SlideShare a Scribd company logo
กิตติกรรมประกาศ

บทคัดย่อ
บทที่ 1: บทนา

บทที่ 2: เอกสารที่เกี่ยวข้อง

บทที่ 3: วัสดุอุปกรณ์และวิธีการทดลอง
บทที่ 4: ผลการทดลอง

บทที่ 5: อภิปรายและสรุปผลการทดลอง
ภาคผนวก
บรรณนานุกรม
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติจะ
เกิดขึ้นและเสร็จสมบูรณ์ไม่ได้รับคาแนะนาจาก อาจารย์อภิวันท์ เลี่ยมมินฟุล ที่ช่วยให้
คาปรึกษา แนวการแก้การปฏิบัติขนตอนต่างๆเป็นอย่างดี รวมทั้งให้ความรู้ใหม่ๆ และ
ั้
ส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ ขอขอบพระคุณมา ณ ที่นี้ด้วย
ขอขอบพระคุณผู้ที่มีส่วนเกียวข้องกับโครงงานนี้ทุกท่าน ที่ได้ช่วยให้คาแนะนา
่
คาปรึกษา แนวทางการแก้ไขปัญหาต่างๆ และช่วยเหลือในเรื่องวัสดุอุปกรณ์ และ
สถานที่ดาเนินโครงงาน ทาให้โครงงานนี้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี

