Ce diaporama a bien été signalé.
Le téléchargement de votre SlideShare est en cours. ×

บทที่ 6

Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Chargement dans…3
×

Consultez-les par la suite

1 sur 31 Publicité

Plus De Contenu Connexe

Diaporamas pour vous (16)

Similaire à บทที่ 6 (20)

Publicité

Plus par Saiiew (8)

Plus récents (20)

Publicité

บทที่ 6

  1. 1. บทที่ 6 การปฏิรูประบบราชการ
  2. 2. ปัญหาของระบบราชการ ปัญหาเรื่องการทุจริตและพฤติมิชอบในวงราชการ ขนาดของระบบราชการไทย ประสิทธิภาพในการบริหารราชการ การบริหารงานแบบรวมศูนย์อำนาจ โครงสร้างส่วนราชการที่ไม่คล่องตัว กฎระเบียบ เทคโนโลยีและวิธีงานไม่ทันสมัย กำลังคนภาครัฐไม่มีคุณภาพ ค่าตอบแทนและสวัสดิการที่ไม่เหมาะสม ทัศนคติและค่านิยม
  3. 3. การปฏิรูประบบราชการ <ul><li>- 20 กระทรวง </li></ul><ul><li>- กลุ่มภารกิจ </li></ul><ul><li>- องค์การมหาชน </li></ul><ul><li>- พรฎ . ตามมาตรา 3/1 </li></ul>- E-Procurement - E-Government - GFMIS - ลดคน - ลดงบประมาณ ด้านบุคลากร โครงสร้าง วิธีปฏิบัติราชการ ยุทธศาสตร์ อัตรากำลัง
  4. 4. พรบ . ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ . ศ . 2534 แก้ไขเพิ่มเติมโดย พ . ร . บ . ฯ ( ฉบับที่ 5 พ . ศ . 2545) <ul><li>“ การบริหารราชการตามพระราชบัญญัตินี้ต้องเป็นไปเพื่อ </li></ul><ul><li>ประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ </li></ul><ul><li>ความมีประสิทธิภาพในเชิงภารกิจแห่งรัฐ การลดขั้นตอนการ </li></ul><ul><li>ปฏิบัติงาน การลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จำเป็น </li></ul><ul><li>การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้อองถิ่น การกระจาย </li></ul><ul><li>อำนาจตัดสินใจ การอำนวยความสะดวก และการตอบสนอง </li></ul><ul><li>ความต้องการของประชาชน ทั้งนี้โดยมีผู้รับผิดชอบต่อผล </li></ul><ul><li>ของงาน” </li></ul>มาตรา 3/1
  5. 5. มาตรา 3/1 ( ต่อ ) <ul><li>“ ในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการ ต้องใช้วิธีการ </li></ul><ul><li>บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้คำนึงถึง </li></ul><ul><li>ความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมของ </li></ul><ul><li>ประชาชน การเปิดเผยข้อมูล การติดตาม ตรวจสอบ </li></ul><ul><li>และประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ตามความเหมาะสม </li></ul><ul><li>ของแต่ละภารกิจ” </li></ul>
  6. 6. ยุทธศาสตร์ 1 : การปรับเปลี่ยนกระบวนการและวิธีการทำงาน <ul><li>􀂋 ยึดเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ </li></ul><ul><li>􀂋 บริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ </li></ul><ul><li>􀂋 ลดต้นทุนตรวจสอบความคุ้มค่า </li></ul><ul><li>􀂋 มีข้อตกลงว่าด้วยผลงาน </li></ul><ul><li>􀂋 บริการโดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง </li></ul><ul><li>􀂋 ลดความผูกขาดของส่วนราชการ </li></ul><ul><li>􀂋 ปรับปรุงขั้นตอน / แก้ไขปรับปรุงกฎหมายที่ล้าสมัย </li></ul><ul><li>􀂋 ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม </li></ul>
