SlideShare a Scribd company logo
1 of 65
Download to read offline
8 กันยายน พ.ศ. 2559
พัฒนาโดย:
หน่วยงานนโยบายสาธารณะและภารกิจภาครัฐ (Public Sector & Government Practice)
บริษัท ฟรอส์ท แอนด์ ซัลลิวัน จากัด ประจาภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก
ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล
หน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจาปี 2559
Thailand Digital Government Readiness Survey 2016 Results
สานักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) (สรอ.)
2
ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล สาหรับหน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจาปี 2559
1 เกี่ยวกับโครงการและการดาเนินการสารวจ
2
กรอบการติดตามการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล สาหรับหน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจาปี 2559
5
6
ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 ระดับประเทศ
7
ผลการสารวจแนวโน้มการพัฒนาของหน่วยงานภาครัฐเชิงดิจิทัลประจาปี 2559 ระดับประเทศ
ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 ระดับกระทรวง
4 สถานภาพรัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทยประจาปี 2559 : ประเด็นที่น่าสนใจ
3
ระเบียบวิธีการสารวจ ขอบเขตประชากร ระยะเวลาดาเนินการสารวจและผลตอบรับการสารวจ
3
เกี่ยวกับโครงการ
ความเป็นมาและวัตถุประสงค์หลักของโครงการ
• เพื่อที่จะบรรลุเป้าหมายของแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย และ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลของประเทศไทย สานักงานรัฐบาล
อิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) (สรอ.) จัดทาโครงการนี้ขึ้น เพื่อสารวจระดับ
พัฒนารัฐบาลดิจิทัลของหน่วยงานภาครัฐระดับกรมในประเทศไทย เพื่อให้ได้มา
ซึ่งข้อมูลที่มีความถูกต้อง น่าเชื่อถือ สามารถใช้อ้างอิงในการดาเนินงานด้านการ
จัดทานโยบายและพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย
• โครงการนี้จึงจัดทาขึ้น เพื่อพัฒนากรอบการประเมินความพร้อมฯ ปี พ.ศ.
๒๕๕๙ ที่มีความสอดคล้องกับแผน/นโยบายของประเทศไทย และการศึกษา
ของต่างประเทศ
วัตถุประสงค์หลักของโครงการ
• เพื่อพัฒนากรอบการประเมินความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของหน่วยงาน
ภาครัฐของประเทศไทย และตัวชี้วัดระดับความพร้อมด้านรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ให้
มีความเหมาะสมต่อแนวทางการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย
• เพื่อสารวจระดับพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของหน่วยงานภาครัฐระดับกรมในประเทศไทย
เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลที่มีความถูกต้อง น่าเชื่อถือ สามารถใช้อ้างอิงในการดาเนินงาน
ด้านการจัดทานโยบายและพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศ
• เพื่อเผยแพร่ข้อมูลสถานภาพการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศ เพื่อให้หน่วยงาน
ภาครัฐหรือภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง นาไปใช้ประโยชน์ในการวางแผน จัดทานโยบาย
วางมาตรการ เพื่อขับเคลื่อนรัฐบาลดิจิทัลระดับประเทศ
ความเป็นมาของโครงการ
ระยะเวลาการดาเนินโครงการ การทบทวน &
พัฒนากรอบการ
ประเมินฯ
การพัฒนา
แบบสอบถาม
การดาเนิน
การสารวจ
การวิเคราะห์ผล
เผยแพร่ผลสารวจ
และจัดทารายงาน
ก.พ. - 30 มี.ค. 1 พ.ค. – 30 มิ.ย. ก.ค. – ต.ค.1 - 20 เม.ย.
• ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ของหน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจาปี 2559
• ผลการสารวจแนวโน้มการพัฒนาของหน่วยงานภาครัฐเชิงดิจิทัล ประจาปี 2559
ผลลัพธ์ของโครงการ
4
ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล สาหรับหน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจาปี 2559
1 เกี่ยวกับโครงการและการดาเนินการสารวจ
2
กรอบการติดตามการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล สาหรับหน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจาปี 2559
5
6
ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 ระดับประเทศ
7
ผลการสารวจแนวโน้มการพัฒนาของหน่วยงานภาครัฐเชิงดิจิทัลประจาปี 2559 ระดับประเทศ
ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 ระดับกระทรวง
4 สถานภาพรัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทยประจาปี 2559 : ประเด็นที่น่าสนใจ
3
ระเบียบวิธีการสารวจ ขอบเขตประชากร ระยะเวลาดาเนินการสารวจและผลตอบรับการสารวจ
5
ระเบียบวิธีการสารวจ ขอบเขตประชากร และระยะเวลาดาเนินการสารวจ
ขอบเขตประชากรในการสารวจ
หน่วยงานภาครัฐระดับกรม
272 หน่วยงาน
รัฐ
146 หน่วยงาน
รัฐวิสาหกิจ
47 หน่วยงาน
องค์การมหาชน/
หน่วยงานอิสระ
79 หน่วยงาน
ระยะเวลาดาเนินการสารวจ: ตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค. 2558 – 30 เม.ย. 2559
วิธีการสารวจ: 1. ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (Email) 2. ระบบออนไลน์ 3. ไปรษณีย์ 4. โทรสาร
6
ระยะเวลาดาเนินการสารวจ: ตั้งแต่วันที่ 1 พ.ค. – 30 มิ.ย. 2559
ดาเนินการสารวจโดย บริษัท ฟรอส์ท แอนด์ ซัลลิวัน จากัด
หน่วยงานภาครัฐระดับกรม 272 หน่วยงาน
หมายเหตุ: *เป็นหน่วยงานภาครัฐระดับกรมที่ปิดกิจการแล้ว 1 หน่วยงาน และกาลังจะหยุดดาเนินงาน จานวน 3 หน่วยงาน
86.0%
14.0%
ตอบแบบสารวจ ไม่ตอบแบบสารวจ
234 หน่วยงาน 38 หน่วยงาน*
130
39
65
55.6%
16.7%
27.8%
0%
20%
40%
60%
80%
100%
0
20
40
60
80
100
120
140
รัฐ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน/
หน่วยงานอิสระ
หน่วยงาน
ผลตอบรับการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล สาหรับหน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจาปี 2559
7
ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล สาหรับหน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจาปี 2559
1 เกี่ยวกับโครงการและการดาเนินการสารวจ
2
กรอบการติดตามการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล สาหรับหน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจาปี 2559
5
6
ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 ระดับประเทศ
7
ผลการสารวจแนวโน้มการพัฒนาของหน่วยงานภาครัฐเชิงดิจิทัลประจาปี 2559 ระดับประเทศ
ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 ระดับกระทรวง
4 สถานภาพรัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทยประจาปี 2559 : ประเด็นที่น่าสนใจ
3
ระเบียบวิธีการสารวจ ขอบเขตประชากร ระยะเวลาดาเนินการสารวจและผลตอบรับการสารวจ
8
Pillar
Policies
/Practices Citizen centric and value creation
E-Government e-laws and e-
regulations compliance
Agency ICT strategy to support
national digital government objectives
Data privacy
E-Government cyber security
Smart Back Office
Practices
Operational efficiency
Smart Technologies/
Practices
E-Officer with Digital
Capability
Public Personnel
Capabilities
Technology
Infrastructure
Data Centre
Secure and Efficient
Infrastructure
Accessible and Convenient
Public Services
Single point of access
E-Services
Innovation of e-services
Depth of information
and services
Government cloud
Digitalization of
documents and
services
Big data
Dedicated employees
for E-Government
systems
Inter-operability
Digital society
E-Leader capabilities
Leadership continuity
plan
Open government
Internet of things
Open data
Data authentication
and verification
Data integration
Feedback
Business continuity
practices
Effective allocation of budgets
กรอบการติดตามการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล สาหรับหน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจาปี 2559
จุดประสงค์ในการติดตามการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ นั้น เพื่อใช้ในการวางแผน และยกระดับความพร้อมรัฐบาลดิจิทัลของหน่วยงานภาครัฐระดับกรมของประเทศไทย
15%
20% 20% 15% 25% 5%
9
คานิยามของเสาหลักของกรอบการติดตามการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559
นโยบายและแนวปฏิบัติใน
การพัฒนารัฐบาลดิจิทัล
โครงสร้างพื้นฐานที่มีความ
มั่ น ค ง ป ล อ ด ภั ย แ ล ะ
ประสิทธิภาพ
ระบบบริหารจัดการภายใน
ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์
ศักยภาพของเจ้าหน้าที่
ภาครัฐด้านดิจิทัล
การบริการภาครัฐที่สะดวก
และเข้าถึงได้ง่าย
เทคโนโลยีอัจฉริยะและการ
นามาใช้
Policies and
Practices
Secure and
Efficient
Infrastructure
Smart Back
Office
Practices
E-Officer with
digital
capability
Accessible
and
convenient
public
services
Smart
technologies
and practices
10
องค์ประกอบของกรอบการติดตามการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 (1/3)
Policies and
Practices
นโยบายและ
แนวปฏิบัติใน
การพัฒนา
รัฐบาลดิจิทัล
Secure and
Efficient
Infrastructure
Technology infrastructure
Data integration
Data centre
Government cloud
Data authentication and verification
โครงสร้าง
พื้นฐานที่มีความ
มั่นคงปลอดภัย
และ
ประสิทธิภาพ
Citizen centric and value creation
Agency ICT strategy to support national digital government objectives
E-Government cyber security
E-Government e-laws and e-regulations compliance
Data privacy
Effective allocation of budgets
11
Smart Back
Office
Practices
Operational efficiency
Digitalization of documents and services
Dedicated employees for E-Government services
Inter-operability
ระบบบริหาร
จัดการภายใน
ในรูปแบบ
อิเล็กทรอนิกส์
E-Officer with
digital
capability
Public personnel capabilities
E-Leader capabilities
Leadership continuity plan
ศักยภาพของ
เจ้าหน้าที่ภาครัฐ
ด้านดิจิทัล
องค์ประกอบของกรอบการติดตามการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 (2/3)
12
Accessible
and
convenient
public
services
การบริการ
ภาครัฐที่สะดวก
และเข้าถึงได้ง่าย
Smart
government
Digital society
Open government
Big data
Internet of things
Business continuity practices
เทคโนโลยี
อัจฉริยะและการ
นามาใช้
E-Services
Depth of information and services
Single point of access
Innovation of e-services
Open data
Feedback
องค์ประกอบของกรอบการติดตามการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 (3/3)
13
ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล สาหรับหน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจาปี 2559
1 เกี่ยวกับโครงการและการดาเนินการสารวจ
2
กรอบการติดตามการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล สาหรับหน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจาปี 2559
5
6
ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 ระดับประเทศ
7
ผลการสารวจแนวโน้มการพัฒนาของหน่วยงานภาครัฐเชิงดิจิทัลประจาปี 2559 ระดับประเทศ
ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 ระดับกระทรวง
4 สถานภาพรัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทยประจาปี 2559 : ประเด็นที่น่าสนใจ
3
ระเบียบวิธีการสารวจ ขอบเขตประชากร ระยะเวลาดาเนินการสารวจและผลตอบรับการสารวจ
14
สรุปสถานภาพรัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทยประจาปี 2559 : ประเด็นที่น่าสนใจ
การจัดการเกี่ยวกับ Back Office
ศักยภาพของเจ้าหน้าที่ภาครัฐด้านดิจิทัล
โครงสร้างพื้นฐานภาครัฐ
การบริการภาครัฐที่สะดวกและเข้าถึงได้ง่าย
G2C G2B
G2G
นโยบายและแนวปฏิบัติ เทคโนโลยีอัจฉริยะและการนามาใช้
15
สรุปสถานภาพรัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทยประจาปี 2559 : การบริการภาครัฐที่สะดวกและเข้าถึงได้ง่าย
การจัดการเกี่ยวกับ Back Office
ศักยภาพของเจ้าหน้าที่ภาครัฐด้านดิจิทัล
โครงสร้างพื้นฐานภาครัฐ
การบริการภาครัฐที่สะดวกและเข้าถึงได้ง่าย
G2C G2B
G2G
นโยบายและแนวปฏิบัติ เทคโนโลยีอัจฉริยะและการนามาใช้
16
20.1%
30.3%
32.5%
35.5%
76.5%
อื่นๆ
หน่วยงานผู้ประสานงาน
หน่วยงานผู้กากับดูแล
หน่วยงานที่จัดทานโยบาย
หน่วยงานที่ให้บริการ
0% 20% 40% 60% 80% 100%
ภารกิจหลักของหน่วยงานภาครัฐระดับกรม
(n=179)
(n=83)
(n=76)
(n=71)
(n=47)
148
98 96
82.2%
54.4% 53.3%
0%
20%
40%
60%
80%
100%
0
20
40
60
80
100
120
140
160
G2C G2G G2B
หน่วยงาน
กลุ่มผู้รับบริการของหน่วยงานที่ให้บริการ
จานวน 179 หน่วยงาน
หมายเหตุ: 1 หน่วยงานภาครัฐ สามารถมีภารกิจได้หลายรูปแบบ
2 หน่วยงานที่มีภารกิจหลักอื่นๆ จานวน 47 หน่วยงาน แบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่ม ดังนี้
(1) จัดตั้งขึ้นเพื่อดาเนินภารกิจเฉพาะ เช่น จัดทางบประมาณ งานด้านความมั่นคง และสาธารณูปโภค เป็นต้น ร้อยละ 63.8 (30 หน่วยงาน)
(2) ดาเนินงานวิจัย งานด้านวิชาการ และการศึกษา ร้อยละ 27.7 (13 หน่วยงาน) และ
(3) ดาเนินธุรกิจ ผลิตและจัดจาหน่าย ร้อยละ 8.5 (4 หน่วยงาน)
หน่วยงานที่ตอบแบบสารวจ 234 หน่วยงาน
2
1
17
บริการ E-Services ในภาครัฐ
79.9%
(n=187)
มีการให้บริการ E-Services
ผ่านช่องทางต่างๆ
20.1%
(n=47)
ยังไม่มีการให้บริการ
E-Services ผ่านช่องทางต่างๆ
เว็บไซต์
(n=135) 72%
แอพพลิเคชั่นบนมือถือ
(n=95) 51%
คิออส (Kiosk)
(n=24) 13%
• ภาษาไทย
(n=135) 100%
• ภาษาอังกฤษ
(n=53) 39%
• ภาษาไทย (n=94) 99%
• ภาษาอังกฤษ (n=25) 26%
• ภาษาจีน (n=2) 2%
• ภาษา AEC2 (n=1) 1%
• ภาษาไทย (n=24) 100%
• ภาษาอังกฤษ (n=8.4) 35%
• ภาษาจีน (n=1) 3%
• ผู้สูงอายุ (n=11) 8%
• ผู้พิการสายตา (n=11) 8%
• ผู้พิการหู (n=8) 6%
• ผู้สูงอายุ (n=4) 4%
• ผู้พิการหู (n=4) 4%
• ผู้พิการสายตา (n=3) 3%
• ผู้พิการสายตา (n=2) 6%
• ผู้สูงอายุ (n=1) 3%
• ผู้พิการหู (n=1) 3%
หมายเหตุ: 1 หน่วยงานภาครัฐที่ให้บริการ E-Services สามารถให้บริการได้หลายช่องทาง
2 ภาษา AEC (ASEAN Economic Community) ในที่นี้ หมายถึง ภาษาในกลุ่มประเทศอาเซียน ได้แก่ ภาษาพม่า ภาษาลาว ภาษาเขมร ภาษาเวียดนาม ภาษาอินโดนีเซีย
และภาษามาเลย์ โดยไม่รวมภาษาไทย
หน่วยงานที่ตอบแบบสารวจ 234 หน่วยงาน
18
สรุปสถานภาพรัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทยประจาปี 2559 : นโยบายและแนวปฏิบัติ
การจัดการเกี่ยวกับ Back Office
ศักยภาพของเจ้าหน้าที่ภาครัฐด้านดิจิทัล
โครงสร้างพื้นฐานภาครัฐ
การบริการภาครัฐที่สะดวกและเข้าถึงได้ง่าย
G2C G2B
G2G
นโยบายและแนวปฏิบัติ เทคโนโลยีอัจฉริยะและการนามาใช้
19
แนวปฏิบัติในการให้บริการ การรับข้อร้องเรียนและข้อเสนอแนะจากผู้รับบริการ
มีการกาหนดแนวปฏิบัติ 1 (n=211)
90%
กาหนดเวลาในการตอบกลับ
ที่แน่นอน (n=70)
33%
มีขั้นตอนวิธีการตอบรับ
ที่ชัดเจน (n=160)
76%
รูปแบบสาหรับการตอบกลับ
ที่ชัดเจน (n=97)
46%
ไม่มีการกาหนดแนวปฏิบัติ (n=23)
10%
อื่นๆ
(n=44)
21%
*หมายเหตุ: 1หน่วยงานสามารถกาหนดแนวปฏิบัติได้หลายเรื่อง
• มีช่องทางในการให้บริการ การรับข้อร้องเรียนฯ (n=22) 50%
• ดาเนินการตามระเบียบ ข้อกาหนดของหน่วยงาน (n=14) 32%
• อยู่ระหว่างการปรับปรุงและการดาเนินการ (n=40) 9%
• พิจารณาเป็นรายกรณี (n=3) 7%
• จัดจ้างหน่วยงานภายนอกในการดาเนินการ (n=1) 2%
หน่วยงานที่ตอบแบบสารวจ 234 หน่วยงาน
นโยบายการให้บริการประชาชน
20
ไม่มี
(n=92)
39%
มี
(n=142)
61%
หน่วยงานมิได้เป็น
หน่วยงานที่ให้บริการ
38%
(n=35)
18%
(n=17)
อยู่ระหว่าง
การจัดทา
เหตุผลที่ไม่มีแนวปฏิบัติ
ยังไม่มีแผน
ในการดาเนินการ
38% 6%
(n=35) (n=5)
ไม่มี
บริการ E-Services
หน่วยงานที่ตอบแบบสารวจ 234 หน่วยงาน
นโยบายการให้บริการประชาชน
21
ไม่มี
(n=77)
33%
มี
(n=157)
67%
หน่วยงานมิได้เป็น
หน่วยงานที่ให้บริการ
45%
(n=35)
24%
(n=18)
อยู่ระหว่าง
การจัดทา
เหตุผลที่ไม่มีการทบทวนและปรับปรุง
ยังไม่มีแผน
ในการดาเนินการ
22% 9%
(n=17) (n=7)
อื่นๆ 2
ความถี่ในการปรับปรุงบริการ
7.1%
9.6%
83.3%
0% 20% 40% 60% 80% 100%
อื่นๆ 1 (n=11)
2-4 ครั้งต่อปี (n=15)
1 ครั้งต่อปี (n=131)
หมายเหตุ: 1 เช่น ดาเนินการเมื่อมีการร้องขอ และตามนโยบายของผู้บริหาร 7.1%
2 เช่น ไม่มีระบบ E-Services 85.7% (6 หน่วยงาน) และดาเนินการจัดจ้างหน่วยงานภายนอก 14.3% (1 หน่วยงาน)
หน่วยงานที่ตอบแบบสารวจ 234 หน่วยงาน
การพัฒนาบริการ
22
69% มีแนวนโยบาย/ แนวปฏิบัติใน
การใช้สื่อโซเชียลมีเดีย (n=161)
นโยบายการใช้สื่อโซเชียลมีเดีย (Social Media)
ทาการเผยแพร่ผ่าน
เว็บไซต์ (n=69)
42.86%
เผยแพร่ให้พนักงาน
ภายในรับทราบ (n=64)
40%
อื่นๆ
(n=28)
17.14%
ผู้บริหารมีนโยบายในการดาเนินการ (n=12) 42% อยู่ระหว่างดาเนินการ (n=9) 33%
ผ่านสัมมนา/บทความวิชาการ (n=5) 17%
31% ไม่มีแนวนโยบาย/ แนวปฏิบัติใน
การใช้สื่อโซเชียลมีเดีย (n=73)
ผ่านแผ่นพับประชาสัมพันธ์ (n=2) 8%
หน่วยงานที่ตอบแบบสารวจ 234 หน่วยงาน
23
การรับ/จ่ายเงินผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment)
มีการรับ/จ่ายเงินผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์
(E-Payment) 1 (n=73)
ไม่มีการรับ/จ่ายเงินผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์
(E-Payment) (n=161)31% 69%
ระบบบัตรเครดิต
(n=26)
35%
เครื่องรับจ่ายเงินอัตโนมัติ
(ATM) (n=31)
42%
อื่นๆ (n=20)
28%
ธนาคารอิเล็กทรอนิกส์
(n=74)
60%
15%
15%
20%
50%
0% 20% 40% 60% 80% 100%
อยู่ระหว่างการพัฒนา
(n=3)
ระบบ GFMIS ของ
กรมบัญชีกลาง (n=3)
ระบบ E-Payment อื่น
(n=4)