คณะผู้จัดทา
บทคัดย่อ
โครงงานนี้ทาขึ้นเพื่อศึกษาเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ 4 ชนิดได้แก่ ข้าวคั่ว
ป่น เกลือเม็ด แกลบป่นและถ่านป่น กับผ้าต่างชนิดกัน 3 ชนิด คือ ผ้าฝ้าย ผ้าไนลอนและผ้าลินิน ว่า
วัสดุไหนมีประสิทธิภาพในการลดความชื้นมากกว่ากัน โดยการศึกษาเรานาผ้าที่มีความชื้นเท่ากัน
มาไว้ในกล่องแล้วใส่วัสดุลดความชื้นโดยปิดกล่องจับเวลาเป็นช่วงๆ ช่วงละเท่ากันแล้วนาผ้าที่ทา
การทดลองไปชั่งน้าหนักและหาค่าความชื้นที่หายไปโดยการคานวณจากสูตรเพื่อนามาเปรียบเทียบ
กัน
ผลการทดลองพบว่าในผ้าไนลอนวัสดุที่ลดความชื้นได้ดีที่สุดคือ ข้าวคั่วและเกลือโดยลดจาก
น้าหนักเดิม 25.5 กรัมเป็น 24.5 กรัม รองลงมาคือ แกลบป่นโดยลดจากน้าหนักเดิม 25.5 กรัมเป็น
24.8 กรัม วัสดุที่ลดความชื้นได้น้อยที่สุดคือถ่านป่น ในผ้าฝ้ายวัสดุที่ลดความชื้นได้ดีที่สุดคือ เกลือ
โดยลดจากน้าหนักเดิม 40 กรัมเป็น 38.8 กรัม รองลงมาคือ แกลบและข้าวคั่วโดยลดจากน้าหนัก
เดิม 40 กรัมเป็น 39 กรัม วัสดุที่ลดความชื้นได้น้อยที่สุดคือถ่านป่น ในผ้าลินินวัสดุที่ลดความชื้นได้
ดีที่สุดคือ แกลบโดยลดจากน้าหนักเดิม 35 กรัมเป็น 33.3 กรัม ต่อมาคือ ข้าวคั่วโดยลดจากน้าหนัก
เดิม 35 กรัมเป็น 34 กรัม รองลงมาคือเกลือลดจากน้าหนักเดิม 35 กรัมเป็น 34.4 กรัม
บทที่1: บทนา
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ประเทศไทยอยู่ในทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งมีสภาพภูมิอากาศแบบAmหรือแบบ
ร้อนชื้นมรสุมทาให้มีความชื้นค่อนข้างมาก ในปัจจุบันเราประสบปัญหากับผ้าอับชื้นในช่วงที่
อากาศมีความชื้นจนเป็นสาเหตุทาให้เกิดเชื้อราและกลิ่นอับ หากเรานาเสื้อผ้าที่มีความชื้นมาสวม
ใส่อาจเกิดโรคผิวหนังจนเป็นผลเสียต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิตได้ ข้าพเจ้าและกลุ่มของ
ข้าพเจ้าจึงได้ต้องการวัสดุจากธรรมชาติที่มีสรรพคุณในการช่วยลดความชื้น ที่มีราคาไม่แพง
ความสามารถในการลดความชื้นสูง และไม่ทาลายสิ่งแวดล้อม
กลุ่มของข้าพเจ้าจึงคิดที่จะศึกษาวัสดุจากธรรมชาติที่จะช่วยลดความชื้น โดยที่ตัววัสดุนั้น
มีราคาไม่แพง หาได้ง่ายตามท้องตลาด หากสามารถลดความชื้นได้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้สวมใส่
เพราะจะทาให้สวมใส่ได้อย่างดี โดยมีข้อเท็จจริงคือทาให้ไม่เกิดปัญหาเชื้อราและกลิ่นอับ ที่เป็น
สาเหตุของโรคผิวหนัง ซึงทาให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิต จนอาจต้องสูญเสีย
่
ทรัพย์สินจานวนมากได้
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
1.เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการลดความชื้น
2.เพื่อที่จะสามารถเอาวัสดุธรรมชาติมาใช้ให้เกิดประโยชน์
ขอบเขตของการศึกษา
1.ศึกษาว่า ตัวลดความชื้นที่ทามาจากวัสดุธรรมชาติ สามารถลดความชื้นได้หรือไม่
2.ศึกษาว่า ตัวลดความชื้นที่ทามาจากวัสดุธรรมชาติอันไหนที่ลดความชื้นได้มากน้อยกว่ากัน
ตัวแปรที่ศึกษา
ตัวแปรต้น : ถ่านไม้บด ข้าวคั่ว เกลือเม็ด แกลบป่น
ตัวแปรตาม : ปริมาณความชื้นที่ลดลงของผ้าฝ้าย ผ้าไนลอน ผ้าลินิน
ตัวแปรควบคุม : 1.น้าหนักผ้า ขนาดของผ้า
2.น้าหนักของวัสดุที่นามาลดความชื้น
3.ขนาดของอุปกรณ์ที่ใช้
4.สถานนี่ทดลอง(ในกล่องที่มีฝาปิด)
สมมติฐานการศึกษาค้นคว้า
ตัวลดความชื้น(ถ่านไม้บด ข้าวคั่ว เกลือเม็ด แกลบป่น)สามารถลดความชื้นของผ้าฝ้าย , ผ้า
ไนลอน ,ผ้าลินินได้
สถานที่ : โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
บทที่ 2: เอกสารที่เกี่ยวข้อง
การหาปริมาณความชื้น (Measurement of Moisture Content)
การหาปริมาณความชื้น โดยหลักการแล้วสามารถทาโดยนาวัตถุดิบที่ต้องการหาความชื้น มาชั่ง
น้าหนักแล้วบันทึกค่าไว้เป็น มวลวัตถุเริ่มต้น จากนั้นจึงนามาอบในตู้อบที่อุณหภูมิ 80-100 ๐C
จนกระทังน้าหนักไม่เปลี่ยนแปลงจากนั้นบันทึกค่าไว้เป็น มวลวัตถุที่แห้ง แล้วนามาคานวณตาม
่
สูตร

% ความชื้น(ต่อน้าหนักเปียก) = ( มวลวัตถุเริ่มต้น - มวลวัตถุที่แห้ง)x100/ มวลวัตถุเริ่มต้น
% ความชื้น(ต่อน้าหนักแห้ง) = ( มวลวัตถุเริ่มต้น - มวลวัตถุที่แห้ง)x100 /มวลวัตถุที่แห้ง
ตัวอย่างการคานวณหา % ความชื้น (Percentage Moisture)
สมมิติว่ามีตัวอย่างดิน 100.0 กรัม หลังจากอบแห้งที่ 100 ๐C จนน้าหนักคงที่ ชั่งน้าหนักได้ 87.0
กรัม เปอร์เซ็นต์ความชื้น มีค่า เท่าไร (ให้ขึ้นกับน้าหนักเริ่มต้น)
น้าหนักของความชื้น = 100.0 - 87.0 = 13.0 กรัม
% ความชื้น (เปียก) =(100.0 - 87.0)*100/100 = 13%
% ความชื้นขึ้นกับน้าหนักแห้ง =(100.0 - 87.0)*87/100= 14.94%


แกลบ (อังกฤษ: Rice Husk) คือ เปลือกแข็งของเมล็ดข้าวที่ได้จากการสีข้าว เป็นส่วนที่เหลือใช้จาก
การผลิตข้าวสาร เมล็ดมีลักษณะเป็นรูปทรงรี เม็ดยาวสีเหลืองอมน้าตาล หรือเหลืองนวลแล้วแต่
ภูมิประเทศที่มีการปลูกข้าว แกลบประกอบด้วยเซลลูโลสเฮมิเซลลูโลส ลิกนิน และเถ้า และมีซิลิ
กาในเถ้ามาก แกลบไม่ละลายในน้า มีความคงตัวทางเคมี ทนทานต่อแรงกระทา จึงเป็นตัวดูดซับที่
ดีในการบาบัดน้าเสียที่มีโลหะหนัก การกาจัดโลหะหนักด้วยแกลบมีรายงานว่าสามารถใช้ได้
นอกจากการนาแกลบข้าวไปใช้เป็นเชือเพลิงต่างๆแล้ว ยังสามารถนาไปผสมกับวัสดุอื่นๆทาเป็น
้
วัสดุก่อสร้างแล้ว แกลบข้าวยังถูกนาไปผลิตเป็นขี้เถ้าแกลบ (Rice Husk Ash) เพื่อนาไปใช้
ประโยชน์ ส่วนประกอบหลักของขี้เถ้าแกลบ คือ ซิลิกา (SiO2) สามารถนาไปทาให้บริสุทธิ์ด้วย
กระบวนการทางเคมี และการเผาที่อุณหภูมิสูง ซิลกาในขี้เถ้าแกลบมีทั้งที่เป็น ซิลิกาผลึก
ิ
(Crystalline Silica) ซิลิกาผลึกสามารถแบ่งย่อยเป็นหลายชนิดตามความแตกต่างของรูปร่าง
ลักษณะผลึกและความหนาแน่นของซิลิกา รูปร่างของผลึกมีหลายแบบ เช่น สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม
หกเหลี่ยม สีเ่ หลี่ยมลูกบาศก์และเส้นยาว และซิลิกาอสัณฐาน (Amorphous Silica) ซึ่งเป็นซิลกาที่มี
ิ
รูปร่างไม่เป็นผลึก (Non-crystalline Silica)
ด้านการเกษตร
1.ใช้ผสมเพื่อปรับสภาพดิน
2.ใช้ทาปุ๋ยหมัก
3.ใช้กันความชื้นในคอกสัตว์
4.ใช้เป็นส่วนผสมการผลิตซีเมนต์
ด้านการก่อสร้าง
1.เป็นส่วนผสมในการทาอิฐ
2.เมื่อเผาเป็นถ่านแล้วเพิ่มสารเคมีบางประเภทใช้เป็นวัสดุถมในงานถนน
ด้านพลังงานและอุตสาหกรรม
1.ใช้เป็นเชื้อเพลิง
2.เผาเป็นเถ้าขาว จนมีคุณสมบัติเป็นด่าง ใช้เป็นส่วนผสมของสบู่ ยาสระผม และน้ายาล้างจานเป็นต้น
3.ใช้ทาแท่งถ่านอัดขี้เถ้าแกลบ เพื่อเป็นเชื้อเพลิง
4.ใช้ดูดซับก๊าซจากกระบวนการผลิตทางด้านอุตสาหกรรม
ชื่อภาษาอังกฤษ Roasted uncooked rice
ลักษณะทั่วไป ต้องเป็นผงละเอียดหรือหยาบแห้ง ไม่จับตัวเป็นก้อน
สี : ต้องมีสีที่ดีตามธรรมชาติของข้าวคั่ว อาจมีสีคล้าได้บ้างแต่ต้องไม่ไหม้เกรียม
กลินรส : ต้องมีกลิ่นรสที่ดีตามธรรมชาติของข้าวคั่ว ปราศจากกลิ่นรสอื่นที่ไม่พึงประสงค์ เช่น กลิ่น
่
อับ กลิ่นหืนรสขม
สิงแปลกปลอม : ต้องไม่พบสิ่งแปลกปลอมที่ไม่ใช่ส่วนประกอบที่ใช้ เช่น เส้นผม ดิน ทราย กรวด
่
ชิ้นส่วนหรือสิ่งปฏิกูลจากสัตว์
ความชื้น : ต้องไม่เกินร้อยละ 6 โดยน้าหนัก
ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการนาข้าวสารเจ้าหรือข้าวสารเหนียว หรือข้าวกล้องเจ้าหรือข้าวกล้อง
เหนียวที่แห้งและอยู่ในสภาพดี นาไปคั่วจนสุกกรอบ นาไปบด เมล็ดพืชทุกชนิดมีความสามารถ
ในการดูดและคายความชื้นในสภาพปกติเมล็ดที่มีความชื้นสูงจะคายน้าหรือความชื้นออกสู่
บรรยากาศ ส่วนเมล็ดที่มีความชื้นต่าหรือแห้งจัดจะดูดความชื้นจากอากาศได้ ถ้าหากเราอบเมล็ด
ให้แห้งมากเมล็ดนั้น ๆ ก็จะสามารถดูดความชื้นได้มาก เมื่อนามาอบหรือคั่วด้วยไฟ จะมี