  7. 7. ยุทธศาสตร์ 2 : การปรับปรุงโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน <ul><li>􀂈 เน้นการร่วมบริหารเชิงบูรณาการโดยมีกลไกประสานการทำงานร่วมกัน </li></ul><ul><li>􀂈 ทบทวนการจัดโครงสร้างให้มีความเหมาะสมมากขึ้น </li></ul><ul><li>􀂈 วางยุทธศาสตร์ก์การพัฒนาเขตพื้นที่ในเชิงบูรณาการและการจัดสรรทรัพยากรในลักษณะแบบอิงพื้นที่ </li></ul><ul><li>􀂈 จัดระเบียบความสัมพันธ์ร์ระหว่างการบริหารราชการในระดับต่าง ๆ </li></ul>
  8. 8. ยุทธศาสตร์ 3 : การปรับรื้อระบบการเงินและการงบประมาณ <ul><li>􀃆 ปรับระบบการจัดสรรงบประมาณ ให้มีความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ข์ของรัฐบาล และสามารถแสดงผลสัมฤทธิ์ได้ </li></ul><ul><li>􀃆 เปิดโอกาสให้แต่ละส่วนราชการทำความตกลงล่วงหน้าเก็บเงินเหลือจ่ายไว้ใช้ประโยชนในการพัฒนาองค์กร / ฝึกอบรมข้าราชการได้ </li></ul><ul><li>􀃆 ปรับปรุงระบบบัญชีให้สามารถคำนวณต้นทุนในการจัดบริการสาธารณะได้ </li></ul>
  9. 9. ยุทธศาสตร์ 4 : การสร้างระบบบริหารงานบุคคลและค่าตอบแทนใหม่ <ul><li>􀃆 เร่งสร้างระบบสรรหาบุคลากรผู้มีความสามารถสูง หรือระดับหัวกะทิเข้าสู่ระบบราชการไทย โดยมุ่งเน้นให้เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงของการพัฒนาระบบราชการไทย </li></ul><ul><li>􀃆 นำระบบเปิดมาใช้กับผู้บริหารระดับสูง </li></ul><ul><li>􀃆 ทบทวนและปรับเปลี่ยนระบบการจำแนกตำแหน่ง (P.C.) และค่าตอบแทน </li></ul><ul><li>􀃆 ให้เงินเดือนค่าตอบแทนตามความเป็นจริง </li></ul><ul><li>􀃆 เพิ่มผลิตภาพ (Productivity) ของข้าราชการ </li></ul><ul><li>􀃆 เชื่อมโยงผลงานเข้ากับการสร้างแรงจูงใจ </li></ul>
  10. 10. ยุทธศาสตร์ 5 : การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม และค่านิยมของระบบราชการ <ul><li>􀂰 สร้างรูปแบบการเรียนรู้ด้วยตนเองของกลุ่มเป้าหมายที่เป็นผู้บริหารระดับสูงจากประสบการณ์ปฏิบัติจริง </li></ul><ul><li>􀂰 เสนอแนะการจัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการสร้างกระบวนการเรียนรู้ของกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ </li></ul><ul><li>􀂰 สร้างการมีส่วนร่วมในการแสวงหากระบวนทัศน์ วัฒนธรรม และค่านิยมใหม่ที่เอื้อต่อการพัฒนาระบบราชการ </li></ul>
  11. 11. ยุทธศาสตร์ 6 : การเสริมสร้างความทันสมัย ( รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ) <ul><li>􀂈 ปรับปรุงระบบการทำงานให้เป็นสำนักงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-office) </li></ul><ul><li>􀂈 ให้ส่วนราชการเปิดให้บริการประชาชนทางอิเล็กทรอนิกส์ ผ่านทางระบบ internet และ website </li></ul><ul><li>􀂈 วางระบบการรายงานผลสัมฤทธิ์ (performance track system) ของส่วนราชการต่าง ๆ ให้เชื่อมโยงเข้าสู่ศูนย์ปฏิบัติการระดับกระทรวง (MOC) และศูนย์ปฏิบัติการของนายกรัฐมนตรี (PMOC) </li></ul><ul><li>􀂈 วางระบบแลกเปลี่ยน แบ่งปันการใช้ระบบสารสนเทศร่วมกัน </li></ul>
  12. 12. ยุทธศาสตร์ 7 : การเปิดระบบราชการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม <ul><li>􀀗 จัดให้มีระบบการปรึกษาหารือกับประชาชนการสำรวจหรือประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็นของประชาชน </li></ul><ul><li>􀀗 ให้ทุกส่วนราชการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศที่มีความจำเป็นต่อการแสดงภาระรับผิดชอบ ความโปร่งใสและเปิดเผยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานใน Website </li></ul><ul><li>􀀗 เปิดโอกาสให้มีอาสาสมัครภาคประชาชนเข้ามาร่วมปฏิบัติงาน </li></ul><ul><li>กับข้าราชการ </li></ul>
