SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  154
Télécharger pour lire hors ligne
I
u5omssun1sBDfl1sua�mHTuTafin1sflnH1
11�Ufi11Vf11VIf.11tQllfl�Ufl�UV1'111'1tw
มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
ที่ปรึกษา
	 	 รศ.ดร.ไชยยศ เรืองสุวรรณ	 ศาสตรเมธี ศ.ดร.ผดุง อารยะวิญญู
	 	 ดร.จันทร์ ชุ่มเมืองปัก	 ศาสตรเมธี รศ.ดร.สุทธิพงศ์ หกสุวรรณ
บรรณาธิการ
ผศ.ดร.ไพโรจน์ เบาใจ
คณะกรรมการดำ�เนินงาน
	 	 ผศ.ดร.ไพโรจน์ เบาใจ	 ศาสตรเมธี รศ.ดร.ประหยัด จิระวรพงศ์
	 	 รศ.ดร.สาโรช โสภีรักข์	 รศ.ดร.สานิตย์ กายาผาด
	 	 รศ.ดร.วีระ ไทยพานิช	 ผศ.ดร.พูลศรี เวศย์อุฬาร
	 	 รศ.ดร.สุนทร โคตรบรรเทา	 ผศ.ดร.ไพบูลย์ เปานิล
	 	 รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ	 รศ.ดร.พงษ์ประเสริฐ หกสุวรรณ
	 	 ศาสตรเมธี รศ.ดร.วินัย วีระวัฒนานนท์
	 	 อาจารย์น้ำ� สุขอนันต์	 นางเยาวดี น่วมสวัสดิ์	
ผู้จัดการฝ่ายโฆษณา และประชาสัมพันธ์
	 	 นางเยาวดี น่วมสวัสดิ์
สำ�นักงาน
	 มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
	 เลขที่ 114 อาคาร 14 ชั้น 2 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
	 โทรศัพท์ 0 2259 1919  โทรสาร 0 2261 1777
ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ประจำ�ปีการศึกษา 2563
หน้า
สารบัญ
บรรณาธิการแถลง ........................................................................................................................................ 3
คณะกรรมการร่วมกลั่นกรอง ........................................................................................................................ 4
ใบส�ำคัญแสดงการจดทะเบียนแต่งตั้งกรรมการของมูลนิธิขึ้นใหม่ทั้งชุด ....................................................... 5
พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ...... 6
พระราโชวาทสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีี
	 ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร ........................................................................................................... 13
ประวัติ ศาสตราจารย์ ดร.สาโรช บัวศรี ..................................................................................................... 16
เทคโนโลยี......จะเข้ามาแทนที่ครูได้หรือไม่ ? : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไพโรจน์ เบาใจ .................................... 33
กรวยแห่งอนาคต: กลยุทธ์การออกแบบนวัตกรรมการศึกษา : ผศ.ดร.พูลศรี เวศย์อุฬาร .............................. 38
ท่านทราบหรือไม่ ประเทศใดจัดการศึกษาดีที่สุดในโลก : รศ.ดร.บุญเลิศ ส่องสว่าง ...................................... 46
การจัดการเรียนการสอนในสภาพแวดล้อมเสมือนจริง : รศ.ดร.สาโรช โศภีรักข์ ............................................ 50
การสอนออนไลน์ด้วย Google Classroom และ Google Hangouts Meet : รศ.ดร.สมภพ ทองปลิว ...... 55
หน้าต่างงานวิจัย ........................................................................................................................................ 61
การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) เรื่อง การใช้โปรแกรม Paint.Net ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 :
	 ขัตติยา วงค์ษาแก่นจันทร์, พงศ์ประเสริฐ หกสุวรรณ, ด�ำรัส อ่อนเฉวียง ........................................................... 62
การพัฒนาชุดฝึกอบรมออนไลน์เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนการฝึกปฏิบัติงาน ส�ำหรับนิสิต
	 สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา : ธนทรัพย์ โกกอง , ด�ำรัส อ่อนเฉวียง , สุขมิตร กอมณี ...... 73
การศึกษาเปรียบเทียบสมรรถนะวิชาชีพครูของครูผู้สอนระดับประถมศึกษาที่จบสาขาวิชาชีพครู
	 กับที่ไม่ได้จบสาขาวิชาชีพครู สังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน :
	 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติชัย สุธาสิโนบล, อาจารย์ ดร.ธีระภาพ เพชรมาลัยกุล .............................................. 89
การสร้างภาพยนตร์สั้น เรื่อง “มัน” อยู่ข้างใน กรณีศึกษาการสร้างมู้ดแอนด์โทน ในภาพยนตร์ประเภทหนังสยองขวัญ :
	 เนติพงษ์ ประเสริฐศรี, ดร.สิริกานต์ ไชยสิทธิ์ .............................................................................................. 101
การออกแบบกลยุทธ์การใช้งานแอพลิเคชันมูเดิลบนโทรศัพท์เคลื่อนที่เพื่อการสนับสนุนการเรียนการสอน
	 ในรูปแบบห้องเรียนกลับด้านด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐาน :
	 รัฐสภา แก่นแก้ว, ณรงค์ สมพงษ์ .............................................................................................................. 111
ประวัติ รองศาสตราจารย์ ชม ภูมิภาค .................................................................................................... 125
รายนามคณะกรรมการบริหาร มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ...................................................... 131
รายนามผู้บริจาค “เพื่อกองทุนมูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ” ................................................... 133
ภาพข่าวมูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ......................................................................................... 134
บรรณาธิการแถลง
	 หนังสือนวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา เล่มนี้เป็นเล่มปฐมฤกษ์ เพื่อ
สนองความต้องการของผู้อ่านในยุคเทคโนโลยีที่ก้าวหน้า ท�ำให้นักเทคโนโลยีการศึกษาต้อง
ปรับตัวในการผลิตสื่อสมัยใหม่เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทางการสอน เป็นการยกระดับคุณภาพ
ของผู้เรียนให้สูงและรวดเร็วขึ้น ถ้านักการศึกษาท่านใดสนใจจะลงบทความเพื่อเผยแพร่
แนวคิดทางการศึกษาใหม่ ๆ ข้าพเจ้าก็ยินดีน�ำลงในหนังสือให้ด้วยความเต็มใจ ไม่ว่าท่านจะ
เป็นครูชายแดน ในเมือง ในมหาวิทยาลัยหรือในกระทรวงศึกษาธิการ
	 ขอขอบคุณคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญทุกท่านที่กรุณาส่งบทความมาลงในหนังสือ
เล่มปฐมฤกษ์ไว้ ณ โอกาสนี้
	 ข้าพเจ้าขอขอบคุณทุกท่านที่ให้การสนับสนุนการจัดพิมพ์จนออกมาเป็นเล่มสวยงาม
ขอให้ท่านและครอบครัวมีแต่ความสุขและความเจริญในชีวิตตลอดไป
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไพโรจน์ เบาใจ)
บรรณาธิการหนังสือนวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
ประธานมูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
คณะกรรมการร่วมกลั่นกรอง
	 1.	 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไพโรจน์	 เบาใจ
	 2.	 รองศาสตราจารย์ ดร.สุนทร	 โคตรบรรเทา
	 3. 	ศาสตรเมธี ศาสตราจารย์ ดร.ผดุง	 อารยะวิยญู
	 4.	 ศาสตรเมธี รองศาสตราจารย์ ดร.สุทธิพงศ์	หกสุวรรณ
	 5.	 รองศาสตราจารย์ ดร.วีระ	 ไทยพานิช
	 6. 	รองศาสตราจารย์ ดร.สาโรช	 โสภีรักข์
	 7. 	ศาสตรเมธี รองศาสตราจารย์ ดร.ประหยัด	 จิระวรพงศ์
	 8.	 รองศาสตราจารย์ ดร.สานิตย์	 กายาผาด
	 9.	 รองศาสตราจารย์ ดร.เผชิญ	 กิจระการ
	 10.	 ศาสตรเมธี รองศาสตราจารย์ ดร.วินัย	 วีระวัฒนานนท์
	 11.	 รองศาสตราจารย์ ดร.พงษ์ประเสริฐ	 หกสุวรรณ
	 12.	 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิตร	 ทองชั้น
	 13.	 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พูลศรี 	 เวศย์อุฬาร
	 14.	 ดร.พีระพงษ์	 สิทธิอมร
มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
เลขที่ 114 อาคาร 14 ชั้น 2 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
โทรศัพท์ 0-2259-1919 โทรสาร 0-2261-1777
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
6
พระบรมราโชวาท
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
(รัชกาลที่ ๙)
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
7
บทคัดย่อ
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงมีพระมหากรุณาธิคุณล้นเกล้าล้นกระหม่อม
ต่อนิสิตและบัณฑิตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒที่มีก�าเนิดจากวิทยาลัยวิชาการศึกษาซึ่งเป็นสถาบัน
ผลิตครูชั้นสูง	พระบรมราโชวาทที่พระราชทานแก่บัณฑิตและนิสิตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ทั้ง	8	วิทยาเขตในช่วง	พ.ศ.	2517	–	2531	ก่อนที่มหาวิทยาลัยมีการเปลี่ยนแปลงสถานภาพในพ.ศ.	25321
ไม่เพียงเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวกับอดีตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒในสมัยเริ่มต้น	
หากยังสะท้อนถึงพระมหากรุณาธิคุณต่อปวงชนชาวไทย	ด้วยเป็นแนวพระราชด�าริเกี่ยวกับการจัดการศึกษา
ของประเทศชาติเพื่อพัฒนาคุณภาพของพลเมือง	โดยเฉพาะคุณภาพของครูและบุคลากรทางการศึกษาที่
เป็นก�าลังส�าคัญในการพัฒนาเยาวชนของชาติ	ตลอดจนการพัฒนาคุณภาพของบุคลากรที่ศึกษาในสาขา
วิชาต่างๆ	ซึ่งล้วนเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีความส�าคัญต่อพัฒนาประเทศชาติให้ก้าวหน้าและยั่งยืน	
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒหรือมศว	ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จ
พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชต่อเนื่องนับตั้งแต่ยังมีสถานะเป็นวิทยาลัยวิชาการศึกษา	กระทั่งได้รับยกฐานะ
เป็นมหาวิทยาลัย	ด้วยพระองค์ทรงสนพระราชหฤทัยและทรงให้ความส�าคัญกับการพัฒนาด้านการศึกษา
ซึ่ง	“..	เป็นปัจจัยส�าคัญที่สุดอย่างหนึ่งของชีวิต	เพราะเป็นรากฐานส�าหรับช่วยให้บุคคลสามารถก้าวไปถึง
ความส�าเร็จ	ความสุข	ความเจริญทั้งปวง	ทั้งของตนเองและของส่วนรวม	...”2	ดังนั้น	แม้ว่าวิทยาลัยวิชาการ
ศึกษาซึ่งได้รับยกฐานะจากโรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูงตามพระราชบัญญัติวิทยาลัยวิชาการศึกษา	พุทธศักราช	2497	
จะมีสถานะเป็นเพียงวิทยาลัยที่ผลิตบัณฑิตระดับอุดมศึกษา	แต่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล
อดุลยเดชทรงให้ความส�าคัญต่อสถาบันและนิสิตของสถาบันแห่งนี้ เช่นเดียวกับมหาวิทยาลัยอื่นๆ	
ในขณะนั้นที่มีอยู่	 5	 มหาวิทยาลัย	 คือ	 จุฬาลงกรณ์	 แพทย์ศาสตร์	 ธรรมศาสตร์	 เกษตรศาสตร์	
และศิลปากร	“...	เพราะเห็นว่าวิทยาลัยการศึกษาทั้งห้าแห่งมีความส�าคัญมากส�าหรับประเทศชาติ	มีเกียรติมาก
* ผู้ช่วยศาสตราจารย์	ดร.วงเดือน	นาราสัจจ์	อดีตอาจารย์ภาควิชาประวัติศาสตร์	คณะสังคมศาสตร์	มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ
1	 จ�านวนวิทยาเขตเริ่มลดลง	โดยการยุบรวมวิทยาเขตในส่วนกลาง	ส่วนวิทยาเขตในส่วนภูมิภาคได้แยกตัวและยกฐานะเป็น
มหาวิทยาลัยต่างๆ
2	 พระราชด�ารัสในโอกาสที่นายบุญถิ่น	อัตถากร	ปลัดกระทรวงศึกษาธิการน�าครู	และนักเรียนโรงเรียนราษฎร์สอนศาสนา
อิสลามจากภาคใต้เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท	วันที่	21	กุมภาพันธ์	2515,	ประมวลพระบรมราโชวาทและ
พระราชด�ารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว	พุทธศักราช	2513	–	2514.	(2550).	หน้า	66.
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
8
วารสารประวัติศาสตร์	2560 JOURNAL OF HISTORY 20172
แล้วก็เป็นการท�างานที่จะต้องใช้ความคิดที่ดี	ความเข้มแข็ง	ความเสียสละ	...”	1	พระองค์ได้เสด็จไป
พระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิตของวิทยาลัยวิชาการศึกษาที่มีจ�านวนวิทยาเขตเพิ่มมากขึ้นตามล�าดับ	
และเสด็จไปทรงดนตรีที่วิทยาลัยวิชาการศึกษา	ประสานมิตรถึง	2	ครั้งใน	พ.ศ.	2512	และ	2515	
เป็นการพระราชทานพระราชวโรกาสให้คณาจารย์และนิสิตได้เข้าเฝ้าใกล้ชิดอย่างไม่เป็นพิธีการ	น�ามาซึ่ง
ความปลื้มปีติอย่างหาที่สุดมิได้แก่คณะผู้บริหาร	คณาจารย์	บุคลากร	และนิสิตของวิทยาลัยวิชาการศึกษา
ทุกคน	ยิ่งไปกว่านั้น	หลังจากคณะรัฐมนตรีมีมติให้ยกฐานะวิทยาลัยวิชาการศึกษาเป็นมหาวิทยาลัย
เมื่อวันที่	15	มีนาคม	พ.ศ.	2517	พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงมีพระกรุณา
โปรดเกล้าฯ	พระราชทานชื่อมหาวิทยาลัยว่า	“ศรีนครินทรวิโรฒ”	ซึ่งมีความหมายว่า	(มหาวิทยาลัย)	
ที่เจริญเป็นศรีสง่าแก่มหานคร	ตามหนังสือของส�านักราชเลขาธิการ	ลงวันที่	6	มีนาคม	พ.ศ.	2517
1	 พระราชด�ารัสพระราชทานเนื่องในงานวันการศึกษาสัมพันธ์	ของวิทยาลัยวิชาการศึกษา	ณ	วิทยาลัยวิชาการศึกษา	
ถนนประสานมิตร	วันเสาร์ที่	15	มีนาคม	2512,	ประมวลพระราชด�ารัสและพระบรมราโชวาท.	หน้า	100.
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
9
3พระบรมราโชวาทที่จารึกอยู่ในประวัติศาสตร์ของชาวมศว (พ.ศ. 2517-2531)
วงเดือน นาราสัจจ์
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒได้รับการพัฒนาให้เจริญก้าวหน้าตามล�าดับ	โดยเริ่มแรก
มีวิทยาเขตทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค	รวม	8	วิทยาเขต	ในส่วนกลาง	ได้แก่	วิทยาเขตประสานมิตร	
(มศว	ประสานมิตร)	ปทุมวัน	(มศว	ปทุมวัน)	บางเขน	(มศว	บางเขน)	และพลศึกษา	(มศว	พลศึกษา)	
วิทยาเขตในส่วนภูมิภาคได้แก่	วิทยาเขตบางแสน	(มศว	บางแสน)	มหาสารคาม	(มศว	มหาสารคาม)	
พิษณุโลก	(มศว	พิษณุโลก)	และสงขลา	(มศว	สงขลา)	ต่อมามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒเริ่มมี
การเปลี่ยนแปลงสถานภาพของมหาวิทยาลัย	กล่าวคือ	ตั้งแต่	พ.ศ	2532	วิทยาเขตในส่วนกลางทั้ง	4	แห่ง
ได้ทยอยยุบรวมอยู่ที่มศว	ประสานมิตร	ส่วนวิทยาเขตในภูมิภาคก็ได้แยกตัวและยกฐานะเป็นมหาวิทยาลัย	
ได้แก่	มหาวิทยาลัยบูรพา	(มศว	บางแสน)	มหาวิทยาลัยนเรศวร	(มศว	พิษณุโลก)	มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม	(มศว	มหาสารคาม)	และมหาวิทยาลัยทักษิณ	(มศว	สงขลา)	
ระหว่างพ.ศ.	2517-2531	พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้เสด็จ
พระราชด�าเนินในการพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ	ทั้งในกรุงเทพฯ	
และต่างจังหวัด	และพระราชทานพระบรมราโชวาทที่เป็นแนวทางส�าหรับการพัฒนามหาวิทยาลัยให้ยั่งยืน	
และพระบรมราโชวาทที่น�าประโยชน์อเนกอนันต์แก่บัณฑิตและศิษย์เก่าของมศวทุกวิทยาเขต	ทั้งในด้านความคิด	
การท�างาน	ตลอดจนการประพฤติปฏิบัติตน	ในบทความนี้ จะเน้นศึกษาพระบรมราโชวาทที่จารึกอยู่ใน
ประวัติศาสตร์สมัยเริ่มแรกของชาวมศว	(พ.ศ.	2517-2531)	ที่มี	8	วิทยาเขต	และเป็นช่วงเวลาที่
มหาวิทยาลัยผลิตบัณฑิตทางด้านศึกษาศาสตร์เป็นหลัก	พระบรมราโชวาทส่วนใหญ่จึง	สะท้อนถึง
แนวพระราชด�าริเกี่ยวกับ	การพัฒนาการศึกษาและการพัฒนาคนซึ่งเป็นหัวใจของการพัฒนาประเทศให้ยั่งยืน
เสด็จพระราชทานปริญญาบัตร	พ.ศ.2502	(ปฐมวาระ)
(ที่มา:	หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ)
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
10
วารสารประวัติศาสตร์	2560 JOURNAL OF HISTORY 20174
พระบรมราโชวาทที่เกี่ยวกับการพัฒนาการศึกษา
	 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงให้ความส�าคัญกับการพัฒนาด้านการศึกษา
เพื่อให้ประเทศมีความเจริญก้าวหน้า	ด้วยทรงได้รับการอบรมเลี้ยงดูจากสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
เรื่องความส�าคัญของการศึกษาที่ก่อประโยชน์ให้กับการพัฒนาประเทศตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์	ประกอบกับ
เมื่อได้เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติและได้เสด็จเยี่ยมพสกนิกรในส่วนภูมิภาค	ตลอดจนถิ่นทุรกันดาร	
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพบว่า	ราษฎรส่วนใหญ่มีฐานะยากจนและขาดการศึกษา	
ซึ่งเป็นอุปสรรคส�าคัญต่อการพัฒนาประเทศ	พระองค์จึงพระราชทานโครงการช่วยเหลือด้านการศึกษา
จ�านวนมาก	เช่น	ได้พระราชทานทุน	“ภูมิพล”	แก่นิสิตนักศึกษาในมหาวิทยาลัยที่เรียนดี	โปรดเกล้าฯ	
ให้ก่อตั้งมูลนิธิอานันทมหิดลเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่เรียนดีให้มีโอกาสไปศึกษาต่อในต่างประเทศ	
และน�าวิชาความรู้แขนงต่างๆ	กลับมาช่วยพัฒนาบ้านเมืองให้ก้าวหน้าทุกด้าน	ทั้งด้านการแพทย์	
วิทยาศาสตร์	เทคโนโลยี	เกษตรศาสตร์	สังคมศาสตร์และอักษรศาสตร์	และในพ.ศ.	2510	ได้พระราชทานเงินทุน
เพื่อก่อตั้งโรงเรียนสงเคราะห์เด็กที่ยากจนและก�าพร้าอนาถาในวัด	รวม	4	แห่ง1	นอกจากนี้ 	พระองค์ยังทรง
ให้ความส�าคัญกับสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่เป็นผู้ผลิตบุคลากรทางการศึกษาโดยตรงเช่น	
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ	
	 สาระส�าคัญของพระบรมราโชวาทเกี่ยวกับการพัฒนาการศึกษาที่พระราชทานแก่บัณฑิต
ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒทั้ง	8	วิทยาเขต	ได้แก่	วัตถุประสงค์ของการศึกษา	และการพัฒนา
บุคลากรทางการศึกษา
1	 จิรภา	อ่อนเรือง.	(2530).	พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช (ในหลวงของเรา). หน้า	176.
เสด็จทรงดนตรี	พ.ศ.2512
(ที่มา:	หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ)
วารสารประวัติศาสตร์	2560 JOURNAL OF HISTORY 20174
พระบรมราโชวาทที่เกี่ยวกับการพัฒนาการศึกษา
	 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงให้ความส�าคัญกับการพัฒนาด้านการศึกษา
เพื่อให้ประเทศมีความเจริญก้าวหน้า	ด้วยทรงได้รับการอบรมเลี้ยงดูจากสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
เรื่องความส�าคัญของการศึกษาที่ก่อประโยชน์ให้กับการพัฒนาประเทศตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์	ประกอบกับ
เมื่อได้เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติและได้เสด็จเยี่ยมพสกนิกรในส่วนภูมิภาค	ตลอดจนถิ่นทุรกันดาร	
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพบว่า	ราษฎรส่วนใหญ่มีฐานะยากจนและขาดการศึกษา	
ซึ่งเป็นอุปสรรคส�าคัญต่อการพัฒนาประเทศ	พระองค์จึงพระราชทานโครงการช่วยเหลือด้านการศึกษา
จ�านวนมาก	เช่น	ได้พระราชทานทุน	“ภูมิพล”	แก่นิสิตนักศึกษาในมหาวิทยาลัยที่เรียนดี	โปรดเกล้าฯ	
ให้ก่อตั้งมูลนิธิอานันทมหิดลเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่เรียนดีให้มีโอกาสไปศึกษาต่อในต่างประเทศ	
และน�าวิชาความรู้แขนงต่างๆ	กลับมาช่วยพัฒนาบ้านเมืองให้ก้าวหน้าทุกด้าน	ทั้งด้านการแพทย์	
วิทยาศาสตร์	เทคโนโลยี	เกษตรศาสตร์	สังคมศาสตร์และอักษรศาสตร์	และในพ.ศ.	2510	ได้พระราชทานเงินทุน
เพื่อก่อตั้งโรงเรียนสงเคราะห์เด็กที่ยากจนและก�าพร้าอนาถาในวัด	รวม	4	แห่ง1	นอกจากนี้ 	พระองค์ยังทรง
ให้ความส�าคัญกับสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่เป็นผู้ผลิตบุคลากรทางการศึกษาโดยตรงเช่น	
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ	
	 สาระส�าคัญของพระบรมราโชวาทเกี่ยวกับการพัฒนาการศึกษาที่พระราชทานแก่บัณฑิต
ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒทั้ง	8	วิทยาเขต	ได้แก่	วัตถุประสงค์ของการศึกษา	และการพัฒนา
บุคลากรทางการศึกษา
1	 จิรภา	อ่อนเรือง.	(2530).	พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช (ในหลวงของเรา). หน้า	176.
เสด็จทรงดนตรี	พ.ศ.2512
(ที่มา:	หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ)
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
11
5พระบรมราโชวาทที่จารึกอยู่ในประวัติศาสตร์ของชาวมศว (พ.ศ. 2517-2531)
วงเดือน นาราสัจจ์
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
	 ระหว่างวันที่	25	–	28	มิถุนายน	พ.ศ.	2523	พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ได้เสด็จพระราชด�าเนินเพื่อพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ประจ�าปีการศึกษา	2522	ณ	อาคารใหม่	สวนอัมพร	และได้พระราชทานพระบรมราโชวาทที่เกี่ยวกับ
วัตถุประสงค์ของการศึกษาซึ่งครอบคลุมถึงเรื่องความรู้ด้านวิชาการ	การลงมือปฏิบัติ	ความคิดวินิจฉัยและ
ความประพฤติปฏิบัติ	ดังนี้
	 ...	วัตถุประสงค์ของการศึกษานั้นคืออย่างไร	กล่าวโดยรวบยอด	ก็คือการท�าให้บุคคล
มีปัจจัยหรือมีอุปกรณ์ส�าหรับชีวิตอย่างครบถ้วนเพียงพอ	ทั้งในส่วนวิชาความรู้	ส่วนความคิดวินิจฉัย	
ส่วนจิตใจและคุณธรรมความประพฤติ	ส่วนความขยันอดทนและความสามารถ	ในอันที่จะน�า
ความรู้ความคิดไปใช้ปฏิบัติงานด้วยตนเองให้ได้จริงๆ	เพื่อสามารถด�ารงชีพอยู่ได้ด้วยความสุข
ความเจริญมั่นคง	และสร้างสรรค์ประโยชน์ให้แก่สังคมและบ้านเมืองได้ตามควรแก่ฐานะด้วย	...1
	 วิชาความรู้อันพึงประสงค์นั้น	ได้แก่วิชาและความรู้ที่ถูกต้อง	ชัดเจน	แม่นย�าช�านาญ	
น�าไปใช้การเป็นประโยชน์ได้พอเหมาะพอควร	ทันต่อเหตุการณ์	อย่างมีประสิทธิภาพ	เราจะสร้างเสริม
ความรู้อย่างนี้ ขึ้นได้อย่างไร	เบื้องต้นจะต้องเลิกคิดว่าเรียนวิชาไว้เพื่อสอบไล่	เพราะในชีวิตของเรา	
เราไม่ได้อยู่กับการกาผิดกาถูกในข้อสอบ	หากแต่อยู่กับการท�างานและการวินิจฉัยปัญหาสารพัด
ทางที่ถูก	เราจะต้องขวนขวายเปิดตาเปิดใจให้เรียนรู้อยู่เสมอ	ทั้งโดยทางกว้างและทางลึก	...
เมื่อรู้แล้ว	ก็น�ามาคิดพิจารณาให้เห็นประเด็น	ให้เห็นส่วนที่เป็นเหตุ	ส่วนที่เป็นผล	ให้เห็นล�าดับ
ความเกาะเกี่ยวต่อเนื่องแห่งเหตุและผลนั้นๆ	ไปจนตลอดให้เข้าใจโดยชัดเจนแน่นอน	เพื่อให้สามารถ
ส�าเหนียกก�าหนดและจดจ�าไว้ได้	ทั้งส่วนที่เป็นหลักเป็นทฤษฎี	ทั้งส่วนเรื่องราวหรือรายละเอียด	
จักได้สามารถน�าไปสั่งสอนผู้อื่น	และน�าไปเทียบเคียงใช้ให้เป็นประโยชน์ในการงาน	หรือการคิดอ่าน
แก้ปัญหาต่างๆ	ในชีวิตต่อไป	...2
	 ...	การหาโอกาสน�าความรู้ภาคทฤษฎีมาลงมือปฏิบัติก็ดี	การฝึกหัดปฏิบัติงานเพื่อใช้แรงงาน	
ใช้ฝีมือใช้ความละเอียดถี่ถ้วนก็ดี	เป็นสิ่งจ�าเป็นอย่างยิ่งและต้องกระท�ามิให้น้อยหน้าไปกว่าภาคทฤษฎี
เพราะการศึกษาภาคนี้ เป็นประโยชน์สร้างเสริมปัจจัยส�าคัญของชีวิตในด้านความขยันขันแข็ง
ความเข้มแข็ง	ความอดทนพยายาม	ความละเอียดรอบคอบของบุคคล	ได้อย่างมากที่สุด	ผู้ที่ปรกติ
ท�าอะไรด้วยตนเอง	จะเป็นผู้มีอิสระ	ไม่ต้องพึ่ง	ไม่ต้องอาศัยผู้ใด	จะไม่ต้องรอคอย	ไม่ต้องผิดหวัง
และจะได้รับผลส�าเร็จสมใจนึกเสมอไป	...3
1 พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้ส�าเร็จการการศึกษาจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ณ อาคารใหม่
สวนอัมพร วันพุธ ที่ 25 มิถุนายน 2523, ประมวลพระบรมราโชวาทและพระราชด�ารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
พุทธศักราช 2520 – 2523. (2550). หน้า 467.
2 พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้ส�าเร็จการการศึกษาจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ณ อาคารใหม่
สวนอัมพร วันพฤหัสบดี ที่ 26 มิถุนายน 2523, เล่มเดียวกัน. หน้า 468.
3 พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้ส�าเร็จการการศึกษาจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ณ อาคารใหม่
สวนอัมพร วันศุกร์ ที่ 27 มิถุนายน 2523, เล่มเดียวกัน. หน้า 470.
5พระบรมราโชวาทที่จารึกอยู่ในประวัติศาสตร์ของชาวมศว (พ.ศ. 2517-2531)
วงเดือน นาราสัจจ์
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
ระหว่างวันที่ 25 – 28 มิถุนายน พ.ศ. 2523 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ได้เสด็จพระราชด�าเนินเพื่อพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ประจ�าปีการศึกษา 2522 ณ อาคารใหม่ สวนอัมพร และได้พระราชทานพระบรมราโชวาทที่เกี่ยวกับ
วัตถุประสงค์ของการศึกษาซึ่งครอบคลุมถึงเรื่องความรู้ด้านวิชาการ การลงมือปฏิบัติ ความคิดวินิจฉัยและ
ความประพฤติปฏิบัติ ดังนี้
... วัตถุประสงค์ของการศึกษานั้นคืออย่างไร กล่าวโดยรวบยอด ก็คือการท�าให้บุคคล
มีปัจจัยหรือมีอุปกรณ์ส�าหรับชีวิตอย่างครบถ้วนเพียงพอ ทั้งในส่วนวิชาความรู้ ส่วนความคิดวินิจฉัย
ส่วนจิตใจและคุณธรรมความประพฤติ ส่วนความขยันอดทนและความสามารถ ในอันที่จะน�า
ความรู้ความคิดไปใช้ปฏิบัติงานด้วยตนเองให้ได้จริงๆ เพื่อสามารถด�ารงชีพอยู่ได้ด้วยความสุข
ความเจริญมั่นคง และสร้างสรรค์ประโยชน์ให้แก่สังคมและบ้านเมืองได้ตามควรแก่ฐานะด้วย ...1
วิชาความรู้อันพึงประสงค์นั้น ได้แก่วิชาและความรู้ที่ถูกต้อง ชัดเจน แม่นย�าช�านาญ
น�าไปใช้การเป็นประโยชน์ได้พอเหมาะพอควร ทันต่อเหตุการณ์ อย่างมีประสิทธิภาพ เราจะสร้างเสริม
ความรู้อย่างนี้ ขึ้นได้อย่างไร เบื้องต้นจะต้องเลิกคิดว่าเรียนวิชาไว้เพื่อสอบไล่ เพราะในชีวิตของเรา
เราไม่ได้อยู่กับการกาผิดกาถูกในข้อสอบ หากแต่อยู่กับการท�างานและการวินิจฉัยปัญหาสารพัด
ทางที่ถูก เราจะต้องขวนขวายเปิดตาเปิดใจให้เรียนรู้อยู่เสมอ ทั้งโดยทางกว้างและทางลึก ...
เมื่อรู้แล้ว ก็น�ามาคิดพิจารณาให้เห็นประเด็น ให้เห็นส่วนที่เป็นเหตุ ส่วนที่เป็นผล ให้เห็นล�าดับ
ความเกาะเกี่ยวต่อเนื่องแห่งเหตุและผลนั้นๆ ไปจนตลอดให้เข้าใจโดยชัดเจนแน่นอน เพื่อให้สามารถ
ส�าเหนียกก�าหนดและจดจ�าไว้ได้ ทั้งส่วนที่เป็นหลักเป็นทฤษฎี ทั้งส่วนเรื่องราวหรือรายละเอียด
จักได้สามารถน�าไปสั่งสอนผู้อื่น และน�าไปเทียบเคียงใช้ให้เป็นประโยชน์ในการงาน หรือการคิดอ่าน
แก้ปัญหาต่างๆ ในชีวิตต่อไป ...2
... การหาโอกาสน�าความรู้ภาคทฤษฎีมาลงมือปฏิบัติก็ดี การฝึกหัดปฏิบัติงานเพื่อใช้แรงงาน
ใช้ฝีมือใช้ความละเอียดถี่ถ้วนก็ดี เป็นสิ่งจ�าเป็นอย่างยิ่งและต้องกระท�ามิให้น้อยหน้าไปกว่าภาคทฤษฎี
เพราะการศึกษาภาคนี้ เป็นประโยชน์สร้างเสริมปัจจัยส�าคัญของชีวิตในด้านความขยันขันแข็ง
ความเข้มแข็ง ความอดทนพยายาม ความละเอียดรอบคอบของบุคคล ได้อย่างมากที่สุด ผู้ที่ปรกติ
ท�าอะไรด้วยตนเอง จะเป็นผู้มีอิสระ ไม่ต้องพึ่ง ไม่ต้องอาศัยผู้ใด จะไม่ต้องรอคอย ไม่ต้องผิดหวัง
และจะได้รับผลส�าเร็จสมใจนึกเสมอไป ...3
1 พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้ส�าเร็จการการศึกษาจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ	ณ	อาคารใหม่	
สวนอัมพร	วันพุธ	ที่	25	มิถุนายน	2523,	ประมวลพระบรมราโชวาทและพระราชด�ารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
พุทธศักราช 2520 – 2523.	(2550).	หน้า	467.
2 พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้ส�าเร็จการการศึกษาจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ	ณ	อาคารใหม่	
สวนอัมพร	วันพฤหัสบดี	ที่	26	มิถุนายน	2523,	เล่มเดียวกัน.	หน้า	468.
3 พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้ส�าเร็จการการศึกษาจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ	ณ	อาคารใหม่	
สวนอัมพร	วันศุกร์	ที่	27	มิถุนายน	2523,	เล่มเดียวกัน.	หน้า	470.
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
12
วารสารประวัติศาสตร์ 2560 JOURNAL OF HISTORY 20176
	 	 ความคิดวินิจฉัยและความประพฤติปฏิบัติที่ดีนี้ 	เป็นเรื่องที่เป็นเหตุเป็นผลประกอบกัน
และส่งเสริมสนับสนุนกัน	ทั้งเป็นรากฐานของการด�ารงชีวิตที่ดี	ที่เจริญ	ที่มั่นคง	อย่างส�าคัญยิ่ง	
หลักที่จะปฏิบัติฝึกฝนมีอยู่ว่า	เบื้องต้น	บุคคลจะต้องหัดท�าความคิดจิตใจให้หนักแน่น	เป็นกลาง	
ไม่ปล่อยให้หันเหไปตามอ�านาจอคติก่อน	เมื่อจะมอง	จะพิจารณาเรื่องใด	ปัญหาใด	ตลอดจน
บุคคลใดๆ	ก็พยายามพิจารณาดูด้วยใจที่หนักแน่นเป็นกลางนั้นทุกครั้งให้สม�่าเสมอและเที่ยงตรง	
ให้เป็นวินัยประจ�าตัว	ก็จะแลเห็นสิ่งที่เพ่งพิจารณาโดยชัดเจนกระจ่างแจ้ง	ท�าให้สามารถวินิจฉัยได้
ถูกต้อง	ตรงตามความจริง	เป็นเหตุส่งเสริมให้ประพฤติปฏิบัติต่อปัญหา	สถานการณ์	และบุคคลได้
ถูกต้อง	พอเหมาะพอดี	และเมื่อประพฤติปฏิบัติให้ถูกต้องพอเหมาะพอดีได้สม�่าเสมอ	จนเกิดความชัดเจน
ช�านาญแล้ว	ความประพฤติปฏิบัตินั้นก็จะส่งเสริมความคิดอ่านให้แจ่มแจ้ง	คล่องแคล่วรวดเร็วขึ้น	
จะวินิจฉัยสิ่งใดก็ง่ายดาย	และถูกต้องแน่นอนยิ่งขึ้น	แล้วอุดหนุนความประพฤติปฏิบัติให้ดีขึ้น
สูงขึ้นไปอีก	ผู้ที่คิดดีท�าดีจึงมีแต่จะเจริญยิ่งๆ	ขึ้นเป็นล�าดับ	ไม่มีทางที่จะตกต�่าลงได้	...1
การพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงมีพระราชด�าริว่าบุคลากรทางการศึกษา
ซึ่งรวมถึงผู้จัดและครูซึ่งเป็นผู้ให้การศึกษามีความส�าคัญต่อการพัฒนาการศึกษาเพราะเป็นผู้ขับเคลื่อนการพัฒนา
การศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยเฉพาะการพัฒนาคุณภาพของเยาวชนในชาติ พระองค์ทรงเน้น
เรื่องนี้ กับบัณฑิตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒอยู่เสมอ ดังข้อความในพระบรมราโชวาทตอนหนึ่งว่า
... ทุกครั้งที่ไปมอบปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ข้าพเจ้าได้พูดกับบัณฑิต
ให้น�าเอาความรู้ความสามารถที่มีอยู่ ออกไปใช้ปฏิบัติงานด้านการศึกษาให้เกิดประโยชน์
แก่ชาติบ้านเมืองจริงๆ ด้วยจุดประสงค์ที่จะสั่งสอนถ่ายทอดความรู้ความฉลาดในทางที่ถูก
ที่สร้างสรรค์แก่เยาวชน ให้อนุชนรุ่นหลังสามารถสร้างตนสร้างส่วนรวมให้มั่นคง และตั้งตัวได้
ด้วยความเจริญความก้าวหน้า ...2
พระบรมราโชวาทเกี่ยวกับการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาที่พระราชทานแก่บัณฑิตของ
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒที่ส�าคัญ เช่น หน้าที่ของบุคลากรทางการศึกษา หน้าที่ของครู และคุณสมบัติ
ของครูผู้มีวิชา
หน้าที่ของบุคลากรทางการศึกษา
หน้าที่ของผู้จัดและผู้ให้การศึกษานั้น กล่าวอย่างสั้นที่สุด ก็คือการ “ให้คนได้เรียนดี”
เพื่อที่จะสามารถท�าการงานสร้างตัวและด�ารงตัวให้เป็ นหลักเป็ นประโยชน์แก่ส่วนรวมได้
1 พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้ส�าเร็จการการศึกษาจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ณ อาคารใหม่
สวนอัมพร วันเสาร์ ที่ 28 มิถุนายน 2523. เล่มเดียวกัน. หน้า 471.
2 พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้ส�าเร็จการการศึกษาจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สงขลา วันพฤหัสบดี ที่ 4 กันยายน 2518, ประมวลพระบรมราโชวาทและ
พระราชด�ารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พุทธศักราช 2517 – 2519. (2550). หน้า 214.
วารสารประวัติศาสตร์ 2560 JOURNAL OF HISTORY 20176
ความคิดวินิจฉัยและความประพฤติปฏิบัติที่ดีนี้ เป็นเรื่องที่เป็นเหตุเป็นผลประกอบกัน
และส่งเสริมสนับสนุนกัน ทั้งเป็นรากฐานของการด�ารงชีวิตที่ดี ที่เจริญ ที่มั่นคง อย่างส�าคัญยิ่ง
หลักที่จะปฏิบัติฝึกฝนมีอยู่ว่า เบื้องต้น บุคคลจะต้องหัดท�าความคิดจิตใจให้หนักแน่น เป็นกลาง
ไม่ปล่อยให้หันเหไปตามอ�านาจอคติก่อน เมื่อจะมอง จะพิจารณาเรื่องใด ปัญหาใด ตลอดจน
บุคคลใดๆ ก็พยายามพิจารณาดูด้วยใจที่หนักแน่นเป็นกลางนั้นทุกครั้งให้สม�่าเสมอและเที่ยงตรง
ให้เป็นวินัยประจ�าตัว ก็จะแลเห็นสิ่งที่เพ่งพิจารณาโดยชัดเจนกระจ่างแจ้ง ท�าให้สามารถวินิจฉัยได้
ถูกต้อง ตรงตามความจริง เป็นเหตุส่งเสริมให้ประพฤติปฏิบัติต่อปัญหา สถานการณ์ และบุคคลได้