ความชื้นเหลืออยู่น้อยมาก และเมื่อเย็นลงก็พร้อมที่จะดูดความชื้นได้อีก ข้าวสารที่คั่วเสร็จใหม่ ๆ
จึงถือว่าเป็นสารดูดความชื้นที่ดีเทียบเคียงได้กับซิลกาเจลและปูนเผาหากนาข้าวคั่วที่มีความชื้น
ิ
ต่าไปเก็บรวมกับเมล็ดพันธุ์ภายในภาชนะที่ปิดสนิท ข้าวคั่วจะดูดความชื้นจากอากาศภายใน
ภาชนะทาให้ความชื้นสัมพัทธ์ในภาชนะดังกล่าวลดลงหรืออากาศนั้นแห้งลง
เกลือ เป็นแร่ธาตุทางโภชนาการชนิดหนึ่ง โดยหลักแล้วคือโซเดียมคลอไรด์ (เกลือแกง) ซึง
่
สามารถสกัดได้จากสัตว์และพืช แต่เกลือจากพืชบางครั้งอาจเป็นพิษ เกลือบริโภคสามารถผลิต
ได้จากน้าทะเลหรือดินเค็ม เป็นเครื่องปรุงอาหารที่ให้รสเค็มที่มีมาตั้งแต่โบราณ สามารถใช้
ถนอมอาหาร
ลักษณะของเกลือโซเดียมคลอไรด์แบ่งเป็น 2 ชนิด
1.เกลือเม็ด ผลิตโดยชาวนาเกลือทะเลและผู้ผลิตเกลือสินเธาว์ด้วยวิธีตาก นิยมใช้ในอุตสาหกรรม
อาหาร เช่น การดองผักผลไม้ และไอศกรีม
2.เกลือป่น ผลิตโดยโรงงานเกลือป่นทีซื้อเกลือเม็ดจากชาวนาเกลือมาแปรรูปเป็นเกลือป่น และ
่
ผู้ผลิตเกลือสินเธาว์ด้วยวิธีการต้ม เกลือป่นที่ไม่ต้องผ่านการแปรรูปนิยมทาเป็นเกลือบริโภคตาม
บ้านเรือน
การใช้ประโยชน์
คุณสมบัติในการดูดซับกลิ่นและความชื้นของถ่าน เป็นที่รับรู้กันดีแล้วสาหรับผู้อ่าน แต่ใน
ต่างประเทศ อุตสาหกรรมผลิตเครื่องประดับจากถ่านเพื่อใช้ประโยชน์ในบ้านเรือนได้รับความ
นิยมมาก คนญี่ปุ่น เป็นตัวอย่างของผู้ทมองเห็นคุณประโยชน์ของถ่านอย่างชัดเจน
ี่
การใช้ถ่านเพื่อทาหน้าที่ลดกลิ่นในห้องปรับอากาศ มีประสิทธิภาพที่ดีมาก ในห้องแอร์
ที่ทางานหรือในรถ โดยเฉพาะที่ที่มีผู้สูบบุหรี่ หรืออาจจะมีเชื่อจุลินทรีย์ ควรนาถ่านไม้ไปวาง
ดักไว้ที่ช่องดูดอากาศกลับของเครื่องดูดอากาศ รูพรุนและจุลินทรีย์ที่เป็นประโยชน์ในถ่านไม้จะ
ดูดซับกลิ่นและเชื้อโรคต่าง ๆ เอาไว้ ช่วยลดกลิ่นไม่พึงประสงค์ได้อย่างดี หรือจะใช้ถ่านเพื่อ
การบาบัดน้าเสียจากครัวเรือน ก่อนปล่อยสู่ท่อระบายสาธารณะก็ยังเป็นผลดีต่อสิ่งแวดล้อมอีก
ด้วยใช้ดูดกลิ่นและความชื้นในบ้าน ในห้องปรับอากาศ ในรถยนต์ ใส่ในถังข้าวสารเพื่อดูด
ความชื้นจากข้าว ใช้ดูดความชื้นใต้ถุนบ้าน
บทที่ 3: วัสดุอุปกรณ์และวิธีการทดลอง
สถานที่ทาการทดลอง
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัด เชียงใหม่
อุปกรณ์และวัสดุที่ใช้ในการทดลอง มีดังนี้
การทดลองที่ 1 ศึกษาการลดลงของความชื้นผ้าไนลอน
1.ผ้าไนลอน ขนาด 40x40 เซนติเมตร 4 ผืน
2.ถุงผ้าขาวบาง
4 ถุง
3.ข้าวคั่วป่น
50 กรัม
4.เกลือเม็ด
50 กรัม
5.แกลบป่น
50 กรัม
6.ถ่านป่น
50 กรัม
7.เครื่องชังน้าหนัก
่
1 เครื่อง
8.กล่องมีฝาปิด
4 กล่อง
การทดลองที่ 2 ศึกษาการลดลงของความชื้นผ้า
ฝ้าย
1.ผ้าฝ้าย ขนาด 40x40 เซนติเมตร 4 ผืน
2.ถุงผ้าขาวบาง
4 ถุง
3.ข้าวคั่วป่น
50 กรัม
4.เกลือเม็ด
50 กรัม
5.แกลบป่น
50 กรัม
6.ถ่านป่น
50 กรัม
7.เครื่องชังน้าหนัก
่
1 เครื่อง
8.กล่องมีฝาปิด
4 กล่อง