Counter Service
(n=10)
หมายเหตุ: 1 หน่วยงานภาครัฐสามารถมีการรับ/จ่ายเงินผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-Payment) ได้มากกว่า 1 ช่องทาง
หน่วยงานที่ตอบแบบสารวจ 234 หน่วยงาน
24
การเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ
ปฏิบัติตามพรบ.ข้อมูลข่าวสารราชการ พ.ศ.2540
(n=199) 89%
ทาให้หน่วยงานเป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้น
(n=137) 61%
มีผู้นาไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาแอพพลิเคชั่น
(n=69) 31%
ยังไม่มีนโยบายเปิดเผยข้อมูล (n=10)
4.27 %
95.73% ของหน่วยงานทั้งหมดมีการ
เปิดเผยข้อมูลที่อนุญาตให้ผู้ใช้นาไปใช้
แบบไม่มีเงื่อนไขและอยู่ในรูปแบบ
อิเล็กทรอนิกส์ (n=224)
ผู้ใช้งาน
Open data
ภาครัฐ
(n=186)
83%
ประชาชน/ธุรกิจ
(n=134)
60%
ประโยชน์ของการเปิดเผยข้อมูล
หน่วยงานที่ตอบแบบสารวจ 234 หน่วยงาน
25
การมีส่วนร่วมของประชาชน
30%
(n=70)
มีกิจกรรม/ โครงการที่ให้
ประชาชนมีส่วนร่วม
• โครงการความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
(Customer Social Responsibility: CSR)
• โครงการเครือข่ายภาคประชาชนพลังงานชุมชน
• โครงการประชาพิจารณ์ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การ
ประเมินคุณภาพภายนอก
• โครงการพัฒนากฎหมายสาธารณสุข
27%
(n=63)
มีกิจกรรม/ โครงการที่ให้
ประชาชนมีส่วนร่วม
• โครงการสารวจความพึงพอใจ ข้อคิดเห็นและ
ข้อเสนอแนะจากผู้รับบริการ
• โครงการบริการประชาชนในการสืบค้นพรรณไม้
• โครงการคลินิกภาษี
• โครงการพัฒนาระบบ IT และสนับสนุนภารกิจของ
หอภาพยนตร์สู่สาธารณชน
หน่วยงานที่ตอบแบบสารวจ 234 หน่วยงาน
26
การจัดสรรงบประมาณด้าน ICT
สัดส่วนของงบประมาณด้านความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ
ต่องบประมาณด้าน ICT โดยเฉลี่ย คิดเป็นร้อยละ 11.6
สัดส่วนของงบประมาณด้าน ICT ของหน่วยงาน
ภาครัฐระดับกรมต่องบประมาณทั้งหมด คิดเป็น
ร้อยละ 5.5
94.5%
5.5%
งบประมาณด้านอื่น งบประมาณด้าน ICT
88.4%
11.6%
งบประมาณ ICT
ด้านอื่น
งบประมาณด้าน
IT Security
งบประมาณทั้งหมด
งบประมาณด้าน ICT
หน่วยงานที่ตอบแบบสารวจ 234 หน่วยงาน
27
การจัดการเกี่ยวกับ Back Office
ศักยภาพของเจ้าหน้าที่ภาครัฐด้านดิจิทัล
โครงสร้างพื้นฐานภาครัฐ
การบริการภาครัฐที่สะดวกและเข้าถึงได้ง่าย
G2C G2B
G2G
นโยบายและแนวปฏิบัติ เทคโนโลยีอัจฉริยะและการนามาใช้
สรุปสถานภาพรัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทยประจาปี 2559 : โครงสร้างพื้นฐานภาครัฐ
28
มีการแบ่งแยกส่วนการให้บริการ
อินเทอร์เน็ตไร้สายตามกลุ่มผู้ใช้งาน*
หน่วยงานมีอินเทอร์เน็ตไร้สาย
ผู้ใช้งาน* พนักงานของหน่วยงาน
บุคคลภายนอกที่มาทางาน
ร่วมกับหน่วยงาน
ผู้มาติดต่อขอรับบริการ
รัฐ
(n=130)
รัฐวิสาหกิจ
(n=39)
องค์การมหาชน/หน่วยงานอิสระ
(n=65)
99%
(n=128)
95%
(n=37)
95%
(n=62)
99%
(n=127)
97%
(n=36)
98%
(n=61)
65%
(n=83)
49%
(n=18)
68%
(n=42)
41%
(n=52)
46%
(n=17)
65%
(n=40)
วิธีการ
เข้าใช้งาน
ลงทะเบียนก่อนเข้าใช้งาน
ไม่ต้องลงทะเบียนก่อนเข้าใช้งาน
93%
(n=121)
85%
(n=33)
86%
(n=56)
96%
(n=115)
100%
(n=33)
95%
(n=53)
4%
(n=6)
-%
(n=0)
5%
(n=3)
หน่วยงานที่ตอบแบบสารวจ 234 หน่วยงาน
โครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีของหน่วยงานภาครัฐ
29
มีการบริหารระบบสารสนเทศ
ในยามฉุกเฉิน
มีการใช้งานระบบคลาวด์คอมพิวติ้ง (n=250) 64
ผู้ใช้งาน
สารองข้อมูลภายใน
หน่วยงาน (n=202)
89%
สารองข้อมูลในพื้นที่
ห่างไกล (n=116)
51%
อื่นๆ 5
(n=34)
15%
ด้านซอฟต์แวร์ (SaaS) (n=108)
43%
ด้านโครงสร้างพื้นฐาน (IaaS) (n=158)
63%
หน่วยงานที่ใช้งานศูนย์ข้อมูล (n=225) 96%
ลักษณะการใช้งาน
เป็นศูนย์ข้อมูลของหน่วยงานเอง (n=203) 90%
ใช้บริการศูนย์ข้อมูลร่วมกับหน่วยงานอื่น (n=47) 21%
ใช้บริการศูนย์ข้อมูลของเอกชน (n=34) 15%
หมายเหตุ: 4 หน่วยงานรัฐสามารถมีการบริหารระบบสารองข้อมูลฯ ได้หลายแบบ
5 อื่นๆ เช่น G-cloud ของ สรอ.หรือของกสทช., Online backup เป็นต้น
ด้านแพลตฟอร์ม (PaaS) (n=73)
29%
ด้านอื่นๆ3 (n=28)
11%
หมายเหตุ: 2 หน่วยงานรัฐสามารถมีระบบคลาวด์คอมพิวติ้ง (Cloud Computing) ได้หลายแบบ,
3 ตัวอย่างคาตอบอื่นๆ เช่น G-cloud ของ สรอ., ระบบ Virtual Desktop Infrastructure เป็นต้น
หมายเหตุ: 1 หน่วยงานรัฐสามารถมีลักษณะการใช้งานศูนย์ข้อมูลได้หลายแบบ
หน่วยงานที่ตอบแบบสารวจ 234 หน่วยงาน
โครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีของหน่วยงานภาครัฐ
30
มีการใช้งานระบบความมั่นคงปลอดภัย
สารสนเทศ (n=233) 99.57%
ระบบ Firewall (n=230) 99%
ระบบ Anti Virus (n=223) 96%
Network Access Control (n=169) 73%
อื่นๆ (n=60) 26%
ระบบความมั่นคงปลอดภัย
Intrusion Prevention System (IPS)
(n=45) 74.70%
หมายเหตุ: 1 หน่วยงานภาครัฐสามารถมีการใช้งานระบบความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศได้หลายระบบ
ระบบป้องกันการโจมตีเว็บไซต์ WAF ของ สพธอ.
(n=7) 12.05%
Intrusion Detection System (IDS)
(n=6) 9.64%
โครงการบริการระบบบริหารจัดการภัยคุกคามฯ สรอ.
(n=2) 3.61%
ระบบที่ใช้1
ไม่มีการใช้งานระบบความมั่นคปลอดภัย
สารสนเทศ (n=1) 0.43%
หน่วยงานที่ตอบแบบสารวจ 234 หน่วยงาน
31
มีแนวนโยบาย/แนวปฏิบัติ (n=187)
สอดคล้องกับ
ประกาศคณะอนุกรรมการธุรกรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส์เรื่องแนวนโยบายและแนวปฏิบัติ
ในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยด้านสารสนเทศ
ของหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2553 (n=161)
86%
ISO/IEC27001 (n=56) 30%
อื่นๆ (n=19) 10%
หมายเหตุ: 1 หน่วยงานภาครัฐสามารถมีแนวนโยบาย/แนวปฏิบัติด้านความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศที่สอดคล้องได้หลายแนวทาง
แนวนโยบาย/มาตรฐานความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศเฉพาะของ
อุตสาหกรรมที่หน่วยงานดาเนินงานอยู่ (n=4) 21%
ตามกฎหมาย เช่น พระราชกฤษฎีกา และพระราชบัญญัติที่เกี่ยวข้อง
เป็นต้น (n=2) 10%
นโยบายความมั่นคงปลอดภัยด้านสารสนเทศ/ แผนการบริหารความเสี่ยง/
ตัวชี้วัด PMQA ของหน่วยงานเอง (n=10) 53%
ISO/IEC อื่นๆ เช่น ISO/IEC 29110 และ ISO 9001/ 2008 เป็นต้น
(n=3) 16%
60% (n=129)
ผ่านความเห็นชอบการจัดทาแนวนโยบายและแนวปฏิบัติในการรักษาความมั่นคง
ปลอดภัยด้านสารสนเทศหน่วยงานของรัฐ จากสานักงานคณะกรรมการธุรกรรม
ทางอิเล็กทรอนิกส์ (หมายเหตุ: ข้อมูลประกาศ ณ วันที่ 1 มิถุนายน 2559)
ระบบความมั่นคงปลอดภัย
ไม่มีแนวนโยบาย/แนวปฏิบัติ (n=47)
หน่วยงานที่ตอบแบบสารวจ 234 หน่วยงาน
32
มีกลไกการยืนยันตัวตนของ
เจ้าหน้าที่ภาครัฐ (n=233)
ระบบที่ใช้
Token Key
(n=33) 14%
Username/Password
(n=221) 95%
*หมายเหตุ: ตัวอย่างคาตอบอื่นๆ เช่น MAC Address, Active Directory, OTP, Radius Server และ
SSO เป็นต้น
Smart card (n=16)
7%
Biometric Security
(n=65) 28%
อื่นๆ (n=21)
9%
ระบบสแกนลายนิ้วมือ
(n=65) 100%
ระบบสแกนม่านตา
(n=2) 3%
มีการกาหนดนโยบายของหน่วยงานใน
ด้านการคุ้มครองข้อมูล (n=147) 63%
สื่อสารนโยบายการคุ้มครองข้อมูลของหน่วยงาน
ให้กับเจ้าหน้าที่ภาครัฐ (n=103) 44%
อื่นๆ (n=63) 27%
มีการกาหนดสิทธิหรือระดับในการเข้าถึงข้อมูล ตามระเบียบหรือ
มาตรฐานของหน่วยงานโดยเฉพาะ (n=63) 61%
ยังไม่มีแนวปฏิบัติหรือแผนที่จะดาเนินการ (n=16) 25%
อยู่ระหว่างดาเนินการ (n=9) 14%
หมายเหตุ: 1หน่วยงานภาครัฐสามารถมีแนวปฏิบัติด้านการคุ้มครองข้อมูลได้หลายแนวปฏิบัติ
ระบบความมั่นคงปลอดภัย
หน่วยงานที่ตอบแบบสารวจ 234 หน่วยงาน
33
การจัดการเกี่ยวกับ Back Office
ศักยภาพของเจ้าหน้าที่ภาครัฐด้านดิจิทัล
โครงสร้างพื้นฐานภาครัฐ
การบริการภาครัฐที่สะดวกและเข้าถึงได้ง่าย
G2C G2B
G2G
นโยบายและแนวปฏิบัติ เทคโนโลยีอัจฉริยะและการนามาใช้
สรุปสถานภาพรัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทยประจาปี 2559 : การจัดการเกี่ยวกับ Back Office
34
กระบวนการ Back Office ที่มีการใช้งานผสมผสานร่วมกับระบบอิเล็กทรอนิกส์
13%
25%
26%
26%
58%
62%
66%
68%
68%
70%
78%
91%
92%
0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100%
งานผู้ตรวจราชการ
งานวิเทศสัมพันธ์
งานตรวจสอบภายใน
งานนิติการ
งานอาคารสถานที่ และยานพาหนะ
งานนโยบาย แผนงานโครงการ
งานจัดซื้อพัสดุ
งานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ
งานประชาสัมพันธ์
งานบริหารงบประมาณ
งานการเงินและบัญชี
งานบริหารทรัพยากรบุคคล
งานสารบรรณและเลขานุการ
หน่วยงานที่ตอบแบบสารวจ 234 หน่วยงาน
การจัดการเกี่ยวกับ Back Office
35
ความถี่ในการอัพเดทเว็บไซต์
ทุกวัน
(n=152)
65%
ทุกสัปดาห์
(n=19)
8%
ทุกเดือน
(n=5)
2%
อื่นๆ
(n=58)
25%
94% ของหน่วยงานทั้งหมดทราบ
เกี่ยวกับมาตรฐานเว็บไซต์ภาครัฐที่พัฒนา
โดย สรอ. (n=220)
81% ของหน่วยงานทั้งหมดมีการ
ดาเนินการพัฒนาเว็บไซต์ให้สอดคล้องกับ
มาตรฐานเว็บไซต์ภาครัฐที่พัฒนาโดย
สรอ. (n=190)เมื่อมีข้อมูลอัพเดต (n=48) 83%
เมื่อมีการร้องขอ (n=10) 17%
หน่วยงานที่ตอบแบบสารวจ 234 หน่วยงาน
การบริหารจัดการเว็บไซต์
การจัดการเกี่ยวกับ Back Office
36
การจัดการเกี่ยวกับ Back Office
ศักยภาพของเจ้าหน้าที่ภาครัฐด้านดิจิทัล
โครงสร้างพื้นฐานภาครัฐ
การบริการภาครัฐที่สะดวกและเข้าถึงได้ง่าย
G2C G2B
G2G
นโยบายและแนวปฏิบัติ เทคโนโลยีอัจฉริยะและการนามาใช้
สรุปสถานภาพรัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทยประจาปี 2559 : ศักยภาพของเจ้าหน้าที่ภาครัฐด้านดิจิทัล
37
ความสามารถและทักษะเชิงดิจิทัลของเจ้าหน้าที่ภาครัฐ (1/4)
ระดับผู้บริหาร
การฝึกอบรมด้าน ICT
ระดับพนักงาน
ความสามารถในการใช้
ICT เพื่อการปฏิบัติงาน
1
ความปลอดภัยใน
การใช้ IT Security
2
กฎระเบียบในการใช้
ICT ในหน่วยงาน
3
อื่นๆ 1 (n=16)4
59% 49% 77% 66%
47% 45% 67% 37%
47% 45% 67% 42%
75% 60% 100% 88%
(n=234)
รัฐ
(n=130)
รัฐวิสาหกิจ
(n=39)
องค์การ
มหาชน/
หน่วยงาน
อิสระ
(n=65)
85% 85% 85% 88%
70% 71% 79% 62%
64% 63% 74% 58%
80% 70% 100% 88%
หมายเหตุ: 1 เป็นการอบรมเกี่ยวกับการใช้งานระบบหรือแอพพลิเคชั่นต่างๆของหน่วยงาน จานวน 5 หน่วยงาน, โปรแกรมด้านเอกสาร จานวน 4 หน่วยงาน,
หลักสูตรเฉพาะของหน่วยงานในการจัดทามาตรฐาน นโยบายและเว็บไซต์ จานวน 4 หน่วยงาน, และ เทคโนโลยีใหม่ จานวน 3 หน่วยงาน
หน่วยงานที่ตอบแบบสารวจ 234 หน่วยงาน
(n=234)
รัฐ
(n=130)
รัฐวิสาหกิจ
(n=39)
องค์การ
มหาชน/
หน่วยงาน
อิสระ
(n=65)
38
ความสามารถและทักษะเชิงดิจิทัลของเจ้าหน้าที่ภาครัฐ (2/4)
มีการจัดอบรม
(n=220)
94% 0.9% 5.5% 14.1% 13.2%
47.3%
0.5%
18.6%
0.0%
20.0%
40.0%
60.0%
80.0%
100.0%
ตามแผนงาน งบประมาณที่ได้รับ ความเหมาะสมหรือความจาเป็น (n=23) 56%
เมื่อมีการร้องขอ หรือมีการพัฒนาปรับปรุงระบบงาน (n=9) 22%
ไม่มีการกาหนดแน่นอน (n=9) 22%
หน่วยงานที่ตอบแบบสารวจ 234 หน่วยงาน
39
ความสามารถและทักษะเชิงดิจิทัลของเจ้าหน้าที่ภาครัฐ (3/4)
หน่วยงานที่ตอบแบบสารวจ 234 หน่วยงาน
24%
26%
23%
28%
0% 50% 100%
>40 คน
14-40 คน
7-13 คน
0-6 คน
จานวนเจ้าหน้าที่ภาครัฐ
ด้าน ICT
จานวนเจ้าหน้าที่ภาครัฐ
ที่ได้รับการรับรองด้าน ICT
24%
17%
14%
46%
0% 50% 100%
> 3 คน
2-3 คน
1 คน
ไม่มี
จานวนเจ้าหน้าที่ภาครัฐ
ที่ได้รับการรับรองด้าน ICT Security
3%
4%
16%
77%
0% 50% 100%
>9 คน
4-9 คน
1-3 คน
ไม่มี
40
ความสามารถและทักษะเชิงดิจิทัลของเจ้าหน้าที่ภาครัฐ (4/4)
มีการกาหนดชัดเจนในโครงสร้าง
หน่วยงาน (n=124)
ไม่มีการกาหนดชัดเจน
(n=89 )
53% 38%
อื่นๆ
(n=21)
9%
อยู่ระหว่างการดาเนินการ (n=11) 50 %
อยู่ในขั้นตอนการศึกษา/ ปรังปรุงโครงสร้าง (n=6) 30 % ยังไม่มีตาแหน่งเจ้าหน้าที่ภาครัฐด้าน IT (n=2) 10 %
ไม่ใช่หน่วยงานหลักทางด้าน IT (n=2) 10 %
โปรแกรมเมอร์
(n=176)
75%
เจ้าหน้าที่ ICT ภาครัฐ และ/
หรือ Network Security
(n=178) 76%
เว็บมาสเตอร์
(n=112)
48%
อื่นๆ 1
(n=73)
31%
หมายเหตุ: 1 หน่วยงานภาครัฐสามารถขาดแคลนเจ้าหน้าที่ด้าน IT ได้หลายตาแหน่งงาน
System Administration/ Database Officer (n=30) 41% System Analyst (n=21) 29%
Graphic Designer (n=11) 15% Business Analyst (n=11) 15%
หน่วยงานที่ตอบแบบสารวจ 234 หน่วยงาน
41
1 การกากับดูแลมาตรฐาน ICT ของหน่วยงาน 77% 27%
2 การกากับดูแลโครงสร้างเทคโนโลยี 77% 26%
3 การกากับดูแลการประเมินผลด้านเทคโนโลยี 71% 32%
4 การกากับดูแลกระบวนการวางแผนด้านเทคโนโลยี 80% 23%
5 การจัดการระบบ IT ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของหน่วยงาน 86% 16%
6 การพัฒนาระบบการบริหารจัดการด้านการเงินสาหรับงานด้าน IT 65% 38%
7 การบริหารจัดการการจัดซื้อจัดจ้างของระบบ ICT 80% 23%
8 การริเริ่มดาเนินการเกี่ยวกับรัฐบาลดิจิทัล 54% 50%
9 การกากับดูแลการพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกส์ใหม่ๆ 61% 44%
10 การริเริ่มเกี่ยวกับการทางานร่วมกันกับหน่วยงานอื่น 65% 40%
11 การกากับดูแลเกี่ยวกับนโยบายการบริหารจัดการความเสี่ยงของหน่วยงาน 79% 25%
12 การกากับดูแลเกี่ยวกับการบริหารจัดการความต่อเนื่องทางธุรกิจของหน่วยงาน 69% 34%
การดาเนินภารกิจและความต้องการการสนับสนุนของ CIO
หน่วยงานที่ตอบแบบสารวจ 234 หน่วยงาน
42
การจัดการเกี่ยวกับ Back Office
ศักยภาพของเจ้าหน้าที่ภาครัฐด้านดิจิทัล
โครงสร้างพื้นฐานภาครัฐ
การบริการภาครัฐที่สะดวกและเข้าถึงได้ง่าย
G2C G2B
G2G
นโยบายและแนวปฏิบัติ เทคโนโลยีอัจฉริยะและการนามาใช้
สรุปสถานภาพรัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทยประจาปี 2559 : เทคโนโลยีอัจฉริยะและการนามาใช้
43
การรับเทคโนโลยีใหม่มาใช้ (1/2)
30%
(n=39)
15%
(n=20)
15%
(n=20)
5%
(n=2)
3%
(n=1)
3%
(n=1)
17%
(n=11)
12%
(n=8)
12%
(n=8)64%
รัฐ
(n=130)
องค์การมหาชน/
หน่วยงานอิสระ
(n=65)
รัฐวิสาหกิจ
(n=39)
ใช้กับหน่วยงานที่มี MOU ร่วมกัน
(n=52)
ใช้วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการทางาน
(n=34)
เพื่อให้บุคคลภายนอกนาไปใช้งาน
(n=29)
มีการใช้งาน Big Data 1 (n=85)
36%
ไม่มีการใช้งาน Big Data (n=149)
64%
จุดประสงค์ในการใช้งาน
Big Data 1
40%
34%
หมายเหตุ: 1 หน่วยงานภาครัฐสามารถมีจุดประสงค์ในการใช้งาน Big Data ได้หลายรูปแบบ
61%
หน่วยงานที่ตอบแบบสารวจ 234 หน่วยงาน
44
มีการริเริ่มใช้งาน
Internet of Things (n=26)
11%
ไม่มีการริเริ่มใช้งาน
Internet of Things (n=208)
89%
การรับเทคโนโลยีใหม่มาใช้ (2/2)
อยู่ในขั้นตอนการวางแผน (n=146) 70%
ยังไม่มีแผนงาน (n=63) 30%
ตัวอย่างการใช้งาน IoT
ระบบกล้องวงจรปิด (CCTV) โดยทาการตรวจจับภาพการจราจร
แล้วนามาแปลงเป็นข้อมูล เพื่อรายงานให้ผู้บริหารทราบได้ตลอดเวลา
ระบบความปลอดภัย/ ระบบตรวจเฝ้าระวัง
ระบบการเปิดปิดห้อง Internet Data Center (IDC)
หน่วยงานที่ตอบแบบสารวจ 234 หน่วยงาน
45
ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล สาหรับหน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจาปี 2559
1 เกี่ยวกับโครงการและการดาเนินการสารวจ
2
กรอบการติดตามการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล สาหรับหน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจาปี 2559
5
6
ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 ระดับประเทศ
7
ผลการสารวจแนวโน้มการพัฒนาของหน่วยงานภาครัฐเชิงดิจิทัลประจาปี 2559 ระดับประเทศ
ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 ระดับกระทรวง
4 สถานภาพรัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทยประจาปี 2559 ประเด็นที่น่าสนใจ
3
ระเบียบวิธีการสารวจ ขอบเขตประชากร ระยะเวลาดาเนินการสารวจและผลตอบรับการสารวจ
46
75
79
79
60
60
64
0
20
40
60
80
100
ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 ระดับประเทศ
Scores by Pillars
Policies and
Practices
Secure and
Efficient
Infrastructure
Smart Back
Office
Practices
E-Officer with
digital
capability
Accessible and
convenient
public services
Smart
technologies
and practices
ผลการสารวจระดับความพร้อมฯ ประจาปี 2559 ระดับประเทศ
(คะแนนเต็ม 100 คะแนน)
รวม (n = 234) รัฐ (130 หน่วยงาน)
รัฐวิสาหกิจ
(39 หน่วยงาน)
องค์การมหาชน/ หน่วยงาน
อิสระ (65 หน่วยงาน)
Policies and Practices 75 76 74 75
Secure and Efficient Infrastructure 79 81 79 75
Smart Back Office Practices 79 82 80 72
E-Officer with Digital Capability 60 61 62 56
Accessible and Convenient Public Services 60 61 63 55
Smart Technologies and Practices 64 67 58 62
คะแนนรวม 70 71 69 66
ประเทศไทยควรมุ่งเน้นพัฒนา ‘ศักยภาพของเจ้าหน้าที่ภาครัฐด้านดิจิทัล’ และ ‘การเข้าถึงและความสะดวกในการบริการภาครัฐ’
47
82
74
74
54
86
0 20 40 60 80 100
Citizen centric and value creation
E-Government, e-Laws, and e-Regulations
Agency ICT strategy to support national
digital government objectives
Data privacy
E-Government cyber security
คะแนนระดับความพร้อม
Scores by Indicators
Policies and
Practices
ควรเร่งพัฒนาให้มี
“การคุ้มครองข้อมูล
ส่วนบุคคล
(Data Protection)”
ตัวชี้วัดหลัก (Indicators) คะแนน ตัวชี้วัดรอง (Sub-Indicators) คะแนน
Citizen centric and value creation 82
การดาเนินการสารวจความพึงพอใจของผู้รับบริการอิเล็กทรอนิกส์ 79
การทบทวนและปรับปรุงคุณภาพของบริการอิเล็กทรอนิกส์ 84
E-Government, e-Laws, and e-Regulations 74 ความเกี่ยวข้องของพันธกิจงานด้าน IT ของหน่วยงานกับกฎหมายต่างๆ 74
Agency ICT strategy to support national
digital government objectives
74
การจัดทานโยบาย/แผนกลยุทธ์ด้าน IT ของหน่วยงานให้สอดรับกับวัตถุประสงค์ของ
แผนและนโยบายของประเทศ
74
Data privacy 54 การมีแนวปฏิบัติด้านการคุ้มครองข้อมูล 54
E-Government cyber security 86
การมีแนวนโยบาย/แนวปฏิบัติด้านความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ 88
การใช้งานระบบความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ (เช่น ระบบ Firewall, Anti Virus,
Network Access Control ฯลฯ)
100
กลยุทธ์การบริหารจัดการความเสี่ยงต่อการโจมตีทางไซเบอร์ 83
งบประมาณด้านความมั่นคงปลอดภัยของสารสนเทศ 72
ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 ระดับประเทศ
หน่วยงานภาครัฐควรเร่งพัฒนาให้มี ‘การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Data Protection)’
15%
48
92
82
84
71
66
0 20 40 60 80 100
Technology infrastructure
Data integration
Data centre
Government cloud
Data authentication and verification
คะแนนระดับความพร้อม
Scores by Indicators
Secure and
Efficient
Infrastructure
ตัวชี้วัดหลัก (Indicators) คะแนน ตัวชี้วัดรอง (Sub-Indicators) คะแนน
Technology infrastructure 92
การดูแลและติดตามการบารุงรักษาระบบ ICT 98
สัดส่วนจานวนคอมพิวเตอร์ต่อจานวนพนักงานในหน่วยงานทั้งหมด 80
ความเร็วอินเทอร์เน็ตที่ใช้ 98
Data integration 82 การแลกเปลี่ยน/ ใช้ข้อมูลกับหน่วยงานอื่น 82
Data centre 84
การบริหารระบบสารองข้อมูลสารสนเทศ 72
การใช้งานศูนย์ข้อมูล 96
Government cloud 71 การใช้งานระบบคลาวด์คอมพิวติ้ง 71
Data authentication and verification 66 การใช้กลไกยืนยันตัวตนเข้าสู่ระบบ 66
20%
ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 ระดับประเทศ
หน่วยงานภาครัฐควรพัฒนาและยกระดับการใช้ ‘กลไกยืนยันตัวตนเข้าสู่ระบบ (Data Authentication and Verification)’
ควรพัฒนาและยกระดับการใช้
“กลไกยืนยันตัวตนเข้าสู่ระบบ
(Data Authentication and
Verification)”
49
60
91
100
81
0 20 40 60 80 100
Operational efficiency
Digitalization of documents and services
Dedicated employees for e-Government
functions
Inter-operability
คะแนนระดับความพร้อม
Scores by Indicators
Smart Back
Office
Practices
ตัวชี้วัดหลัก (Indicators) คะแนน ตัวชี้วัดรอง (Sub-Indicators) คะแนน
Operational efficiency 60
กระบวนการ Back Office ที่มีการใช้งานผสมผสานร่วมกับระบบ
อิเล็กทรอนิกส์
57
การกาหนดแนวปฏิบัติในการให้บริการ การรับข้อร้องเรียนและ
ข้อเสนอแนะจากผู้รับบริการ
46
ความถี่ในการอัพเดทเว็บไซต์ 75
Digitalization of documents and services 91 การมีมาตรการลดกระดาษ 91
Dedicated employees for e-Government
functions
100
รูปแบบการดาเนินงานด้าน IT การให้บริการประชาชน และการบริหาร
จัดการเว็บไซต์
100
Inter-operability 81
การเชื่อมต่อโครงข่ายเฉพาะของหน่วยงานภาครัฐอื่น 79
การแลกเปลี่ยน/ ใช้ข้อมูลกับหน่วยงานอื่น 82
20%
ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 ระดับประเทศ
หน่วยงานภาครัฐควรมี ‘การกาหนดแนวปฏิบัติในการให้บริการ การรับข้อร้องเรียนและข้อเสนอแนะจากผู้รับบริการ’ ที่เหมาะสม
ควรมี “การกาหนดแนว
ปฏิบัติในการให้บริการ การ
รับข้อร้องเรียนและ
ข้อเสนอแนะจาก
ผู้รับบริการ” ที่เหมาะสม
50
45
73
51
0 20 40 60 80 100
Public personnel capabilities
E-Leader capabilities
Leadership continuity plan
คะแนนระดับความพร้อม
Scores by Indicators
E-Officer with
digital
capability
ตัวชี้วัดหลัก (Indicators) คะแนน ตัวชี้วัดรอง (Sub-Indicators) คะแนน
Public personnel
capabilities
45
แผนในการเพิ่มทักษะ การฝึกอบรม และการกาหนดเส้นทางอาชีพด้าน ICT ของ
เจ้าหน้าที่ภาครัฐ
56
จานวนเจ้าหน้าที่ภาครัฐที่ได้รับการรับรองด้าน ICT 54
จานวนเจ้าหน้าที่ภาครัฐที่ได้รับการรับรองด้านความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ 23
E-Leader capabilities 73 ภารกิจที่ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูงดาเนินการอยู่ในปัจจุบัน 73
Leadership continuity
plan
51
การเตรียมบุคลากรเพื่อสานต่อภารกิจ/อานาจหน้าที่ของผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ
ระดับสูง
51
15%
ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 ระดับประเทศ
หน่วยงานภาครัฐควรเร่งพัฒนาให้มี ‘จานวนเจ้าหน้าที่ภาครัฐที่ได้รับการรับรองด้านความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ’ มากขึ้น
ควรเร่งพัฒนาให้มี “จานวน
เจ้าหน้าที่ภาครัฐที่ได้รับการ
รับรองด้านความมั่นคงปลอดภัย
สารสนเทศ” มากขึ้น
51
40
87
47
74
84
60
0 20 40 60 80 100
E-Services
Depth of information and services
Single point of access
Innovation of e-services
Open data
Feedback
คะแนนระดับความพร้อม
Scores by Indicators
Accessible
and
convenient
public
services
ตัวชี้วัดหลัก (Indicators) คะแนน ตัวชี้วัดรอง (Sub-Indicators) คะแนน
E-Services 40
การให้บริการ E-Services ในหลากหลายช่องทาง (Website/ Mobile Application/
Kiosk)
55
การมีช่องทางให้บริการ E-Services ในรูปแบบภาษาไทย 80
การมีช่องทางให้บริการ E-Services ในรูปแบบภาษาอื่น (อังกฤษ/ AEC/ จีน) 30
การมีช่องทางให้บริการ E-Services แก่กลุ่มผู้ใช้งานพิเศษ (ผู้สูงอายุและผู้พิการ) 6
การรับจ่ายเงินผ่านระบบ E-Payment กับหน่วยงานหรือบุคคลภายนอก 31
Depth of information and services 87 การเปิดเผยข้อมูลผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน 87
Single point of access 47 การให้บริการที่ทางานร่วมกันกับหน่วยงานอื่นในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ 47
Innovation of e-services 74
การจัดทานโยบาย/แผนกลยุทธ์ด้าน IT ของหน่วยงานให้สอดรับกับวัตถุประสงค์ของแผน
และนโยบายของประเทศ
74
Open data 84
การเปิดเผยข้อมูลผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน 78
การสื่อสารเกี่ยวกับ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540 แก่พนักงาน 91
Feedback 60 การมีช่องทางในการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน 60
25%
ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 ระดับประเทศ
หน่วยงานภาครัฐควรเร่งพัฒนา ‘ช่องทางการให้บริการ E-Services’ และมี ‘การรับจ่ายเงินผ่านระบบ E-Payment กับหน่วยงานหรือบุคคลภายนอก’ มากขึ้น
ควรเร่งพัฒนา ‘ช่องทางการ
ให้บริการ E-Services’ และมี
‘การรับจ่ายเงินผ่านระบบ E-
Payment กับหน่วยงานหรือ
บุคคลภายนอก’ มากขึ้น
52
79
60
36
24
68
0 20 40 60 80 100
Digital society
Open government
Big data
Internet of things
Business continuity practices
คะแนนระดับความพร้อม
Scores by Indicators
Smart
technologies
and practices
ตัวชี้วัดหลัก (Indicators) คะแนน ตัวชี้วัดรอง (Sub-Indicators) คะแนน
Digital society 79
การใช้สื่อโซเชียลมีเดียและการมีแนวนโยบาย/ แนวปฏิบัติในการใช้สื่อโซเชียล
มีเดีย
79
Open government 60
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนานโยบายและ E-Services ของหน่วยงาน 29
การสื่อสารเกี่ยวกับ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540 แก่พนักงาน 91
Big data 36 การใช้งานฐานข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) 36
Internet of things 24 การริเริ่มใช้ Internet of Things 24
Business continuity
practices
68 การบริหารระบบสารองข้อมูลสารสนเทศในยามเหตุฉุกเฉิน 68
ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 ระดับประเทศ
5%
หน่วยงานภาครัฐควรส่งเสริมให้เกิด ‘การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนานโยบายและ E-Services ของหน่วยงาน’ มากขึ้น
ควรส่งเสริมให้เกิด ‘การมีส่วน
ร่วมของประชาชนในการ
พัฒนานโยบายและ
E-Services ของหน่วยงาน’
มากขึ้น
53
ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 ระดับประเทศ
75
79 79
60 60
64
76
81 82
61 61
67
74
79 80
62 63
58
75 75 72
56 55
62
0
10
20
30
40
50
60
70
80
90
100
Policies and practices Secure and efficient
infrastructure
Smart back-office
practice
E-officer with digital
capability
Accessible and
convenient public
services
Smart
technologies/practices
ค่าเฉลี่ยระดับประเทศ รัฐ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน/ หน่วยงานอิสระ
ระดับความพร้อมฯ
(คะแนน)
• รัฐ มีระดับความพร้อมฯ สูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศทุกด้าน และได้คะแนนสูงที่สุด 4 ด้าน ได้แก่ Policies and Practices, Secure and Efficient
Infrastructure, Smart Back Office Practice และ Smart Technologies/ Practices
• รัฐวิสาหกิจ ได้คะแนนสูงที่สุด 2 ด้าน ได้แก่ E-Officer with Digital Capability และ Accessible and Convenient Public Services
• องค์การมหาชน/ หน่วยงานอิสระ มีระดับความพร้อมฯ ต่ากว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศทุกด้าน ยกเว้น Policies and Practices ที่ได้คะแนนเท่ากับ
ค่าเฉลี่ยของประเทศ
54
ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล สาหรับหน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจาปี 2559
1 เกี่ยวกับโครงการและการดาเนินการสารวจ
2
กรอบการติดตามการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล สาหรับหน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจาปี 2559
5
6
ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 ระดับประเทศ
7
ผลการสารวจแนวโน้มการพัฒนาของหน่วยงานภาครัฐเชิงดิจิทัลประจาปี 2559 ระดับประเทศ
ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 ระดับกระทรวง
4 สถานภาพรัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทยประจาปี 2559 ประเด็นที่น่าสนใจ
3
ระเบียบวิธีการสารวจ ขอบเขตประชากร ระยะเวลาดาเนินการสารวจและผลตอบรับการสารวจ
55
ผลการสารวจแนวโน้มการพัฒนาของหน่วยงานภาครัฐเชิงดิจิทัลประจาปี 2559 ระดับประเทศ
ได้รับการพัฒนาโดยมีพื้นฐานจากการวิเคราะห์ the Gartner model* และ the UN 5-phases
development model
นาเสนอแนวโน้ม (Trends) การพัฒนาเชิงดิจิทัลที่หน่วยงานภาครัฐให้ความสาคัญ
• E-Government
• Joint-Up Government
• Open Government และ
• Smart Government
หมายเหตุ: The Gartner Model ฉบับตีพิมพ์และเผยแพร่วันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2557
E-Government
Joint-Up
Government
Open
Government
Smart
Government
ให้ความสาคัญกับ 4 องค์ประกอบ
ได้แก่
• Operational Efficiency
• Digitalization of documents
And services
• E-Services
• Feedback
ให้ความสาคัญกับ 2 องค์ประกอบ
ได้แก่
• Inter-Operability
• Single Point of Access
ให้ความสาคัญกับ 2 องค์ประกอบ
ได้แก่
• Open Data
• Open Government
ให้ความสาคัญกับ 4 องค์ประกอบ
ได้แก่
• Digital Society
• Big Data
• Internet of Things
• Business Continuity
Practices
56
•Inter-
operability
•Single point
of access
• Digital society
• Big data
• Internet of
things
• Business
continuity
practices
•Open data
•Open
government
• Operational
Efficiency
• Digitalization
of documents
and services
• E - Services
• Feedback
คะแนนระดับประเทศ
คะแนนระดับหน่วยงาน
E-Government
Joint-up
Government
Open
Government
Smart
Government
…
25% 25% 25% 25%
น้าหนักคะแนนที่ใช้ในการสารวจแนวโน้มการพัฒนาของหน่วยงานภาครัฐเชิงดิจิทัล ประจาปี 2559
57
E-Government
Joint-up
Government
Smart
Government
Open
Government
63
64
72
52 0
20
40
60
80
100
แนวโน้ม (Trends) การพัฒนาเชิงดิจิทัลที่หน่วยงานภาครัฐให้ความสาคัญ ประจาปี 2559 คือ ‘Open Government’
ผลการสารวจแนวโน้มการพัฒนาของหน่วยงานภาครัฐเชิงดิจิทัลประจาปี 2559 ระดับประเทศ
58
60
91
40
60
81
74
84
60
79
36
24
68
0 20 40 60 80 100
Operational Efficiency
Digitalization of documents and services
E-Services
Feedback
Inter-operability
Single point of access
Open data
Open government
Digital society
Big data
Internet of things
Business continuity practices
คะแนนแนวโน้มการพัฒนาฯ
Scores by Indicators
E-Government
Joint-up
Government
Open
Government
Smart
Government
แนวโน้ม (Trends) การพัฒนาเชิงดิจิทัลที่หน่วยงานภาครัฐให้ความสาคัญ ประจาปี 2559 คือ ‘Open Government’
ผลการสารวจแนวโน้มการพัฒนาของหน่วยงานภาครัฐเชิงดิจิทัลประจาปี 2559 ระดับประเทศ
59
63 64
72
52
63
70
78
53
68 67
61
50
59
52
67
50
0
10
20
30
40
50
60
70
80
90
100
E-Government Joint-Up Government Open Government Smart Government
ค่าเฉลี่ยระดับประเทศ รัฐ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน/ หน่วยงานอิสระ
แนวโน้มการพัฒนาฯ
(คะแนน)
• รัฐ มีแนวโน้มการพัฒนาฯ Open Government สูงที่สุด (78 คะแนน)
• รัฐวิสาหกิจ มีแนวโน้มการพัฒนาฯ E-Government สูงที่สุด (68 คะแนน)
• องค์การมหาชน/ หน่วยงานอิสระ มีแนวโน้มการพัฒนาฯ Open Government สูงที่สุด (67 คะแนน)
ผลการสารวจแนวโน้มการพัฒนาของหน่วยงานภาครัฐเชิงดิจิทัลประจาปี 2559 ระดับประเทศ
60
ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล สาหรับหน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจาปี 2559
1 เกี่ยวกับโครงการและการดาเนินการสารวจ
2
กรอบการติดตามการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล สาหรับหน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจาปี 2559
5
6
ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 ระดับประเทศ
7
ผลการสารวจแนวโน้มการพัฒนาของหน่วยงานภาครัฐเชิงดิจิทัลประจาปี 2559 ระดับประเทศ
ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 ระดับกระทรวง
4 สถานภาพรัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทยประจาปี 2559 ประเด็นที่น่าสนใจ
3
ระเบียบวิธีการสารวจ ขอบเขตประชากร ระยะเวลาดาเนินการสารวจและผลตอบรับการสารวจ
61
ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 ระดับกระทรวง
ขอบเขตประชากร กลุ่มตัวอย่างและร้อยละการตอบแบบสารวจของแต่ละกระทรวง (1/2)
ลาดับ กระทรวง จานวนหน่วยงานในสังกัด
จานวนหน่วยงานที่
ตอบแบบสารวจ
ร้อยละการตอบกลับ
แบบสารวจ
1 กระทรวงการต่างประเทศ 13 13 100.0%
2 กระทรวงพลังงาน 9 9 100.0%
3 กระทรวงมหาดไทย 12 12 100.0%
4 กระทรวงยุติธรรม 10 10 100.0%
5 กระทรวงแรงงาน 5 5 100.0%
6 กระทรวงวัฒนธรรม 8 8 100.0%
7 หน่วยงานของรัฐสภา 3 3 100.0%
8 หน่วยงานของศาล 3 3 100.0%
9 สภากาชาดไทย 1 1 100.0%
10 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 17 16 94.1%
11 กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 14 13 92.9%
12 กระทรวงศึกษาธิการ 11 10 90.9%
13 กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 9 8 88.9%
62
ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 ระดับกระทรวง
ขอบเขตประชากร กลุ่มตัวอย่างและร้อยละการตอบแบบสารวจของแต่ละกระทรวง (2/2)
ลาดับ กระทรวง
จานวนหน่วยงาน
ในสังกัด
จานวนหน่วยงานที่
ตอบแบบสารวจ
ร้อยละการตอบกลับแบบสารวจ
14 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 17* 15 88.2%
15 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 8 7 87.5%
16 กระทรวงอุตสาหกรรม 8 7 87.5%
17 กระทรวงคมนาคม 20** 17 85.0%
18 กระทรวงการคลัง 25 21 84.0%
19 สานักนายกรัฐมนตรี 21 17 81.0%
20 ส่วนราชการไม่สังกัดสานักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง 9 7 77.8%
21 กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา 7 5 71.4%
22 หน่วยงานขององค์กรตามรัฐธรรมนูญ 7 5 71.4%
23 กระทรวงพาณิชย์ 12*** 8 66.7%
24 กระทรวงกลาโหม 8 5 62.5%
25 กระทรวงสาธารณสุข 15 9 60.0%
รวมทั้งหมด 272 234 86.0%
หมายเหตุ: *ปิดกิจการแล้ว 1 หน่วยงาน/ **กาลังจะหยุดดาเนินงาน 1 หน่วยงาน/ ***กาลังจะหยุดดาเนินงาน 2 หน่วยงาน
63
ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 ระดับกระทรวง
ภาพรวมการจัดกลุ่ม 19 กระทรวงและ 1 สานักฯ สืบเนื่องจากผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2558 และ 2559
กลุ่ม Developed
• กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
• กระทรวงพาณิชย์
• กระทรวงการคลัง
• กระทรวงคมนาคม
• กระทรวงมหาดไทย
• สานักนายกรัฐมนตรี
นิยามกลุ่ม: กลุ่มที่มีระดับความพร้อมการ
พัฒนารัฐบาลดิจิทัลสูง
กลุ่ม Rising Star
• กระทรวงการต่างประเทศ
• กระทรวงวัฒนธรรม
กลุ่ม Developing
• กระทรวงกลาโหม
• กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
• กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
• กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
• กระทรวงศึกษาธิการ
• กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
• กระทรวงยุติธรรม
• กระทรวงอุตสาหกรรม
ทาการจัดกลุ่มตามระดับความพร้อมการดาเนินงานเชิงดิจิทัล สืบเนื่องจากผลการสารวจระดับความพร้อมฯ
นิยามกลุ่ม: กลุ่มที่มีระดับความพร้อมการ
พัฒนารัฐบาลดิจิทัลค่อนข้างสูงและ
สามารถดารงระดับความพร้อมฯไว้ได้
นิยามกลุ่ม: กลุ่มที่มีพัฒนาการจากปีที่แล้ว
ในระดับสูงมาก
นิยามกลุ่ม:กลุ่มที่มีพัฒนาการจากปีที่แล้วใน
ระดับปานกลางถึงสูง
กลุ่ม Maintainer
• กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษย์
• กระทรวงพลังงาน
• กระทรวงแรงงาน
• กระทรวงสาธารณสุข
64
ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559
65
ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล สาหรับหน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจาปี 2559
Appendix