ถูกต้อง พอเหมาะพอดี และเมื่อประพฤติปฏิบัติให้ถูกต้องพอเหมาะพอดีได้สม�่าเสมอ จนเกิดความชัดเจน
ช�านาญแล้ว ความประพฤติปฏิบัตินั้นก็จะส่งเสริมความคิดอ่านให้แจ่มแจ้ง คล่องแคล่วรวดเร็วขึ้น
จะวินิจฉัยสิ่งใดก็ง่ายดาย และถูกต้องแน่นอนยิ่งขึ้น แล้วอุดหนุนความประพฤติปฏิบัติให้ดีขึ้น
สูงขึ้นไปอีก ผู้ที่คิดดีท�าดีจึงมีแต่จะเจริญยิ่งๆ ขึ้นเป็นล�าดับ ไม่มีทางที่จะตกต�่าลงได้ ...1
การพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงมีพระราชด�าริว่าบุคลากรทางการศึกษา
ซึ่งรวมถึงผู้จัดและครูซึ่งเป็นผู้ให้การศึกษามีความส�าคัญต่อการพัฒนาการศึกษาเพราะเป็นผู้ขับเคลื่อนการพัฒนา
การศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยเฉพาะการพัฒนาคุณภาพของเยาวชนในชาติ พระองค์ทรงเน้น
เรื่องนี้ กับบัณฑิตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒอยู่เสมอ ดังข้อความในพระบรมราโชวาทตอนหนึ่งว่า
... ทุกครั้งที่ไปมอบปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ข้าพเจ้าได้พูดกับบัณฑิต
ให้น�าเอาความรู้ความสามารถที่มีอยู่ ออกไปใช้ปฏิบัติงานด้านการศึกษาให้เกิดประโยชน์
แก่ชาติบ้านเมืองจริงๆ ด้วยจุดประสงค์ที่จะสั่งสอนถ่ายทอดความรู้ความฉลาดในทางที่ถูก
ที่สร้างสรรค์แก่เยาวชน ให้อนุชนรุ่นหลังสามารถสร้างตนสร้างส่วนรวมให้มั่นคง และตั้งตัวได้
ด้วยความเจริญความก้าวหน้า ...2
พระบรมราโชวาทเกี่ยวกับการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาที่พระราชทานแก่บัณฑิตของ
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒที่ส�าคัญ เช่น หน้าที่ของบุคลากรทางการศึกษา หน้าที่ของครู และคุณสมบัติ
ของครูผู้มีวิชา
หน้าที่ของบุคลากรทางการศึกษา
หน้าที่ของผู้จัดและผู้ให้การศึกษานั้น กล่าวอย่างสั้นที่สุด ก็คือการ “ให้คนได้เรียนดี”
เพื่อที่จะสามารถท�าการงานสร้างตัวและด�ารงตัวให้เป็ นหลักเป็ นประโยชน์แก่ส่วนรวมได้
1	 พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้ส�าเร็จการการศึกษาจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ	ณ	อาคารใหม่	
สวนอัมพร	วันเสาร์	ที่	28	มิถุนายน	2523.	เล่มเดียวกัน.	หน้า	471.
2	 พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้ส�าเร็จการการศึกษาจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สงขลา วันพฤหัสบดี ที่ 4 กันยายน 2518, ประมวลพระบรมราโชวาทและ
พระราชด�ารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พุทธศักราช 2517 – 2519. (2550). หน้า 214.
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
13
พระราโชวาท
สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี
ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
14
พระราโชวาท
สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ณ อาคารใหม่ สวนอัมพร
วันพุธ ที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๒๕
	 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้ข้าพเจ้า
มาท�ำพิธีมอบปริญญาบัตรในวันนี้ ข้าพเจ้ายินดีที่ได้ทราบรายงานว่ากิจการของมหาวิทยาลัย
ศรีนครินทวิโรฒ ด�ำเนินก้าวหน้ามาด้วยดีทุกๆ ด้าน ขอแสดงความชื่นชมกับท่านผู้ทรงคุณวุฒิ
และบัณฑิตทุกคน ที่ได้รับเกียรติและความส�ำเร็จในการศึกษา
	 บัณฑิตย่อมทราบอยู่เป็นอันดี ว่าการท�ำงานและการด�ำเนินชีวิตในทุกวันนี้ ต้องอาศัย
วิชาความรู้อย่างมาก และวิชาการตลอดจนความเป็นไปต่างๆ นั้น ย่อมวิวัฒนาเปลี่ยนแปลง
อยู่ตลอดเวลา ผู้ที่ใช้วิชาการปฏิบัติงานโดยตรง อย่างเช่นท่านทั้งหลายจึงจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่
จะต้องขวนขวายศึกษาค้นคว้า เพิ่มพูนความรู้ความช�ำนาญอยู่เสมอเพื่อให้สามารถท�ำการงาน
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสบความส�ำเร็จความเจริญก้าวหน้า ผู้ใดไม่พยายามศึกษา
ปรับปรุงตนเองให้ต่อเนื่อง ไม่ช้านานนัก ก็จะต้องล้าหลังและกลายเป็นคนเสื่อมสมรรถภาพไป
	 การศึกษาเพิ่มเติมที่แต่ละคนจะพึงกระท�ำนั้น กล่าวได้ว่ามีอยู่สองทาง ทางหนึ่งคือ
ศึกษาค้นคว้าจากต�ำรับต�ำราและวิเคราะห์วิจัยตามระบบและวิธีการที่ปฏิบัติกันในมหาวิทยาลัย
อีกทางหนึ่งคือสดับตรับฟัง สังเกต จดจ�ำจากการกระท�ำค�ำพูดของบุคคล รวมทั้งเรื่องราว
เหตุการณ์ต่างๆ ที่ประสบพบผ่าน แม้แต่อุปสรรค ความผิดพลาดของตนเองก็อาจน�ำมาคิด
พิจารณาให้เป็นบทเรียน ที่ท�ำให้เกิดความรู้ ความคิด ความฉลาดได้ทั้งสิ้น และความรู้ประเภท
นี้ เท่าที่ปรากฏ มักจะเป็นความรู้ชนิดยอดเยี่ยม ที่หาไม่ได้ในต�ำราใดๆ แต่มีประโยชน์มีคุณค่า
ใช้การได้จริงๆ ดังนั้น แม้บัณฑิตทั้งหลายจะศึกษาส�ำเร็จแล้ว มีการงานท�ำแล้ว ก็ขอให้ตั้งใจ
พยายามศึกษาหาความรู้ ให้เพิ่มพูนกว้างขวางยิ่งๆ ขึ้นต่อไป จักได้เป็นผู้ที่ฉลาดสามารถ และ
บ�ำเพ็ญประโยชน์ตนประโยชน์ผู้อื่นได้อย่างเต็มภาคภูมิในวันข้างหน้า
	 ขออวยพรให้บัณฑิตใหม่ประสบความสุขส�ำเร็จในชีวิต มีความก้าวหน้าและเจริญ
รุ่งเรืองในหน้าที่การงาน ทั้งขอให้ทุกๆ ท่านที่มาประชุมพร้อมกันในพิธีนี้ มีความผาสุก สวัสดี
จงทั่วกัน.
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
15
พระราโชวาท
สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ณ อาคารใหม่ สวนอัมพร
วันพฤหัสบดี ที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๒๕
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้ข้าพเจ้าเชิญ
พระราชกระแสขอบใจในการที่คณาจารย์ข้าราชการบัณฑิตและนิสิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ไปเยี่ยมพระอาการ ถวายพระพรและถวายพานดอกไม้ ข้าพเจ้ามีความยินดีที่ได้มาท�ำพิธีมอบ
ปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒอีกวาระหนึ่ง ขอแสดงความชื่นชมกับท่านผู้ทรง
คุณวุฒิและบรรดาบัณฑิตทุกคน ที่ได้รับเกียติและความส�ำเร็จในครั้งนี้
เมื่อวันวานข้าพเจ้าได้กล่าวกับบัณฑิตในที่ประชุมนี้เป็นในความว่าการด�ำเนินชีวิตและการ
ปฏิบัติงานทั้งปวงในทุกวันนี้ จ�ำเป็นต้องอาศัยวิชาความรู้อย่างมาก และวิชาการต่างๆ นั้นมีวัฒนา
การก้าวหน้าอยู่ตลอดเวลา ผู้ใช้วิชาการปฏิบัติงาน จึงจ�ำเป็นจะต้องศึกษาเพิ่มเติมอยู่เสมอโดย
ไม่หยุดนิ่งด้วยการศึกษาค้นคว้าตามระบบทางหนึ่งด้วยการสดับตรับฟังและสังเกตจดจ�ำจากบุคคล
เรื่องราว และเหตุการณ์ต่างๆ ที่ได้ผ่านพบอีกทางหนึ่ง ซึ่งอาจถือได้ว่าเป็นการศึกษานอกระบบ
วันนี้ใคร่จะกล่าวถึงกลวิธีของการศึกษานอกระบบเพิ่มเติมแก่ท่านต่อไป นักศึกษาที่ฉลาด
ไม่สมควรจะมีความล�ำพองประมาทหมิ่นผู้ใดสิ่งใดเป็นอันขาด เพราะความประมาทหมิ่นนั้นจะ
ปิดบังป้องกันไว้ มิได้เปิดตาเปิดใจที่จะรับรู้รับฟังสิ่งต่างๆ ความรู้ความฉลาดจึงไม่มีทางเข้ามาสู่
ตนได้ ตรงข้าม ควรจะถือว่าบุคคลทุกคน เรื่องราวและเหตุการณ์ทุกสิ่งเป็นเสมือนครู เสมือนบท
เรียน ที่ให้ความรู้ความฉลาดแก่ตนได้อย่างวิเศษ ตนเองนั้นเปรียบเหมือนศิษย์ที่คอยรับรับความรู้
จากครูอาจารย์ เมื่อไม่มีความประมาทหมิ่นและอวดดีแล้ว ก็ย่อมเกิดความยินดีและเต็มใจที่จะรับ
ความรู้ต่างๆอย่างกว้างขวางเพื่อน�ำมาพิจารณากลั่นกรองให้เห็นสาระและก�ำหนดจดจ�ำไว้ประดับ
ปัญญาของตัว ฝ่ายผู้ให้ความรู้เมื่อชอบใจอัธยาศัยของผู้เป็นศิษย์ ก็จะถ่ายทอดวิชาให้โดยไม่ปิดบัง
โบราณท่านจึงสั่งสอนกันนักหนา ว่ามิให้ประมาทปัญญาผู้อื่น และให้ตั้งใจเล่าเรียนโดยเคารพ ทั้ง
ในผู้ที่เป็นครูและในวิชา จึงขากฝากให้บัณฑิตได้น�ำไปคิดพิจารณาให้เกิดประโยชน์บ้าง
ขออวยพรให้บัณฑิตทุกคนที่ส�ำเร็จในการศึกษาในคราวนี้ ประสบความสุขส�ำเร็จในชีวิต
และการงาน มีความเจริญก้าวหน้าได้ตามที่ปรารถนา และขอท่านทั้งหลายที่มาประชุมพร้อมกัน
อยู่ในพิธีนี้ มีความผาสุกสวัสดีทุกเมื่อไป.
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
16
เกิด
	 วันเสาร์ ที่ ๑๖ กันยายน ๒๔๕๙ อําเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต บุตรคนโตของขุนประทุมสิริ
พันธ์ (เจริญ บัวศรี) และนางเปล่ง บัวศรี มีพี่น้อง ๕ คน คือ สาโรช สารี สว่าง จํานง และจงดี
การศึกษา
	 ประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้นที่จังหวัดภูเก็ตมัธยมศึกษาตอนปลายที่ปีนัง ประเทศ
มาเลเซีย
	 ๒๔๗๖ - ๒๔๗๘ 	โรงเรียนฝึกหัดครูประถมพระนคร
	 ๒๔๗๘ - ๒๔๘๑ 	อักษรศาสตรบัณฑิต คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
๒๔๘๒ ประกาศนียบัตรครูมัธยม (ป.ม.)
	 ๒๔๙๑ - ๒๔๙๒	 M.A. จากมหาวิทยาลัยแห่งรัฐโอไฮโอ สหรัฐอเมริกา
	 ๒๔๙๒ - ๒๔๙๖	 Ph.D. จากมหาวิทยาลัยแห่งรัฐโอไฮโอ สหรัฐอเมริกา
	 ๒๕๐๖	 จบหลักสูตร ว.ป.อ. จากวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ศาสตราจารย์ ดร.สาโรช บัวศรี
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
17
การทํางาน
๒๔๘๒ 	 เป็นครูสอนโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา พระนคร
๒๔๘๓ - ๒๔๙๑	 เป็นอาจารย์ใหญ่โรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย
๒๔๙๑ 	 ผู้ช่วยอาจารย์ใหญ่โรงเรียนฝึกหัดครูประถม พระนคร
๒๔๙๑ - ๒๔๙๖	 ได้รับทุนจากกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา ไปศึกษาต่อ
ปริญญาโทและเอก ที่สหรัฐอเมริกา
๒๔๙๖ เป็นอาจารย์โรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูง ถนนประสานมิตร
๒๔๙๖ เป็นผู้อํานวยการโรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูงถนนประสานมิตรและได้เสนอ
ให้ยกฐานะเป็นวิทยาลัยวิชาการศึกษา เมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๔๙๖ และ
ทําให้มี พ.ร.บ. วิทยาลัยวิชาการศึกษา เมื่อวันที่ ๑๖ กันยายน ๒๔๙๗
๒๔๙๖ - ๒๔๙๗ 	เป็นผู้อํานวยการวิทยาลัยวิชาการศึกษา
๒๔๙๗ - ๒๔๙๙	 เป็นรองอธิการ และหัวหน้าคณะวิชาการศึกษาวิทยาลัยวิชาการศึกษา
๒๔๙๙ - ๒๕๑๒ 	 เป็นอธิการคนแรกของวิทยาลัยวิชาการศึกษา
๒๕๑๒ - ๒๕๑๓ 	 เป็นรองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (ครั้งที่ ๑)
๒๕๑๓ - ๒๕๑๖ 	 เป็นอธิบดีกรมการฝึกหัดครู กระทรวงศึกษาธิการ
๒๕๑๗ - ๒๕๑๙ 	 เป็นรองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (ครั้งที่ ๒) จนเกษียณอายุราชการ
บทบาทสําคัญทางด้านการศึกษา
• เป็นผู้บุกเบิกในการยกมาตรฐานวิชาชีพครูให้เป็นวิชาชีพชั้นสูง คือให้เปิดสอนถึงระดับ
ปริญญาตรี โท และเอก
• เป็นผู้บุกเบิกในการยกฐานะโรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูงเป็นวิทยาลัย วิชาการศึกษา (ได้รับ
การยกฐานะเมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๔๙๖ และมี พ.ร.บ. เมื่อวันที่ ๑๖ กันยายน ๒๔๙๗)
• เป็นผู้ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาด้านจริยธรรม วัฒนธรรมและประชาธิปไตยใน
หน่วยงานและสถานศึกษา
• เป็นนักเขียน นักแปล และนักวิจัยค้นคว้าทางด้านการศึกษา และพุทธศาสนา เพื่อเป็น
แนวทางในการวางกรอบแนวคิดเกี่ยวกับการสร้าง ปรัชญา การศึกษาตามแนวพุทธศาสตร์
• เป็นราชบัณฑิตในสํานักธรรมศาสตร์และการเมืองประเภทวิชาปรัชญาราชบัณฑิตยสถาน
• เป็นผู้ก่อตั้งสมาคมการศึกษาแห่งประเทศไทย และเป็นนายกสมาคม คนแรกและเป็น
นายกสมาคม ๒ สมัยติดต่อกัน สมาคมการศึกษา จัดตั้งขึ้นเพื่อสนับสนุนอาชีพครูและเผยแพร่
แนวคิดทางการศึกษา
• เป็นผู้นําการศึกษาแผนใหม่หรือการศึกษาแบบพิพัฒนาการ (Progressive Education)
มาใช้ในวิทยาลัยวิชาการศึกษาและเป็นผู้คิดตรา และสีประจําวิทยาลัย ตามแนวคิดเชิงปรัชญาการ
ศึกษาแบบพิพัฒนาการ คือ “การศึกษา คือ ความเจริญงอกงาม” สีของมหาวิทยาลัยคือสีเทาและ
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
18
สีแดงโดยมีความหมายว่า สีเทาเป็นสีของสมอง แสดงถึงความคิด ความเฉลียวฉลาด และ สีแดงเป็น
สีของเลือดมีความหมายแสดงถึงความกล้าหาญ รวมกันแล้วมีความหมายว่า ให้ผู้เรียน (นิสิต) เป็น
คนกล้าคิดกล้าหาญและเฉลียวฉลาด ตราของวิทยาลัยวิชาการศึกษา เป็นรูปกร๊าฟ ของสมการ วาย
เท่ากับ อี กําลัง เอ๊กซ์ (y = ex
) ซึ่งหมายยถึง “การศึกษา คือ ความเจริญงอกงาม” และมี คําขวัญ
เป็นภาษาบาลีว่า “สิกฺขา วิรุฬฺหิ สมฺปตฺตา”
	 •	 เป็นผู้ริเริ่มและเผยแพร่ปรัชญาการศึกษาตามแนวพุทธศาสตร์ และการจัดการศึกษาตาม
แนว พุทธศาสตร์ (ดังปรากฏงานเขียนในหนังสือเล่มนี้)
	 •	 เป็นผู้ทําคุณประโยชน์ให้แก่สังคมไทย และอุทิศตนเพื่อ “ทําคุณประโยชน์อย่างสูงยิ่งต่อ
การศึกษาชาติ” อาทิ เป็นที่ปรึกษา กรมวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร เป็นที่ปรึกษาเกี่ยวกับ
จริยธรรมข้าราชการของสํานักงานคณะกรรมการข้าราชการ พลเรือน เป็นกรรมการบัญญัติศัพท์
สาขาปรัชญา เป็นกรรมการบัญญัติศัพท์สาขาอุดมศึกษา เป็นที่ปรึกษาและกรรมการจัดทําสาราณุ
กรมศึกษาศาสตร์ และเป็นกรรมการหนังสือแปลของกระทรวงศึกษาธิการ ฯลฯ เป็นต้น ภาระงาน
เหล่านี้ส่วนใหญ่เป็นงานที่ทําหลังเกษียณอายุราชการแล้วทั้งสิ้น
เครื่องราชอิสริยาภรณ์สูงสุดที่ได้รับ
	 ๕ ธันวาคม ๒๕๓๔ มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)
	 ๕ ธันวาคม ๒๕๑๗ มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)
	 ๕ พฤษภาคม ๒๕๑๓ ทุติยจุลจอมเกล้า (ท.จ.)
	 ศาสตราจารย์ ดร.สาโรช บัวศรี ได้ถึงแก่อนิจกรรม เมื่อวันที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๓๖
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
19
เมื่อครบ ๖๐ ปี ของ สาโรช บัวศรี ๑๖ ก.ย. ๒๕๑๙
๑๖ กันยายน ๒๕๑๙
			 ห้ารอบครานี้ 	 	 สาโรชบัวศรี
	 	 	 ชื่นชมยินดี 	 	 ไมตรีอวยพร
	 	 	 จากหมู่ญาติมิตร 	 และศิษย์เคยสอน
	 	 	 หลายท่านสู้จร 		 มาจากทางไกล
	 	 	 ประจักษ์ซาบซึ้ง 	 ตราตรึงสุดไข
	 	 	 เป็นถ้อยจากใจ 		 ได้สมดังจินต์
	 	 	 ขอให้ร่มเย็น 	 	 เป็นสุขจวบสิ้น
	 	 	 อายุฟ้าดิน 	 	 ทั่วทุกท่านเทอญ
เมื่อครบ ๖๐ ปี ของสาโรช บัวศรี
	 เย็นวันหนึ่งในเดือนมิถุนายน ๒๕๑๙ ข้าพเจ้าได้มีโอกาสฟังวิทยุ “เสียงอเมริกา” เป็นภาษา
อังกฤษ ปรากฏว่าเป็นรายการสนทนาของนักวิทยาศาสตร์สองคน กําลังพูดกันเรื่องยานอาวกาศ ชื่อ
Viking๑ ของอเมริกา ซึ่งกําลังเดินทางตรงไปยังดาวพระอังคาร (Mars) และกําหนดจะลงยังพื้นของ
ดาวอังคารในวันที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๑๙ อันเป็นวันชาติและเป็นวันครบรอบ ๒๐๐ ปี ของประเทศ
อเมริกาด้วย เมื่อลงยังพื้นของดาวอังคารได้แล้ว ยานอวกาศลํานี้ก็จะได้ส่งข้อมูลกลับมายังโลก
มนุษย์ของเราว่ามี สิ่งที่มีชีวิต อยู่บนดาวดวงนี้หรือไม่ ดังนั้นจึงเป็นเรื่องที่น่าตื่นเต้นมาก เพราะ
คาดว่าอาจจะมีลําธาร, และ ดังนั้นก็คาดต่อไปว่าอาจจะมี สิ่งที่มีชีวิต เช่นพืชหรือสัตว์อยู่ก็ได้ แต่
ก็ไม่แน่ใจกันทั้งนั้น ; จึงคอยให้ถึงกําหนดวันที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๑๙ เสียโดยเร็ว, และขออย่าให้
ยานอวกาศต้องเกิดขลุกขลัก หรือประสพภัยใด ๆ เลย
	 พอสนทนากันถึงตอนนี้, นักวิทยาศาสตร์คนหนึ่งก็เกิดถามขึ้นมาว่า “ที่เรียกว่าชีวิตนั้นคือ
อะไร, หรือหมายความว่าอะไรกันแน่.”
	 เมื่อถามเช่นนี้แล้ว ก็เกิดสนทนากันใหญ่ เนื่องจากผู้สนทนาทั้งสอนเป็น นักวิทยาศาสตร์,
ก็มองดู ชีวิต ไปในแง่วิทยาศาสตร์ เช่นในแง่ของชีววิทยา ซึ่งกล่าวกันว่า สิ่งที่มีชีวิต ย่อมจะบริโภค
ขับถ่าย สืบพันธุ์ เป็นต้น, และในที่สุด ก็จบลงว่ายังไม่ควรยุติในเรื่องที่ว่า “ชีวิตหมายความว่าอะไร”
นี้, แต่ควรจะได้ช่วยกันคิดให้ลึกซึ้งต่อไปอีก
	 เมื่อข้าพเจ้าฟังมาได้ถึงตอนนี้, ก็ครุ่นคิดว่าในประเทศเรา ได้มีนักปราชญ์ราชบัณฑิตผู้ใด
ได้กล่าวเกี่ยวกับ ความหมายของคําว่าชีวิต นี้ไว้ที่ใดบ้างไหม, และกล่าวว่าอย่างไร.
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563

