพบูลย์, 2527) ตระหนักถึ งความสําคัญของการพนักงานมหาวิทยาลัย พนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการ สายวิช าการและสายสนับ สนุ นวิชาการที่ เ ข้า มาปฏิ บ ัติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนื อ เป็ น ราชการ ซึ่ งถื อ เป็ นกลไกสํ า คัญ ยิ่ ง ในการที่ จ ะช่ ว ย กลุ่มบุคคลที่มีทกษะทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเป็ นอย่าง ั สนับสนุนการปฏิบติงานของมหาวิทยาลัยในทุกด้านและ ั ดี มี ค วามพร้ อ มที่ จ ะปรั บ วิ ธี เ รี ยนรู้ เปลี่ ย นวิ ธี ส อนและ ช่วยพัฒนามหาวิทยาลัยต่อไปในอนาคต โดยมี การจัด ต้อ งการอบรมพัฒ นาความรู้ อ ยู่เ สมอ เป็ นไปตามความ ฝึ กอบรมเพื่อ ให้พ นัก งานมหาวิท ยาลัย สายวิ ช าการได้ ต้องการในการพัฒนาบุคลากรของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี 278
  • 3. พระจอมเกล้าพระนครเหนือ พร้อมทั้งจัดให้มีหน่วยงาน 4.2) ตัวแปรในการวิจย ั รองรั บ ขึ้ นในมหาวิ ท ยาลัย จึ ง ควรมี ก ารพัฒ นาเว็บ ตัวแปรอิสระ คือ เว็บฝึ กอบรมด้วยกระบวนการเรี ยนรู้แบบ ฝึ กอบรมโดยเฉพาะเรื่ อง สมรรถนะวิ ช าชี พ เพื่ อ MIAP ประโยชน์ ใ นการฝึ กอบรมพนัก งานมหาวิท ยาลัย สาย ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธิ์ การฝึ กอบรม และความพึงพอใจ วิชาการและสายสนับสนุ นวิชาการ และเป็ นต้นแบบใน การพัฒนาเว็บฝึ กอบรมสําหรับการพัฒนาบุคลากรต่อไป กรอบแนวคิดการวิจัย 2) วัตถุประสงค์ การวิจัย เว็บฝึ กอบรม สมรรถนะวิชาชีพ 2.1) เพื่อพัฒนาเว็บฝึ กอบรมด้วยกระบวนการเรี ยนรู้แบบ (Horton, 2000; Driscoll, 2005) (Mitrani, Dalziel and Fitt,1992; Spencer and Spencer, 1993) MIAP เพื่อพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพพนักงาน - การออกแบบเว็บฝึ กอบรม - สมรรถนะวิชาชีพพนักงาน มหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการ ของ มหาวิทยาลัยสายวิชาการ - รู ปแบบของเว็บฝึ กอบรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ - องค์ประกอบของเว็บฝึ กอบรม - สมรรถนะวิชาชีพพนักงาน มหาวิทยาลัยสายสนับสนุน 2.2) เพื่อศึกษาผลการฝึ กอบรมบนเว็บด้วยกระบวนการ - วิธีการใช้เว็บฝึ กอบรม วิชาการ เรี ยนรู ้แบบ MIAP เพื่อพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพพนักงาน มหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการ ของ รู ปแบบการฝึ กอบรมบนเว็บ การเรียนการสอนรู ปแบบ MIAP (Horton, 2000; Driscoll, 2005) (สุ ชาติ ศิริสุขไพบูลย์, 2527) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 1. องค์ประกอบรู ปแบบการฝึ กอบรม บนเว็บ 1. ขั้นสนใจปั ญหา (Motivation) 3) สมมติฐานการวิจัย 2. ขั้นตอนการฝึ กอบรมบนเว็บ 2. ขั้นศึกษาข้อมูล (Information) 2.1 ขั้นก่อนการฝึ กอบรม 3. ขั้นพยายาม (Application) 3.1) พนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการมี ผลสัมฤทธิ์ 2.2 ขั้นการฝึ กอบรม (MIAP) 4. ขั้นสําเร็ จผล (Progress) 2.3 ขั้นสรุ ปผลการฝึ กอบรม หลัง การฝึ กอบรมสมรรถนะวิ ช าชี พ สู ง กว่ า ก่ อ นการ 3. การวัดและประเมินผลการฝึ กอบรม ฝึ กอบรมอย่างมีนยสําคัญทางสถิติ ั 3.2) พนัก งานมหาวิท ยาลัย สายสนับ สนุ นวิช าการ การฝึ กอบรมบนเว็บด้ วยกระบวนการเรียนรู้ แบบ MIAP เพือพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ ่ มีผลสัมฤทธิ์ หลังการฝึ กอบรมสมรรถนะวิชาชี พสู งกว่า พนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการ ก่อนการฝึ กอบรมอย่างมีนยสําคัญทางสถิติ ั รู ปที่ 1: กรอบแนวคิดการฝึ กอบรมบนเว็บด้ วยกระบวนการ เรี ยนรู้ แบบ MIAP เพื่อพัฒนาสมรรถนะวิชาชี พ 4) ขอบเขตการวิจัย พนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุน ่ 4.1) ประชากรและกลุมตัวอย่าง วิชาการ ประชากร คื อ พนักงานมหาวิทยาลัยของมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนื อ ที่ อยู่ระหว่าง 5) วิธีดําเนินการวิจัย การทดลองปฏิบติราชการ อายุราชการไม่เกิน 3 ปี 154 ั ระยะที่ 1 การพัฒนาเว็บฝึ กอบรมด้วยกระบวนการเรี ยนรู้ คน แบ่งเป็ น พนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ 94 คน แบบ MIAP เพื่อพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพพนักงาน และสายสนับสนุนวิชาการ 60 คน มหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการ กลุ่มตัวอย่าง คือ พนักงานมหาวิทยาลัยของมหาวิทยาลัย 1) พัฒนากรอบแนวคิดของเว็บฝึ กอบรมสมรรถนะวิชาชีพ เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนื อ ที่ อยู่ระหว่าง ด้วยกระบวนการเรี ยนรู้แบบ MIAP ดังนี้ การทดลองปฏิ บติราชการ อายุราชการไม่เกิ น 3 ปี 80 ั 1.1) สังเคราะห์ เอกสารและงานวิจัยที่ เกี่ ยวข้อ งกับการ คน แบ่งเป็ น พนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ 40 คน ฝึ กอบรม รู ปแบบการฝึ กอบรมบนเว็บ (e-Training) ใน และสายสนับสนุนวิชาการ 40 คน โดยการสุ่ มอย่างง่าย ประเด็ น องค์ ป ระกอบ ขั้น ตอน กิ จ กรรม การวัด และ ประเมิ นผลการฝึ กอบรม กระบวนการเรี ยนรู้ แ บบ MIAP 279
  • 4. และศึ ก ษากรอบแนวคิ ด สมรรถนะวิ ช าชี พ พนั ก งาน พนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการ มหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการ ตามรู ปแบบกิ จกรรมการเรี ยนการสอนแบบ MIAP 1.2) สัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth interview: IDI) พนักงาน แบ่งออกเป็ น 4 ขั้นตอน คือ มหาวิท ยาลัย สายวิช าการจํา นวน 15 ท่ า น ในประเด็น - ขั้นสนใจปัญหา (Motivation) “การจั ด การความรู้ ส มรรถนะวิ ช าชี พ ที่ พ นั ก งาน - ขั้นศึกษาข้อมูล (Information) มหาวิทยาลัยสายวิชาการต้องการรู้ ” โดยใช้แบบ - ขั้นพยายาม (Application) สัมภาษณ์เชิงลึกสมรรถนะวิชาชีพพนักงานมหาวิทยาลัย - ขั้นสําเร็ จผล (Progress) สายวิชาการ 2.3) ขั้นการพัฒนา (Development) 1.3) จัดประชุมระดมสมอง (Focus group discussion: 2.3.1) พัฒ นาเว็บ ฝึ กอบรมด้วยโดยการจัด การเนื้ อ หาและ FGD) หัวหน้างานบุคลากรทุกคณะ และกองบริ หาร กิจกรรมในระบบบริ หารจัดการเรี ยนรู้ และจัด การทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ จํา นวน 46 ท่ า น ใน 2.3.2) พัฒ นาคู่ มื อ การใช้ง านเว็บ ฝึ กอบรมสํา หรั บ ผูดู แ ล ้ ประเด็น “การจัดการความรู้สมรรถนะวิชาชีพที่พนักงาน ระบบ และคู่มือการใช้งานเว็บฝึ กอบรม มหาวิ ท ยาลัย สายวิ ช าการและสายสนับ สนุ น วิ ช าการ 2.3.3) พัฒนาแบบวัดผลสัมฤทธิ์ ก่อนและหลังการฝึ กอบรม จําเป็ นต้องรู้” สมรรถนะวิชาชี พพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ และ 1.4) สรุ ป กรอบแนวคิ ด ในการพัฒนาเว็บ ฝึ กอบรม สายสนับสนุนวิชาการ สมรรถนะวิชาชีพพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการและ 2.4) ขั้นการนําไปทดลองใช้ (Implementation) สายสนับสนุนวิชาการ 2.4.1) การทดสอบแบบหนึ่ งต่อหนึ่ ง (One-to-one testing) 2) พัฒนาเว็บ ฝึ กอบรมสมรรถนะวิชาชี พด้ว ย โดยให้พนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุ น กระบวนการเรี ยนรู้ แ บบ MIAP ตามขั้ นตอนการ วิชาการที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จํานวน 3 คน ใช้เว็บฝึ กอบรมที่ ออกแบบระบบการเรี ยนการสอน (Instructional System พัฒนาขึ้น สังเกตและการสัมภาษณ์ ปั ญหาและข้อเสนอแนะ Design: ISD) (ณมน จีรังสุ วรรณ, 2549) 5 ขั้นตอน ดังนี้ การใช้งาน จากนั้นนําข้อมูลมาปรับปรุ ง แก้ไขข้อบกพร่ อง 2.1) ขั้นการวิเคราะห์ (Analysis) ของเว็บฝึ กอบรม วิ เ คราะห์ เ นื้ อ หาการฝึ กอบรมสมรรถนะวิ ช าชี พ 2.4.2) การทดสอบกับกลุ่มเล็ก (Small group testing) โดย พนัก งานมหาวิท ยาลัย สายวิช าการและสายสนับ สนุ น ให้พ นัก งานมหาวิ ท ยาลัย สายวิ ช าการและสายสนับ สนุ น วิช าการ จัด ทํา แผนภาพมโนทัศ น์ ข องเนื้ อ หา กํา หนด วิชาการที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จํานวน 5 คน ใช้เว็บฝึ กอบรมที่ หั ว ข้อ ของหน่ ว ยเรี ยน หั ว ข้อ หลัก หั ว ข้อ รอง สร้ า ง ปรั บปรุ งจากการทดสอบแบบหนึ่ งต่อหนึ่ ง สังเกตและการ แผนภาพมโนทัศน์เป็ นการเริ่ มต้นขอบเขตเนื้อหา สัมภาษณ์ ปั ญหาและข้อเสนอแนะการใช้งาน จากนั้นนํา 2.2) ขั้นการออกแบบ (Design) ข้อมูลมาปรับปรุ ง แก้ไขข้อบกพร่ องของเว็บฝึ กอบรม 2.2.1) ออกแบบจุ ดประสงค์การฝึ กอบรม เพื่อ กําหนด 2.4.3) การทดลองนําร่ อง (Field trial) โดยให้พนักงาน วัต ถุ ป ระสงค์ ใ นแต่ ล ะหั ว ข้ อ หลั ก หั ว ข้ อ รอง และ มหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุ นวิชาการที่ไม่ใช่ วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม กลุ่มตัวอย่าง จํานวน 15 คน ใช้เว็บฝึ กอบรมที่ปรับปรุ งจาก 2.2.2) ออกแบบโครงข่ายเนื้ อหา (Content Network) การทดสอบแบบกลุมเล็ก ่ แสดงการเชื่อมโยงและลําดับชั้นตอนเนื้อหา 2.4.4) หาคุ ณ ภาพของแบบวัด ผลสั ม ฤทธิ์ การฝึ กอบรม 2.2.3) ออกแบบโมดูลของเนื้ อหา (Module) เพื่อแสดง สมรรถนะวิชาชีพพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ โดยให้ เนื้ อหาแต่ละหน่วยในการอบรมประกอบด้วยหัวข้อหลัก พนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ 15 คน ทําแบบวัดเพื่อหา และหัวข้อรอง คุณภาพของแบบวัดโดยหาค่าความเที่ยง (Reliability) ด้วย 2.2.4) ออกแบบสตอรี่ บอร์ดของเว็บฝึ กอบรม สูตรการหาค่าสัมประสิ ทธิ์แอลฟ่ าของครอนบาค(Cronbach’s 2.2.5) ออกแบบยุทธศาสตร์ การฝึ กอบรมผ่านเว็บสําหรับ 280