More Related Content

Similar to ผลการสำรวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล หน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจำปี 2559

Thailand software & software market survey 2016
Thailand software & software market survey 2016Thailand software & software market survey 2016
Thailand software & software market survey 2016IMC Institute
 
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airadaEga แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airadaElectronic Government Agency (Public Organization)
 
ข้อเสนอเพ่อื การพัฒนานโยบาย Digital Economy โดยสมาคมสมาพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศ...
ข้อเสนอเพ่อื การพัฒนานโยบาย Digital Economy โดยสมาคมสมาพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศ...ข้อเสนอเพ่อื การพัฒนานโยบาย Digital Economy โดยสมาคมสมาพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศ...
ข้อเสนอเพ่อื การพัฒนานโยบาย Digital Economy โดยสมาคมสมาพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศ...IMC Institute
 
Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)
Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)
Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)ETDAofficialRegist
 
Thailand Internet User Profile 2018
Thailand Internet User Profile 2018Thailand Internet User Profile 2018
Thailand Internet User Profile 2018ETDAofficialRegist
 
Thailand Internet User Profile 2018
Thailand Internet User Profile 2018Thailand Internet User Profile 2018
Thailand Internet User Profile 2018ETDAofficialRegist
 
Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)
Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)
Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)ETDAofficialRegist
 
Trends and Services in Modern Library
Trends and Services in Modern LibraryTrends and Services in Modern Library
Trends and Services in Modern LibraryMaykin Likitboonyalit
 
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ  Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ Settapong Malisuwan
 
รายงานสรุปผลการสำรวจ ข้อมูลตลาดซอฟต์แวร์ และบริการซอฟต์แวร์ ประจาปี 2558
รายงานสรุปผลการสำรวจ ข้อมูลตลาดซอฟต์แวร์ และบริการซอฟต์แวร์ ประจาปี 2558รายงานสรุปผลการสำรวจ ข้อมูลตลาดซอฟต์แวร์ และบริการซอฟต์แวร์ ประจาปี 2558
รายงานสรุปผลการสำรวจ ข้อมูลตลาดซอฟต์แวร์ และบริการซอฟต์แวร์ ประจาปี 2558IMC Institute
 
AI เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์
AI เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์AI เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์
AI เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์wisit2009
 
ก้าวต่อไปของรัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงาน...
ก้าวต่อไปของรัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงาน...ก้าวต่อไปของรัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงาน...
ก้าวต่อไปของรัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงาน...National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ www.nbtc.go.th
 
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFIT
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFITข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFIT
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFITIMC Institute
 
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กร
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กรการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กร
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กรSoftware Park Thailand
 
Value of e-Commerce Survey in Thailand 2019
Value of e-Commerce Survey in Thailand 2019Value of e-Commerce Survey in Thailand 2019
Value of e-Commerce Survey in Thailand 2019ETDAofficialRegist
 

Similar to ผลการสำรวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล หน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจำปี 2559 (20)

Thailand software & software market survey 2016
Thailand software & software market survey 2016Thailand software & software market survey 2016
Thailand software & software market survey 2016
 
4 โครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์
4 โครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์4 โครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์
4 โครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์
 
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airadaEga แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada
Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada
 
5 ภาครัฐดิจิทัล เพื่ออนาคตประเทศไทย
5 ภาครัฐดิจิทัล เพื่ออนาคตประเทศไทย5 ภาครัฐดิจิทัล เพื่ออนาคตประเทศไทย
5 ภาครัฐดิจิทัล เพื่ออนาคตประเทศไทย
 
ข้อเสนอเพ่อื การพัฒนานโยบาย Digital Economy โดยสมาคมสมาพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศ...
ข้อเสนอเพ่อื การพัฒนานโยบาย Digital Economy โดยสมาคมสมาพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศ...ข้อเสนอเพ่อื การพัฒนานโยบาย Digital Economy โดยสมาคมสมาพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศ...
ข้อเสนอเพ่อื การพัฒนานโยบาย Digital Economy โดยสมาคมสมาพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศ...
 
Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)
Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)
Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)
 
Thailand Internet User Profile 2018
Thailand Internet User Profile 2018Thailand Internet User Profile 2018
Thailand Internet User Profile 2018
 
Thailand Internet User Profile 2018
Thailand Internet User Profile 2018Thailand Internet User Profile 2018
Thailand Internet User Profile 2018
 
Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)
Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)
Thailand Internet User Profile 2018 (Thai Version)
 
Trends and Services in Modern Library
Trends and Services in Modern LibraryTrends and Services in Modern Library
Trends and Services in Modern Library
 
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ  Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
 
รายงานสรุปผลการสำรวจ ข้อมูลตลาดซอฟต์แวร์ และบริการซอฟต์แวร์ ประจาปี 2558
รายงานสรุปผลการสำรวจ ข้อมูลตลาดซอฟต์แวร์ และบริการซอฟต์แวร์ ประจาปี 2558รายงานสรุปผลการสำรวจ ข้อมูลตลาดซอฟต์แวร์ และบริการซอฟต์แวร์ ประจาปี 2558
รายงานสรุปผลการสำรวจ ข้อมูลตลาดซอฟต์แวร์ และบริการซอฟต์แวร์ ประจาปี 2558
 
AI เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์
AI เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์AI เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์
AI เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์
 
ก้าวต่อไปของรัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงาน...
ก้าวต่อไปของรัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงาน...ก้าวต่อไปของรัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงาน...
ก้าวต่อไปของรัฐบาลดิจิทัลประเทศไทย โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงาน...
 
เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
 
คุณเมธินี
คุณเมธินีคุณเมธินี
คุณเมธินี
 
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFIT
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFITข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFIT
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFIT
 
2555 Thailand e-Government Report
2555 Thailand e-Government Report2555 Thailand e-Government Report
2555 Thailand e-Government Report
 
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กร
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กรการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กร
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กร
 
Value of e-Commerce Survey in Thailand 2019
Value of e-Commerce Survey in Thailand 2019Value of e-Commerce Survey in Thailand 2019
Value of e-Commerce Survey in Thailand 2019
 

More from Electronic Government Agency (Public Organization)

แนวทางการบูรณาการข้อมูลภาครัฐ โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด 20150323
แนวทางการบูรณาการข้อมูลภาครัฐ โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด 20150323แนวทางการบูรณาการข้อมูลภาครัฐ โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด 20150323
แนวทางการบูรณาการข้อมูลภาครัฐ โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด 20150323Electronic Government Agency (Public Organization)
 
E government life เพื่อการใช้ชีวิตอัจฉริยะที่สมบูรณ์แบบ
E government life เพื่อการใช้ชีวิตอัจฉริยะที่สมบูรณ์แบบE government life เพื่อการใช้ชีวิตอัจฉริยะที่สมบูรณ์แบบ
E government life เพื่อการใช้ชีวิตอัจฉริยะที่สมบูรณ์แบบElectronic Government Agency (Public Organization)
 
รายงานผลที่สำคัญสำรวจสถานภาพการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ปี 2555
รายงานผลที่สำคัญสำรวจสถานภาพการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ปี 2555รายงานผลที่สำคัญสำรวจสถานภาพการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ปี 2555
รายงานผลที่สำคัญสำรวจสถานภาพการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ปี 2555Electronic Government Agency (Public Organization)
 
โครงการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชน (E participation)
โครงการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชน (E participation)โครงการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชน (E participation)
โครงการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชน (E participation)Electronic Government Agency (Public Organization)
 

More from Electronic Government Agency (Public Organization) (8)

Ega website survey report 2015
Ega website survey report 2015Ega website survey report 2015
Ega website survey report 2015
 
EGA Enterprise Architecture
EGA Enterprise ArchitectureEGA Enterprise Architecture
EGA Enterprise Architecture
 
แนวทางการบูรณาการข้อมูลภาครัฐ โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด 20150323
แนวทางการบูรณาการข้อมูลภาครัฐ โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด 20150323แนวทางการบูรณาการข้อมูลภาครัฐ โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด 20150323
แนวทางการบูรณาการข้อมูลภาครัฐ โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด 20150323
 
Open Data handbook thai
Open Data handbook thaiOpen Data handbook thai
Open Data handbook thai
 
E government life เพื่อการใช้ชีวิตอัจฉริยะที่สมบูรณ์แบบ
E government life เพื่อการใช้ชีวิตอัจฉริยะที่สมบูรณ์แบบE government life เพื่อการใช้ชีวิตอัจฉริยะที่สมบูรณ์แบบ
E government life เพื่อการใช้ชีวิตอัจฉริยะที่สมบูรณ์แบบ
 
รายงานผลที่สำคัญสำรวจสถานภาพการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ปี 2555
รายงานผลที่สำคัญสำรวจสถานภาพการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ปี 2555รายงานผลที่สำคัญสำรวจสถานภาพการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ปี 2555
รายงานผลที่สำคัญสำรวจสถานภาพการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ปี 2555
 
โครงการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชน (E participation)
โครงการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชน (E participation)โครงการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชน (E participation)
โครงการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชน (E participation)
 
Government website standard-v1
Government website standard-v1Government website standard-v1
Government website standard-v1
 

ผลการสำรวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล หน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจำปี 2559

