SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  1
Télécharger pour lire hors ligne
การเฝาระวังผลตอไตจากการใชยาเทโนโฟเวียรในผูปวยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบางละมุง
รชานนท หิรัญวงษ
กลุมงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลบางละมุง จ.ชลบุรี
บทนำ
เทโนโฟเวียรเปนยาตานเชื้อไวรัสเอชไอวีที่มีการสั่งใชเพิ่มมากขึ้นในปจจุบัน
ทั้งในผูปวยรายใหมและ รายเกาที่เกิดภาวะดื้อยาหรือเกิดผลขางเคียงจากยา
เนื่องจากมีรายงานวายานี้มีผลทำใหไตทำงานไดลดลง และในบางรายอาจทำให
เกิดภาวะไตลมเหลวเฉียบพลันได จึงจำเปนตองมีการเฝาระวังอยางเหมาะสม
เพื่อลดผลกระทบตอผูปวย
วัตถุประสงค
เพื่อศึกษาการตรวจติดตามการทำงานของไต และผลตอไตในผูปวย
ติดเชื้อเอชไอวีที่ไดรับยาเทโนโฟเวียร ในโรงพยาบาลบางละมุง
วิธีการศึกษา
เปนการศึกษาเชิงพรรณนาโดยการรวบรวมขอมูลยอนหลัง (retrospective
descriptive study) กลุมตัวอยางที่ศึกษาไดแกผูปวยติดเชื้อเอชไอวีที่ไดรับยา
เทโนโฟเวียรครั้งแรก ณ คลินิกผูติดเชื้อเอชไอวี รพ.บางละมุง ระหวางวันที่
1 มกราคม พ.ศ. 2552 ถึงวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553
ตารางที่ 1 การตรวจทางหองปฏิบัติการที่แนะนำกอนและหลังจากการเริ่มรักษาดวยยาตานเอชไอวีจาก ThaiHIVGuideline 49-501
ตารางที่ 2 การตรวจทางหองปฏิบัติการที่แนะนำใหติดตามหลังใหการรักษาดวยยาตานไวรัสจาก ThaiHIVGuideline 532
ผลการศึกษา
มีผูปวยที่ไดรับยาเทโนโฟเวียรจำนวน 105 ราย เปนผูหญิง 56 ราย
(รอยละ 53) มีอายุเฉลี่ย 41.3 ป สวนใหญมีคา GFR เริ่มตนนอยกวา 90
(รอยละ 60) ในผูปวย 105 ราย มีผูที่ไดรับการตรวจติดตามการทำงานของ
ไตทุก 6 เดือนตามคำแนะนำของแนวทางการตรวจวินิจฉัยและการดูแลรักษา
ผูติดเชื้อเอชไอวีและผูปวยเอดส ระดับชาติ ป พ.ศ. 2553 เพียง 18 ราย
(รอยละ 17) ซึ่งสวนใหญเปนผูที่ใชยามาแลว 6 - 11 เดือน (รอยละ 83)
ที่ 6 เดือนหลังจากใชยามีผูปวยที่มีคาซีรัมครีเอตินินมากกวา 6 mg/dl
และเพิ่มขึ้นมากกวา 1.5 เทาจำนวน 1 ราย (รอยละ 1) มีคา CrCl และ GFR
ลดลงมากกวารอยละ 25 จากคาพื้นฐานจำนวน 2 ราย (รอยละ 3) และ 6
ราย (รอยละ 8) รายตามลำดับ
ที่ 12 เดือนหลังจากใชยามีผูปวยที่มีคาซีรัมครีเอตินินเพิ่มขึ้นมากกวา
0.5 mg/dl จำนวน 2 ราย (รอยละ 3) ระหวาง 3 - 6 mg/dl จำนวน 1 ราย
(รอยละ 1) และเพิ่มขึ้นมากกวา 1.5 เทาจำนวน 2 ราย (รอยละ 3) มีคา CrCl
และ GFR ลดลงมากกวารอยละ 25 จากคาพื้นฐานจำนวน 3 ราย (รอยละ 4)
และ 7 ราย (รอยละ 9) รายตามลำดับ
ที่ 18 เดือนหลังจากใชยามีผูปวยที่มีคาซีรัมครีเอตินินเพิ่มขึ้นมากกวา
0.5 mg/dl จำนวน 2 ราย (รอยละ 3) ระหวาง 3 - 6 mg/dl จำนวน 1 ราย
(รอยละ 1) มีคา CrCl และ GFR ลดลงมากกวารอยละ 25 จากคาพื้นฐาน
จำนวน 2 ราย (รอยละ 3) และ 2 ราย (รอยละ 3) รายตามลำดับ
เมื่อนำผลลัพธที่ไดมาวิเคราะหเปรียบเทียบตามตัวแปรที่สนใจ 4 ชนิดคือ
น้ำหนัก คาดัชนีมวลกาย คา CrCl และ คา GFR พบวาที่ 6 เดือนหลังจากใชยา
ผูปวยที่มีคา GFR เมื่อเริ่มตนใชยานอยกวา 90 จะมีคา GFR ลดลงมากกวา
รอยละ 25 จากคาพื้นฐาน แตกตางกับผูปวยที่มีคา GFR เมื่อเริ่มตนใชยา
มากกวาเทากับ 90 อยางมีนัยสำคัญทางสถิติ (p - value = 0.02)
ลักษณะ คาเฉลี่ย
ระยะเวลาการใชยาเทโนโฟเวียร (เดือน)
อายุ (ป)
จำนวนผูปวยเพศหญิง (%)