Contenu connexe

Similaire à นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563

Ebook semina 2 jul 09
Ebook semina 2 jul 09Ebook semina 2 jul 09
Ebook semina 2 jul 09Kasem S. Mcu
 
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (...
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (...หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (...
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (...สุรพล ศรีบุญทรง
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรมjittraporn
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรมneckdakde
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรมamitathongmon
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรมpalmsocute
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรมlikhit
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรมmungja
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรมlikhit
 
3คำสั่งร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.
3คำสั่งร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.3คำสั่งร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.
3คำสั่งร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.krupornpana55
 
โปรแกรมการเรียน
โปรแกรมการเรียนโปรแกรมการเรียน
โปรแกรมการเรียนllwssii
 
โปรแกรมการเรียน
โปรแกรมการเรียนโปรแกรมการเรียน
โปรแกรมการเรียนllwssii
 
หนังสืออนุสรณ์ การฝึกอบรมมเยาวชนสัมพันธ์ รุ่นที่ 377
หนังสืออนุสรณ์ การฝึกอบรมมเยาวชนสัมพันธ์ รุ่นที่ 377หนังสืออนุสรณ์ การฝึกอบรมมเยาวชนสัมพันธ์ รุ่นที่ 377
หนังสืออนุสรณ์ การฝึกอบรมมเยาวชนสัมพันธ์ รุ่นที่ 377YWSP
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3taem
 

Similaire à นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563 (20)

Ed(1)
Ed(1)Ed(1)
Ed(1)
 
Abc
AbcAbc
Abc
 
Ebook semina 2 jul 09
Ebook semina 2 jul 09Ebook semina 2 jul 09
Ebook semina 2 jul 09
 
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (...
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (...หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (...
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (...
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรม
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรม
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรม
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรม
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรม
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรม
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรม
 
3คำสั่งร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.
3คำสั่งร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.3คำสั่งร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.
3คำสั่งร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.
 
โปรแกรมการเรียน
โปรแกรมการเรียนโปรแกรมการเรียน
โปรแกรมการเรียน
 
โปรแกรมการเรียน
โปรแกรมการเรียนโปรแกรมการเรียน
โปรแกรมการเรียน
 
V 297
V 297V 297
V 297
 
หนังสืออนุสรณ์ การฝึกอบรมมเยาวชนสัมพันธ์ รุ่นที่ 377
หนังสืออนุสรณ์ การฝึกอบรมมเยาวชนสัมพันธ์ รุ่นที่ 377หนังสืออนุสรณ์ การฝึกอบรมมเยาวชนสัมพันธ์ รุ่นที่ 377
หนังสืออนุสรณ์ การฝึกอบรมมเยาวชนสัมพันธ์ รุ่นที่ 377
 
2557-6
2557-62557-6
2557-6
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3
 
Unifuture
UnifutureUnifuture
Unifuture
 
V 290
V 290V 290
V 290
 

Plus de Dr Poonsri Vate-U-Lan

Role of ICT Improving Quality of Future Teachers: A Proposed ICT Competency...
Role of  ICT  Improving Quality of Future Teachers: A Proposed ICT Competency...Role of  ICT  Improving Quality of Future Teachers: A Proposed ICT Competency...
Role of ICT Improving Quality of Future Teachers: A Proposed ICT Competency...Dr Poonsri Vate-U-Lan
 
Honorable Life of Asst. Prof. Dr. Pairoj Bowjai
Honorable Life of Asst. Prof. Dr. Pairoj BowjaiHonorable Life of Asst. Prof. Dr. Pairoj Bowjai
Honorable Life of Asst. Prof. Dr. Pairoj BowjaiDr Poonsri Vate-U-Lan
 
Toward Understanding the Impact of Artificial Intelligence on Education: An E...
Toward Understanding the Impact of Artificial Intelligence on Education: An E...Toward Understanding the Impact of Artificial Intelligence on Education: An E...
Toward Understanding the Impact of Artificial Intelligence on Education: An E...Dr Poonsri Vate-U-Lan
 
Pedagogical Innovations: Lessons Learned from École 42 นวัตกรรมการสอน บทเรียน...
Pedagogical Innovations: Lessons Learned from École 42 นวัตกรรมการสอน บทเรียน...Pedagogical Innovations: Lessons Learned from École 42 นวัตกรรมการสอน บทเรียน...
Pedagogical Innovations: Lessons Learned from École 42 นวัตกรรมการสอน บทเรียน...Dr Poonsri Vate-U-Lan
 
วารสารเทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา มูลนิธิศาสตราจารย์หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ในพระบ...
วารสารเทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา มูลนิธิศาสตราจารย์หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ในพระบ...วารสารเทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา มูลนิธิศาสตราจารย์หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ในพระบ...
วารสารเทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา มูลนิธิศาสตราจารย์หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ในพระบ...Dr Poonsri Vate-U-Lan
 
Pedagogical inno poonsri_23_april_2019_public
Pedagogical inno poonsri_23_april_2019_publicPedagogical inno poonsri_23_april_2019_public
Pedagogical inno poonsri_23_april_2019_publicDr Poonsri Vate-U-Lan
 
Unicef brochure by Thai students at TUP
Unicef brochure by Thai students at TUPUnicef brochure by Thai students at TUP
Unicef brochure by Thai students at TUPDr Poonsri Vate-U-Lan
 
eLearning in practice in Higher Education by Prof. Edward Reeve
eLearning in practice in Higher Education by Prof. Edward ReeveeLearning in practice in Higher Education by Prof. Edward Reeve
eLearning in practice in Higher Education by Prof. Edward ReeveDr Poonsri Vate-U-Lan
 
Writing a research article by Dr. Poonsri Vate-U-Lan
Writing a research article by Dr. Poonsri Vate-U-LanWriting a research article by Dr. Poonsri Vate-U-Lan
Writing a research article by Dr. Poonsri Vate-U-LanDr Poonsri Vate-U-Lan
 
Journal of Educational Technology 2560
Journal of Educational Technology 2560Journal of Educational Technology 2560
Journal of Educational Technology 2560Dr Poonsri Vate-U-Lan
 
Internet of Things in Agriculture: a Case Study of Smart Dairy Farming in On...
Internet of Things in Agriculture: a Case Study of  Smart Dairy Farming in On...Internet of Things in Agriculture: a Case Study of  Smart Dairy Farming in On...
Internet of Things in Agriculture: a Case Study of Smart Dairy Farming in On...Dr Poonsri Vate-U-Lan
 
Poonsri Vate-U-Lan, Donna Quigley, Panicos Masouras: Internet of things in ag...
Poonsri Vate-U-Lan, Donna Quigley, Panicos Masouras: Internet of things in ag...Poonsri Vate-U-Lan, Donna Quigley, Panicos Masouras: Internet of things in ag...
Poonsri Vate-U-Lan, Donna Quigley, Panicos Masouras: Internet of things in ag...Dr Poonsri Vate-U-Lan
 
Phygital Learning Concept: From Big to Smart Data
Phygital Learning Concept: From Big to Smart DataPhygital Learning Concept: From Big to Smart Data
Phygital Learning Concept: From Big to Smart DataDr Poonsri Vate-U-Lan
 

Plus de Dr Poonsri Vate-U-Lan (20)

Yanan_Vate-U-Lan.pdf
Yanan_Vate-U-Lan.pdfYanan_Vate-U-Lan.pdf
Yanan_Vate-U-Lan.pdf
 
Liu_Vate-U-Lan.pdf
Liu_Vate-U-Lan.pdfLiu_Vate-U-Lan.pdf
Liu_Vate-U-Lan.pdf
 
Yang_Vate-U-Lan.pdf
Yang_Vate-U-Lan.pdfYang_Vate-U-Lan.pdf
Yang_Vate-U-Lan.pdf
 
Role of ICT Improving Quality of Future Teachers: A Proposed ICT Competency...
Role of  ICT  Improving Quality of Future Teachers: A Proposed ICT Competency...Role of  ICT  Improving Quality of Future Teachers: A Proposed ICT Competency...
Role of ICT Improving Quality of Future Teachers: A Proposed ICT Competency...
 
Honorable Life of Asst. Prof. Dr. Pairoj Bowjai
Honorable Life of Asst. Prof. Dr. Pairoj BowjaiHonorable Life of Asst. Prof. Dr. Pairoj Bowjai
Honorable Life of Asst. Prof. Dr. Pairoj Bowjai
 
Toward Understanding the Impact of Artificial Intelligence on Education: An E...
Toward Understanding the Impact of Artificial Intelligence on Education: An E...Toward Understanding the Impact of Artificial Intelligence on Education: An E...
Toward Understanding the Impact of Artificial Intelligence on Education: An E...
 
Poonsri pedagogy innovations_2019
Poonsri pedagogy innovations_2019Poonsri pedagogy innovations_2019
Poonsri pedagogy innovations_2019
 
Pedagogical Innovations: Lessons Learned from École 42 นวัตกรรมการสอน บทเรียน...
Pedagogical Innovations: Lessons Learned from École 42 นวัตกรรมการสอน บทเรียน...Pedagogical Innovations: Lessons Learned from École 42 นวัตกรรมการสอน บทเรียน...
Pedagogical Innovations: Lessons Learned from École 42 นวัตกรรมการสอน บทเรียน...
 
วารสารเทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา มูลนิธิศาสตราจารย์หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ในพระบ...
วารสารเทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา มูลนิธิศาสตราจารย์หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ในพระบ...วารสารเทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา มูลนิธิศาสตราจารย์หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ในพระบ...
วารสารเทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา มูลนิธิศาสตราจารย์หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ในพระบ...
 
Pedagogical inno poonsri_23_april_2019_public
Pedagogical inno poonsri_23_april_2019_publicPedagogical inno poonsri_23_april_2019_public
Pedagogical inno poonsri_23_april_2019_public
 
Edtech journal 2018_2561
Edtech journal 2018_2561Edtech journal 2018_2561
Edtech journal 2018_2561
 
Unicef brochure by Thai students at TUP
Unicef brochure by Thai students at TUPUnicef brochure by Thai students at TUP
Unicef brochure by Thai students at TUP
 
Unicef brochure in Thai
Unicef brochure in ThaiUnicef brochure in Thai
Unicef brochure in Thai
 
eLearning in practice in Higher Education by Prof. Edward Reeve
eLearning in practice in Higher Education by Prof. Edward ReeveeLearning in practice in Higher Education by Prof. Edward Reeve
eLearning in practice in Higher Education by Prof. Edward Reeve
 
Writing a research article by Dr. Poonsri Vate-U-Lan
Writing a research article by Dr. Poonsri Vate-U-LanWriting a research article by Dr. Poonsri Vate-U-Lan
Writing a research article by Dr. Poonsri Vate-U-Lan
 
Journal of Educational Technology 2560
Journal of Educational Technology 2560Journal of Educational Technology 2560
Journal of Educational Technology 2560
 
PhDeLM_TQF7_appendix_4-2
PhDeLM_TQF7_appendix_4-2PhDeLM_TQF7_appendix_4-2
PhDeLM_TQF7_appendix_4-2
 
Internet of Things in Agriculture: a Case Study of Smart Dairy Farming in On...
Internet of Things in Agriculture: a Case Study of  Smart Dairy Farming in On...Internet of Things in Agriculture: a Case Study of  Smart Dairy Farming in On...
Internet of Things in Agriculture: a Case Study of Smart Dairy Farming in On...
 
Poonsri Vate-U-Lan, Donna Quigley, Panicos Masouras: Internet of things in ag...
Poonsri Vate-U-Lan, Donna Quigley, Panicos Masouras: Internet of things in ag...Poonsri Vate-U-Lan, Donna Quigley, Panicos Masouras: Internet of things in ag...
Poonsri Vate-U-Lan, Donna Quigley, Panicos Masouras: Internet of things in ag...
 
Phygital Learning Concept: From Big to Smart Data
Phygital Learning Concept: From Big to Smart DataPhygital Learning Concept: From Big to Smart Data
Phygital Learning Concept: From Big to Smart Data
 

นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2563

  • 2. มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา ที่ปรึกษา รศ.ดร.ไชยยศ เรืองสุวรรณ ศาสตรเมธี ศ.ดร.ผดุง อารยะวิญญู ดร.จันทร์ ชุ่มเมืองปัก ศาสตรเมธี รศ.ดร.สุทธิพงศ์ หกสุวรรณ บรรณาธิการ ผศ.ดร.ไพโรจน์ เบาใจ คณะกรรมการดำ�เนินงาน ผศ.ดร.ไพโรจน์ เบาใจ ศาสตรเมธี รศ.ดร.ประหยัด จิระวรพงศ์ รศ.ดร.สาโรช โสภีรักข์ รศ.ดร.สานิตย์ กายาผาด รศ.ดร.วีระ ไทยพานิช ผศ.ดร.พูลศรี เวศย์อุฬาร รศ.ดร.สุนทร โคตรบรรเทา ผศ.ดร.ไพบูลย์ เปานิล รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ รศ.ดร.พงษ์ประเสริฐ หกสุวรรณ ศาสตรเมธี รศ.ดร.วินัย วีระวัฒนานนท์ อาจารย์น้ำ� สุขอนันต์ นางเยาวดี น่วมสวัสดิ์ ผู้จัดการฝ่ายโฆษณา และประชาสัมพันธ์ นางเยาวดี น่วมสวัสดิ์ สำ�นักงาน มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เลขที่ 114 อาคาร 14 ชั้น 2 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โทรศัพท์ 0 2259 1919 โทรสาร 0 2261 1777 ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ประจำ�ปีการศึกษา 2563
  • 3. หน้า สารบัญ บรรณาธิการแถลง ........................................................................................................................................ 3 คณะกรรมการร่วมกลั่นกรอง ........................................................................................................................ 4 ใบส�ำคัญแสดงการจดทะเบียนแต่งตั้งกรรมการของมูลนิธิขึ้นใหม่ทั้งชุด ....................................................... 5 พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ...... 6 พระราโชวาทสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีี ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร ........................................................................................................... 13 ประวัติ ศาสตราจารย์ ดร.สาโรช บัวศรี ..................................................................................................... 16 เทคโนโลยี......จะเข้ามาแทนที่ครูได้หรือไม่ ? : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไพโรจน์ เบาใจ .................................... 33 กรวยแห่งอนาคต: กลยุทธ์การออกแบบนวัตกรรมการศึกษา : ผศ.ดร.พูลศรี เวศย์อุฬาร .............................. 38 ท่านทราบหรือไม่ ประเทศใดจัดการศึกษาดีที่สุดในโลก : รศ.ดร.บุญเลิศ ส่องสว่าง ...................................... 46 การจัดการเรียนการสอนในสภาพแวดล้อมเสมือนจริง : รศ.ดร.สาโรช โศภีรักข์ ............................................ 50 การสอนออนไลน์ด้วย Google Classroom และ Google Hangouts Meet : รศ.ดร.สมภพ ทองปลิว ...... 55 หน้าต่างงานวิจัย ........................................................................................................................................ 61 การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) เรื่อง การใช้โปรแกรม Paint.Net ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 : ขัตติยา วงค์ษาแก่นจันทร์, พงศ์ประเสริฐ หกสุวรรณ, ด�ำรัส อ่อนเฉวียง ........................................................... 62 การพัฒนาชุดฝึกอบรมออนไลน์เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนการฝึกปฏิบัติงาน ส�ำหรับนิสิต สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา : ธนทรัพย์ โกกอง , ด�ำรัส อ่อนเฉวียง , สุขมิตร กอมณี ...... 73 การศึกษาเปรียบเทียบสมรรถนะวิชาชีพครูของครูผู้สอนระดับประถมศึกษาที่จบสาขาวิชาชีพครู กับที่ไม่ได้จบสาขาวิชาชีพครู สังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติชัย สุธาสิโนบล, อาจารย์ ดร.ธีระภาพ เพชรมาลัยกุล .............................................. 89 การสร้างภาพยนตร์สั้น เรื่อง “มัน” อยู่ข้างใน กรณีศึกษาการสร้างมู้ดแอนด์โทน ในภาพยนตร์ประเภทหนังสยองขวัญ : เนติพงษ์ ประเสริฐศรี, ดร.สิริกานต์ ไชยสิทธิ์ .............................................................................................. 101 การออกแบบกลยุทธ์การใช้งานแอพลิเคชันมูเดิลบนโทรศัพท์เคลื่อนที่เพื่อการสนับสนุนการเรียนการสอน ในรูปแบบห้องเรียนกลับด้านด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐาน : รัฐสภา แก่นแก้ว, ณรงค์ สมพงษ์ .............................................................................................................. 111 ประวัติ รองศาสตราจารย์ ชม ภูมิภาค .................................................................................................... 125 รายนามคณะกรรมการบริหาร มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ...................................................... 131 รายนามผู้บริจาค “เพื่อกองทุนมูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ” ................................................... 133 ภาพข่าวมูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ......................................................................................... 134
  • 4. บรรณาธิการแถลง หนังสือนวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา เล่มนี้เป็นเล่มปฐมฤกษ์ เพื่อ สนองความต้องการของผู้อ่านในยุคเทคโนโลยีที่ก้าวหน้า ท�ำให้นักเทคโนโลยีการศึกษาต้อง ปรับตัวในการผลิตสื่อสมัยใหม่เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทางการสอน เป็นการยกระดับคุณภาพ ของผู้เรียนให้สูงและรวดเร็วขึ้น ถ้านักการศึกษาท่านใดสนใจจะลงบทความเพื่อเผยแพร่ แนวคิดทางการศึกษาใหม่ ๆ ข้าพเจ้าก็ยินดีน�ำลงในหนังสือให้ด้วยความเต็มใจ ไม่ว่าท่านจะ เป็นครูชายแดน ในเมือง ในมหาวิทยาลัยหรือในกระทรวงศึกษาธิการ ขอขอบคุณคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญทุกท่านที่กรุณาส่งบทความมาลงในหนังสือ เล่มปฐมฤกษ์ไว้ ณ โอกาสนี้ ข้าพเจ้าขอขอบคุณทุกท่านที่ให้การสนับสนุนการจัดพิมพ์จนออกมาเป็นเล่มสวยงาม ขอให้ท่านและครอบครัวมีแต่ความสุขและความเจริญในชีวิตตลอดไป (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไพโรจน์ เบาใจ) บรรณาธิการหนังสือนวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา ประธานมูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • 5. คณะกรรมการร่วมกลั่นกรอง 1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไพโรจน์ เบาใจ 2. รองศาสตราจารย์ ดร.สุนทร โคตรบรรเทา 3. ศาสตรเมธี ศาสตราจารย์ ดร.ผดุง อารยะวิยญู 4. ศาสตรเมธี รองศาสตราจารย์ ดร.สุทธิพงศ์ หกสุวรรณ 5. รองศาสตราจารย์ ดร.วีระ ไทยพานิช 6. รองศาสตราจารย์ ดร.สาโรช โสภีรักข์ 7. ศาสตรเมธี รองศาสตราจารย์ ดร.ประหยัด จิระวรพงศ์ 8. รองศาสตราจารย์ ดร.สานิตย์ กายาผาด 9. รองศาสตราจารย์ ดร.เผชิญ กิจระการ 10. ศาสตรเมธี รองศาสตราจารย์ ดร.วินัย วีระวัฒนานนท์ 11. รองศาสตราจารย์ ดร.พงษ์ประเสริฐ หกสุวรรณ 12. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิตร ทองชั้น 13. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พูลศรี เวศย์อุฬาร 14. ดร.พีระพงษ์ สิทธิอมร มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เลขที่ 114 อาคาร 14 ชั้น 2 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โทรศัพท์ 0-2259-1919 โทรสาร 0-2261-1777
  • 8. นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา 7 บทคัดย่อ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงมีพระมหากรุณาธิคุณล้นเกล้าล้นกระหม่อม ต่อนิสิตและบัณฑิตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒที่มีก�าเนิดจากวิทยาลัยวิชาการศึกษาซึ่งเป็นสถาบัน ผลิตครูชั้นสูง พระบรมราโชวาทที่พระราชทานแก่บัณฑิตและนิสิตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ทั้ง 8 วิทยาเขตในช่วง พ.ศ. 2517 – 2531 ก่อนที่มหาวิทยาลัยมีการเปลี่ยนแปลงสถานภาพในพ.ศ. 25321 ไม่เพียงเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวกับอดีตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒในสมัยเริ่มต้น หากยังสะท้อนถึงพระมหากรุณาธิคุณต่อปวงชนชาวไทย ด้วยเป็นแนวพระราชด�าริเกี่ยวกับการจัดการศึกษา ของประเทศชาติเพื่อพัฒนาคุณภาพของพลเมือง โดยเฉพาะคุณภาพของครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ เป็นก�าลังส�าคัญในการพัฒนาเยาวชนของชาติ ตลอดจนการพัฒนาคุณภาพของบุคลากรที่ศึกษาในสาขา วิชาต่างๆ ซึ่งล้วนเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีความส�าคัญต่อพัฒนาประเทศชาติให้ก้าวหน้าและยั่งยืน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒหรือมศว ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชต่อเนื่องนับตั้งแต่ยังมีสถานะเป็นวิทยาลัยวิชาการศึกษา กระทั่งได้รับยกฐานะ เป็นมหาวิทยาลัย ด้วยพระองค์ทรงสนพระราชหฤทัยและทรงให้ความส�าคัญกับการพัฒนาด้านการศึกษา ซึ่ง “.. เป็นปัจจัยส�าคัญที่สุดอย่างหนึ่งของชีวิต เพราะเป็นรากฐานส�าหรับช่วยให้บุคคลสามารถก้าวไปถึง ความส�าเร็จ ความสุข ความเจริญทั้งปวง ทั้งของตนเองและของส่วนรวม ...”2 ดังนั้น แม้ว่าวิทยาลัยวิชาการ ศึกษาซึ่งได้รับยกฐานะจากโรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูงตามพระราชบัญญัติวิทยาลัยวิชาการศึกษา พุทธศักราช 2497 จะมีสถานะเป็นเพียงวิทยาลัยที่ผลิตบัณฑิตระดับอุดมศึกษา แต่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดชทรงให้ความส�าคัญต่อสถาบันและนิสิตของสถาบันแห่งนี้ เช่นเดียวกับมหาวิทยาลัยอื่นๆ ในขณะนั้นที่มีอยู่ 5 มหาวิทยาลัย คือ จุฬาลงกรณ์ แพทย์ศาสตร์ ธรรมศาสตร์ เกษตรศาสตร์ และศิลปากร “... เพราะเห็นว่าวิทยาลัยการศึกษาทั้งห้าแห่งมีความส�าคัญมากส�าหรับประเทศชาติ มีเกียรติมาก * ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วงเดือน นาราสัจจ์ อดีตอาจารย์ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ 1 จ�านวนวิทยาเขตเริ่มลดลง โดยการยุบรวมวิทยาเขตในส่วนกลาง ส่วนวิทยาเขตในส่วนภูมิภาคได้แยกตัวและยกฐานะเป็น มหาวิทยาลัยต่างๆ 2 พระราชด�ารัสในโอกาสที่นายบุญถิ่น อัตถากร ปลัดกระทรวงศึกษาธิการน�าครู และนักเรียนโรงเรียนราษฎร์สอนศาสนา อิสลามจากภาคใต้เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2515, ประมวลพระบรมราโชวาทและ พระราชด�ารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พุทธศักราช 2513 – 2514. (2550). หน้า 66.
  • 9. นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา 8 วารสารประวัติศาสตร์ 2560 JOURNAL OF HISTORY 20172 แล้วก็เป็นการท�างานที่จะต้องใช้ความคิดที่ดี ความเข้มแข็ง ความเสียสละ ...” 1 พระองค์ได้เสด็จไป พระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิตของวิทยาลัยวิชาการศึกษาที่มีจ�านวนวิทยาเขตเพิ่มมากขึ้นตามล�าดับ และเสด็จไปทรงดนตรีที่วิทยาลัยวิชาการศึกษา ประสานมิตรถึง 2 ครั้งใน พ.ศ. 2512 และ 2515 เป็นการพระราชทานพระราชวโรกาสให้คณาจารย์และนิสิตได้เข้าเฝ้าใกล้ชิดอย่างไม่เป็นพิธีการ น�ามาซึ่ง ความปลื้มปีติอย่างหาที่สุดมิได้แก่คณะผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร และนิสิตของวิทยาลัยวิชาการศึกษา ทุกคน ยิ่งไปกว่านั้น หลังจากคณะรัฐมนตรีมีมติให้ยกฐานะวิทยาลัยวิชาการศึกษาเป็นมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2517 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงมีพระกรุณา โปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อมหาวิทยาลัยว่า “ศรีนครินทรวิโรฒ” ซึ่งมีความหมายว่า (มหาวิทยาลัย) ที่เจริญเป็นศรีสง่าแก่มหานคร ตามหนังสือของส�านักราชเลขาธิการ ลงวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2517 1 พระราชด�ารัสพระราชทานเนื่องในงานวันการศึกษาสัมพันธ์ ของวิทยาลัยวิชาการศึกษา ณ วิทยาลัยวิชาการศึกษา ถนนประสานมิตร วันเสาร์ที่ 15 มีนาคม 2512, ประมวลพระราชด�ารัสและพระบรมราโชวาท. หน้า 100.
  • 10. นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา 9 3พระบรมราโชวาทที่จารึกอยู่ในประวัติศาสตร์ของชาวมศว (พ.ศ. 2517-2531) วงเดือน นาราสัจจ์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒได้รับการพัฒนาให้เจริญก้าวหน้าตามล�าดับ โดยเริ่มแรก มีวิทยาเขตทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค รวม 8 วิทยาเขต ในส่วนกลาง ได้แก่ วิทยาเขตประสานมิตร (มศว ประสานมิตร) ปทุมวัน (มศว ปทุมวัน) บางเขน (มศว บางเขน) และพลศึกษา (มศว พลศึกษา) วิทยาเขตในส่วนภูมิภาคได้แก่ วิทยาเขตบางแสน (มศว บางแสน) มหาสารคาม (มศว มหาสารคาม) พิษณุโลก (มศว พิษณุโลก) และสงขลา (มศว สงขลา) ต่อมามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒเริ่มมี การเปลี่ยนแปลงสถานภาพของมหาวิทยาลัย กล่าวคือ ตั้งแต่ พ.ศ 2532 วิทยาเขตในส่วนกลางทั้ง 4 แห่ง ได้ทยอยยุบรวมอยู่ที่มศว ประสานมิตร ส่วนวิทยาเขตในภูมิภาคก็ได้แยกตัวและยกฐานะเป็นมหาวิทยาลัย ได้แก่ มหาวิทยาลัยบูรพา (มศว บางแสน) มหาวิทยาลัยนเรศวร (มศว พิษณุโลก) มหาวิทยาลัย มหาสารคาม (มศว มหาสารคาม) และมหาวิทยาลัยทักษิณ (มศว สงขลา) ระหว่างพ.ศ. 2517-2531 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้เสด็จ พระราชด�าเนินในการพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ทั้งในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด และพระราชทานพระบรมราโชวาทที่เป็นแนวทางส�าหรับการพัฒนามหาวิทยาลัยให้ยั่งยืน และพระบรมราโชวาทที่น�าประโยชน์อเนกอนันต์แก่บัณฑิตและศิษย์เก่าของมศวทุกวิทยาเขต ทั้งในด้านความคิด การท�างาน ตลอดจนการประพฤติปฏิบัติตน ในบทความนี้ จะเน้นศึกษาพระบรมราโชวาทที่จารึกอยู่ใน ประวัติศาสตร์สมัยเริ่มแรกของชาวมศว (พ.ศ. 2517-2531) ที่มี 8 วิทยาเขต และเป็นช่วงเวลาที่ มหาวิทยาลัยผลิตบัณฑิตทางด้านศึกษาศาสตร์เป็นหลัก พระบรมราโชวาทส่วนใหญ่จึง สะท้อนถึง แนวพระราชด�าริเกี่ยวกับ การพัฒนาการศึกษาและการพัฒนาคนซึ่งเป็นหัวใจของการพัฒนาประเทศให้ยั่งยืน เสด็จพระราชทานปริญญาบัตร พ.ศ.2502 (ปฐมวาระ) (ที่มา: หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ)