การทดลองที่ 3 ศึกษาการลดลงของความชื้นผ้า
ลินิน
1.ผ้าลินิน ขนาด 40x40 เซนติเมตร
4 ผืน
2.ถุงผ้าขาวบาง
4 ถุง
3.ข้าวคั่วป่น
50 กรัม
4.เกลือเม็ด
50 กรัม
5.แกลบป่น
50 กรัม
6.ถ่านป่น
50 กรัม
7.เครื่องชังน้าหนัก
่
1 เครื่อง
8.กล่องมีฝาปิด
4 กล่อง
วิธีการทดลอง
การศึกษาทดลองที่ 1 ศึกษาการลดลงของความชื้นไนลอน
1.นาผ้าไนลอนที่มีความชื้น น้าหนักเท่ากัน มาวางไว้ในกล่องที่เตรียมไว้
2.นาข้าวคั่วป่น ข้าวคั่วป่น แกลบป่น ถ่านป่น ใส่ในถุงผ้าขาวบาง โดยน้าหนักเท่ากันจากนั้นนาไป
ใส่กับผ้าไนลอนที่เตรียมไว้ในกล่อง แล้วปิดฝา
3.จับเวลาการทดลอง 1 ชั่วโมง
4.นาไปชั่งน้าหนักเพื่อหาน้าหนักที่เปลี่ยนไป สังเกตและบันทึกผล
การศึกษาทดลองที่ 2 ศึกษาการลดลงของความชื้นผ้าฝ้าย
1.นาผ้าผ้าฝ้ายที่มีความชื้นน้าหนักเท่ากันมาวางไว้ในกล่องที่เตรียมไว้
2.นาข้าวคั่วป่น ข้าวคั่วป่น แกลบป่น ถ่านป่น ใส่ในถุงผ้าขาวบาง โดยน้าหนักเท่ากันจากนั้นนาไป
ใส่กับผ้าไนลอนที่เตรียมไว้ในกล่อง แล้วปิดฝา
3.จับเวลาการทดลอง 1 ชั่วโมง
4.นาไปชั่งน้าหนักเพื่อหาน้าหนักที่เปลี่ยนไป สังเกตและบันทึกผล
การศึกษาทดลองที่ 3 ศึกษาการลดลงของความชื้นผ้าลินิน
1.นาผ้าผ้าลินินที่มีความชื้นน้าหนักเท่ากันมาวางไว้ในกล่องที่เตรียมไว้
2.นาข้าวคั่วป่น ข้าวคั่วป่น แกลบป่น ถ่านป่น ใส่ในถุงผ้าขาวบาง โดยน้าหนักเท่ากันจากนั้นนาไป
ใส่กับผ้าไนลอนที่เตรียมไว้ในกล่อง แล้วปิดฝา
3.จับเวลาการทดลอง 1 ชั่วโมง
4.นาไปชั่งน้าหนักเพื่อหาน้าหนักที่เปลี่ยนไป สังเกตและบันทึกผล
อุปกรณ์และวัสดุที่ใช้ในการศึกษาทดลองอื่นๆ
1.กล้องถ่านรูป
2.สมุดจดบันทึก
3.นาฬิกาจับเวลา
บทที่ 4: ผลการทดลอง
บทที่ 5: อภิปรายและสรุปผลการทดลอง
อภิปรายผลการทดลอง
ในปัจจุบันเราประสบปัญหากับผ้าอับชื้นในช่วงที่อากาศมีความชื้นจนเป็นสาเหตุทาให้
เกิดเชื้อราและกลิ่นอับ หากเรานาเสื้อผ้าที่มีความชื้นมาสวมใส่อาจเกิดโรคผิวหนังจนเป็นผลเสีย
ต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิต กลุ่มของข้าพเจ้าจึงเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ
4 ชนิดได้แก่ ข้าวคั่วป่น เกลือเม็ด แกลบป่นและถ่านป่น จากการทดลองข้างต้นจะเห็นว่า ในผ้า
ฝ้ายใช้เกลือเม็ดลดความชื้นได้ดีที่สุด ผ้าไนลอนใช้ข้าคั่วและเกลือลดความชื้นได้ดี และในผ้า
ลินินใช้แกลบลดความชื้นได้ดีที่สุด
 สรุปผลการทดลอง

จากการทดลองผ้าที่ไม่ใช้วัสดุดูดความชื้นจะทาให้ความชื้นลดลงน้อยกว่าผ้าที่ใช้วัสดุลด
ความชื้น ซึ่งผ้าต่างชนิดมีผลต่อการดูดความชื้นของสารต่างชนิดกัน โดยในผ้าไนลอนผลการ
ทดลองข้าวคั่วและเกลือสามารถลดความชื้นได้มากที่สุด ในผ้าผ้าย เกลือเม็ดสามารถลดความชื้น
ได้มากที่สุด และในผ้าลินิน แกลบสมารถลดความชื้นได้มากที่สุด เพราะฉะนั้นการจะใช้วัสดุที่
ลดความชื้นควรเลือกให้เหมาะสมตามเนื้อผ้าเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการใช้งาน
ประโยชน์ที่ได้จากโครงงาน
1.ได้ทราบว่าวัสดุจากธรรมชาติใดที่สามารถลดความชื้นได้
2.สามารถนาผลการทดลองไปใช้ได้จริง
ข้อเสนอแนะ
1.กล่องควรมีขนาดใหญ่กว่านี้
2.ระยะเวลาในการจับเวลาควรนานกว่านี้
3.ชนิดผ้าควรมากกว่านี้
ภาคผนวก