CD4 cell count เมื่อเริ่มรับยา (no/uL)
ระดับ Serum Creatinine (mg/dl)
CrCl (Cockcroft-Gault Equation, ml/min)
GFR (MDRD formular, ml/min/1.73 m )
จำนวนผูปวยที่มีคา GFR < 90 (%)
น้ำหนัก
BMI
14
41.3
56 (53%)
359
1.07
72
81
63 (60%)
54
21
2
ตารางที่ 3 ลักษณะกลุมตัวอยางจำนวน 105 รายที่ไดรับยาเทโนโฟเวียร
ผูปวยที่ไมไดตรวจติดตามการทำงานของไตครบทุกครั้ง
ผูปวยที่ไดตรวจติดตามการทำงานของไตครบทุกครั้ง
จำนวน (ราย)
6 - 11 เดือน 12 - 17 เดือน 18 - 23 เดือน 24 - 29 เดือน
แผนภูมิที่ 1 จำนวนผูที่ไดรับการตรวจติดตามการทำงานของไตแบงตามชวงระยะเวลาที่ใชยา
ภาพที่ 1 แสดงการขนสง tenofovir ผาน renal proximal tubule
สรุปและขอเสนอแนะ
จากขอมูลบงชี้วาผูปวยสวนใหญยังไดรับการตรวจติดตามการทำงาน
ของไตไมเหมาะสม โดยเฉพาะผูปวยที่ใชยานานกวา 11 เดือน เมื่อเทียบกับ
คำแนะนำของแนวทางการตรวจวินิจฉัยและการดูแลรักษาผูติดเชื้อเอชไอวี
และผูปวยเอดส ระดับชาติ ป พ.ศ. 2553 และมีความเหมาะสมนอยลงไปอีก
เมื่อเทียบกับคำแนะนำของแนวทางการดูแลรักษาผูติดเชื้อเอชไอวีและผูปวย
เอดสในประเทศไทย ป พ.ศ. 2549/2550 ซึ่งเปนแนวทางที่ออกมาในชวงเวลา
ของการศึกษานี้ สิ่งที่เกิดขึ้นนี้อาจสงผลใหตรวจพบผลตอไตไดชาเกินไป ทำให
ความเสียหายที่เกิดขึ้นกับไตของผูปวย อาจไมคุมกับคาใชจายในการตรวจ
ติดตามการทำงานของไตที่ประหยัดได
และจากขอมูลที่ไดจากการศึกษานี้บงชี้วา ผูปวยที่มีคา GFR เมื่อเริ่มตน
ใชยานอยกวา 90 จะไดรับผลกระทบจากยาเทโนโฟเวียรมากกวาผูปวยที่มีคา
GFR เมื่อเริ่มตนใชยามากกวาเทากับ 90 ผูปวยกลุมนี้จึงควรไดรับการตรวจ
ติดตามการทำงานของไตที่เร็วกวา 6 เดือนหลังจากเริ่มใชยาและถี่กวาทุก 6
เดือน ซึ่งอาจจะเปนตรวจติดตามการทำงานของไตทุก 3 เดือนในชวงปแรก
และตรวจติดตามทุก 6 เดือนในปตอๆ ไป
เอกสารอางอิง
1. ศูนยพัฒนาระบบบริการยาตานไวรัสสำหรับผูติดเชื้อเอชไอวีและผูปวยเอดสในประเทศไทย.
แนวทางการดูแลรักษาผูติดเชื้อเอชไอวีและผูปวยเอดสในประเทศไทย ป พ.ศ. 2549/2550. กรุงเทพ :
โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทยจำกัด, 2550.
2. ศูนยพัฒนาระบบบริการยาตานไวรัสสำหรับผูติดเชื้อเอชไอวีและผูปวยเอดสในประเทศไทย.
แนวทางการตรวจวินิจฉัยและการดูแลรักษาผูติดเชื้อเอชไอวี และผูปวยเอดส ระดับชาติ ป พ.ศ. 2553.
กรุงเทพ : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทยจำกัด, 2553.
3. Hall AM, Hendry BM, Nitsch D, Connolly JO. Tenofovir-Associated Kidney Toxicity
in HIV-Infected Patients: A Review of the Evidence. Am J Kidney Dis. 2011 May;57(5):773-80.
3
Tenofovir เขาสู proximal tubular cells ทาง basolateral membrane ผาน organic anion
transporters (OAT) ที่ถูก Didanosine แยงจับได และถูกขับออกผาน multidrug resistance transporter
MRP4 ที่อยูทางฝง apical membrane สวน Ritonavir เปน substrate ของ MRP2 ที่ยังไมชัดเจนวาเกี่ยวของ
กับการขับออกของ Tenofovir หรือเปลา สวน mitochondria ที่วางตัวอยูตลอดแนวของ basolateral
membrane อยางหนาแนนนั้น มีหลักฐานบงชี้วาเปนเปาหมายจากการเกิดพิษของ Tenofovir และ การเกิด
mitochondrial toxicity ใน proximal tubule จะนำไปสูความผิดปกติของการดูดกลับ low-molecular-
weight-proteins และ สารอื่นๆ