  13. 13. พระราชกฤษฎีกา ว่าด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการ บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ . ศ . 2546
  14. 14. เจตนารมณ์ของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี <ul><li>􀀟 สร้าง กฎ เกณฑ์ และกลไกที่ดีในการบริหารราชการ </li></ul><ul><li>􀀟 ทำให้บ้านเมืองอยู่อย่างสันติ สงบสุข </li></ul><ul><li>􀀟 พัฒนาระบบราชการให้มีประสิทธิภาพ ตอบสนอง </li></ul><ul><li>ความต้องการของประชาชน </li></ul>
  15. 15. เหตุผลความจำเป็น <ul><li>􀀾 กระแสโลกาภิวัตน์ </li></ul><ul><li>􀀾 กระแสประชาธิปไตย </li></ul><ul><li>􀀾 ปัญหาวิกฤตทางเศรษฐกิจ </li></ul><ul><li>􀀾 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย </li></ul><ul><li>􀀾 พ . ร . บ . ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ( มาตรา 3/1) </li></ul><ul><li>􀀾 การปฏิรูประบบราชการ </li></ul>
  16. 16. ประโยชน์ของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี <ul><li>􀃅 รัฐสามารถกำหนดนโยบาย / เป้าหมายการทำงานในแต่ละปีได้ชัดเจน มีกลไกพัฒนาองค์กรของภาครัฐให้มีประสิทธิภาพขึ้นได้ </li></ul><ul><li>􀃆 ส่วนราชการ ข้าราชการ มีแนวทางการปฏิบัติงานชัดเจน </li></ul><ul><li>โปร่งใสวัดผลได้ </li></ul><ul><li>􀃅 ประชาชนได้รับการบริการที่รวดเร็ว / ตรวจสอบการทำงานและการมีส่วนร่วมในการบริหารงานภาครัฐ </li></ul>
  17. 17. Strategic Analysis Business Plan Implementation Report Results PLAN DO CHECK ACT
  18. 18. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ . ศ . 2534 ฉบับที่ 5 พ . ศ . 2545 ได้กำหนดเรื่องของการแบ่งส่วนราชการ กำหนดอำนาจหน้าที่รับผิดชอบ การบังคับบัญชาส่วนราชการ และความสัมพันธ์ระหว่างส่วนราชการต่างๆไว้
  19. 19. กฎหมายได้กำหนดให้มีการตัดแบ่งส่วนราชการออกเป็น - สำนักนายกรัฐมนตรี ซึ่งมีฐานะเป็นกระทรวง - กระทรวง หรือ ทบวงซึ่งมีฐานะเทียบเท่ากระทรวง - ทบวง ซึ่งสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี หรือ กระทรวง ( ปัจจุบันไม่มีส่วนราชการที่เป็นทบวง ภายหลังประกาศใช้ พรบ . การศึกษาแห่งชาติ พ . ศ . 2542 ได้เปลี่ยนฐานะของทบวงมหาวิทยาลัยให้เป็น “สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา” ซึ่งส่วนราชการในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ) - กรม หรือ ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม ซึ่งสังกัด หรือ ไม่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรีกระทรวงหรือ ทบวง
  20. 20. การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลางตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ . ศ . 2534 1. สำนักนายกรัฐมนตรี สำนักนายกรัฐมนตรีนี้มีอำนาจหน้าที่ การวางแผน กำกับ เร่งรัด และติดตามนโยบาย และแผนการปฏิบัติราชการตามนโยบายที่คณะรัฐมนตรีกำหนดหรืออนุมัติ