วัดความยาวผ้า

ตัดผ้าตามขนาดที่วัดไว้

กล่องทดลอง

ถุงใส่วัสดุลดความชื้น
เกลือเม็ด

แกลบป่น

ข้าวคั่วป่น

ถ่านป่น
บดวัสดุลดความชื้นชนิดต่างๆ
บรรณนานุกรม









1.http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0
%B8%AD
2.http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%9A
3.http://charcoal.snmcenter.com/charcoalthai/charcoal_fun2.php
4.http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/3727/%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B
8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%84%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%A7
5. http://library.uru.ac.th/webdb/images/wn37.htm
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ

More Related Content

What's hot

ม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซีม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซีJanejira Meezong
 
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงOui Nuchanart
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3Mew Meww
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกThanyamon Chat.
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58renusaowiang
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทJiraporn Chaimongkol
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงพัน พัน
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลGuntima NaLove
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102พัน พัน
 
การคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชการคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชdnavaroj
 
ใบงาน วิชาเพศศึกษา
ใบงาน วิชาเพศศึกษาใบงาน วิชาเพศศึกษา
ใบงาน วิชาเพศศึกษาTepasoon Songnaa
 
การจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
การจัดบรรยากาศในชั้นเรียนการจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
การจัดบรรยากาศในชั้นเรียนaeimzaza aeimzaza
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชลธิกาญจน์ จินาจันทร์
 
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551Weerachat Martluplao
 
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงการค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงvanida juntapoon
 

What's hot (20)

ม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซีม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
 
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลง
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผล
 
Punmanee study 4
Punmanee study 4Punmanee study 4
Punmanee study 4
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
 
การคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชการคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืช
 
01เอกสารสอนเสริม01 16
01เอกสารสอนเสริม01 1601เอกสารสอนเสริม01 16
01เอกสารสอนเสริม01 16
 
ใบงาน วิชาเพศศึกษา
ใบงาน วิชาเพศศึกษาใบงาน วิชาเพศศึกษา
ใบงาน วิชาเพศศึกษา
 
การจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
การจัดบรรยากาศในชั้นเรียนการจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
การจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
 
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
 
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงการค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 

Similar to การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ

การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติการเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติflimgold
 
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติการเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติflimgold
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่npapak74
 
ใบความรู้เรื่องโครงงาน
ใบความรู้เรื่องโครงงานใบความรู้เรื่องโครงงาน
ใบความรู้เรื่องโครงงานSaimai Jitlang
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1Noon Pattira
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติPhakawat Owat
 
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผงตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผงkasetpcc
 
โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)Onin Goh
 
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีสมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีPakornkrits
 
ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64Oui Nuchanart
 
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่npapak74
 
ข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-student
ข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-studentข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-student
ข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-studentKo Kung
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานPatpeps
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนPew Juthiporn
 
โครงการห้องเรียน Eisปี54
โครงการห้องเรียน Eisปี54โครงการห้องเรียน Eisปี54
โครงการห้องเรียน Eisปี54Lao-puphan Pipatsak
 

Similar to การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ (20)

การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติการเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ
 
184 bb10
184 bb10184 bb10
184 bb10
 
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติการเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
 
ใบความรู้เรื่องโครงงาน
ใบความรู้เรื่องโครงงานใบความรู้เรื่องโครงงาน
ใบความรู้เรื่องโครงงาน
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
 
โครงงาน54แหนม
โครงงาน54แหนมโครงงาน54แหนม
โครงงาน54แหนม
 
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผงตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
 
โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)
 
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีสมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
 
W200753 53
W200753 53W200753 53
W200753 53
 
ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64
 
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
 
ข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-student
ข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-studentข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-student
ข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-student
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
 
Photosynthesis process
Photosynthesis processPhotosynthesis process
Photosynthesis process
 
โครงการห้องเรียน Eisปี54
โครงการห้องเรียน Eisปี54โครงการห้องเรียน Eisปี54
โครงการห้องเรียน Eisปี54
 
Ans n1-w1-1
Ans n1-w1-1Ans n1-w1-1
Ans n1-w1-1
 

More from flimgold

ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O-net ปี53
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O-net ปี53ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O-net ปี53
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O-net ปี53flimgold
 
O-net การงานอาชีพและเทคโนโลยี
O-net การงานอาชีพและเทคโนโลยีO-net การงานอาชีพและเทคโนโลยี
O-net การงานอาชีพและเทคโนโลยีflimgold
 
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติการเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติflimgold
 
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติการเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติflimgold
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์flimgold
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์flimgold
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทflimgold
 