Contenu connexe

En vedette

การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...Rachanont Hiranwong
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...Rachanont Hiranwong
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...Rachanont Hiranwong
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...Rachanont Hiranwong
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง Rachanont Hiranwong
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58Junee Sara
 
นำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาด
นำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดนำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาด
นำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดRachanont Hiranwong
 
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงานหลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงานRachanont Hiranwong
 
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...Rachanont Hiranwong
 
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)saowaluk2556
 
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยาคู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยาamy69
 
การให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาการให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาRachanont Hiranwong
 
Medication Reconciliation
Medication ReconciliationMedication Reconciliation
Medication ReconciliationPAFP
 

En vedette (20)

การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
 
นำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาด
นำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดนำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาด
นำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาด
 
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงานหลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
 
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
 
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
Presentคำแนะนำการใช้ยาเทคนิคพิเศษ (2) (1) (1) (1) (1)
 
Integrated pharmaceutical care
Integrated pharmaceutical careIntegrated pharmaceutical care
Integrated pharmaceutical care
 
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยาคู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
 
Medication reconciliation slide
Medication reconciliation slideMedication reconciliation slide
Medication reconciliation slide
 
การให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาการให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยา
 
Medication Reconciliation
Medication ReconciliationMedication Reconciliation
Medication Reconciliation
 
RDU in Banglamung Hospital
RDU in Banglamung HospitalRDU in Banglamung Hospital
RDU in Banglamung Hospital
 
ระบบยา
ระบบยาระบบยา
ระบบยา
 
Ppt. HAD
Ppt. HADPpt. HAD
Ppt. HAD
 
HIV
HIV HIV
HIV
 
Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09
 

Similaire à การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบางละมุง (Post

Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookMiddle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือแปลผลการตรวจร่างกายฉบับประชาชน
คู่มือแปลผลการตรวจร่างกายฉบับประชาชนคู่มือแปลผลการตรวจร่างกายฉบับประชาชน
คู่มือแปลผลการตรวจร่างกายฉบับประชาชนSurapol Imi
 
คู่มือแปลผลการตรวจร่างกายฉบับประชาชน
คู่มือแปลผลการตรวจร่างกายฉบับประชาชนคู่มือแปลผลการตรวจร่างกายฉบับประชาชน
คู่มือแปลผลการตรวจร่างกายฉบับประชาชนSurapol Imi
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559Utai Sukviwatsirikul
 
Thailand practice hep c guideline 2016
Thailand practice hep c guideline 2016Thailand practice hep c guideline 2016
Thailand practice hep c guideline 2016Utai Sukviwatsirikul
 
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.doc
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.docWed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.doc
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.docjiratiyarapong
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรังแนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรังUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจรักษาและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีประเทศไทย ปี 2557
แนวทางการตรวจรักษาและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีประเทศไทย ปี 2557แนวทางการตรวจรักษาและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีประเทศไทย ปี 2557
แนวทางการตรวจรักษาและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีประเทศไทย ปี 2557Utai Sukviwatsirikul
 
Hiv pocket 2557_ver2
Hiv pocket 2557_ver2Hiv pocket 2557_ver2
Hiv pocket 2557_ver2pohgreen
 
Part 2 - PD guideline Dialysis Weekend 9-11 feb 2018_pattaya
Part 2 - PD guideline  Dialysis Weekend 9-11 feb 2018_pattayaPart 2 - PD guideline  Dialysis Weekend 9-11 feb 2018_pattaya
Part 2 - PD guideline Dialysis Weekend 9-11 feb 2018_pattayaKamol Khositrangsikun
 
Tf tri factor 1
Tf tri factor 1Tf tri factor 1
Tf tri factor 14LIFEYES
 
คู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกา
คู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกาคู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกา
คู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกาUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558Utai Sukviwatsirikul
 

Similaire à การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบางละมุง (Post (20)

Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookMiddle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
 
01 recent advance 2
01 recent advance 201 recent advance 2
01 recent advance 2
 
Hiv and obgyn resident
Hiv and obgyn residentHiv and obgyn resident
Hiv and obgyn resident
 
Cpg std aug 2011
Cpg std aug 2011Cpg std aug 2011
Cpg std aug 2011
 
คู่มือแปลผลการตรวจร่างกายฉบับประชาชน
คู่มือแปลผลการตรวจร่างกายฉบับประชาชนคู่มือแปลผลการตรวจร่างกายฉบับประชาชน
คู่มือแปลผลการตรวจร่างกายฉบับประชาชน
 
คู่มือแปลผลการตรวจร่างกายฉบับประชาชน
คู่มือแปลผลการตรวจร่างกายฉบับประชาชนคู่มือแปลผลการตรวจร่างกายฉบับประชาชน
คู่มือแปลผลการตรวจร่างกายฉบับประชาชน
 
Hep c guideline 2016
Hep c guideline 2016Hep c guideline 2016
Hep c guideline 2016
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
 
Thailand practice hep c guideline 2016
Thailand practice hep c guideline 2016Thailand practice hep c guideline 2016
Thailand practice hep c guideline 2016
 
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.doc
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.docWed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.doc
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.doc
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรังแนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
 
แนวทางการตรวจรักษาและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีประเทศไทย ปี 2557
แนวทางการตรวจรักษาและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีประเทศไทย ปี 2557แนวทางการตรวจรักษาและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีประเทศไทย ปี 2557
แนวทางการตรวจรักษาและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีประเทศไทย ปี 2557
 
Hiv pocket 2557_ver2
Hiv pocket 2557_ver2Hiv pocket 2557_ver2
Hiv pocket 2557_ver2
 