  • 1. 8 กันยายน พ.ศ. 2559 พัฒนาโดย: หน่วยงานนโยบายสาธารณะและภารกิจภาครัฐ (Public Sector & Government Practice) บริษัท ฟรอส์ท แอนด์ ซัลลิวัน จากัด ประจาภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล หน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจาปี 2559 Thailand Digital Government Readiness Survey 2016 Results สานักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) (สรอ.)
  • 2. 2 ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล สาหรับหน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจาปี 2559 1 เกี่ยวกับโครงการและการดาเนินการสารวจ 2 กรอบการติดตามการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล สาหรับหน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจาปี 2559 5 6 ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 ระดับประเทศ 7 ผลการสารวจแนวโน้มการพัฒนาของหน่วยงานภาครัฐเชิงดิจิทัลประจาปี 2559 ระดับประเทศ ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 ระดับกระทรวง 4 สถานภาพรัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทยประจาปี 2559 : ประเด็นที่น่าสนใจ 3 ระเบียบวิธีการสารวจ ขอบเขตประชากร ระยะเวลาดาเนินการสารวจและผลตอบรับการสารวจ
  • 3. 3 เกี่ยวกับโครงการ ความเป็นมาและวัตถุประสงค์หลักของโครงการ • เพื่อที่จะบรรลุเป้าหมายของแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย และ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลของประเทศไทย สานักงานรัฐบาล อิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) (สรอ.) จัดทาโครงการนี้ขึ้น เพื่อสารวจระดับ พัฒนารัฐบาลดิจิทัลของหน่วยงานภาครัฐระดับกรมในประเทศไทย เพื่อให้ได้มา ซึ่งข้อมูลที่มีความถูกต้อง น่าเชื่อถือ สามารถใช้อ้างอิงในการดาเนินงานด้านการ จัดทานโยบายและพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย • โครงการนี้จึงจัดทาขึ้น เพื่อพัฒนากรอบการประเมินความพร้อมฯ ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ ที่มีความสอดคล้องกับแผน/นโยบายของประเทศไทย และการศึกษา ของต่างประเทศ วัตถุประสงค์หลักของโครงการ • เพื่อพัฒนากรอบการประเมินความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของหน่วยงาน ภาครัฐของประเทศไทย และตัวชี้วัดระดับความพร้อมด้านรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ให้ มีความเหมาะสมต่อแนวทางการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย • เพื่อสารวจระดับพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของหน่วยงานภาครัฐระดับกรมในประเทศไทย เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลที่มีความถูกต้อง น่าเชื่อถือ สามารถใช้อ้างอิงในการดาเนินงาน ด้านการจัดทานโยบายและพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศ • เพื่อเผยแพร่ข้อมูลสถานภาพการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศ เพื่อให้หน่วยงาน ภาครัฐหรือภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง นาไปใช้ประโยชน์ในการวางแผน จัดทานโยบาย วางมาตรการ เพื่อขับเคลื่อนรัฐบาลดิจิทัลระดับประเทศ ความเป็นมาของโครงการ ระยะเวลาการดาเนินโครงการ การทบทวน & พัฒนากรอบการ ประเมินฯ การพัฒนา แบบสอบถาม การดาเนิน การสารวจ การวิเคราะห์ผล เผยแพร่ผลสารวจ และจัดทารายงาน ก.พ. - 30 มี.ค. 1 พ.ค. – 30 มิ.ย. ก.ค. – ต.ค.1 - 20 เม.ย. • ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ของหน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจาปี 2559 • ผลการสารวจแนวโน้มการพัฒนาของหน่วยงานภาครัฐเชิงดิจิทัล ประจาปี 2559 ผลลัพธ์ของโครงการ
  • 4. 4 ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล สาหรับหน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจาปี 2559 1 เกี่ยวกับโครงการและการดาเนินการสารวจ 2 กรอบการติดตามการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล สาหรับหน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจาปี 2559 5 6 ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 ระดับประเทศ 7 ผลการสารวจแนวโน้มการพัฒนาของหน่วยงานภาครัฐเชิงดิจิทัลประจาปี 2559 ระดับประเทศ ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 ระดับกระทรวง 4 สถานภาพรัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทยประจาปี 2559 : ประเด็นที่น่าสนใจ 3 ระเบียบวิธีการสารวจ ขอบเขตประชากร ระยะเวลาดาเนินการสารวจและผลตอบรับการสารวจ
  • 5. 5 ระเบียบวิธีการสารวจ ขอบเขตประชากร และระยะเวลาดาเนินการสารวจ ขอบเขตประชากรในการสารวจ หน่วยงานภาครัฐระดับกรม 272 หน่วยงาน รัฐ 146 หน่วยงาน รัฐวิสาหกิจ 47 หน่วยงาน องค์การมหาชน/ หน่วยงานอิสระ 79 หน่วยงาน ระยะเวลาดาเนินการสารวจ: ตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค. 2558 – 30 เม.ย. 2559 วิธีการสารวจ: 1. ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (Email) 2. ระบบออนไลน์ 3. ไปรษณีย์ 4. โทรสาร
  • 6. 6 ระยะเวลาดาเนินการสารวจ: ตั้งแต่วันที่ 1 พ.ค. – 30 มิ.ย. 2559 ดาเนินการสารวจโดย บริษัท ฟรอส์ท แอนด์ ซัลลิวัน จากัด หน่วยงานภาครัฐระดับกรม 272 หน่วยงาน หมายเหตุ: *เป็นหน่วยงานภาครัฐระดับกรมที่ปิดกิจการแล้ว 1 หน่วยงาน และกาลังจะหยุดดาเนินงาน จานวน 3 หน่วยงาน 86.0% 14.0% ตอบแบบสารวจ ไม่ตอบแบบสารวจ 234 หน่วยงาน 38 หน่วยงาน* 130 39 65 55.6% 16.7% 27.8% 0% 20% 40% 60% 80% 100% 0 20 40 60 80 100 120 140 รัฐ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน/ หน่วยงานอิสระ หน่วยงาน ผลตอบรับการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล สาหรับหน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจาปี 2559
  • 7. 7 ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล สาหรับหน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจาปี 2559 1 เกี่ยวกับโครงการและการดาเนินการสารวจ 2 กรอบการติดตามการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล สาหรับหน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจาปี 2559 5 6 ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 ระดับประเทศ 7 ผลการสารวจแนวโน้มการพัฒนาของหน่วยงานภาครัฐเชิงดิจิทัลประจาปี 2559 ระดับประเทศ ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 ระดับกระทรวง 4 สถานภาพรัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทยประจาปี 2559 : ประเด็นที่น่าสนใจ 3 ระเบียบวิธีการสารวจ ขอบเขตประชากร ระยะเวลาดาเนินการสารวจและผลตอบรับการสารวจ
  • 8. 8 Pillar Policies /Practices Citizen centric and value creation E-Government e-laws and e- regulations compliance Agency ICT strategy to support national digital government objectives Data privacy E-Government cyber security Smart Back Office Practices Operational efficiency Smart Technologies/ Practices E-Officer with Digital Capability Public Personnel Capabilities Technology Infrastructure Data Centre Secure and Efficient Infrastructure Accessible and Convenient Public Services Single point of access E-Services Innovation of e-services Depth of information and services Government cloud Digitalization of documents and services Big data Dedicated employees for E-Government systems Inter-operability Digital society E-Leader capabilities Leadership continuity plan Open government Internet of things Open data Data authentication and verification Data integration Feedback Business continuity practices Effective allocation of budgets กรอบการติดตามการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล สาหรับหน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจาปี 2559 จุดประสงค์ในการติดตามการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ นั้น เพื่อใช้ในการวางแผน และยกระดับความพร้อมรัฐบาลดิจิทัลของหน่วยงานภาครัฐระดับกรมของประเทศไทย 15% 20% 20% 15% 25% 5%
  • 9. 9 คานิยามของเสาหลักของกรอบการติดตามการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 นโยบายและแนวปฏิบัติใน การพัฒนารัฐบาลดิจิทัล โครงสร้างพื้นฐานที่มีความ มั่ น ค ง ป ล อ ด ภั ย แ ล ะ ประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการภายใน ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ศักยภาพของเจ้าหน้าที่ ภาครัฐด้านดิจิทัล การบริการภาครัฐที่สะดวก และเข้าถึงได้ง่าย เทคโนโลยีอัจฉริยะและการ นามาใช้ Policies and Practices Secure and Efficient Infrastructure Smart Back Office Practices E-Officer with digital capability Accessible and convenient public services Smart technologies and practices
  • 10. 10 องค์ประกอบของกรอบการติดตามการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 (1/3) Policies and Practices นโยบายและ แนวปฏิบัติใน การพัฒนา รัฐบาลดิจิทัล Secure and Efficient Infrastructure Technology infrastructure Data integration Data centre Government cloud Data authentication and verification โครงสร้าง พื้นฐานที่มีความ มั่นคงปลอดภัย และ ประสิทธิภาพ Citizen centric and value creation Agency ICT strategy to support national digital government objectives E-Government cyber security E-Government e-laws and e-regulations compliance Data privacy Effective allocation of budgets
  • 11. 11 Smart Back Office Practices Operational efficiency Digitalization of documents and services Dedicated employees for E-Government services Inter-operability ระบบบริหาร จัดการภายใน ในรูปแบบ อิเล็กทรอนิกส์ E-Officer with digital capability Public personnel capabilities E-Leader capabilities Leadership continuity plan ศักยภาพของ เจ้าหน้าที่ภาครัฐ ด้านดิจิทัล องค์ประกอบของกรอบการติดตามการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 (2/3)
  • 12. 12 Accessible and convenient public services การบริการ ภาครัฐที่สะดวก และเข้าถึงได้ง่าย Smart government Digital society Open government Big data Internet of things Business continuity practices เทคโนโลยี อัจฉริยะและการ นามาใช้ E-Services Depth of information and services Single point of access Innovation of e-services Open data Feedback องค์ประกอบของกรอบการติดตามการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 (3/3)
  • 13. 13 ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล สาหรับหน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจาปี 2559 1 เกี่ยวกับโครงการและการดาเนินการสารวจ 2 กรอบการติดตามการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล สาหรับหน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจาปี 2559 5 6 ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 ระดับประเทศ 7 ผลการสารวจแนวโน้มการพัฒนาของหน่วยงานภาครัฐเชิงดิจิทัลประจาปี 2559 ระดับประเทศ ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 ระดับกระทรวง 4 สถานภาพรัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทยประจาปี 2559 : ประเด็นที่น่าสนใจ 3 ระเบียบวิธีการสารวจ ขอบเขตประชากร ระยะเวลาดาเนินการสารวจและผลตอบรับการสารวจ
  • 14. 14 สรุปสถานภาพรัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทยประจาปี 2559 : ประเด็นที่น่าสนใจ การจัดการเกี่ยวกับ Back Office ศักยภาพของเจ้าหน้าที่ภาครัฐด้านดิจิทัล โครงสร้างพื้นฐานภาครัฐ การบริการภาครัฐที่สะดวกและเข้าถึงได้ง่าย G2C G2B G2G นโยบายและแนวปฏิบัติ เทคโนโลยีอัจฉริยะและการนามาใช้
  • 15. 15 สรุปสถานภาพรัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทยประจาปี 2559 : การบริการภาครัฐที่สะดวกและเข้าถึงได้ง่าย การจัดการเกี่ยวกับ Back Office ศักยภาพของเจ้าหน้าที่ภาครัฐด้านดิจิทัล โครงสร้างพื้นฐานภาครัฐ การบริการภาครัฐที่สะดวกและเข้าถึงได้ง่าย G2C G2B G2G นโยบายและแนวปฏิบัติ เทคโนโลยีอัจฉริยะและการนามาใช้
  • 16. 16 20.1% 30.3% 32.5% 35.5% 76.5% อื่นๆ หน่วยงานผู้ประสานงาน หน่วยงานผู้กากับดูแล หน่วยงานที่จัดทานโยบาย หน่วยงานที่ให้บริการ 0% 20% 40% 60% 80% 100% ภารกิจหลักของหน่วยงานภาครัฐระดับกรม (n=179) (n=83) (n=76) (n=71) (n=47) 148 98 96 82.2% 54.4% 53.3% 0% 20% 40% 60% 80% 100% 0 20 40 60 80 100 120 140 160 G2C G2G G2B หน่วยงาน กลุ่มผู้รับบริการของหน่วยงานที่ให้บริการ จานวน 179 หน่วยงาน หมายเหตุ: 1 หน่วยงานภาครัฐ สามารถมีภารกิจได้หลายรูปแบบ 2 หน่วยงานที่มีภารกิจหลักอื่นๆ จานวน 47 หน่วยงาน แบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ (1) จัดตั้งขึ้นเพื่อดาเนินภารกิจเฉพาะ เช่น จัดทางบประมาณ งานด้านความมั่นคง และสาธารณูปโภค เป็นต้น ร้อยละ 63.8 (30 หน่วยงาน) (2) ดาเนินงานวิจัย งานด้านวิชาการ และการศึกษา ร้อยละ 27.7 (13 หน่วยงาน) และ (3) ดาเนินธุรกิจ ผลิตและจัดจาหน่าย ร้อยละ 8.5 (4 หน่วยงาน) หน่วยงานที่ตอบแบบสารวจ 234 หน่วยงาน 2 1
  • 17. 17 บริการ E-Services ในภาครัฐ 79.9% (n=187) มีการให้บริการ E-Services ผ่านช่องทางต่างๆ 20.1% (n=47) ยังไม่มีการให้บริการ E-Services ผ่านช่องทางต่างๆ เว็บไซต์ (n=135) 72% แอพพลิเคชั่นบนมือถือ (n=95) 51% คิออส (Kiosk) (n=24) 13% • ภาษาไทย (n=135) 100% • ภาษาอังกฤษ (n=53) 39% • ภาษาไทย (n=94) 99% • ภาษาอังกฤษ (n=25) 26% • ภาษาจีน (n=2) 2% • ภาษา AEC2 (n=1) 1% • ภาษาไทย (n=24) 100% • ภาษาอังกฤษ (n=8.4) 35% • ภาษาจีน (n=1) 3% • ผู้สูงอายุ (n=11) 8% • ผู้พิการสายตา (n=11) 8% • ผู้พิการหู (n=8) 6% • ผู้สูงอายุ (n=4) 4% • ผู้พิการหู (n=4) 4% • ผู้พิการสายตา (n=3) 3% • ผู้พิการสายตา (n=2) 6% • ผู้สูงอายุ (n=1) 3% • ผู้พิการหู (n=1) 3% หมายเหตุ: 1 หน่วยงานภาครัฐที่ให้บริการ E-Services สามารถให้บริการได้หลายช่องทาง 2 ภาษา AEC (ASEAN Economic Community) ในที่นี้ หมายถึง ภาษาในกลุ่มประเทศอาเซียน ได้แก่ ภาษาพม่า ภาษาลาว ภาษาเขมร ภาษาเวียดนาม ภาษาอินโดนีเซีย และภาษามาเลย์ โดยไม่รวมภาษาไทย หน่วยงานที่ตอบแบบสารวจ 234 หน่วยงาน
  • 18. 18 สรุปสถานภาพรัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทยประจาปี 2559 : นโยบายและแนวปฏิบัติ การจัดการเกี่ยวกับ Back Office ศักยภาพของเจ้าหน้าที่ภาครัฐด้านดิจิทัล โครงสร้างพื้นฐานภาครัฐ การบริการภาครัฐที่สะดวกและเข้าถึงได้ง่าย G2C G2B G2G นโยบายและแนวปฏิบัติ เทคโนโลยีอัจฉริยะและการนามาใช้
  • 19. 19 แนวปฏิบัติในการให้บริการ การรับข้อร้องเรียนและข้อเสนอแนะจากผู้รับบริการ มีการกาหนดแนวปฏิบัติ 1 (n=211) 90% กาหนดเวลาในการตอบกลับ ที่แน่นอน (n=70) 33% มีขั้นตอนวิธีการตอบรับ ที่ชัดเจน (n=160) 76% รูปแบบสาหรับการตอบกลับ ที่ชัดเจน (n=97) 46% ไม่มีการกาหนดแนวปฏิบัติ (n=23) 10% อื่นๆ (n=44) 21% *หมายเหตุ: 1หน่วยงานสามารถกาหนดแนวปฏิบัติได้หลายเรื่อง • มีช่องทางในการให้บริการ การรับข้อร้องเรียนฯ (n=22) 50% • ดาเนินการตามระเบียบ ข้อกาหนดของหน่วยงาน (n=14) 32% • อยู่ระหว่างการปรับปรุงและการดาเนินการ (n=40) 9% • พิจารณาเป็นรายกรณี (n=3) 7% • จัดจ้างหน่วยงานภายนอกในการดาเนินการ (n=1) 2% หน่วยงานที่ตอบแบบสารวจ 234 หน่วยงาน นโยบายการให้บริการประชาชน
  • 21. 21 ไม่มี (n=77) 33% มี (n=157) 67% หน่วยงานมิได้เป็น หน่วยงานที่ให้บริการ 45% (n=35) 24% (n=18) อยู่ระหว่าง การจัดทา เหตุผลที่ไม่มีการทบทวนและปรับปรุง ยังไม่มีแผน ในการดาเนินการ 22% 9% (n=17) (n=7) อื่นๆ 2 ความถี่ในการปรับปรุงบริการ 7.1% 9.6% 83.3% 0% 20% 40% 60% 80% 100% อื่นๆ 1 (n=11) 2-4 ครั้งต่อปี (n=15) 1 ครั้งต่อปี (n=131) หมายเหตุ: 1 เช่น ดาเนินการเมื่อมีการร้องขอ และตามนโยบายของผู้บริหาร 7.1% 2 เช่น ไม่มีระบบ E-Services 85.7% (6 หน่วยงาน) และดาเนินการจัดจ้างหน่วยงานภายนอก 14.3% (1 หน่วยงาน) หน่วยงานที่ตอบแบบสารวจ 234 หน่วยงาน การพัฒนาบริการ
  • 22. 22 69% มีแนวนโยบาย/ แนวปฏิบัติใน การใช้สื่อโซเชียลมีเดีย (n=161) นโยบายการใช้สื่อโซเชียลมีเดีย (Social Media) ทาการเผยแพร่ผ่าน เว็บไซต์ (n=69) 42.86% เผยแพร่ให้พนักงาน ภายในรับทราบ (n=64) 40% อื่นๆ (n=28) 17.14% ผู้บริหารมีนโยบายในการดาเนินการ (n=12) 42% อยู่ระหว่างดาเนินการ (n=9) 33% ผ่านสัมมนา/บทความวิชาการ (n=5) 17% 31% ไม่มีแนวนโยบาย/ แนวปฏิบัติใน การใช้สื่อโซเชียลมีเดีย (n=73) ผ่านแผ่นพับประชาสัมพันธ์ (n=2) 8% หน่วยงานที่ตอบแบบสารวจ 234 หน่วยงาน
  • 23. 23 การรับ/จ่ายเงินผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment) มีการรับ/จ่ายเงินผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-Payment) 1 (n=73) ไม่มีการรับ/จ่ายเงินผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-Payment) (n=161)31% 69% ระบบบัตรเครดิต (n=26) 35% เครื่องรับจ่ายเงินอัตโนมัติ (ATM) (n=31) 42% อื่นๆ (n=20) 28% ธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ (n=74) 60% 15% 15% 20% 50% 0% 20% 40% 60% 80% 100% อยู่ระหว่างการพัฒนา (n=3) ระบบ GFMIS ของ กรมบัญชีกลาง (n=3) ระบบ E-Payment อื่น (n=4) Counter Service (n=10) หมายเหตุ: 1 หน่วยงานภาครัฐสามารถมีการรับ/จ่ายเงินผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-Payment) ได้มากกว่า 1 ช่องทาง หน่วยงานที่ตอบแบบสารวจ 234 หน่วยงาน