  21. 21. การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลางตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ . ศ . 2534 สำนักนายกรัฐมนตรีจะประกอบด้วยส่วนราชการระดับกรม ซึ่งอาจแยกได้เป็น 2 ส่วน คือ 1.1 ส่วนราชการที่มีสายการบังคับบัญชา ขึ้นตรงกับนายกรัฐมนตรี จำนวน 9 หน่วยงาน ได้แก่ - สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี - สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี - สำนักข่าวกรองแห่งชาติ - สำนักงบประมาณ - สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ - สำนักงานคณะกรรมกฤษฎีกา - สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน - สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ - สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ( ก . พ . ร .) 1 .2 ส่วนราชการที่มีสายการบังคับบัญชา ขึ้นกับปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี จำนวน 2 หน่วยงาน ได้แก่ - กรมประชาสัมพันธ์ - สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
  22. 22. การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลางตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ . ศ . 2534 2. การจัดระเบียบราชการในกระทรวง หรือ ทบวงซึ่งมีฐานะเทียบเท่ากระทรวง กระทรวงซึ่งเป็นส่วนราชการหรือกลุ่มงานที่มีระดับความสำคัญที่สุดในการบริหารประเทศมีอำนาจหน้าที่จัดทำนโยบายแลแผน กำกับ เร่งรัด และติดตามมนโยบายและแผนการปฏิบัติราชการกระทรวง
  23. 23. <ul><li>มีรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเป็นผู้ช่วยสั่งการและ ปฏิบัติราชการและปลัดกระทรวงเป็นผู้รับผิดชอบควบคุมราชการประจำในกระทรวง ปลัดกระทรวงมีหน้าที่ดังนี้ </li></ul><ul><li>1. รับผิดชอบควบคุมราชการประจำในกระทรวง แปลงนโยบายเป็นแนวทางและแผนการปฏิบัติราชการ กำกับการทำงานของส่วนราชการในกระทรวงให้เกิดผลสัมฤทธิ์และประสานการปฏิบัติงานของส่วนราชการในกระทรวงให้มีเอกภาพสอดคล้องกันรวมทั้งเร่งรัดติดตาม และประเมินผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในกระทรวง </li></ul><ul><li>2. เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการของส่วนราชการในกระทรวงรองจากรัฐมนตรี </li></ul><ul><li>3. เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสำนักงานปลัดกระทรวงและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของสำนักงานปลัดกระทรวง </li></ul>การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลางตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ . ศ . 2534
  24. 24. กระทรวงหรือทบวงซึ่งมีฐานะเทียบเท่ากระทรวง จัดระเบียบระบบบริหารราชการได้ดังนี้ 1 สำนักงานรัฐมนตรี เป็นส่วนราชการที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการทางการเมือง มีเลขานุการรัฐมนตรี ซึ่งเป็นข้าราชการการเมือง เป็นผู้บังคับบัญชา 2. สำนักงานปลัดกระทรวง เป็นส่วนราชการที่มีฐานะเป็นกรมเกี่ยวกับราชการประจำทั่วไปของกระทรวงและ 3. กรม หรือ ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น เป็นส่วนราชการที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการส่วนใดส่วนหนึ่งของกระทรวง
  25. 25. โครงสร้างใหม่ของราชการไทยเปลี่ยนจาก 14 กระทรวง เป็น 20 กระทรวง ประกอบด้วย <ul><li>สำนักนายกรัฐมนตรี </li></ul><ul><li>กระทรวงกลาโหม </li></ul><ul><li>กระทรวงการคลัง </li></ul><ul><li>กระทรวงการต่างประเทศ </li></ul><ul><li>กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ </li></ul><ul><li>กระทรวงการศึกษา </li></ul><ul><li>กระทรวง การท่องเที่ยวและ กีฬา </li></ul><ul><li>กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ </li></ul><ul><li>กระทรวงคมนาคม </li></ul><ul><li>กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม </li></ul>