Part 2 - PD guideline Dialysis Weekend 9-11 feb 2018_pattaya
Part 2 - PD guideline  Dialysis Weekend 9-11 feb 2018_pattayaPart 2 - PD guideline  Dialysis Weekend 9-11 feb 2018_pattaya
Part 2 - PD guideline Dialysis Weekend 9-11 feb 2018_pattaya
 
Tf tri factor 1
Tf tri factor 1Tf tri factor 1
Tf tri factor 1
 
คู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกา
คู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกาคู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกา
คู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกา
 
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557
 
antidote y57
antidote y57antidote y57
antidote y57
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
 
CPG for hepatocellular carcinoma
CPG for hepatocellular carcinomaCPG for hepatocellular carcinoma
CPG for hepatocellular carcinoma
 

Plus de Rachanont Hiranwong

การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับการดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับRachanont Hiranwong
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...Rachanont Hiranwong
 
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุงการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุงRachanont Hiranwong
 
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...Rachanont Hiranwong
 
การพัฒนาระบบยา 2558
การพัฒนาระบบยา 2558การพัฒนาระบบยา 2558
การพัฒนาระบบยา 2558Rachanont Hiranwong
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมRachanont Hiranwong
 
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรมผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรมRachanont Hiranwong
 
ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555Rachanont Hiranwong
 
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาการจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาRachanont Hiranwong
 

Plus de Rachanont Hiranwong (14)

การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับการดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
 
Pharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patientPharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patient
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
 
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุงการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
 
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
 
การพัฒนาระบบยา 2558
การพัฒนาระบบยา 2558การพัฒนาระบบยา 2558
การพัฒนาระบบยา 2558
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
 
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรมผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
 
ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555
 
Adr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoringAdr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoring
 
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาการจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
 
Acutecare(webversion)
Acutecare(webversion)Acutecare(webversion)
Acutecare(webversion)
 