  • 11. นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา 10 วารสารประวัติศาสตร์ 2560 JOURNAL OF HISTORY 20174 พระบรมราโชวาทที่เกี่ยวกับการพัฒนาการศึกษา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงให้ความส�าคัญกับการพัฒนาด้านการศึกษา เพื่อให้ประเทศมีความเจริญก้าวหน้า ด้วยทรงได้รับการอบรมเลี้ยงดูจากสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เรื่องความส�าคัญของการศึกษาที่ก่อประโยชน์ให้กับการพัฒนาประเทศตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ ประกอบกับ เมื่อได้เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติและได้เสด็จเยี่ยมพสกนิกรในส่วนภูมิภาค ตลอดจนถิ่นทุรกันดาร พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพบว่า ราษฎรส่วนใหญ่มีฐานะยากจนและขาดการศึกษา ซึ่งเป็นอุปสรรคส�าคัญต่อการพัฒนาประเทศ พระองค์จึงพระราชทานโครงการช่วยเหลือด้านการศึกษา จ�านวนมาก เช่น ได้พระราชทานทุน “ภูมิพล” แก่นิสิตนักศึกษาในมหาวิทยาลัยที่เรียนดี โปรดเกล้าฯ ให้ก่อตั้งมูลนิธิอานันทมหิดลเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่เรียนดีให้มีโอกาสไปศึกษาต่อในต่างประเทศ และน�าวิชาความรู้แขนงต่างๆ กลับมาช่วยพัฒนาบ้านเมืองให้ก้าวหน้าทุกด้าน ทั้งด้านการแพทย์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี เกษตรศาสตร์ สังคมศาสตร์และอักษรศาสตร์ และในพ.ศ. 2510 ได้พระราชทานเงินทุน เพื่อก่อตั้งโรงเรียนสงเคราะห์เด็กที่ยากจนและก�าพร้าอนาถาในวัด รวม 4 แห่ง1 นอกจากนี้ พระองค์ยังทรง ให้ความส�าคัญกับสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่เป็นผู้ผลิตบุคลากรทางการศึกษาโดยตรงเช่น มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สาระส�าคัญของพระบรมราโชวาทเกี่ยวกับการพัฒนาการศึกษาที่พระราชทานแก่บัณฑิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒทั้ง 8 วิทยาเขต ได้แก่ วัตถุประสงค์ของการศึกษา และการพัฒนา บุคลากรทางการศึกษา 1 จิรภา อ่อนเรือง. (2530). พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช (ในหลวงของเรา). หน้า 176. เสด็จทรงดนตรี พ.ศ.2512 (ที่มา: หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ) วารสารประวัติศาสตร์ 2560 JOURNAL OF HISTORY 20174 พระบรมราโชวาทที่เกี่ยวกับการพัฒนาการศึกษา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงให้ความส�าคัญกับการพัฒนาด้านการศึกษา เพื่อให้ประเทศมีความเจริญก้าวหน้า ด้วยทรงได้รับการอบรมเลี้ยงดูจากสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เรื่องความส�าคัญของการศึกษาที่ก่อประโยชน์ให้กับการพัฒนาประเทศตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ ประกอบกับ เมื่อได้เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติและได้เสด็จเยี่ยมพสกนิกรในส่วนภูมิภาค ตลอดจนถิ่นทุรกันดาร พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพบว่า ราษฎรส่วนใหญ่มีฐานะยากจนและขาดการศึกษา ซึ่งเป็นอุปสรรคส�าคัญต่อการพัฒนาประเทศ พระองค์จึงพระราชทานโครงการช่วยเหลือด้านการศึกษา จ�านวนมาก เช่น ได้พระราชทานทุน “ภูมิพล” แก่นิสิตนักศึกษาในมหาวิทยาลัยที่เรียนดี โปรดเกล้าฯ ให้ก่อตั้งมูลนิธิอานันทมหิดลเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่เรียนดีให้มีโอกาสไปศึกษาต่อในต่างประเทศ และน�าวิชาความรู้แขนงต่างๆ กลับมาช่วยพัฒนาบ้านเมืองให้ก้าวหน้าทุกด้าน ทั้งด้านการแพทย์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี เกษตรศาสตร์ สังคมศาสตร์และอักษรศาสตร์ และในพ.ศ. 2510 ได้พระราชทานเงินทุน เพื่อก่อตั้งโรงเรียนสงเคราะห์เด็กที่ยากจนและก�าพร้าอนาถาในวัด รวม 4 แห่ง1 นอกจากนี้ พระองค์ยังทรง ให้ความส�าคัญกับสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่เป็นผู้ผลิตบุคลากรทางการศึกษาโดยตรงเช่น มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สาระส�าคัญของพระบรมราโชวาทเกี่ยวกับการพัฒนาการศึกษาที่พระราชทานแก่บัณฑิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒทั้ง 8 วิทยาเขต ได้แก่ วัตถุประสงค์ของการศึกษา และการพัฒนา บุคลากรทางการศึกษา 1 จิรภา อ่อนเรือง. (2530). พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช (ในหลวงของเรา). หน้า 176. เสด็จทรงดนตรี พ.ศ.2512 (ที่มา: หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ)
  • 12. นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา 11 5พระบรมราโชวาทที่จารึกอยู่ในประวัติศาสตร์ของชาวมศว (พ.ศ. 2517-2531) วงเดือน นาราสัจจ์ วัตถุประสงค์ของการศึกษา ระหว่างวันที่ 25 – 28 มิถุนายน พ.ศ. 2523 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้เสด็จพระราชด�าเนินเพื่อพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประจ�าปีการศึกษา 2522 ณ อาคารใหม่ สวนอัมพร และได้พระราชทานพระบรมราโชวาทที่เกี่ยวกับ วัตถุประสงค์ของการศึกษาซึ่งครอบคลุมถึงเรื่องความรู้ด้านวิชาการ การลงมือปฏิบัติ ความคิดวินิจฉัยและ ความประพฤติปฏิบัติ ดังนี้ ... วัตถุประสงค์ของการศึกษานั้นคืออย่างไร กล่าวโดยรวบยอด ก็คือการท�าให้บุคคล มีปัจจัยหรือมีอุปกรณ์ส�าหรับชีวิตอย่างครบถ้วนเพียงพอ ทั้งในส่วนวิชาความรู้ ส่วนความคิดวินิจฉัย ส่วนจิตใจและคุณธรรมความประพฤติ ส่วนความขยันอดทนและความสามารถ ในอันที่จะน�า ความรู้ความคิดไปใช้ปฏิบัติงานด้วยตนเองให้ได้จริงๆ เพื่อสามารถด�ารงชีพอยู่ได้ด้วยความสุข ความเจริญมั่นคง และสร้างสรรค์ประโยชน์ให้แก่สังคมและบ้านเมืองได้ตามควรแก่ฐานะด้วย ...1 วิชาความรู้อันพึงประสงค์นั้น ได้แก่วิชาและความรู้ที่ถูกต้อง ชัดเจน แม่นย�าช�านาญ น�าไปใช้การเป็นประโยชน์ได้พอเหมาะพอควร ทันต่อเหตุการณ์ อย่างมีประสิทธิภาพ เราจะสร้างเสริม ความรู้อย่างนี้ ขึ้นได้อย่างไร เบื้องต้นจะต้องเลิกคิดว่าเรียนวิชาไว้เพื่อสอบไล่ เพราะในชีวิตของเรา เราไม่ได้อยู่กับการกาผิดกาถูกในข้อสอบ หากแต่อยู่กับการท�างานและการวินิจฉัยปัญหาสารพัด ทางที่ถูก เราจะต้องขวนขวายเปิดตาเปิดใจให้เรียนรู้อยู่เสมอ ทั้งโดยทางกว้างและทางลึก ... เมื่อรู้แล้ว ก็น�ามาคิดพิจารณาให้เห็นประเด็น ให้เห็นส่วนที่เป็นเหตุ ส่วนที่เป็นผล ให้เห็นล�าดับ ความเกาะเกี่ยวต่อเนื่องแห่งเหตุและผลนั้นๆ ไปจนตลอดให้เข้าใจโดยชัดเจนแน่นอน เพื่อให้สามารถ ส�าเหนียกก�าหนดและจดจ�าไว้ได้ ทั้งส่วนที่เป็นหลักเป็นทฤษฎี ทั้งส่วนเรื่องราวหรือรายละเอียด จักได้สามารถน�าไปสั่งสอนผู้อื่น และน�าไปเทียบเคียงใช้ให้เป็นประโยชน์ในการงาน หรือการคิดอ่าน แก้ปัญหาต่างๆ ในชีวิตต่อไป ...2 ... การหาโอกาสน�าความรู้ภาคทฤษฎีมาลงมือปฏิบัติก็ดี การฝึกหัดปฏิบัติงานเพื่อใช้แรงงาน ใช้ฝีมือใช้ความละเอียดถี่ถ้วนก็ดี เป็นสิ่งจ�าเป็นอย่างยิ่งและต้องกระท�ามิให้น้อยหน้าไปกว่าภาคทฤษฎี เพราะการศึกษาภาคนี้ เป็นประโยชน์สร้างเสริมปัจจัยส�าคัญของชีวิตในด้านความขยันขันแข็ง ความเข้มแข็ง ความอดทนพยายาม ความละเอียดรอบคอบของบุคคล ได้อย่างมากที่สุด ผู้ที่ปรกติ ท�าอะไรด้วยตนเอง จะเป็นผู้มีอิสระ ไม่ต้องพึ่ง ไม่ต้องอาศัยผู้ใด จะไม่ต้องรอคอย ไม่ต้องผิดหวัง และจะได้รับผลส�าเร็จสมใจนึกเสมอไป ...3 1 พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้ส�าเร็จการการศึกษาจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ณ อาคารใหม่ สวนอัมพร วันพุธ ที่ 25 มิถุนายน 2523, ประมวลพระบรมราโชวาทและพระราชด�ารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พุทธศักราช 2520 – 2523. (2550). หน้า 467. 2 พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้ส�าเร็จการการศึกษาจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ณ อาคารใหม่ สวนอัมพร วันพฤหัสบดี ที่ 26 มิถุนายน 2523, เล่มเดียวกัน. หน้า 468. 3 พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้ส�าเร็จการการศึกษาจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ณ อาคารใหม่ สวนอัมพร วันศุกร์ ที่ 27 มิถุนายน 2523, เล่มเดียวกัน. หน้า 470. 5พระบรมราโชวาทที่จารึกอยู่ในประวัติศาสตร์ของชาวมศว (พ.ศ. 2517-2531) วงเดือน นาราสัจจ์ วัตถุประสงค์ของการศึกษา ระหว่างวันที่ 25 – 28 มิถุนายน พ.ศ. 2523 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้เสด็จพระราชด�าเนินเพื่อพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประจ�าปีการศึกษา 2522 ณ อาคารใหม่ สวนอัมพร และได้พระราชทานพระบรมราโชวาทที่เกี่ยวกับ วัตถุประสงค์ของการศึกษาซึ่งครอบคลุมถึงเรื่องความรู้ด้านวิชาการ การลงมือปฏิบัติ ความคิดวินิจฉัยและ ความประพฤติปฏิบัติ ดังนี้ ... วัตถุประสงค์ของการศึกษานั้นคืออย่างไร กล่าวโดยรวบยอด ก็คือการท�าให้บุคคล มีปัจจัยหรือมีอุปกรณ์ส�าหรับชีวิตอย่างครบถ้วนเพียงพอ ทั้งในส่วนวิชาความรู้ ส่วนความคิดวินิจฉัย ส่วนจิตใจและคุณธรรมความประพฤติ ส่วนความขยันอดทนและความสามารถ ในอันที่จะน�า ความรู้ความคิดไปใช้ปฏิบัติงานด้วยตนเองให้ได้จริงๆ เพื่อสามารถด�ารงชีพอยู่ได้ด้วยความสุข ความเจริญมั่นคง และสร้างสรรค์ประโยชน์ให้แก่สังคมและบ้านเมืองได้ตามควรแก่ฐานะด้วย ...1 วิชาความรู้อันพึงประสงค์นั้น ได้แก่วิชาและความรู้ที่ถูกต้อง ชัดเจน แม่นย�าช�านาญ น�าไปใช้การเป็นประโยชน์ได้พอเหมาะพอควร ทันต่อเหตุการณ์ อย่างมีประสิทธิภาพ เราจะสร้างเสริม ความรู้อย่างนี้ ขึ้นได้อย่างไร เบื้องต้นจะต้องเลิกคิดว่าเรียนวิชาไว้เพื่อสอบไล่ เพราะในชีวิตของเรา เราไม่ได้อยู่กับการกาผิดกาถูกในข้อสอบ หากแต่อยู่กับการท�างานและการวินิจฉัยปัญหาสารพัด ทางที่ถูก เราจะต้องขวนขวายเปิดตาเปิดใจให้เรียนรู้อยู่เสมอ ทั้งโดยทางกว้างและทางลึก ... เมื่อรู้แล้ว ก็น�ามาคิดพิจารณาให้เห็นประเด็น ให้เห็นส่วนที่เป็นเหตุ ส่วนที่เป็นผล ให้เห็นล�าดับ ความเกาะเกี่ยวต่อเนื่องแห่งเหตุและผลนั้นๆ ไปจนตลอดให้เข้าใจโดยชัดเจนแน่นอน เพื่อให้สามารถ ส�าเหนียกก�าหนดและจดจ�าไว้ได้ ทั้งส่วนที่เป็นหลักเป็นทฤษฎี ทั้งส่วนเรื่องราวหรือรายละเอียด จักได้สามารถน�าไปสั่งสอนผู้อื่น และน�าไปเทียบเคียงใช้ให้เป็นประโยชน์ในการงาน หรือการคิดอ่าน แก้ปัญหาต่างๆ ในชีวิตต่อไป ...2 ... การหาโอกาสน�าความรู้ภาคทฤษฎีมาลงมือปฏิบัติก็ดี การฝึกหัดปฏิบัติงานเพื่อใช้แรงงาน ใช้ฝีมือใช้ความละเอียดถี่ถ้วนก็ดี เป็นสิ่งจ�าเป็นอย่างยิ่งและต้องกระท�ามิให้น้อยหน้าไปกว่าภาคทฤษฎี เพราะการศึกษาภาคนี้ เป็นประโยชน์สร้างเสริมปัจจัยส�าคัญของชีวิตในด้านความขยันขันแข็ง ความเข้มแข็ง ความอดทนพยายาม ความละเอียดรอบคอบของบุคคล ได้อย่างมากที่สุด ผู้ที่ปรกติ ท�าอะไรด้วยตนเอง จะเป็นผู้มีอิสระ ไม่ต้องพึ่ง ไม่ต้องอาศัยผู้ใด จะไม่ต้องรอคอย ไม่ต้องผิดหวัง และจะได้รับผลส�าเร็จสมใจนึกเสมอไป ...3 1 พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้ส�าเร็จการการศึกษาจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ณ อาคารใหม่ สวนอัมพร วันพุธ ที่ 25 มิถุนายน 2523, ประมวลพระบรมราโชวาทและพระราชด�ารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พุทธศักราช 2520 – 2523. (2550). หน้า 467. 2 พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้ส�าเร็จการการศึกษาจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ณ อาคารใหม่ สวนอัมพร วันพฤหัสบดี ที่ 26 มิถุนายน 2523, เล่มเดียวกัน. หน้า 468. 3 พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้ส�าเร็จการการศึกษาจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ณ อาคารใหม่ สวนอัมพร วันศุกร์ ที่ 27 มิถุนายน 2523, เล่มเดียวกัน. หน้า 470.
  • 13. นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา 12 วารสารประวัติศาสตร์ 2560 JOURNAL OF HISTORY 20176 ความคิดวินิจฉัยและความประพฤติปฏิบัติที่ดีนี้ เป็นเรื่องที่เป็นเหตุเป็นผลประกอบกัน และส่งเสริมสนับสนุนกัน ทั้งเป็นรากฐานของการด�ารงชีวิตที่ดี ที่เจริญ ที่มั่นคง อย่างส�าคัญยิ่ง หลักที่จะปฏิบัติฝึกฝนมีอยู่ว่า เบื้องต้น บุคคลจะต้องหัดท�าความคิดจิตใจให้หนักแน่น เป็นกลาง ไม่ปล่อยให้หันเหไปตามอ�านาจอคติก่อน เมื่อจะมอง จะพิจารณาเรื่องใด ปัญหาใด ตลอดจน บุคคลใดๆ ก็พยายามพิจารณาดูด้วยใจที่หนักแน่นเป็นกลางนั้นทุกครั้งให้สม�่าเสมอและเที่ยงตรง ให้เป็นวินัยประจ�าตัว ก็จะแลเห็นสิ่งที่เพ่งพิจารณาโดยชัดเจนกระจ่างแจ้ง ท�าให้สามารถวินิจฉัยได้ ถูกต้อง ตรงตามความจริง เป็นเหตุส่งเสริมให้ประพฤติปฏิบัติต่อปัญหา สถานการณ์ และบุคคลได้ ถูกต้อง พอเหมาะพอดี และเมื่อประพฤติปฏิบัติให้ถูกต้องพอเหมาะพอดีได้สม�่าเสมอ จนเกิดความชัดเจน ช�านาญแล้ว ความประพฤติปฏิบัตินั้นก็จะส่งเสริมความคิดอ่านให้แจ่มแจ้ง คล่องแคล่วรวดเร็วขึ้น จะวินิจฉัยสิ่งใดก็ง่ายดาย และถูกต้องแน่นอนยิ่งขึ้น แล้วอุดหนุนความประพฤติปฏิบัติให้ดีขึ้น สูงขึ้นไปอีก ผู้ที่คิดดีท�าดีจึงมีแต่จะเจริญยิ่งๆ ขึ้นเป็นล�าดับ ไม่มีทางที่จะตกต�่าลงได้ ...1 การพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงมีพระราชด�าริว่าบุคลากรทางการศึกษา ซึ่งรวมถึงผู้จัดและครูซึ่งเป็นผู้ให้การศึกษามีความส�าคัญต่อการพัฒนาการศึกษาเพราะเป็นผู้ขับเคลื่อนการพัฒนา การศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยเฉพาะการพัฒนาคุณภาพของเยาวชนในชาติ พระองค์ทรงเน้น เรื่องนี้ กับบัณฑิตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒอยู่เสมอ ดังข้อความในพระบรมราโชวาทตอนหนึ่งว่า ... ทุกครั้งที่ไปมอบปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ข้าพเจ้าได้พูดกับบัณฑิต ให้น�าเอาความรู้ความสามารถที่มีอยู่ ออกไปใช้ปฏิบัติงานด้านการศึกษาให้เกิดประโยชน์ แก่ชาติบ้านเมืองจริงๆ ด้วยจุดประสงค์ที่จะสั่งสอนถ่ายทอดความรู้ความฉลาดในทางที่ถูก ที่สร้างสรรค์แก่เยาวชน ให้อนุชนรุ่นหลังสามารถสร้างตนสร้างส่วนรวมให้มั่นคง และตั้งตัวได้ ด้วยความเจริญความก้าวหน้า ...2 พระบรมราโชวาทเกี่ยวกับการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาที่พระราชทานแก่บัณฑิตของ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒที่ส�าคัญ เช่น หน้าที่ของบุคลากรทางการศึกษา หน้าที่ของครู และคุณสมบัติ ของครูผู้มีวิชา หน้าที่ของบุคลากรทางการศึกษา หน้าที่ของผู้จัดและผู้ให้การศึกษานั้น กล่าวอย่างสั้นที่สุด ก็คือการ “ให้คนได้เรียนดี” เพื่อที่จะสามารถท�าการงานสร้างตัวและด�ารงตัวให้เป็ นหลักเป็ นประโยชน์แก่ส่วนรวมได้ 1 พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้ส�าเร็จการการศึกษาจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ณ อาคารใหม่ สวนอัมพร วันเสาร์ ที่ 28 มิถุนายน 2523. เล่มเดียวกัน. หน้า 471. 