  • 5. Alpha Coefficient) ได้ค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.75 หาค่า ผูเ้ รี ยนและผูสอน และเครื่ องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ้ ่ ความยากง่ายอยูระหว่าง 0.36-0.72 1.3) ชี้ แจงวัตถุประสงค์การฝึ กอบรม ขั้นตอน การและ 2.4.5) หาคุ ณภาพของแบบวัดผลสัมฤทธิ์ การฝึ กอบรม กิ จ กรรมการฝึ กอบรม การวัด และประเมิ น ผล และฝึ ก สมรรถนะวิชาชี พพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุ น ปฏิบติการใช้ระบบบริ หารจัดการเว็บฝึ กอบรม ั วิช าการ โดยให้พ นัก งานมหาวิท ยาลัย สายสนับ สนุ น 2) การฝึ กอบรมบนเว็บด้วยกระบวนการเรี ยนรู้แบบ MIAP วิชาการ 15 คน ทําแบบวัดเพื่อหาคุณภาพของแบบวัด 2.1) วัดคะแนนผลสัมฤทธิ์ก่อนการอบรม โดยหาค่าความเที่ยงด้วยสู ตรการหาค่าสัมประสิ ทธิ์ แอล 2.2) ดําเนิ นการฝึ กอบรมบนเว็บด้วยกระบวนการเรี ยนรู้แบบ ฟ่ าของครอนบาค ได้ค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.86 หาค่า MIAP ที่พฒนาขึ้น ั ่ ความยากง่ายอยูระหว่าง 0.45-0.75 2.3) วัดคะแนนผลสัมฤทธิ์ หลังการอบรม 2.5) ขั้นการประเมินผล (Evaluation) 2.4) สอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการฝึ กอบรมบนเว็บด้วย 2.5.1) ประเมินคุณภาพเว็บฝึ กอบรมด้านเนื้ อหา โดยนํา กระบวนการเรี ยนรู ้แบบ MIAP เว็บฝึ กอบรมและคู่มือ ที่ พฒนาขึ้ นเสนอให้ผูเ้ ชี่ ยวชาญ ั 3) สรุ ปผลการใช้เว็บฝึ กอบรมสมรรถนะวิชาชีพ ด้านเนื้ อหา 5 ท่าน ประเมินคุณภาพและความเหมาะสม 3.1) สรุ ปผลและเปรี ยบเทียบความแตกต่างระหว่างคะแนน ของเว็บ ฝึ กอบรมด้า นเนื้ อ หา และปรั บ ปรุ ง ตามเว็บ ผลสั ม ฤทธิ์ ก่ อ นและหลัง การฝึ กอบรม ของพนั ก งาน ฝึ กอบรมและคู่มือ ตามข้อเสนอแนะ มหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุ นวิชาการ ด้วย t- 2.5.2) ประเมิ นคุณภาพเว็บฝึ กอบรมด้านการออกแบบ test แบบ Dependent ระบบการฝึ กอบรมและด้านเทคนิ ค โดยนําเว็บฝึ กอบรม 3.2) วิเคราะห์ขอมูลความพึงพอใจของพนักงานมหาวิทยาลัย ้ และคู่ มื อ ที่ พ ัฒ นาขึ้ นเสนอให้ ผู้เ ชี่ ย วชาญด้า นการ ที่ มี ต่ อ การฝึ กอบรมบนเว็บ ด้ว ยกระบวนการเรี ย นรู้ แ บบ ออกแบบระบบการฝึ กอบรมและด้า นเทคนิ ค 5 ท่ า น MIAP โดยใช้ค่าเฉลี่ยและส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ประเมิ นคุ ณภาพและความเหมาะสมของเว็บฝึ กอบรม ด้า นการออกแบบระบบการฝึ กอบรมและด้า นเทคนิ ค เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจย ประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์เชิ ง ั แ ล ะ ป รั บ ป รุ ง ต า ม เ ว็ บ ฝึ ก อ บ ร ม แ ล ะ คู่ มื อ ต า ม ลึกสมรรถนะวิชาชีพ, แบบบันทึกการประชุมระดมสมอง ข้อเสนอแนะ สมรรถนะวิชาชีพ, แบบประเมินคุณภาพเว็บฝึ กอบรมด้าน เนื้ อหา ด้านการออกแบบระบบการฝึ กอบรมและด้าน ระยะที่ 2 การศึกษาผลการฝึ กอบรมบนเว็บด้วย เทคนิ ค , เว็บ ฝึ กอบรมสมรรถนะวิ ช าชี พ พนัก งาน กระบวนการเรี ยนรู้แบบ MIAP เพื่อพัฒนาสมรรถนะ มหาวิ ท ยาลัย สายวิช าการและสายสนับ สนุ น วิช าการและ วิชาชีพพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการและสาย คู่มือ, แบบวัดผลสัมฤทธิ์ การฝึ กอบรม และแบบสอบถาม สนับสนุนวิชาการ ความพึงพอใจในการใช้เว็บฝึ กอบรม การศึกษาผลของการใช้เว็บฝึ กอบรมใช้แบบแผนการวิจย ั แบบ One Group Pretest-Posttest Design (William and 6) สรุปผลการวิจัย Stephen, 2009) ซึ่ งมีข้ นตอนการดําเนิ นการดังนี้ ั ตอนที่ 1 สรุ ปผลการพัฒนาเว็บฝึ กอบรมสมรรถนะวิชาชีพ 1) การเตรี ยมการก่อนการฝึ กอบรม ด้วยกระบวนการเรี ยนรู้แบบ MIAP 1.1) การเตรี ยมความพร้อมของสถานที่ห้อง ปฏิบติการ ั 1) รู ปแบบการฝึ กอบรมบนเว็บด้วยกระบวนการเรี ยนรู้แบบ คอมพิวเตอร์ ได้แก่ เครื่ องคอมพิวเตอร์ ระบบเครื อข่าย MIAP อินเทอร์ เน็ตและโปรแกรมที่เกี่ยวข้อง 1.1) องค์ ป ระกอบรู ปแบบการฝึ กอบรมบนเว็ บ ด้ ว ย 1.2) เตรี ย มความพร้ อ มของแผนการจัด การฝึ กอบรม กระบวนการเรี ยนรู้แบบ MIAP ประกอบด้วย 1) หลักการ ระบบบริ ห ารจัด การเว็บ ฝึ กอบรม คู่ มื อ ปฏิ บ ัติ สํา หรั บ แนวคิด และทฤษฎี พ้ืนฐาน 2) วัตถุประสงค์ของการ 281
  • 6. ฝึ กอบรม 3) วิธีการและกิจกรรมฝึ กอบรม และ 4) การ ตารางที่ 1: ผลการประเมินคุณภาพเว็บฝึ กอบรมสมรรถนะ วัดและการประเมินผลการฝึ กอบรม วิชาชีพ 1.2) ขั้นตอนการฝึ กอบรมบนเว็บ 3 ขั้นตอน คือ การประเมินคุณภาพ X S.D. ความเหมาะสม 1.2.1) ขั้นก่อนการฝึ กอบรม - ด้านเนื้อหา 4.78 0.42 มากที่สุด 1.2.2) ขั้นการฝึ กอบรม ดําเนินกิจกรรมการฝึ กอบรม - ด้านการออกแบบ 4.65 0.48 มากที่สุด โดยใช้รูปแบบกิจกรรมการเรี ยนการสอนแบบ MIAP ระบบการฝึ กอบรม - ด้านการออกแบบหน้าจอ 4.44 0.51 มาก แบ่งออกเป็ น 4 ขั้นตอน คือ - ด้านเทคนิค 4.75 0.44 มากที่สุด ช่วงที่ 1 ขั้นสนใจปัญหา (Motivation) ช่วงที่ 2 ขั้นศึกษาข้อมูล (Information) จากตารางที่ 1 ผลการประเมิ น คุ ณ ภาพเว็บ ฝึ กอบรม ช่วงที่ 3 ขั้นพยายาม (Application) สมรรถนะวิชาชีพ พบว่า คุณภาพเว็บฝึ กอบรมสมรรถนะ ช่วงที่ 4 ขั้นสําเร็ จผล (Progress) วิช าชี พ มี ด้านเนื้ อ หา ด้านเทคนิ ค และด้านการออกแบบ 1.2.3) ขั้นสรุ ปผลการฝึ กอบรม ประกอบด้วย การวัด ระบบการฝึ กอบรม มีความเหมาะสมมากที่สุด และด้านการ และประเมินผลการฝึ กอบรม ออกแบบหน้าจอ มีความเหมาะสมมาก 2) เว็บ ฝึ กอบรมสมรรถนะวิ ช าชี พ ด้ว ยกระบวนการ เรี ยนรู้แบบ MIAP 2.1) เ ว็ บ ฝึ ก อ บ ร ม ส ม ร ร ถ น ะ วิ ช า ชี พ พ นั ก ง า น มหาวิ ท ยาลัย สายวิ ช าการและสายสนับ สนุ น วิ ช าการ มจพ. 2.1.1) เว็ บ ฝึ ก อ บ ร ม ส ม ร ร ถนะ วิ ช าชี พ พ นั ก ง า น มหาวิ ท ยาลัย สายวิ ช าการและสายสนับ สนุ น วิ ช าการ จัด การเนื้ อ หาและกิ จ กรรมด้ว ยระบบบริ หารจัด การ เ รี ย น รู้ ข อ ง MOODLE เ ข้ า ถึ ง ไ ด้ ที่ http://www.etraining.kmutnb.ac.th ประกอบด้วย 11 รู ปที่ 2: หน้ าหลักเว็บฝึ กอบรมสมรรถนะวิชาชี พพนักงาน หัวข้อ คือ คําอธิ บายเนื้อหาการอบรม วัตถุประสงค์การ มหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการ อบรม หัวข้อหลัก หัวข้อรอง กระดานข่าว ห้องสนทนา กระดานเสวนา อภิธานศัพท์ แบบทดสอบก่อนการ อบรม แบบทดสอบหลังการอบรม และแบบสอบถาม ความพึงพอใจในการใช้เว็บฝึ กอบรมสมรรถนะวิชาชี พ เนื้ อหาที่ ใช้ในการฝึ กอบรมสมรรถนะวิชาชี พพนักงาน มหาวิ ท ยาลัย สายวิ ช าการ แบ่ ง ออกเป็ น 5 ตอน คื อ ระเบี ย บ มจพ. ข้อ บังคับ มจพ. ประกาศ ก.บ.ม. มจพ. ประกาศ มจพ. และประกาศ ก.พ.อ. 2.1.2) ผลการประเมิ นคุ ณภาพเว็บฝึ กอบรมสมรรถนะ วิ ช าชี พ พนั ก งานมหาวิ ท ยาลัย สายวิ ช าการและสาย สนับสนุนวิชาการ โดยผูเ้ ชี่ยวชาญ แสดงดังตารางที่ 1 รู ปที่ 3: หน้ าหลักเว็บฝึ กอบรมสมรรถนะวิชาชี พพนักงาน มหาวิทยาลัยสายวิชาการ 282
  • 7. ตอนที่ 2 ผลการฝึ กอบรมบนเว็บด้วยกระบวนการเรี ยนรู้ 2) ผลการศึกษาความพึงพอใจของพนักงานมหาวิทยาลัยสาย แบบ MIAP เพื่อพัฒนาสมรรถนะวิชาชี พพนักงาน วิชาการและสายสนับสนุ นวิชาการ พบว่า พนักงาน มหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการ มหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุ นวิชาการมีความ 1) ผลการเปรี ยบเที ย บผลสั ม ฤทธิ์ การฝึ กอบรมของ พึงพอใจต่อการฝึ กอบรมบนเว็บด้วยกระบวนการเรี ยนรู้แบบ พนั ก งานมหาวิ ท ยาลัย สายวิ ช าการ 40 คน และสาย ่ MIAP ในภาพรวมอยูในระดับมากที่สุด ( X = 4.56, S.D. = สนับสนุนวิชาการ 40 คน ก่อนและหลังการฝึ กอบรมบน 0.57) เว็บด้วยกระบวนการเรี ยนรู้แบบ MIAP แสดงดังตาราง ที่ 2-3 ดังนี้ 7) อภิปรายผล 7.1) ผลการพัฒนาเว็บฝึ กอบรมสมรรถนะวิชาชีพ ตารางที่ 2: ผลการเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ การฝึ กอบรม เว็บฝึ กอบรมสมรรถนะวิชาชี พ 11 หัวข้อ สอดคล้องกับ ของพนั ก งานมหาวิ ท ยาลั ย สายวิ ช าการ แนวคิดของ Kilby (1998) ที่ กล่าวว่าเว็บฝึ กอบรมควร ก่อนและหลังการอบรม ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบหลัก คื อ 1) สื่ อสําหรั บ ผลสั มฤทธิ์ คะแนนเต็ม S.D. t-test Sig. นําเสนอ ได้แก่ ข้อความ กราฟิ ก และภาพเคลื่ อนไหว วีดิ การฝึ กอบรม X ทัศน์และเสี ยง 2) การปฏิสัมพันธ์ 3) การจัดการฐานข้อมูล ก่อนฝึ กอบรม 40 23.20 4.02 20.04** .00 4) ส่ วนสนับสนุนการเรี ยนการสอน ได้แก่ อิเล็คทรอนิ กส์ หลังฝึ กอบรม 40 32.54 2.71 บอร์ ด เช่น BBS, Web Board จดหมายอิเล็คทรอนิกส์ และ **p < .01 การสนทนาผ่ า นเครื อข่ า ย เนื้ อ หาที่ ใ ช้ใ นการฝึ กอบรม สมรรถนะวิชาชีพพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการและสาย จากตารางที่ 2 ผลการเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ ก่อนและ สนับสนุ นวิชาการ 5 ตอน สอดคล้องกับแนวคิดสมรรถนะ หลังการฝึ กอบรมบนเว็บ ด้วยกระบวนการเรี ยนรู้ แ บบ วิชาชี พของ เพ็ญจันทร์ แสนประสาน และคณะ (2548) MIAP พบว่า พนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการมีค่าเฉลี่ย แบ่งเป็ น 3 ประเภท คือ 1) สมรรถนะหลัก 2) สมรรถนะ ของคะแนนผลสัมฤทธิ์ การฝึ กอบรมหลังฝึ กอบรมสู งกว่า วิชาชีพ และ 3) สมรรถนะเชิงเทคนิค ก่อนฝึ กอบรม อย่างมีนยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ั องค์ป ระกอบรู ป แบบการฝึ กอบรมบนเว็บ ขั้น ตอนการ ฝึ กอบรมบนเว็บ และการดําเนิ นกิจกรรมการฝึ กอบรม โดย ตารางที่ 3: ผลการเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ การฝึ กอบรม ใช้รูปแบบ MIAP สามารถพัฒนาผลสัมฤทธิ์ สมรรถนะ ของพนั ก งานมหาวิ ท ยาลัย สายสนั บ สนุ น วิชาชี พได้ และผูเ้ ข้ารั บ การฝึ กอบรมมี ความพึงพอใจมาก วิชาการก่อนและหลังการอบรม สอดคล้องกับการวิจยของชลอ พลนิ ล (2551) ที่พบว่า การ ั ผลสั มฤทธิ์ คะแนนเต็ม X S.D. t-test Sig. จัดการเรี ยนรู้ MIAP เป็ นวิธีที่เหมาะสมสําหรับใช้ในการจัด การฝึ กอบรม ก่อนฝึ กอบรม 40 20.44 6.14 14.60** .00 กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ ด้า นวิช าชี พ และอัค รวุฒิ จิ น ดานุ รั ก ษ์ หลังฝึ กอบรม 40 30.35 2.95 (2553) ที่พบว่า กระบวนการ MIAP 5 ขั้นตอน คือ ขั้นศึกษา **p < .01 วิเ คราะห์ แ ละออกแบบ ขั้น เตรี ย มการสอน ขั้น ปฏิ บ ัติก าร สอน ขั้น บ่ ม เพาะ และ ขั้น ประเมิ น ผล สามารถพัฒ นา จากตารางที่ 3 ผลการเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ ก่อนและ ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนได้ และผูเ้ รี ยนมี ความพึงพอใจต่อ หลังการฝึ กอบรมบนเว็บ ด้วยกระบวนการเรี ยนรู้ แ บบ รู ปแบบการเรี ยนมาก MIAP พบว่า พนักงานมหาวิท ยาลัย สายสนับ สนุ น 7.2) ผลการฝึ กอบรมบนเว็บ ด้วยกระบวนการเรี ย นรู้ แ บบ วิชาการมี ค่าเฉลี่ ยของคะแนนผลสัมฤทธิ์ การฝึ กอบรม MIAP เพื่อพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพพนักงานมหาวิทยาลัย หลังฝึ กอบรมสู งกว่าก่อนฝึ กอบรม อย่างมีนยสําคัญทาง ั สายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการ สถิติที่ระดับ .01 283
  • 8. พนัก งานมหาวิท ยาลัย สายวิช าการและสายสนับ สนุ น สุ ชาติ ศิริสุขไพบูลย์. (2527). เทคนิคและวิธีการสอนวิชาชี พ วิ ช าการมี ค่ า เฉลี่ ย ของผลสั ม ฤทธิ์ การฝึ กอบรมหลัง MIAP. กรุ งเทพมหานคร: สถาบันเทคโนโลยีพระจอม ฝึ กอบรม สู งกว่าก่อนฝึ กอบรม อย่างมีนยสําคัญทางสถิติ ั เกล้าพระนครเหนือ. ที่ระดับ .01 แสดงให้เห็นว่าการฝึ กอบรมบนเว็บด้วย อัครวุฒิ จินดานุรักษ์. (2553). การพัฒนารู ปแบบการสอน กระบวนการเรี ย นรู้ แ บบ MIAP สามารถพัฒ นา คณิ ตศาสตร์ ด้วยกระบวนการ MIAP. วิทยานิพนธ์ครุ ความสามารถด้า นสมรรถนะวิ ช าชี พ ของพนั ก งาน ศาสตร์อุตสาหกรรมดุษฎีบณฑิต, มหาวิทยาลัย