Food allergy slide2
Food allergy slide2Food allergy slide2
Food allergy slide2
 
Food allergy slide
Food allergy slideFood allergy slide
Food allergy slide
 

การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบางละมุง (Post

  • 1. การเฝาระวังผลตอไตจากการใชยาเทโนโฟเวียรในผูปวยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบางละมุง รชานนท หิรัญวงษ กลุมงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลบางละมุง จ.ชลบุรี บทนำ เทโนโฟเวียรเปนยาตานเชื้อไวรัสเอชไอวีที่มีการสั่งใชเพิ่มมากขึ้นในปจจุบัน ทั้งในผูปวยรายใหมและ รายเกาที่เกิดภาวะดื้อยาหรือเกิดผลขางเคียงจากยา เนื่องจากมีรายงานวายานี้มีผลทำใหไตทำงานไดลดลง และในบางรายอาจทำให เกิดภาวะไตลมเหลวเฉียบพลันได จึงจำเปนตองมีการเฝาระวังอยางเหมาะสม เพื่อลดผลกระทบตอผูปวย วัตถุประสงค เพื่อศึกษาการตรวจติดตามการทำงานของไต และผลตอไตในผูปวย ติดเชื้อเอชไอวีที่ไดรับยาเทโนโฟเวียร ในโรงพยาบาลบางละมุง วิธีการศึกษา เปนการศึกษาเชิงพรรณนาโดยการรวบรวมขอมูลยอนหลัง (retrospective descriptive study) กลุมตัวอยางที่ศึกษาไดแกผูปวยติดเชื้อเอชไอวีที่ไดรับยา เทโนโฟเวียรครั้งแรก ณ คลินิกผูติดเชื้อเอชไอวี รพ.บางละมุง ระหวางวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2552 ถึงวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ตารางที่ 1 การตรวจทางหองปฏิบัติการที่แนะนำกอนและหลังจากการเริ่มรักษาดวยยาตานเอชไอวีจาก ThaiHIVGuideline 49-501 ตารางที่ 2 การตรวจทางหองปฏิบัติการที่แนะนำใหติดตามหลังใหการรักษาดวยยาตานไวรัสจาก ThaiHIVGuideline 532 ผลการศึกษา มีผูปวยที่ไดรับยาเทโนโฟเวียรจำนวน 105 ราย เปนผูหญิง 56 ราย (รอยละ 53) มีอายุเฉลี่ย 41.3 ป สวนใหญมีคา GFR เริ่มตนนอยกวา 90 (รอยละ 60) ในผูปวย 105 ราย มีผูที่ไดรับการตรวจติดตามการทำงานของ ไตทุก 6 เดือนตามคำแนะนำของแนวทางการตรวจวินิจฉัยและการดูแลรักษา ผูติดเชื้อเอชไอวีและผูปวยเอดส ระดับชาติ ป พ.ศ. 2553 เพียง 18 ราย (รอยละ 17) ซึ่งสวนใหญเปนผูที่ใชยามาแลว 6 - 11 เดือน (รอยละ 83) ที่ 6 เดือนหลังจากใชยามีผูปวยที่มีคาซีรัมครีเอตินินมากกวา 6 mg/dl และเพิ่มขึ้นมากกวา 1.5 เทาจำนวน 1 ราย (รอยละ 1) มีคา CrCl และ GFR ลดลงมากกวารอยละ 25 จากคาพื้นฐานจำนวน 2 ราย (รอยละ 3) และ 6 ราย (รอยละ 8) รายตามลำดับ ที่ 12 เดือนหลังจากใชยามีผูปวยที่มีคาซีรัมครีเอตินินเพิ่มขึ้นมากกวา 0.5 mg/dl จำนวน 2 ราย (รอยละ 3) ระหวาง 3 - 6 mg/dl จำนวน 1 ราย (รอยละ 1) และเพิ่มขึ้นมากกวา 1.5 เทาจำนวน 2 ราย (รอยละ 3) มีคา CrCl และ GFR ลดลงมากกวารอยละ 25 จากคาพื้นฐานจำนวน 3 ราย (รอยละ 4) และ 7 ราย (รอยละ 9) รายตามลำดับ ที่ 18 เดือนหลังจากใชยามีผูปวยที่มีคาซีรัมครีเอตินินเพิ่มขึ้นมากกวา 0.5 mg/dl จำนวน 2 ราย (รอยละ 3) ระหวาง 3 - 6 mg/dl จำนวน 1 ราย (รอยละ 1) มีคา CrCl และ GFR ลดลงมากกวารอยละ 25 จากคาพื้นฐาน จำนวน 2 ราย (รอยละ 3) และ 2 ราย (รอยละ 3) รายตามลำดับ เมื่อนำผลลัพธที่ไดมาวิเคราะหเปรียบเทียบตามตัวแปรที่สนใจ 4 ชนิดคือ น้ำหนัก คาดัชนีมวลกาย คา CrCl และ คา GFR พบวาที่ 6 เดือนหลังจากใชยา ผูปวยที่มีคา GFR เมื่อเริ่มตนใชยานอยกวา 90 จะมีคา GFR ลดลงมากกวา รอยละ 25 จากคาพื้นฐาน แตกตางกับผูปวยที่มีคา GFR เมื่อเริ่มตนใชยา มากกวาเทากับ 90 อยางมีนัยสำคัญทางสถิติ (p - value = 0.02) ลักษณะ คาเฉลี่ย ระยะเวลาการใชยาเทโนโฟเวียร (เดือน) อายุ (ป) จำนวนผูปวยเพศหญิง (%) CD4 cell count เมื่อเริ่มรับยา (no/uL) ระดับ Serum Creatinine (mg/dl) CrCl (Cockcroft-Gault Equation, ml/min) GFR (MDRD formular, ml/min/1.73 m ) จำนวนผูปวยที่มีคา GFR < 90 (%) น้ำหนัก BMI 14 41.3 56 (53%) 359 1.07 72 81 63 (60%) 54 21 2 ตารางที่ 3 ลักษณะกลุมตัวอยางจำนวน 105 รายที่ไดรับยาเทโนโฟเวียร ผูปวยที่ไมไดตรวจติดตามการทำงานของไตครบทุกครั้ง ผูปวยที่ไดตรวจติดตามการทำงานของไตครบทุกครั้ง จำนวน (ราย) 6 - 11 เดือน 12 - 17 เดือน 18 - 23 เดือน 24 - 29 เดือน แผนภูมิที่ 1 จำนวนผูที่ไดรับการตรวจติดตามการทำงานของไตแบงตามชวงระยะเวลาที่ใชยา ภาพที่ 1 แสดงการขนสง tenofovir ผาน renal proximal tubule สรุปและขอเสนอแนะ จากขอมูลบงชี้วาผูปวยสวนใหญยังไดรับการตรวจติดตามการทำงาน ของไตไมเหมาะสม โดยเฉพาะผูปวยที่ใชยานานกวา 11 เดือน เมื่อเทียบกับ คำแนะนำของแนวทางการตรวจวินิจฉัยและการดูแลรักษาผูติดเชื้อเอชไอวี และผูปวยเอดส ระดับชาติ ป พ.ศ. 2553 และมีความเหมาะสมนอยลงไปอีก เมื่อเทียบกับคำแนะนำของแนวทางการดูแลรักษาผูติดเชื้อเอชไอวีและผูปวย เอดสในประเทศไทย ป พ.ศ. 2549/2550 ซึ่งเปนแนวทางที่ออกมาในชวงเวลา ของการศึกษานี้ สิ่งที่เกิดขึ้นนี้อาจสงผลใหตรวจพบผลตอไตไดชาเกินไป ทำให ความเสียหายที่เกิดขึ้นกับไตของผูปวย อาจไมคุมกับคาใชจายในการตรวจ ติดตามการทำงานของไตที่ประหยัดได และจากขอมูลที่ไดจากการศึกษานี้บงชี้วา ผูปวยที่มีคา GFR เมื่อเริ่มตน ใชยานอยกวา 90 จะไดรับผลกระทบจากยาเทโนโฟเวียรมากกวาผูปวยที่มีคา GFR เมื่อเริ่มตนใชยามากกวาเทากับ 90 ผูปวยกลุมนี้จึงควรไดรับการตรวจ ติดตามการทำงานของไตที่เร็วกวา 6 เดือนหลังจากเริ่มใชยาและถี่กวาทุก 6 เดือน ซึ่งอาจจะเปนตรวจติดตามการทำงานของไตทุก 3 เดือนในชวงปแรก และตรวจติดตามทุก 6 เดือนในปตอๆ ไป เอกสารอางอิง 1. ศูนยพัฒนาระบบบริการยาตานไวรัสสำหรับผูติดเชื้อเอชไอวีและผูปวยเอดสในประเทศไทย. แนวทางการดูแลรักษาผูติดเชื้อเอชไอวีและผูปวยเอดสในประเทศไทย ป พ.ศ. 2549/2550. กรุงเทพ : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทยจำกัด, 2550. 2. ศูนยพัฒนาระบบบริการยาตานไวรัสสำหรับผูติดเชื้อเอชไอวีและผูปวยเอดสในประเทศไทย. แนวทางการตรวจวินิจฉัยและการดูแลรักษาผูติดเชื้อเอชไอวี และผูปวยเอดส ระดับชาติ ป พ.ศ. 2553. กรุงเทพ : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทยจำกัด, 2553. 3. Hall AM, Hendry BM, Nitsch D, Connolly JO. Tenofovir-Associated Kidney Toxicity in HIV-Infected Patients: A Review of the Evidence. Am J Kidney Dis. 2011 May;57(5):773-80. 3 Tenofovir เขาสู proximal tubular cells ทาง basolateral membrane ผาน organic anion transporters (OAT) ที่ถูก Didanosine แยงจับได และถูกขับออกผาน multidrug resistance transporter MRP4 ที่อยูทางฝง apical membrane สวน Ritonavir เปน substrate ของ MRP2 ที่ยังไมชัดเจนวาเกี่ยวของ กับการขับออกของ Tenofovir หรือเปลา สวน mitochondria ที่วางตัวอยูตลอดแนวของ basolateral membrane อยางหนาแนนนั้น มีหลักฐานบงชี้วาเปนเปาหมายจากการเกิดพิษของ Tenofovir และ การเกิด mitochondrial toxicity ใน proximal tubule จะนำไปสูความผิดปกติของการดูดกลับ low-molecular- weight-proteins และ สารอื่นๆ