  • 24. 24 การเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ ปฏิบัติตามพรบ.ข้อมูลข่าวสารราชการ พ.ศ.2540 (n=199) 89% ทาให้หน่วยงานเป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้น (n=137) 61% มีผู้นาไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาแอพพลิเคชั่น (n=69) 31% ยังไม่มีนโยบายเปิดเผยข้อมูล (n=10) 4.27 % 95.73% ของหน่วยงานทั้งหมดมีการ เปิดเผยข้อมูลที่อนุญาตให้ผู้ใช้นาไปใช้ แบบไม่มีเงื่อนไขและอยู่ในรูปแบบ อิเล็กทรอนิกส์ (n=224) ผู้ใช้งาน Open data ภาครัฐ (n=186) 83% ประชาชน/ธุรกิจ (n=134) 60% ประโยชน์ของการเปิดเผยข้อมูล หน่วยงานที่ตอบแบบสารวจ 234 หน่วยงาน
  • 25. 25 การมีส่วนร่วมของประชาชน 30% (n=70) มีกิจกรรม/ โครงการที่ให้ ประชาชนมีส่วนร่วม • โครงการความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม (Customer Social Responsibility: CSR) • โครงการเครือข่ายภาคประชาชนพลังงานชุมชน • โครงการประชาพิจารณ์ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การ ประเมินคุณภาพภายนอก • โครงการพัฒนากฎหมายสาธารณสุข 27% (n=63) มีกิจกรรม/ โครงการที่ให้ ประชาชนมีส่วนร่วม • โครงการสารวจความพึงพอใจ ข้อคิดเห็นและ ข้อเสนอแนะจากผู้รับบริการ • โครงการบริการประชาชนในการสืบค้นพรรณไม้ • โครงการคลินิกภาษี • โครงการพัฒนาระบบ IT และสนับสนุนภารกิจของ หอภาพยนตร์สู่สาธารณชน หน่วยงานที่ตอบแบบสารวจ 234 หน่วยงาน
  • 26. 26 การจัดสรรงบประมาณด้าน ICT สัดส่วนของงบประมาณด้านความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ ต่องบประมาณด้าน ICT โดยเฉลี่ย คิดเป็นร้อยละ 11.6 สัดส่วนของงบประมาณด้าน ICT ของหน่วยงาน ภาครัฐระดับกรมต่องบประมาณทั้งหมด คิดเป็น ร้อยละ 5.5 94.5% 5.5% งบประมาณด้านอื่น งบประมาณด้าน ICT 88.4% 11.6% งบประมาณ ICT ด้านอื่น งบประมาณด้าน IT Security งบประมาณทั้งหมด งบประมาณด้าน ICT หน่วยงานที่ตอบแบบสารวจ 234 หน่วยงาน
  • 27. 27 การจัดการเกี่ยวกับ Back Office ศักยภาพของเจ้าหน้าที่ภาครัฐด้านดิจิทัล โครงสร้างพื้นฐานภาครัฐ การบริการภาครัฐที่สะดวกและเข้าถึงได้ง่าย G2C G2B G2G นโยบายและแนวปฏิบัติ เทคโนโลยีอัจฉริยะและการนามาใช้ สรุปสถานภาพรัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทยประจาปี 2559 : โครงสร้างพื้นฐานภาครัฐ
  • 28. 28 มีการแบ่งแยกส่วนการให้บริการ อินเทอร์เน็ตไร้สายตามกลุ่มผู้ใช้งาน* หน่วยงานมีอินเทอร์เน็ตไร้สาย ผู้ใช้งาน* พนักงานของหน่วยงาน บุคคลภายนอกที่มาทางาน ร่วมกับหน่วยงาน ผู้มาติดต่อขอรับบริการ รัฐ (n=130) รัฐวิสาหกิจ (n=39) องค์การมหาชน/หน่วยงานอิสระ (n=65) 99% (n=128) 95% (n=37) 95% (n=62) 99% (n=127) 97% (n=36) 98% (n=61) 65% (n=83) 49% (n=18) 68% (n=42) 41% (n=52) 46% (n=17) 65% (n=40) วิธีการ เข้าใช้งาน ลงทะเบียนก่อนเข้าใช้งาน ไม่ต้องลงทะเบียนก่อนเข้าใช้งาน 93% (n=121) 85% (n=33) 86% (n=56) 96% (n=115) 100% (n=33) 95% (n=53) 4% (n=6) -% (n=0) 5% (n=3) หน่วยงานที่ตอบแบบสารวจ 234 หน่วยงาน โครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีของหน่วยงานภาครัฐ
  • 29. 29 มีการบริหารระบบสารสนเทศ ในยามฉุกเฉิน มีการใช้งานระบบคลาวด์คอมพิวติ้ง (n=250) 64 ผู้ใช้งาน สารองข้อมูลภายใน หน่วยงาน (n=202) 89% สารองข้อมูลในพื้นที่ ห่างไกล (n=116) 51% อื่นๆ 5 (n=34) 15% ด้านซอฟต์แวร์ (SaaS) (n=108) 43% ด้านโครงสร้างพื้นฐาน (IaaS) (n=158) 63% หน่วยงานที่ใช้งานศูนย์ข้อมูล (n=225) 96% ลักษณะการใช้งาน เป็นศูนย์ข้อมูลของหน่วยงานเอง (n=203) 90% ใช้บริการศูนย์ข้อมูลร่วมกับหน่วยงานอื่น (n=47) 21% ใช้บริการศูนย์ข้อมูลของเอกชน (n=34) 15% หมายเหตุ: 4 หน่วยงานรัฐสามารถมีการบริหารระบบสารองข้อมูลฯ ได้หลายแบบ 5 อื่นๆ เช่น G-cloud ของ สรอ.หรือของกสทช., Online backup เป็นต้น ด้านแพลตฟอร์ม (PaaS) (n=73) 29% ด้านอื่นๆ3 (n=28) 11% หมายเหตุ: 2 หน่วยงานรัฐสามารถมีระบบคลาวด์คอมพิวติ้ง (Cloud Computing) ได้หลายแบบ, 3 ตัวอย่างคาตอบอื่นๆ เช่น G-cloud ของ สรอ., ระบบ Virtual Desktop Infrastructure เป็นต้น หมายเหตุ: 1 หน่วยงานรัฐสามารถมีลักษณะการใช้งานศูนย์ข้อมูลได้หลายแบบ หน่วยงานที่ตอบแบบสารวจ 234 หน่วยงาน โครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีของหน่วยงานภาครัฐ
  • 30. 30 มีการใช้งานระบบความมั่นคงปลอดภัย สารสนเทศ (n=233) 99.57% ระบบ Firewall (n=230) 99% ระบบ Anti Virus (n=223) 96% Network Access Control (n=169) 73% อื่นๆ (n=60) 26% ระบบความมั่นคงปลอดภัย Intrusion Prevention System (IPS) (n=45) 74.70% หมายเหตุ: 1 หน่วยงานภาครัฐสามารถมีการใช้งานระบบความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศได้หลายระบบ ระบบป้องกันการโจมตีเว็บไซต์ WAF ของ สพธอ. (n=7) 12.05% Intrusion Detection System (IDS) (n=6) 9.64% โครงการบริการระบบบริหารจัดการภัยคุกคามฯ สรอ. (n=2) 3.61% ระบบที่ใช้1 ไม่มีการใช้งานระบบความมั่นคปลอดภัย สารสนเทศ (n=1) 0.43% หน่วยงานที่ตอบแบบสารวจ 234 หน่วยงาน
  • 31. 31 มีแนวนโยบาย/แนวปฏิบัติ (n=187) สอดคล้องกับ ประกาศคณะอนุกรรมการธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์เรื่องแนวนโยบายและแนวปฏิบัติ ในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยด้านสารสนเทศ ของหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2553 (n=161) 86% ISO/IEC27001 (n=56) 30% อื่นๆ (n=19) 10% หมายเหตุ: 1 หน่วยงานภาครัฐสามารถมีแนวนโยบาย/แนวปฏิบัติด้านความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศที่สอดคล้องได้หลายแนวทาง แนวนโยบาย/มาตรฐานความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศเฉพาะของ อุตสาหกรรมที่หน่วยงานดาเนินงานอยู่ (n=4) 21% ตามกฎหมาย เช่น พระราชกฤษฎีกา และพระราชบัญญัติที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น (n=2) 10% นโยบายความมั่นคงปลอดภัยด้านสารสนเทศ/ แผนการบริหารความเสี่ยง/ ตัวชี้วัด PMQA ของหน่วยงานเอง (n=10) 53% ISO/IEC อื่นๆ เช่น ISO/IEC 29110 และ ISO 9001/ 2008 เป็นต้น (n=3) 16% 60% (n=129) ผ่านความเห็นชอบการจัดทาแนวนโยบายและแนวปฏิบัติในการรักษาความมั่นคง ปลอดภัยด้านสารสนเทศหน่วยงานของรัฐ จากสานักงานคณะกรรมการธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส์ (หมายเหตุ: ข้อมูลประกาศ ณ วันที่ 1 มิถุนายน 2559) ระบบความมั่นคงปลอดภัย ไม่มีแนวนโยบาย/แนวปฏิบัติ (n=47) หน่วยงานที่ตอบแบบสารวจ 234 หน่วยงาน
  • 32. 32 มีกลไกการยืนยันตัวตนของ เจ้าหน้าที่ภาครัฐ (n=233) ระบบที่ใช้ Token Key (n=33) 14% Username/Password (n=221) 95% *หมายเหตุ: ตัวอย่างคาตอบอื่นๆ เช่น MAC Address, Active Directory, OTP, Radius Server และ SSO เป็นต้น Smart card (n=16) 7% Biometric Security (n=65) 28% อื่นๆ (n=21) 9% ระบบสแกนลายนิ้วมือ (n=65) 100% ระบบสแกนม่านตา (n=2) 3% มีการกาหนดนโยบายของหน่วยงานใน ด้านการคุ้มครองข้อมูล (n=147) 63% สื่อสารนโยบายการคุ้มครองข้อมูลของหน่วยงาน ให้กับเจ้าหน้าที่ภาครัฐ (n=103) 44% อื่นๆ (n=63) 27% มีการกาหนดสิทธิหรือระดับในการเข้าถึงข้อมูล ตามระเบียบหรือ มาตรฐานของหน่วยงานโดยเฉพาะ (n=63) 61% ยังไม่มีแนวปฏิบัติหรือแผนที่จะดาเนินการ (n=16) 25% อยู่ระหว่างดาเนินการ (n=9) 14% หมายเหตุ: 1หน่วยงานภาครัฐสามารถมีแนวปฏิบัติด้านการคุ้มครองข้อมูลได้หลายแนวปฏิบัติ ระบบความมั่นคงปลอดภัย หน่วยงานที่ตอบแบบสารวจ 234 หน่วยงาน
  • 33. 33 การจัดการเกี่ยวกับ Back Office ศักยภาพของเจ้าหน้าที่ภาครัฐด้านดิจิทัล โครงสร้างพื้นฐานภาครัฐ การบริการภาครัฐที่สะดวกและเข้าถึงได้ง่าย G2C G2B G2G นโยบายและแนวปฏิบัติ เทคโนโลยีอัจฉริยะและการนามาใช้ สรุปสถานภาพรัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทยประจาปี 2559 : การจัดการเกี่ยวกับ Back Office
  • 34. 34 กระบวนการ Back Office ที่มีการใช้งานผสมผสานร่วมกับระบบอิเล็กทรอนิกส์ 13% 25% 26% 26% 58% 62% 66% 68% 68% 70% 78% 91% 92% 0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100% งานผู้ตรวจราชการ งานวิเทศสัมพันธ์ งานตรวจสอบภายใน งานนิติการ งานอาคารสถานที่ และยานพาหนะ งานนโยบาย แผนงานโครงการ งานจัดซื้อพัสดุ งานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ งานประชาสัมพันธ์ งานบริหารงบประมาณ งานการเงินและบัญชี งานบริหารทรัพยากรบุคคล งานสารบรรณและเลขานุการ หน่วยงานที่ตอบแบบสารวจ 234 หน่วยงาน การจัดการเกี่ยวกับ Back Office
  • 35. 35 ความถี่ในการอัพเดทเว็บไซต์ ทุกวัน (n=152) 65% ทุกสัปดาห์ (n=19) 8% ทุกเดือน (n=5) 2% อื่นๆ (n=58) 25% 94% ของหน่วยงานทั้งหมดทราบ เกี่ยวกับมาตรฐานเว็บไซต์ภาครัฐที่พัฒนา โดย สรอ. (n=220) 81% ของหน่วยงานทั้งหมดมีการ ดาเนินการพัฒนาเว็บไซต์ให้สอดคล้องกับ มาตรฐานเว็บไซต์ภาครัฐที่พัฒนาโดย สรอ. (n=190)เมื่อมีข้อมูลอัพเดต (n=48) 83% เมื่อมีการร้องขอ (n=10) 17% หน่วยงานที่ตอบแบบสารวจ 234 หน่วยงาน การบริหารจัดการเว็บไซต์ การจัดการเกี่ยวกับ Back Office
  • 36. 36 การจัดการเกี่ยวกับ Back Office ศักยภาพของเจ้าหน้าที่ภาครัฐด้านดิจิทัล โครงสร้างพื้นฐานภาครัฐ การบริการภาครัฐที่สะดวกและเข้าถึงได้ง่าย G2C G2B G2G นโยบายและแนวปฏิบัติ เทคโนโลยีอัจฉริยะและการนามาใช้ สรุปสถานภาพรัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทยประจาปี 2559 : ศักยภาพของเจ้าหน้าที่ภาครัฐด้านดิจิทัล
  • 37. 37 ความสามารถและทักษะเชิงดิจิทัลของเจ้าหน้าที่ภาครัฐ (1/4) ระดับผู้บริหาร การฝึกอบรมด้าน ICT ระดับพนักงาน ความสามารถในการใช้ ICT เพื่อการปฏิบัติงาน 1 ความปลอดภัยใน การใช้ IT Security 2 กฎระเบียบในการใช้ ICT ในหน่วยงาน 3 อื่นๆ 1 (n=16)4 59% 49% 77% 66% 47% 45% 67% 37% 47% 45% 67% 42% 75% 60% 100% 88% (n=234) รัฐ (n=130) รัฐวิสาหกิจ (n=39) องค์การ มหาชน/ หน่วยงาน อิสระ (n=65) 85% 85% 85% 88% 70% 71% 79% 62% 64% 63% 74% 58% 80% 70% 100% 88% หมายเหตุ: 1 เป็นการอบรมเกี่ยวกับการใช้งานระบบหรือแอพพลิเคชั่นต่างๆของหน่วยงาน จานวน 5 หน่วยงาน, โปรแกรมด้านเอกสาร จานวน 4 หน่วยงาน, หลักสูตรเฉพาะของหน่วยงานในการจัดทามาตรฐาน นโยบายและเว็บไซต์ จานวน 4 หน่วยงาน, และ เทคโนโลยีใหม่ จานวน 3 หน่วยงาน หน่วยงานที่ตอบแบบสารวจ 234 หน่วยงาน (n=234) รัฐ (n=130) รัฐวิสาหกิจ (n=39) องค์การ มหาชน/ หน่วยงาน อิสระ (n=65)
  • 38. 38 ความสามารถและทักษะเชิงดิจิทัลของเจ้าหน้าที่ภาครัฐ (2/4) มีการจัดอบรม (n=220) 94% 0.9% 5.5% 14.1% 13.2% 47.3% 0.5% 18.6% 0.0% 20.0% 40.0% 60.0% 80.0% 100.0% ตามแผนงาน งบประมาณที่ได้รับ ความเหมาะสมหรือความจาเป็น (n=23) 56% เมื่อมีการร้องขอ หรือมีการพัฒนาปรับปรุงระบบงาน (n=9) 22% ไม่มีการกาหนดแน่นอน (n=9) 22% หน่วยงานที่ตอบแบบสารวจ 234 หน่วยงาน
  • 39. 39 ความสามารถและทักษะเชิงดิจิทัลของเจ้าหน้าที่ภาครัฐ (3/4) หน่วยงานที่ตอบแบบสารวจ 234 หน่วยงาน 24% 26% 23% 28% 0% 50% 100% >40 คน 14-40 คน 7-13 คน 0-6 คน จานวนเจ้าหน้าที่ภาครัฐ ด้าน ICT จานวนเจ้าหน้าที่ภาครัฐ ที่ได้รับการรับรองด้าน ICT 24% 17% 14% 46% 0% 50% 100% > 3 คน 2-3 คน 1 คน ไม่มี จานวนเจ้าหน้าที่ภาครัฐ ที่ได้รับการรับรองด้าน ICT Security 3% 4% 16% 77% 0% 50% 100% >9 คน 4-9 คน 1-3 คน ไม่มี
  • 40. 40 ความสามารถและทักษะเชิงดิจิทัลของเจ้าหน้าที่ภาครัฐ (4/4) มีการกาหนดชัดเจนในโครงสร้าง หน่วยงาน (n=124) ไม่มีการกาหนดชัดเจน (n=89 ) 53% 38% อื่นๆ (n=21) 9% อยู่ระหว่างการดาเนินการ (n=11) 50 % อยู่ในขั้นตอนการศึกษา/ ปรังปรุงโครงสร้าง (n=6) 30 % ยังไม่มีตาแหน่งเจ้าหน้าที่ภาครัฐด้าน IT (n=2) 10 % ไม่ใช่หน่วยงานหลักทางด้าน IT (n=2) 10 % โปรแกรมเมอร์ (n=176) 75% เจ้าหน้าที่ ICT ภาครัฐ และ/ หรือ Network Security (n=178) 76% เว็บมาสเตอร์ (n=112) 48% อื่นๆ 1 (n=73) 31% หมายเหตุ: 1 หน่วยงานภาครัฐสามารถขาดแคลนเจ้าหน้าที่ด้าน IT ได้หลายตาแหน่งงาน System Administration/ Database Officer (n=30) 41% System Analyst (n=21) 29% Graphic Designer (n=11) 15% Business Analyst (n=11) 15% หน่วยงานที่ตอบแบบสารวจ 234 หน่วยงาน
  • 41. 41 1 การกากับดูแลมาตรฐาน ICT ของหน่วยงาน 77% 27% 2 การกากับดูแลโครงสร้างเทคโนโลยี 77% 26% 3 การกากับดูแลการประเมินผลด้านเทคโนโลยี 71% 32% 4 การกากับดูแลกระบวนการวางแผนด้านเทคโนโลยี 80% 23% 5 การจัดการระบบ IT ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของหน่วยงาน 86% 16% 6 การพัฒนาระบบการบริหารจัดการด้านการเงินสาหรับงานด้าน IT 65% 38% 7 การบริหารจัดการการจัดซื้อจัดจ้างของระบบ ICT 80% 23% 8 การริเริ่มดาเนินการเกี่ยวกับรัฐบาลดิจิทัล 54% 50% 9 การกากับดูแลการพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกส์ใหม่ๆ 61% 44% 10 การริเริ่มเกี่ยวกับการทางานร่วมกันกับหน่วยงานอื่น 65% 40% 11 การกากับดูแลเกี่ยวกับนโยบายการบริหารจัดการความเสี่ยงของหน่วยงาน 79% 25% 12 การกากับดูแลเกี่ยวกับการบริหารจัดการความต่อเนื่องทางธุรกิจของหน่วยงาน 69% 34% การดาเนินภารกิจและความต้องการการสนับสนุนของ CIO หน่วยงานที่ตอบแบบสารวจ 234 หน่วยงาน
  • 42. 42 การจัดการเกี่ยวกับ Back Office ศักยภาพของเจ้าหน้าที่ภาครัฐด้านดิจิทัล โครงสร้างพื้นฐานภาครัฐ การบริการภาครัฐที่สะดวกและเข้าถึงได้ง่าย G2C G2B G2G นโยบายและแนวปฏิบัติ เทคโนโลยีอัจฉริยะและการนามาใช้ สรุปสถานภาพรัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทยประจาปี 2559 : เทคโนโลยีอัจฉริยะและการนามาใช้
  • 43. 43 การรับเทคโนโลยีใหม่มาใช้ (1/2) 30% (n=39) 15% (n=20) 15% (n=20) 5% (n=2) 3% (n=1) 3% (n=1) 17% (n=11) 12% (n=8) 12% (n=8)64% รัฐ (n=130) องค์การมหาชน/ หน่วยงานอิสระ (n=65) รัฐวิสาหกิจ (n=39) ใช้กับหน่วยงานที่มี MOU ร่วมกัน (n=52) ใช้วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการทางาน (n=34) เพื่อให้บุคคลภายนอกนาไปใช้งาน (n=29) มีการใช้งาน Big Data 1 (n=85) 36% ไม่มีการใช้งาน Big Data (n=149) 64% จุดประสงค์ในการใช้งาน Big Data 1 40% 34% หมายเหตุ: 1 หน่วยงานภาครัฐสามารถมีจุดประสงค์ในการใช้งาน Big Data ได้หลายรูปแบบ 61% หน่วยงานที่ตอบแบบสารวจ 234 หน่วยงาน
  • 44. 44 มีการริเริ่มใช้งาน Internet of Things (n=26) 11% ไม่มีการริเริ่มใช้งาน Internet of Things (n=208) 89% การรับเทคโนโลยีใหม่มาใช้ (2/2) อยู่ในขั้นตอนการวางแผน (n=146) 70% ยังไม่มีแผนงาน (n=63) 30% ตัวอย่างการใช้งาน IoT ระบบกล้องวงจรปิด (CCTV) โดยทาการตรวจจับภาพการจราจร แล้วนามาแปลงเป็นข้อมูล เพื่อรายงานให้ผู้บริหารทราบได้ตลอดเวลา ระบบความปลอดภัย/ ระบบตรวจเฝ้าระวัง ระบบการเปิดปิดห้อง Internet Data Center (IDC) หน่วยงานที่ตอบแบบสารวจ 234 หน่วยงาน
  • 45. 45 ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล สาหรับหน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจาปี 2559 1 เกี่ยวกับโครงการและการดาเนินการสารวจ 2 กรอบการติดตามการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล สาหรับหน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจาปี 2559 5 6 ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 ระดับประเทศ 7 ผลการสารวจแนวโน้มการพัฒนาของหน่วยงานภาครัฐเชิงดิจิทัลประจาปี 2559 ระดับประเทศ ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 ระดับกระทรวง 4 สถานภาพรัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทยประจาปี 2559 ประเด็นที่น่าสนใจ 3 ระเบียบวิธีการสารวจ ขอบเขตประชากร ระยะเวลาดาเนินการสารวจและผลตอบรับการสารวจ
  • 46. 46 75 79 79 60 60 64 0 20 40 60 80 100 ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 ระดับประเทศ Scores by Pillars Policies and Practices Secure and Efficient Infrastructure Smart Back Office Practices E-Officer with digital capability Accessible and convenient public services Smart technologies and practices ผลการสารวจระดับความพร้อมฯ ประจาปี 2559 ระดับประเทศ (คะแนนเต็ม 100 คะแนน) รวม (n = 234) รัฐ (130 หน่วยงาน) รัฐวิสาหกิจ (39 หน่วยงาน) องค์การมหาชน/ หน่วยงาน อิสระ (65 หน่วยงาน) Policies and Practices 75 76 74 75 Secure and Efficient Infrastructure 79 81 79 75 Smart Back Office Practices 79 82 80 72 E-Officer with Digital Capability 60 61 62 56 Accessible and Convenient Public Services 60 61 63 55 Smart Technologies and Practices 64 67 58 62 คะแนนรวม 70 71 69 66 ประเทศไทยควรมุ่งเน้นพัฒนา ‘ศักยภาพของเจ้าหน้าที่ภาครัฐด้านดิจิทัล’ และ ‘การเข้าถึงและความสะดวกในการบริการภาครัฐ’
  • 47. 47 82 74 74 54 86 0 20 40 60 80 100 Citizen centric and value creation E-Government, e-Laws, and e-Regulations Agency ICT strategy to support national digital government objectives Data privacy E-Government cyber security คะแนนระดับความพร้อม Scores by Indicators Policies and Practices ควรเร่งพัฒนาให้มี “การคุ้มครองข้อมูล ส่วนบุคคล (Data Protection)” ตัวชี้วัดหลัก (Indicators) คะแนน ตัวชี้วัดรอง (Sub-Indicators) คะแนน Citizen centric and value creation 82 การดาเนินการสารวจความพึงพอใจของผู้รับบริการอิเล็กทรอนิกส์ 79 การทบทวนและปรับปรุงคุณภาพของบริการอิเล็กทรอนิกส์ 84 E-Government, e-Laws, and e-Regulations 74 ความเกี่ยวข้องของพันธกิจงานด้าน IT ของหน่วยงานกับกฎหมายต่างๆ 74 Agency ICT strategy to support national digital government objectives 74 การจัดทานโยบาย/แผนกลยุทธ์ด้าน IT ของหน่วยงานให้สอดรับกับวัตถุประสงค์ของ แผนและนโยบายของประเทศ 74 Data privacy 54 การมีแนวปฏิบัติด้านการคุ้มครองข้อมูล 54 E-Government cyber security 86 การมีแนวนโยบาย/แนวปฏิบัติด้านความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ 88 การใช้งานระบบความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ (เช่น ระบบ Firewall, Anti Virus, Network Access Control ฯลฯ) 100 กลยุทธ์การบริหารจัดการความเสี่ยงต่อการโจมตีทางไซเบอร์ 83 งบประมาณด้านความมั่นคงปลอดภัยของสารสนเทศ 72 ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 ระดับประเทศ หน่วยงานภาครัฐควรเร่งพัฒนาให้มี ‘การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Data Protection)’ 15%