  26. 26. <ul><li>กระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศ </li></ul><ul><li>กระทรวงพลังงาน </li></ul><ul><li>กระทรวงพาณิชย์ </li></ul><ul><li>กระทรวงมหาดไทย </li></ul><ul><li>กระทรวงยุติธรรม </li></ul><ul><li>กระทรวงแรงงานและพัฒนาอาชีพ </li></ul><ul><li>กระทรวงวัฒนธรรม </li></ul><ul><li>กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี </li></ul><ul><li>กระทรวงสาธารณสุข </li></ul><ul><li>กระทรวงอุตสาหกรรมและผู้ประกอบการ </li></ul>โครงสร้างใหม่ของราชการไทยเปลี่ยนจาก 14 กระทรวง เป็น 20 กระทรวง ประกอบด้วย
  27. 27. สำหรับส่วนราชการที่ไม่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง ประกอบด้วย <ul><li>สำนักราชเลขาธิการ </li></ul><ul><li>สำนักพระราชวัง </li></ul><ul><li>สำนักคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ </li></ul><ul><li>สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ </li></ul><ul><li>ราชบัณฑิตยสถาน </li></ul><ul><li>สำนักงานตำรวจแห่งชาติ </li></ul><ul><li>สำนักงานอัยการสูงสุด </li></ul>ส่วนราชการตามข้อ 1–6 มีฐานะเป็นกรมอยู่ในบังคับบัญชาของนายกรัฐมนตรี ส่วนราชการในข้อ 7 มีฐานะเป็นกรม อยู่ในบัญชาของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
  28. 28. การแบ่งกลุ่มกระทรวงตามภารกิจ 3 กลุ่ม ใหญ่
  29. 29. กลุ่มแรก คือ กลุ่มกระทรวงแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ เป็นกลุ่มกระทรวงที่เกี่ยวข้องความเป็นอยู่ของประเทศลักษณะงานประจำต่อเนื่องจึงมีลักษณะถาวรมีความต่อเนื่องและมีการเปลี่ยนแปลงในเชิงภารกิจน้อย กลุ่มกระทรวงเหล่านี้ประกอบด้วย 6 กระทรวง คือ <ul><li>สำนักนายกรัฐมนตรี </li></ul><ul><li>กระทรวงกลาโหม </li></ul><ul><li>กระทรวงมหาดไทย </li></ul><ul><li>กระทรวงการคลัง </li></ul><ul><li>กระทรวงการต่างประเทศ </li></ul><ul><li>กระทรวงยุติธรรม </li></ul>
  30. 30. กลุ่มที่ 2 กลุ่มกระทรวงยุทธศาสตร์ในการพัฒนาประเทศ เป็นกลุ่มกระทรวงที่เน้นนโยบายและยุทธศาสตร์ในการพัฒนาประเทศ ประกอบด้วย 10 กระทรวง คือ <ul><li>กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ </li></ul><ul><li>กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ </li></ul><ul><li>กระทรวงคมนาคม </li></ul><ul><li>กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม </li></ul><ul><li>กระทรวงพาณิชย์ </li></ul><ul><li>กระทรวงแรงงานและพัฒนาอาชีพ </li></ul><ul><li>กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี </li></ul><ul><li>กระทรวงการศึกษา </li></ul><ul><li>กระทรวงสาธารณสุข </li></ul><ul><li>กระทรวงอุตสาหกรรมและผู้ประกอบการ </li></ul>
  31. 31. กลุ่มสุดท้ายจัดตั้งขึ้นมาเป็นภารกิจเร่งด่วนของรัฐบาล เป็นกลุ่มกระทรวงเพื่อดำเนินงานที่เป็นภารกิจสำคัญตามนโยบายรัฐบาล มีลักษณะเป็นพลวัต (dynamic) สามารถปรับเปลี่ยนได้ง่าย ประกอบด้วย 4 กระทรวง คือ <ul><li>กระทรวง การท่องเที่ยวและ กีฬา </li></ul><ul><li>กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ </li></ul><ul><li>กระทรวงพลังงาน </li></ul><ul><li>กระทรวงวัฒนธรรม </li></ul>

×