ข้อสอบสังคม+เฉลย By:http://blog.eduzones.com
ข้อสอบสังคม+เฉลย By:http://blog.eduzones.comข้อสอบสังคม+เฉลย By:http://blog.eduzones.com
ข้อสอบสังคม+เฉลย By:http://blog.eduzones.comflimgold
 
ข้อสอบภาษาไทย+เฉลย By:http://blog.eduzones.com
ข้อสอบภาษาไทย+เฉลย By:http://blog.eduzones.comข้อสอบภาษาไทย+เฉลย By:http://blog.eduzones.com
ข้อสอบภาษาไทย+เฉลย By:http://blog.eduzones.comflimgold
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnflimgold
 
ข้อสอบเคมี+เฉลย By:http://blog.eduzones.com
ข้อสอบเคมี+เฉลย By:http://blog.eduzones.comข้อสอบเคมี+เฉลย By:http://blog.eduzones.com
ข้อสอบเคมี+เฉลย By:http://blog.eduzones.comflimgold
 
ข้อสอบอังกฤษ+เฉลย By:eduzones
ข้อสอบอังกฤษ+เฉลย By:eduzonesข้อสอบอังกฤษ+เฉลย By:eduzones
ข้อสอบอังกฤษ+เฉลย By:eduzonesflimgold
 
ข้อสอบฟิสิกส์+เฉลย By:eduzones
ข้อสอบฟิสิกส์+เฉลย By:eduzonesข้อสอบฟิสิกส์+เฉลย By:eduzones
ข้อสอบฟิสิกส์+เฉลย By:eduzonesflimgold
 
เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์ By:eduzones
เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์ By:eduzonesเฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์ By:eduzones
เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์ By:eduzonesflimgold
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ By:eduzones
ข้อสอบคณิตศาสตร์ By:eduzonesข้อสอบคณิตศาสตร์ By:eduzones
ข้อสอบคณิตศาสตร์ By:eduzonesflimgold
 
ใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเองใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเองflimgold
 
ใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเองใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเองflimgold
 

More from flimgold (18)

ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O-net ปี53
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O-net ปี53ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O-net ปี53
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O-net ปี53
 
O-net การงานอาชีพและเทคโนโลยี
O-net การงานอาชีพและเทคโนโลยีO-net การงานอาชีพและเทคโนโลยี
O-net การงานอาชีพและเทคโนโลยี
 
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติการเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ
 
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติการเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ข้อสอบสังคม+เฉลย By:http://blog.eduzones.com
ข้อสอบสังคม+เฉลย By:http://blog.eduzones.comข้อสอบสังคม+เฉลย By:http://blog.eduzones.com
ข้อสอบสังคม+เฉลย By:http://blog.eduzones.com
 
ข้อสอบภาษาไทย+เฉลย By:http://blog.eduzones.com
ข้อสอบภาษาไทย+เฉลย By:http://blog.eduzones.comข้อสอบภาษาไทย+เฉลย By:http://blog.eduzones.com
ข้อสอบภาษาไทย+เฉลย By:http://blog.eduzones.com
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
 
ข้อสอบเคมี+เฉลย By:http://blog.eduzones.com
ข้อสอบเคมี+เฉลย By:http://blog.eduzones.comข้อสอบเคมี+เฉลย By:http://blog.eduzones.com
ข้อสอบเคมี+เฉลย By:http://blog.eduzones.com
 
ข้อสอบอังกฤษ+เฉลย By:eduzones
ข้อสอบอังกฤษ+เฉลย By:eduzonesข้อสอบอังกฤษ+เฉลย By:eduzones
ข้อสอบอังกฤษ+เฉลย By:eduzones
 
ข้อสอบฟิสิกส์+เฉลย By:eduzones
ข้อสอบฟิสิกส์+เฉลย By:eduzonesข้อสอบฟิสิกส์+เฉลย By:eduzones
ข้อสอบฟิสิกส์+เฉลย By:eduzones
 
เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์ By:eduzones
เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์ By:eduzonesเฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์ By:eduzones
เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์ By:eduzones
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ By:eduzones
ข้อสอบคณิตศาสตร์ By:eduzonesข้อสอบคณิตศาสตร์ By:eduzones
ข้อสอบคณิตศาสตร์ By:eduzones
 
ใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเองใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเอง
 
ใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเองใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเอง
 

การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