2 พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้ส�าเร็จการการศึกษาจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สงขลา วันพฤหัสบดี ที่ 4 กันยายน 2518, ประมวลพระบรมราโชวาทและ พระราชด�ารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พุทธศักราช 2517 – 2519. (2550). หน้า 214. วารสารประวัติศาสตร์ 2560 JOURNAL OF HISTORY 20176 ความคิดวินิจฉัยและความประพฤติปฏิบัติที่ดีนี้ เป็นเรื่องที่เป็นเหตุเป็นผลประกอบกัน และส่งเสริมสนับสนุนกัน ทั้งเป็นรากฐานของการด�ารงชีวิตที่ดี ที่เจริญ ที่มั่นคง อย่างส�าคัญยิ่ง หลักที่จะปฏิบัติฝึกฝนมีอยู่ว่า เบื้องต้น บุคคลจะต้องหัดท�าความคิดจิตใจให้หนักแน่น เป็นกลาง ไม่ปล่อยให้หันเหไปตามอ�านาจอคติก่อน เมื่อจะมอง จะพิจารณาเรื่องใด ปัญหาใด ตลอดจน บุคคลใดๆ ก็พยายามพิจารณาดูด้วยใจที่หนักแน่นเป็นกลางนั้นทุกครั้งให้สม�่าเสมอและเที่ยงตรง ให้เป็นวินัยประจ�าตัว ก็จะแลเห็นสิ่งที่เพ่งพิจารณาโดยชัดเจนกระจ่างแจ้ง ท�าให้สามารถวินิจฉัยได้ ถูกต้อง ตรงตามความจริง เป็นเหตุส่งเสริมให้ประพฤติปฏิบัติต่อปัญหา สถานการณ์ และบุคคลได้ ถูกต้อง พอเหมาะพอดี และเมื่อประพฤติปฏิบัติให้ถูกต้องพอเหมาะพอดีได้สม�่าเสมอ จนเกิดความชัดเจน ช�านาญแล้ว ความประพฤติปฏิบัตินั้นก็จะส่งเสริมความคิดอ่านให้แจ่มแจ้ง คล่องแคล่วรวดเร็วขึ้น จะวินิจฉัยสิ่งใดก็ง่ายดาย และถูกต้องแน่นอนยิ่งขึ้น แล้วอุดหนุนความประพฤติปฏิบัติให้ดีขึ้น สูงขึ้นไปอีก ผู้ที่คิดดีท�าดีจึงมีแต่จะเจริญยิ่งๆ ขึ้นเป็นล�าดับ ไม่มีทางที่จะตกต�่าลงได้ ...1 การพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงมีพระราชด�าริว่าบุคลากรทางการศึกษา ซึ่งรวมถึงผู้จัดและครูซึ่งเป็นผู้ให้การศึกษามีความส�าคัญต่อการพัฒนาการศึกษาเพราะเป็นผู้ขับเคลื่อนการพัฒนา การศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยเฉพาะการพัฒนาคุณภาพของเยาวชนในชาติ พระองค์ทรงเน้น เรื่องนี้ กับบัณฑิตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒอยู่เสมอ ดังข้อความในพระบรมราโชวาทตอนหนึ่งว่า ... ทุกครั้งที่ไปมอบปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ข้าพเจ้าได้พูดกับบัณฑิต ให้น�าเอาความรู้ความสามารถที่มีอยู่ ออกไปใช้ปฏิบัติงานด้านการศึกษาให้เกิดประโยชน์ แก่ชาติบ้านเมืองจริงๆ ด้วยจุดประสงค์ที่จะสั่งสอนถ่ายทอดความรู้ความฉลาดในทางที่ถูก ที่สร้างสรรค์แก่เยาวชน ให้อนุชนรุ่นหลังสามารถสร้างตนสร้างส่วนรวมให้มั่นคง และตั้งตัวได้ ด้วยความเจริญความก้าวหน้า ...2 พระบรมราโชวาทเกี่ยวกับการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาที่พระราชทานแก่บัณฑิตของ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒที่ส�าคัญ เช่น หน้าที่ของบุคลากรทางการศึกษา หน้าที่ของครู และคุณสมบัติ ของครูผู้มีวิชา หน้าที่ของบุคลากรทางการศึกษา หน้าที่ของผู้จัดและผู้ให้การศึกษานั้น กล่าวอย่างสั้นที่สุด ก็คือการ “ให้คนได้เรียนดี” เพื่อที่จะสามารถท�าการงานสร้างตัวและด�ารงตัวให้เป็ นหลักเป็ นประโยชน์แก่ส่วนรวมได้ 1 พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้ส�าเร็จการการศึกษาจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ณ อาคารใหม่ สวนอัมพร วันเสาร์ ที่ 28 มิถุนายน 2523. เล่มเดียวกัน. หน้า 471. 2 พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้ส�าเร็จการการศึกษาจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สงขลา วันพฤหัสบดี ที่ 4 กันยายน 2518, ประมวลพระบรมราโชวาทและ พระราชด�ารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พุทธศักราช 2517 – 2519. (2550). หน้า 214.
  • 15. นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา 14 พระราโชวาท สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ณ อาคารใหม่ สวนอัมพร วันพุธ ที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๒๕ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้ข้าพเจ้า มาท�ำพิธีมอบปริญญาบัตรในวันนี้ ข้าพเจ้ายินดีที่ได้ทราบรายงานว่ากิจการของมหาวิทยาลัย ศรีนครินทวิโรฒ ด�ำเนินก้าวหน้ามาด้วยดีทุกๆ ด้าน ขอแสดงความชื่นชมกับท่านผู้ทรงคุณวุฒิ และบัณฑิตทุกคน ที่ได้รับเกียรติและความส�ำเร็จในการศึกษา บัณฑิตย่อมทราบอยู่เป็นอันดี ว่าการท�ำงานและการด�ำเนินชีวิตในทุกวันนี้ ต้องอาศัย วิชาความรู้อย่างมาก และวิชาการตลอดจนความเป็นไปต่างๆ นั้น ย่อมวิวัฒนาเปลี่ยนแปลง อยู่ตลอดเวลา ผู้ที่ใช้วิชาการปฏิบัติงานโดยตรง อย่างเช่นท่านทั้งหลายจึงจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่ จะต้องขวนขวายศึกษาค้นคว้า เพิ่มพูนความรู้ความช�ำนาญอยู่เสมอเพื่อให้สามารถท�ำการงาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสบความส�ำเร็จความเจริญก้าวหน้า ผู้ใดไม่พยายามศึกษา ปรับปรุงตนเองให้ต่อเนื่อง ไม่ช้านานนัก ก็จะต้องล้าหลังและกลายเป็นคนเสื่อมสมรรถภาพไป การศึกษาเพิ่มเติมที่แต่ละคนจะพึงกระท�ำนั้น กล่าวได้ว่ามีอยู่สองทาง ทางหนึ่งคือ ศึกษาค้นคว้าจากต�ำรับต�ำราและวิเคราะห์วิจัยตามระบบและวิธีการที่ปฏิบัติกันในมหาวิทยาลัย อีกทางหนึ่งคือสดับตรับฟัง สังเกต จดจ�ำจากการกระท�ำค�ำพูดของบุคคล รวมทั้งเรื่องราว เหตุการณ์ต่างๆ ที่ประสบพบผ่าน แม้แต่อุปสรรค ความผิดพลาดของตนเองก็อาจน�ำมาคิด พิจารณาให้เป็นบทเรียน ที่ท�ำให้เกิดความรู้ ความคิด ความฉลาดได้ทั้งสิ้น และความรู้ประเภท นี้ เท่าที่ปรากฏ มักจะเป็นความรู้ชนิดยอดเยี่ยม ที่หาไม่ได้ในต�ำราใดๆ แต่มีประโยชน์มีคุณค่า ใช้การได้จริงๆ ดังนั้น แม้บัณฑิตทั้งหลายจะศึกษาส�ำเร็จแล้ว มีการงานท�ำแล้ว ก็ขอให้ตั้งใจ พยายามศึกษาหาความรู้ ให้เพิ่มพูนกว้างขวางยิ่งๆ ขึ้นต่อไป จักได้เป็นผู้ที่ฉลาดสามารถ และ บ�ำเพ็ญประโยชน์ตนประโยชน์ผู้อื่นได้อย่างเต็มภาคภูมิในวันข้างหน้า ขออวยพรให้บัณฑิตใหม่ประสบความสุขส�ำเร็จในชีวิต มีความก้าวหน้าและเจริญ รุ่งเรืองในหน้าที่การงาน ทั้งขอให้ทุกๆ ท่านที่มาประชุมพร้อมกันในพิธีนี้ มีความผาสุก สวัสดี จงทั่วกัน.
  • 16. นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา 15 พระราโชวาท สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ณ อาคารใหม่ สวนอัมพร วันพฤหัสบดี ที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๒๕ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้ข้าพเจ้าเชิญ พระราชกระแสขอบใจในการที่คณาจารย์ข้าราชการบัณฑิตและนิสิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ไปเยี่ยมพระอาการ ถวายพระพรและถวายพานดอกไม้ ข้าพเจ้ามีความยินดีที่ได้มาท�ำพิธีมอบ ปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒอีกวาระหนึ่ง ขอแสดงความชื่นชมกับท่านผู้ทรง คุณวุฒิและบรรดาบัณฑิตทุกคน ที่ได้รับเกียติและความส�ำเร็จในครั้งนี้ เมื่อวันวานข้าพเจ้าได้กล่าวกับบัณฑิตในที่ประชุมนี้เป็นในความว่าการด�ำเนินชีวิตและการ ปฏิบัติงานทั้งปวงในทุกวันนี้ จ�ำเป็นต้องอาศัยวิชาความรู้อย่างมาก และวิชาการต่างๆ นั้นมีวัฒนา การก้าวหน้าอยู่ตลอดเวลา ผู้ใช้วิชาการปฏิบัติงาน จึงจ�ำเป็นจะต้องศึกษาเพิ่มเติมอยู่เสมอโดย ไม่หยุดนิ่งด้วยการศึกษาค้นคว้าตามระบบทางหนึ่งด้วยการสดับตรับฟังและสังเกตจดจ�ำจากบุคคล เรื่องราว และเหตุการณ์ต่างๆ ที่ได้ผ่านพบอีกทางหนึ่ง ซึ่งอาจถือได้ว่าเป็นการศึกษานอกระบบ วันนี้ใคร่จะกล่าวถึงกลวิธีของการศึกษานอกระบบเพิ่มเติมแก่ท่านต่อไป นักศึกษาที่ฉลาด ไม่สมควรจะมีความล�ำพองประมาทหมิ่นผู้ใดสิ่งใดเป็นอันขาด เพราะความประมาทหมิ่นนั้นจะ ปิดบังป้องกันไว้ มิได้เปิดตาเปิดใจที่จะรับรู้รับฟังสิ่งต่างๆ ความรู้ความฉลาดจึงไม่มีทางเข้ามาสู่ ตนได้ ตรงข้าม ควรจะถือว่าบุคคลทุกคน เรื่องราวและเหตุการณ์ทุกสิ่งเป็นเสมือนครู เสมือนบท เรียน ที่ให้ความรู้ความฉลาดแก่ตนได้อย่างวิเศษ ตนเองนั้นเปรียบเหมือนศิษย์ที่คอยรับรับความรู้ จากครูอาจารย์ เมื่อไม่มีความประมาทหมิ่นและอวดดีแล้ว ก็ย่อมเกิดความยินดีและเต็มใจที่จะรับ ความรู้ต่างๆอย่างกว้างขวางเพื่อน�ำมาพิจารณากลั่นกรองให้เห็นสาระและก�ำหนดจดจ�ำไว้ประดับ ปัญญาของตัว ฝ่ายผู้ให้ความรู้เมื่อชอบใจอัธยาศัยของผู้เป็นศิษย์ ก็จะถ่ายทอดวิชาให้โดยไม่ปิดบัง โบราณท่านจึงสั่งสอนกันนักหนา ว่ามิให้ประมาทปัญญาผู้อื่น และให้ตั้งใจเล่าเรียนโดยเคารพ ทั้ง ในผู้ที่เป็นครูและในวิชา จึงขากฝากให้บัณฑิตได้น�ำไปคิดพิจารณาให้เกิดประโยชน์บ้าง ขออวยพรให้บัณฑิตทุกคนที่ส�ำเร็จในการศึกษาในคราวนี้ ประสบความสุขส�ำเร็จในชีวิต และการงาน มีความเจริญก้าวหน้าได้ตามที่ปรารถนา และขอท่านทั้งหลายที่มาประชุมพร้อมกัน อยู่ในพิธีนี้ มีความผาสุกสวัสดีทุกเมื่อไป.
  • 17. นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา 16 เกิด วันเสาร์ ที่ ๑๖ กันยายน ๒๔๕๙ อําเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต บุตรคนโตของขุนประทุมสิริ พันธ์ (เจริญ บัวศรี) และนางเปล่ง บัวศรี มีพี่น้อง ๕ คน คือ สาโรช สารี สว่าง จํานง และจงดี การศึกษา ประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้นที่จังหวัดภูเก็ตมัธยมศึกษาตอนปลายที่ปีนัง ประเทศ มาเลเซีย ๒๔๗๖ - ๒๔๗๘ โรงเรียนฝึกหัดครูประถมพระนคร ๒๔๗๘ - ๒๔๘๑ อักษรศาสตรบัณฑิต คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๒๔๘๒ ประกาศนียบัตรครูมัธยม (ป.ม.) ๒๔๙๑ - ๒๔๙๒ M.A. จากมหาวิทยาลัยแห่งรัฐโอไฮโอ สหรัฐอเมริกา ๒๔๙๒ - ๒๔๙๖ Ph.D. จากมหาวิทยาลัยแห่งรัฐโอไฮโอ สหรัฐอเมริกา ๒๕๐๖ จบหลักสูตร ว.ป.อ. จากวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ศาสตราจารย์ ดร.สาโรช บัวศรี
  • 18. นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา 17 การทํางาน ๒๔๘๒ เป็นครูสอนโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา พระนคร ๒๔๘๓ - ๒๔๙๑ เป็นอาจารย์ใหญ่โรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย ๒๔๙๑ ผู้ช่วยอาจารย์ใหญ่โรงเรียนฝึกหัดครูประถม พระนคร ๒๔๙๑ - ๒๔๙๖ ได้รับทุนจากกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา ไปศึกษาต่อ ปริญญาโทและเอก ที่สหรัฐอเมริกา ๒๔๙๖ เป็นอาจารย์โรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูง ถนนประสานมิตร ๒๔๙๖ เป็นผู้อํานวยการโรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูงถนนประสานมิตรและได้เสนอ ให้ยกฐานะเป็นวิทยาลัยวิชาการศึกษา เมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๔๙๖ และ ทําให้มี พ.ร.บ. วิทยาลัยวิชาการศึกษา เมื่อวันที่ ๑๖ กันยายน ๒๔๙๗ ๒๔๙๖ - ๒๔๙๗ เป็นผู้อํานวยการวิทยาลัยวิชาการศึกษา ๒๔๙๗ - ๒๔๙๙ เป็นรองอธิการ และหัวหน้าคณะวิชาการศึกษาวิทยาลัยวิชาการศึกษา ๒๔๙๙ - ๒๕๑๒ เป็นอธิการคนแรกของวิทยาลัยวิชาการศึกษา ๒๕๑๒ - ๒๕๑๓ เป็นรองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (ครั้งที่ ๑) ๒๕๑๓ - ๒๕๑๖ เป็นอธิบดีกรมการฝึกหัดครู กระทรวงศึกษาธิการ ๒๕๑๗ - ๒๕๑๙ เป็นรองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (ครั้งที่ ๒) จนเกษียณอายุราชการ บทบาทสําคัญทางด้านการศึกษา • เป็นผู้บุกเบิกในการยกมาตรฐานวิชาชีพครูให้เป็นวิชาชีพชั้นสูง คือให้เปิดสอนถึงระดับ ปริญญาตรี โท และเอก • เป็นผู้บุกเบิกในการยกฐานะโรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูงเป็นวิทยาลัย วิชาการศึกษา (ได้รับ การยกฐานะเมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๔๙๖ และมี พ.ร.บ. เมื่อวันที่ ๑๖ กันยายน ๒๔๙๗) • เป็นผู้ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาด้านจริยธรรม วัฒนธรรมและประชาธิปไตยใน หน่วยงานและสถานศึกษา • เป็นนักเขียน นักแปล และนักวิจัยค้นคว้าทางด้านการศึกษา และพุทธศาสนา เพื่อเป็น แนวทางในการวางกรอบแนวคิดเกี่ยวกับการสร้าง ปรัชญา การศึกษาตามแนวพุทธศาสตร์ • เป็นราชบัณฑิตในสํานักธรรมศาสตร์และการเมืองประเภทวิชาปรัชญาราชบัณฑิตยสถาน • เป็นผู้ก่อตั้งสมาคมการศึกษาแห่งประเทศไทย และเป็นนายกสมาคม คนแรกและเป็น นายกสมาคม ๒ สมัยติดต่อกัน สมาคมการศึกษา จัดตั้งขึ้นเพื่อสนับสนุนอาชีพครูและเผยแพร่ แนวคิดทางการศึกษา • เป็นผู้นําการศึกษาแผนใหม่หรือการศึกษาแบบพิพัฒนาการ (Progressive Education) มาใช้ในวิทยาลัยวิชาการศึกษาและเป็นผู้คิดตรา และสีประจําวิทยาลัย ตามแนวคิดเชิงปรัชญาการ ศึกษาแบบพิพัฒนาการ คือ “การศึกษา คือ ความเจริญงอกงาม” สีของมหาวิทยาลัยคือสีเทาและ
  • 19. นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา 18 สีแดงโดยมีความหมายว่า สีเทาเป็นสีของสมอง แสดงถึงความคิด ความเฉลียวฉลาด และ สีแดงเป็น สีของเลือดมีความหมายแสดงถึงความกล้าหาญ รวมกันแล้วมีความหมายว่า ให้ผู้เรียน (นิสิต) เป็น คนกล้าคิดกล้าหาญและเฉลียวฉลาด ตราของวิทยาลัยวิชาการศึกษา เป็นรูปกร๊าฟ ของสมการ วาย เท่ากับ อี กําลัง เอ๊กซ์ (y = ex ) ซึ่งหมายยถึง “การศึกษา คือ ความเจริญงอกงาม” และมี คําขวัญ เป็นภาษาบาลีว่า “สิกฺขา วิรุฬฺหิ สมฺปตฺตา” • เป็นผู้ริเริ่มและเผยแพร่ปรัชญาการศึกษาตามแนวพุทธศาสตร์ และการจัดการศึกษาตาม แนว พุทธศาสตร์ (ดังปรากฏงานเขียนในหนังสือเล่มนี้) • เป็นผู้ทําคุณประโยชน์ให้แก่สังคมไทย และอุทิศตนเพื่อ “ทําคุณประโยชน์อย่างสูงยิ่งต่อ การศึกษาชาติ” อาทิ เป็นที่ปรึกษา กรมวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร เป็นที่ปรึกษาเกี่ยวกับ จริยธรรมข้าราชการของสํานักงานคณะกรรมการข้าราชการ พลเรือน เป็นกรรมการบัญญัติศัพท์ สาขาปรัชญา เป็นกรรมการบัญญัติศัพท์สาขาอุดมศึกษา เป็นที่ปรึกษาและกรรมการจัดทําสาราณุ กรมศึกษาศาสตร์ และเป็นกรรมการหนังสือแปลของกระทรวงศึกษาธิการ ฯลฯ เป็นต้น ภาระงาน เหล่านี้ส่วนใหญ่เป็นงานที่ทําหลังเกษียณอายุราชการแล้วทั้งสิ้น เครื่องราชอิสริยาภรณ์สูงสุดที่ได้รับ ๕ ธันวาคม ๒๕๓๔ มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) ๕ ธันวาคม ๒๕๑๗ มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) ๕ พฤษภาคม ๒๕๑๓ ทุติยจุลจอมเกล้า (ท.จ.) ศาสตราจารย์ ดร.สาโรช บัวศรี ได้ถึงแก่อนิจกรรม เมื่อวันที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๓๖
  • 20. นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา 19 เมื่อครบ ๖๐ ปี ของ สาโรช บัวศรี ๑๖ ก.ย. ๒๕๑๙ ๑๖ กันยายน ๒๕๑๙ ห้ารอบครานี้ สาโรชบัวศรี ชื่นชมยินดี ไมตรีอวยพร จากหมู่ญาติมิตร และศิษย์เคยสอน หลายท่านสู้จร มาจากทางไกล ประจักษ์ซาบซึ้ง ตราตรึงสุดไข เป็นถ้อยจากใจ ได้สมดังจินต์ ขอให้ร่มเย็น เป็นสุขจวบสิ้น อายุฟ้าดิน ทั่วทุกท่านเทอญ เมื่อครบ ๖๐ ปี ของสาโรช บัวศรี เย็นวันหนึ่งในเดือนมิถุนายน ๒๕๑๙ ข้าพเจ้าได้มีโอกาสฟังวิทยุ “เสียงอเมริกา” เป็นภาษา อังกฤษ ปรากฏว่าเป็นรายการสนทนาของนักวิทยาศาสตร์สองคน กําลังพูดกันเรื่องยานอาวกาศ ชื่อ Viking๑ ของอเมริกา ซึ่งกําลังเดินทางตรงไปยังดาวพระอังคาร (Mars) และกําหนดจะลงยังพื้นของ ดาวอังคารในวันที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๑๙ อันเป็นวันชาติและเป็นวันครบรอบ ๒๐๐ ปี ของประเทศ อเมริกาด้วย เมื่อลงยังพื้นของดาวอังคารได้แล้ว ยานอวกาศลํานี้ก็จะได้ส่งข้อมูลกลับมายังโลก มนุษย์ของเราว่ามี สิ่งที่มีชีวิต อยู่บนดาวดวงนี้หรือไม่ ดังนั้นจึงเป็นเรื่องที่น่าตื่นเต้นมาก เพราะ คาดว่าอาจจะมีลําธาร, และ ดังนั้นก็คาดต่อไปว่าอาจจะมี สิ่งที่มีชีวิต เช่นพืชหรือสัตว์อยู่ก็ได้ แต่ ก็ไม่แน่ใจกันทั้งนั้น ; จึงคอยให้ถึงกําหนดวันที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๑๙ เสียโดยเร็ว, และขออย่าให้ ยานอวกาศต้องเกิดขลุกขลัก หรือประสพภัยใด ๆ เลย พอสนทนากันถึงตอนนี้, นักวิทยาศาสตร์คนหนึ่งก็เกิดถามขึ้นมาว่า “ที่เรียกว่าชีวิตนั้นคือ อะไร, หรือหมายความว่าอะไรกันแน่.” เมื่อถามเช่นนี้แล้ว ก็เกิดสนทนากันใหญ่ เนื่องจากผู้สนทนาทั้งสอนเป็น นักวิทยาศาสตร์, ก็มองดู ชีวิต ไปในแง่วิทยาศาสตร์ เช่นในแง่ของชีววิทยา ซึ่งกล่าวกันว่า สิ่งที่มีชีวิต ย่อมจะบริโภค ขับถ่าย สืบพันธุ์ เป็นต้น, และในที่สุด ก็จบลงว่ายังไม่ควรยุติในเรื่องที่ว่า “ชีวิตหมายความว่าอะไร” นี้, แต่ควรจะได้ช่วยกันคิดให้ลึกซึ้งต่อไปอีก เมื่อข้าพเจ้าฟังมาได้ถึงตอนนี้, ก็ครุ่นคิดว่าในประเทศเรา ได้มีนักปราชญ์ราชบัณฑิตผู้ใด ได้กล่าวเกี่ยวกับ ความหมายของคําว่าชีวิต นี้ไว้ที่ใดบ้างไหม, และกล่าวว่าอย่างไร.