  • 48. 48 92 82 84 71 66 0 20 40 60 80 100 Technology infrastructure Data integration Data centre Government cloud Data authentication and verification คะแนนระดับความพร้อม Scores by Indicators Secure and Efficient Infrastructure ตัวชี้วัดหลัก (Indicators) คะแนน ตัวชี้วัดรอง (Sub-Indicators) คะแนน Technology infrastructure 92 การดูแลและติดตามการบารุงรักษาระบบ ICT 98 สัดส่วนจานวนคอมพิวเตอร์ต่อจานวนพนักงานในหน่วยงานทั้งหมด 80 ความเร็วอินเทอร์เน็ตที่ใช้ 98 Data integration 82 การแลกเปลี่ยน/ ใช้ข้อมูลกับหน่วยงานอื่น 82 Data centre 84 การบริหารระบบสารองข้อมูลสารสนเทศ 72 การใช้งานศูนย์ข้อมูล 96 Government cloud 71 การใช้งานระบบคลาวด์คอมพิวติ้ง 71 Data authentication and verification 66 การใช้กลไกยืนยันตัวตนเข้าสู่ระบบ 66 20% ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 ระดับประเทศ หน่วยงานภาครัฐควรพัฒนาและยกระดับการใช้ ‘กลไกยืนยันตัวตนเข้าสู่ระบบ (Data Authentication and Verification)’ ควรพัฒนาและยกระดับการใช้ “กลไกยืนยันตัวตนเข้าสู่ระบบ (Data Authentication and Verification)”
  • 49. 49 60 91 100 81 0 20 40 60 80 100 Operational efficiency Digitalization of documents and services Dedicated employees for e-Government functions Inter-operability คะแนนระดับความพร้อม Scores by Indicators Smart Back Office Practices ตัวชี้วัดหลัก (Indicators) คะแนน ตัวชี้วัดรอง (Sub-Indicators) คะแนน Operational efficiency 60 กระบวนการ Back Office ที่มีการใช้งานผสมผสานร่วมกับระบบ อิเล็กทรอนิกส์ 57 การกาหนดแนวปฏิบัติในการให้บริการ การรับข้อร้องเรียนและ ข้อเสนอแนะจากผู้รับบริการ 46 ความถี่ในการอัพเดทเว็บไซต์ 75 Digitalization of documents and services 91 การมีมาตรการลดกระดาษ 91 Dedicated employees for e-Government functions 100 รูปแบบการดาเนินงานด้าน IT การให้บริการประชาชน และการบริหาร จัดการเว็บไซต์ 100 Inter-operability 81 การเชื่อมต่อโครงข่ายเฉพาะของหน่วยงานภาครัฐอื่น 79 การแลกเปลี่ยน/ ใช้ข้อมูลกับหน่วยงานอื่น 82 20% ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 ระดับประเทศ หน่วยงานภาครัฐควรมี ‘การกาหนดแนวปฏิบัติในการให้บริการ การรับข้อร้องเรียนและข้อเสนอแนะจากผู้รับบริการ’ ที่เหมาะสม ควรมี “การกาหนดแนว ปฏิบัติในการให้บริการ การ รับข้อร้องเรียนและ ข้อเสนอแนะจาก ผู้รับบริการ” ที่เหมาะสม
  • 50. 50 45 73 51 0 20 40 60 80 100 Public personnel capabilities E-Leader capabilities Leadership continuity plan คะแนนระดับความพร้อม Scores by Indicators E-Officer with digital capability ตัวชี้วัดหลัก (Indicators) คะแนน ตัวชี้วัดรอง (Sub-Indicators) คะแนน Public personnel capabilities 45 แผนในการเพิ่มทักษะ การฝึกอบรม และการกาหนดเส้นทางอาชีพด้าน ICT ของ เจ้าหน้าที่ภาครัฐ 56 จานวนเจ้าหน้าที่ภาครัฐที่ได้รับการรับรองด้าน ICT 54 จานวนเจ้าหน้าที่ภาครัฐที่ได้รับการรับรองด้านความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ 23 E-Leader capabilities 73 ภารกิจที่ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูงดาเนินการอยู่ในปัจจุบัน 73 Leadership continuity plan 51 การเตรียมบุคลากรเพื่อสานต่อภารกิจ/อานาจหน้าที่ของผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ ระดับสูง 51 15% ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 ระดับประเทศ หน่วยงานภาครัฐควรเร่งพัฒนาให้มี ‘จานวนเจ้าหน้าที่ภาครัฐที่ได้รับการรับรองด้านความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ’ มากขึ้น ควรเร่งพัฒนาให้มี “จานวน เจ้าหน้าที่ภาครัฐที่ได้รับการ รับรองด้านความมั่นคงปลอดภัย สารสนเทศ” มากขึ้น
  • 51. 51 40 87 47 74 84 60 0 20 40 60 80 100 E-Services Depth of information and services Single point of access Innovation of e-services Open data Feedback คะแนนระดับความพร้อม Scores by Indicators Accessible and convenient public services ตัวชี้วัดหลัก (Indicators) คะแนน ตัวชี้วัดรอง (Sub-Indicators) คะแนน E-Services 40 การให้บริการ E-Services ในหลากหลายช่องทาง (Website/ Mobile Application/ Kiosk) 55 การมีช่องทางให้บริการ E-Services ในรูปแบบภาษาไทย 80 การมีช่องทางให้บริการ E-Services ในรูปแบบภาษาอื่น (อังกฤษ/ AEC/ จีน) 30 การมีช่องทางให้บริการ E-Services แก่กลุ่มผู้ใช้งานพิเศษ (ผู้สูงอายุและผู้พิการ) 6 การรับจ่ายเงินผ่านระบบ E-Payment กับหน่วยงานหรือบุคคลภายนอก 31 Depth of information and services 87 การเปิดเผยข้อมูลผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน 87 Single point of access 47 การให้บริการที่ทางานร่วมกันกับหน่วยงานอื่นในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ 47 Innovation of e-services 74 การจัดทานโยบาย/แผนกลยุทธ์ด้าน IT ของหน่วยงานให้สอดรับกับวัตถุประสงค์ของแผน และนโยบายของประเทศ 74 Open data 84 การเปิดเผยข้อมูลผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน 78 การสื่อสารเกี่ยวกับ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540 แก่พนักงาน 91 Feedback 60 การมีช่องทางในการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน 60 25% ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 ระดับประเทศ หน่วยงานภาครัฐควรเร่งพัฒนา ‘ช่องทางการให้บริการ E-Services’ และมี ‘การรับจ่ายเงินผ่านระบบ E-Payment กับหน่วยงานหรือบุคคลภายนอก’ มากขึ้น ควรเร่งพัฒนา ‘ช่องทางการ ให้บริการ E-Services’ และมี ‘การรับจ่ายเงินผ่านระบบ E- Payment กับหน่วยงานหรือ บุคคลภายนอก’ มากขึ้น
  • 52. 52 79 60 36 24 68 0 20 40 60 80 100 Digital society Open government Big data Internet of things Business continuity practices คะแนนระดับความพร้อม Scores by Indicators Smart technologies and practices ตัวชี้วัดหลัก (Indicators) คะแนน ตัวชี้วัดรอง (Sub-Indicators) คะแนน Digital society 79 การใช้สื่อโซเชียลมีเดียและการมีแนวนโยบาย/ แนวปฏิบัติในการใช้สื่อโซเชียล มีเดีย 79 Open government 60 การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนานโยบายและ E-Services ของหน่วยงาน 29 การสื่อสารเกี่ยวกับ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540 แก่พนักงาน 91 Big data 36 การใช้งานฐานข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) 36 Internet of things 24 การริเริ่มใช้ Internet of Things 24 Business continuity practices 68 การบริหารระบบสารองข้อมูลสารสนเทศในยามเหตุฉุกเฉิน 68 ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 ระดับประเทศ 5% หน่วยงานภาครัฐควรส่งเสริมให้เกิด ‘การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนานโยบายและ E-Services ของหน่วยงาน’ มากขึ้น ควรส่งเสริมให้เกิด ‘การมีส่วน ร่วมของประชาชนในการ พัฒนานโยบายและ E-Services ของหน่วยงาน’ มากขึ้น
  • 53. 53 ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 ระดับประเทศ 75 79 79 60 60 64 76 81 82 61 61 67 74 79 80 62 63 58 75 75 72 56 55 62 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 Policies and practices Secure and efficient infrastructure Smart back-office practice E-officer with digital capability Accessible and convenient public services Smart technologies/practices ค่าเฉลี่ยระดับประเทศ รัฐ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน/ หน่วยงานอิสระ ระดับความพร้อมฯ (คะแนน) • รัฐ มีระดับความพร้อมฯ สูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศทุกด้าน และได้คะแนนสูงที่สุด 4 ด้าน ได้แก่ Policies and Practices, Secure and Efficient Infrastructure, Smart Back Office Practice และ Smart Technologies/ Practices • รัฐวิสาหกิจ ได้คะแนนสูงที่สุด 2 ด้าน ได้แก่ E-Officer with Digital Capability และ Accessible and Convenient Public Services • องค์การมหาชน/ หน่วยงานอิสระ มีระดับความพร้อมฯ ต่ากว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศทุกด้าน ยกเว้น Policies and Practices ที่ได้คะแนนเท่ากับ ค่าเฉลี่ยของประเทศ
  • 54. 54 ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล สาหรับหน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจาปี 2559 1 เกี่ยวกับโครงการและการดาเนินการสารวจ 2 กรอบการติดตามการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล สาหรับหน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจาปี 2559 5 6 ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 ระดับประเทศ 7 ผลการสารวจแนวโน้มการพัฒนาของหน่วยงานภาครัฐเชิงดิจิทัลประจาปี 2559 ระดับประเทศ ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 ระดับกระทรวง 4 สถานภาพรัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทยประจาปี 2559 ประเด็นที่น่าสนใจ 3 ระเบียบวิธีการสารวจ ขอบเขตประชากร ระยะเวลาดาเนินการสารวจและผลตอบรับการสารวจ
  • 55. 55 ผลการสารวจแนวโน้มการพัฒนาของหน่วยงานภาครัฐเชิงดิจิทัลประจาปี 2559 ระดับประเทศ ได้รับการพัฒนาโดยมีพื้นฐานจากการวิเคราะห์ the Gartner model* และ the UN 5-phases development model นาเสนอแนวโน้ม (Trends) การพัฒนาเชิงดิจิทัลที่หน่วยงานภาครัฐให้ความสาคัญ • E-Government • Joint-Up Government • Open Government และ • Smart Government หมายเหตุ: The Gartner Model ฉบับตีพิมพ์และเผยแพร่วันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2557 E-Government Joint-Up Government Open Government Smart Government ให้ความสาคัญกับ 4 องค์ประกอบ ได้แก่ • Operational Efficiency • Digitalization of documents And services • E-Services • Feedback ให้ความสาคัญกับ 2 องค์ประกอบ ได้แก่ • Inter-Operability • Single Point of Access ให้ความสาคัญกับ 2 องค์ประกอบ ได้แก่ • Open Data • Open Government ให้ความสาคัญกับ 4 องค์ประกอบ ได้แก่ • Digital Society • Big Data • Internet of Things • Business Continuity Practices
  • 56. 56 •Inter- operability •Single point of access • Digital society • Big data • Internet of things • Business continuity practices •Open data •Open government • Operational Efficiency • Digitalization of documents and services • E - Services • Feedback คะแนนระดับประเทศ คะแนนระดับหน่วยงาน E-Government Joint-up Government Open Government Smart Government … 25% 25% 25% 25% น้าหนักคะแนนที่ใช้ในการสารวจแนวโน้มการพัฒนาของหน่วยงานภาครัฐเชิงดิจิทัล ประจาปี 2559
  • 57. 57 E-Government Joint-up Government Smart Government Open Government 63 64 72 52 0 20 40 60 80 100 แนวโน้ม (Trends) การพัฒนาเชิงดิจิทัลที่หน่วยงานภาครัฐให้ความสาคัญ ประจาปี 2559 คือ ‘Open Government’ ผลการสารวจแนวโน้มการพัฒนาของหน่วยงานภาครัฐเชิงดิจิทัลประจาปี 2559 ระดับประเทศ
  • 58. 58 60 91 40 60 81 74 84 60 79 36 24 68 0 20 40 60 80 100 Operational Efficiency Digitalization of documents and services E-Services Feedback Inter-operability Single point of access Open data Open government Digital society Big data Internet of things Business continuity practices คะแนนแนวโน้มการพัฒนาฯ Scores by Indicators E-Government Joint-up Government Open Government Smart Government แนวโน้ม (Trends) การพัฒนาเชิงดิจิทัลที่หน่วยงานภาครัฐให้ความสาคัญ ประจาปี 2559 คือ ‘Open Government’ ผลการสารวจแนวโน้มการพัฒนาของหน่วยงานภาครัฐเชิงดิจิทัลประจาปี 2559 ระดับประเทศ
  • 59. 59 63 64 72 52 63 70 78 53 68 67 61 50 59 52 67 50 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 E-Government Joint-Up Government Open Government Smart Government ค่าเฉลี่ยระดับประเทศ รัฐ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน/ หน่วยงานอิสระ แนวโน้มการพัฒนาฯ (คะแนน) • รัฐ มีแนวโน้มการพัฒนาฯ Open Government สูงที่สุด (78 คะแนน) • รัฐวิสาหกิจ มีแนวโน้มการพัฒนาฯ E-Government สูงที่สุด (68 คะแนน) • องค์การมหาชน/ หน่วยงานอิสระ มีแนวโน้มการพัฒนาฯ Open Government สูงที่สุด (67 คะแนน) ผลการสารวจแนวโน้มการพัฒนาของหน่วยงานภาครัฐเชิงดิจิทัลประจาปี 2559 ระดับประเทศ
  • 60. 60 ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล สาหรับหน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจาปี 2559 1 เกี่ยวกับโครงการและการดาเนินการสารวจ 2 กรอบการติดตามการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล สาหรับหน่วยงานภาครัฐระดับกรม ประจาปี 2559 5 6 ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 ระดับประเทศ 7 ผลการสารวจแนวโน้มการพัฒนาของหน่วยงานภาครัฐเชิงดิจิทัลประจาปี 2559 ระดับประเทศ ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 ระดับกระทรวง 4 สถานภาพรัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทยประจาปี 2559 ประเด็นที่น่าสนใจ 3 ระเบียบวิธีการสารวจ ขอบเขตประชากร ระยะเวลาดาเนินการสารวจและผลตอบรับการสารวจ
  • 61. 61 ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 ระดับกระทรวง ขอบเขตประชากร กลุ่มตัวอย่างและร้อยละการตอบแบบสารวจของแต่ละกระทรวง (1/2) ลาดับ กระทรวง จานวนหน่วยงานในสังกัด จานวนหน่วยงานที่ ตอบแบบสารวจ ร้อยละการตอบกลับ แบบสารวจ 1 กระทรวงการต่างประเทศ 13 13 100.0% 2 กระทรวงพลังงาน 9 9 100.0% 3 กระทรวงมหาดไทย 12 12 100.0% 4 กระทรวงยุติธรรม 10 10 100.0% 5 กระทรวงแรงงาน 5 5 100.0% 6 กระทรวงวัฒนธรรม 8 8 100.0% 7 หน่วยงานของรัฐสภา 3 3 100.0% 8 หน่วยงานของศาล 3 3 100.0% 9 สภากาชาดไทย 1 1 100.0% 10 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 17 16 94.1% 11 กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 14 13 92.9% 12 กระทรวงศึกษาธิการ 11 10 90.9% 13 กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 9 8 88.9%
  • 62. 62 ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 ระดับกระทรวง ขอบเขตประชากร กลุ่มตัวอย่างและร้อยละการตอบแบบสารวจของแต่ละกระทรวง (2/2) ลาดับ กระทรวง จานวนหน่วยงาน ในสังกัด จานวนหน่วยงานที่ ตอบแบบสารวจ ร้อยละการตอบกลับแบบสารวจ 14 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 17* 15 88.2% 15 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 8 7 87.5% 16 กระทรวงอุตสาหกรรม 8 7 87.5% 17 กระทรวงคมนาคม 20** 17 85.0% 18 กระทรวงการคลัง 25 21 84.0% 19 สานักนายกรัฐมนตรี 21 17 81.0% 20 ส่วนราชการไม่สังกัดสานักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง 9 7 77.8% 21 กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา 7 5 71.4% 22 หน่วยงานขององค์กรตามรัฐธรรมนูญ 7 5 71.4% 23 กระทรวงพาณิชย์ 12*** 8 66.7% 24 กระทรวงกลาโหม 8 5 62.5% 25 กระทรวงสาธารณสุข 15 9 60.0% รวมทั้งหมด 272 234 86.0% หมายเหตุ: *ปิดกิจการแล้ว 1 หน่วยงาน/ **กาลังจะหยุดดาเนินงาน 1 หน่วยงาน/ ***กาลังจะหยุดดาเนินงาน 2 หน่วยงาน
  • 63. 63 ผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2559 ระดับกระทรวง ภาพรวมการจัดกลุ่ม 19 กระทรวงและ 1 สานักฯ สืบเนื่องจากผลการสารวจระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฯ ประจาปี 2558 และ 2559 กลุ่ม Developed • กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร • กระทรวงพาณิชย์ • กระทรวงการคลัง • กระทรวงคมนาคม • กระทรวงมหาดไทย • สานักนายกรัฐมนตรี นิยามกลุ่ม: กลุ่มที่มีระดับความพร้อมการ พัฒนารัฐบาลดิจิทัลสูง กลุ่ม Rising Star • กระทรวงการต่างประเทศ • กระทรวงวัฒนธรรม กลุ่ม Developing • กระทรวงกลาโหม • กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา • กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • กระทรวงศึกษาธิการ • กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ • กระทรวงยุติธรรม • กระทรวงอุตสาหกรรม ทาการจัดกลุ่มตามระดับความพร้อมการดาเนินงานเชิงดิจิทัล สืบเนื่องจากผลการสารวจระดับความพร้อมฯ นิยามกลุ่ม: กลุ่มที่มีระดับความพร้อมการ พัฒนารัฐบาลดิจิทัลค่อนข้างสูงและ สามารถดารงระดับความพร้อมฯไว้ได้ นิยามกลุ่ม: กลุ่มที่มีพัฒนาการจากปีที่แล้ว ในระดับสูงมาก นิยามกลุ่ม:กลุ่มที่มีพัฒนาการจากปีที่แล้วใน ระดับปานกลางถึงสูง กลุ่ม Maintainer • กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์ • กระทรวงพลังงาน • กระทรวงแรงงาน • กระทรวงสาธารณสุข