ั มหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุ นวิชาการได้ เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. สอดคล้องกับ Piriyasurawong and Nilsook (2010) ที่ Clark, G. (1996). Glossary of CBT/WBT terms. [Online]. Accessed 2 November 2001. Available พบว่า เว็บ ฝึ กอบรมสามารถผลสั ม ฤทธิ์ การฝึ กอบรม from http://www.clark.net/pub/nractive/alt5.htm Driscoll, M. (2005). Advanced web-based training พฤติ ก รรมการเรี ย นรู้ การมี ส่ ว นร่ ว มในการฝึ กอบรม strategies : unlocking instructionally sound online และความพึงพอใจของผูเ้ ข้ารับการอบรมได้ learning. San Francisco, CA : Pfeiffer. Horton, W. (2000). Designing web-based training : How to teach anyone anything anywhere anytime. New York : John Wiley & Sons. 8) กิตติกรรมประกาศ Kilby, T. (1998). Web-Based Learning. Ca: WBI Training Information Center. ขอขอบพระคุณ ผศ.ดร.ณมน จี รังสุ วรรณ และผศ.ดร. Mitrani, A., Dalziel, M., & Fitt, D. (1992). Competency พัลลภ พิริ ยะสุ ระวงศ์ ผศ.คันธรส แสนวงศ์ สําหรั บ based human resource management: Value driven strategies for recruitment, development, and คําแนะนําอันเป็ นประโยชน์ ขอขอบพระคุณ และกอง reward. London: McGraw-Hill. บริ ห า ร แ ละ จั ด ก า ร ท รั พ ย า ก ร ม นุ ษ ย์ พ นั ก ง า น Piriyasurawong, P. & Nilsook, P. (2010). Web-based Training on Knowledge Management for มหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุ นวิชาการทุก Vocational Teachers in Thailand. Asian Journal of Distance Education, 8(2), 65–71 ท่านที่สละเวลาอันมีค่าเข้าร่ วมโครงการวิจย ขอขอบคุณ ั Spencer, M & Spencer, M.S. (1993). Competence at สํา นัก วิ จัย วิท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี มหาวิ ท ยาลัย work: Models for Superiors Performance. New York: John Wiley and Sons. เทคโนโลยีพ ระจอมเกล้า พระนครเหนื อ สํา หรั บ ทุ น William, W. & Stephen G. J. (2009). Research methods in education: an introduction. (9thed.). Boston: สนับสนุนนักวิจยทัวไป ประจําปี 2552 ั ่ Pearson. 9) เอกสารอ้ างอิง ชลอ พลนิล. (2551). ปฏิบัติการพัฒนาทักษะการซ่ อม ระบบฉี ดเชื อเพลิงอิเล็กทรอนิกส์ วิชางานระบบฉี ด ้ เชื อเพลิงอิเล็กทรอนิกส์ ของนักเรี ยน ระดับ ้ ประกาศนียบัตรวิชาชี พ หลักสู ตรพุทธศักราช 2545 สาขางานยานยนต์ คณะวิชาเครื่ องกล วิทยาลัย สารพัดช่ างอุบลราชธานี . วิทยานิพนธ์ครุ ศาสตรม หาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. ณมน จีรังสุ วรรณ. (2549). หลักการออกแบบและ ประเมิน. กรุ งเทพมหานคร: ศูนย์ผลิตตําราเรี ยน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. เพ็ญจันทร์ แสนประสาน และคณะ. (2548). การจัดการ ทางการพยาบาลสู่ การเรี ยนรู้ . กรุ งเทพมหานคร: สุ ขมวิทการพิมพ์. ุ 284