SlideShare a Scribd company logo
1 of 151
Download to read offline
๒


                                                   ส
วิธีสวด .............................................................................................................๔
คาอธิษฐานอันเชิญเทวดาและขอพรพระ ........................................................๕
ชุมนุมเทวดา....................................................................................................๖
บูชาพระรัตนตรัย ...........................................................................................๗
กราบพระรัตนตรัย.......................................................................................... ๘
คาขอขมาพระรัตนตรัย .................................................................................. ๙
นมัสการพระรัตนตรัย..................................................................................... ๙
ไตรสรณคมน์ ............................................................................................... ๑๐
ถวายพรพระ ................................................................................................. ๑๑
พุทธชัยมงคลคาถา.......................................................................................๑๓
มหาการุณิโก............................................................................................... ๑๗
อิติปิโส เท่าอายุ........................................................................................... ๑๙
แผ่เมตตาแก่ตนเอง ...................................................................................... ๑๙
แผ่เมตตาให้สรรพสัตว์ ................................................................................. ๒๐
แผ่ส่วนกุศล.................................................................................................. ๒๐
กรวดน้าให้เจ้ากรรมนายเวร.........................................................................๒๒
คาอธิษฐานอโหสิกรรม.................................................................................๒๒
คาขอขมารวม...............................................................................................๒๓
คาอธิษฐานขอพร .........................................................................................๒๔
คาถาหลวงพ่อคูณ ........................................................................................๒๕
คาถาบูชาลูกแก้วสารพัดนึก หลวงปูฤาษีลิงดา ............................................๒๕
                                                     ่
คาถาบูชาองค์จตุคามรามเทพ ......................................................................๒๖
คาถาเงินล้าน (นาสังสีโม)............................................................................ ๒๗
คาถามหาลาภ .............................................................................................. ๒๗
คาถาค้าขายดี ..............................................................................................๒๘
๓

สาลิกาลิ้นทอง ..............................................................................................๒๘
คาถาชินบัญชร ........................................................................................... ๒๙
ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก ................................................................................๓๖
ธัมมจักกัปปวัตตนสุตตปาฐะ........................................................................ ๕๙
เขมาเขมสรณทีปิกคาถา.............................................................................. ๗๑
ธัมมคารวาทิคาถา ....................................................................................... ๗๒
โอวาทปาติโมกขคาถา................................................................................. ๗๔
ติลักขณาทิคาถา ......................................................................................... ๗๖
บทพิจารณาสังขาร...................................................................................... ๗๘
ภารสุตตคาถา............................................................................................... ๘๐
ภัทเทกรัตตคาถา ..........................................................................................๘๑
อริยธนคาถา .................................................................................................๘๒
อริยมรรคมีองค์ ๘.........................................................................................๘๓
บุคคล ๔ จาพวก .......................................................................................... ๙๑
ดูคนให้ดูที่พฤติกรรม.................................................................................. ๙๒
ปราภวสุตตปาฐะ.......................................................................................... ๙๓
คาอาราธนาศีล ๕ ........................................................................................ ๙๖
คาสมาทานศีล ๕ .........................................................................................๙๗
รัตนสูตร ...................................................................................................... ๙๘
เมตตาสูตร(อานิสงส์การเจริญเมตตา) .......................................................๑๐๗
ธชัคคสูตร ................................................................................................. ๑๑๑
อังคุลิมาลสูตร ........................................................................................... ๑๒๐
ขันธปริตตสูตร .......................................................................................... ๑๓๔
โมรปริตสูตร ............................................................................................. ๑๓๗
อาฏานาฏิยสูตร .........................................................................................๑๓๙
โพชฌงคปริตตสูตร................................................................................... ๑๔๘
๔
๕




(   ๓   )
๖




สะรัชชัง สะเสนัง สะพันธุง นะรินทัง ปะริตตังนุภาโว สะทา รักขะตูติ
ผะริตวานะ เมตตัง สะเมตตา ภะทันตา อะวิกขิตตะจิตตา ปะริตตัง ภะณันตุ
ท่านผู้เจริญทั้งหลาย ผู้มีเมตตา จงแผ่เมตตาจิต ด้วยคิดว่า
ขออานุภาพพระปริตร จงรักษาพระราชาผู้เป็นเจ้าแห่งนรชน
พร้อมด้วยราชสมบัติ พร้อมด้วยราชวงศ์ พร้อมด้วยเสนามาตย์
อย่ามีจิตฟุ้งซ่าน ตั้งใจสวดพระปริตร

สัคเค กาเม จะ รูเป คิริสขะระตะเฏ จันตะลิกเข วิมาเน
                        ิ
ขอเชิญเหล่าเทพเจ้าซึ่งสถิตย์อยู่ในสวรรค์ชนกามภพก็ดี รูปภพก็ดี
                                          ั้
และภุมมเทวดา ซึงสถิตย์อยู่ในวิมานหรือยอดเขาและหุบผา ในอากาศก็ดี
                 ่

ทีเป รัฏเฐ จะ คาเม ตะรุวะนะคะหะเน เคหะวัตถุมหิ เขตเต
ในเกาะก็ดี ในแว่นแคว้นก็ดี ในบ้านก็ดี ในต้นพฤกษาและป่าชัฏก็ดี ในเรือน
ก็ดี ในที่ไร่นาก็ดี

ภุมมา จายันตุ เทวา ชะละถะละวิสะเม ยักขะคันธัพพะนาคา
เทพยดาทั้งหลาย ซึ่งสถิตย์ตามภาคพื้นดิน รวมทั้งยักษ์ คนธรรพ์และพยานาค
ซึ่งสถิตย์อยู่ในน้า บนบก และที่อันไม่ราบเรียบ ก็ดี

ติฏฐันตา สันติเก ยัง มุนวะระวะจะนัง สาธะโว เม สุณนตุ
                          ิ                       ั
ซึ่งอยู่ในที่ใกล้เคียง จงมาประชุมพร้อมกันในที่นี้
คาใดเป็นของพระมุนีผู้ประเสริฐ ท่านสาธุชนทั้งหลาย จงสดับคาข้าพเจ้านั้น

ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา
ดูก่อน ท่านผู้เจริญทั้งหลาย กาลนี้เป็นกาลฟังธรรม
๗

ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา
ดูก่อน ท่านผู้เจริญทั้งหลาย กาลนี้เป็นกาลฟังธรรม

ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา
ดูก่อน ท่านผู้เจริญทั้งหลาย กาลนี้เป็นกาลฟังธรรม
๘
๙




๓
๑๐




๒




๓
๑๑


ถ



(
๑๒




         ๔
๘   ๘)
๑๓


     ถ

๑.




     ๑๐




๒.
๑๔


๓.




๔.




     ๓
๑๕


๕.




๖.
๑๖




๗.




๘.
๑๗




๓




    ๘
๑๘
๑๙




    ( -
    -
-
          -
-
๒๐
๒๑
๒๒
๒๓
๒๔




๓๐
     ๔
๒๕




ถ



ถ

    ๓



        "   "
๒๖


ถ

    ๓
๒๗


ถ

    ๓               ๙




                    (




        (



ถ           ภ

                ๓       ๓
๒๘


ถ

        ๓   ๗




    ๓
๒๙


    ถ


        ๓




๒




            ๒๘
๓๐




๓.




๔
๓๑


๕




    ๒

๖




๗
๓๒


๘




    ๕



๙




        (   )
๓๓


๐




๒
๓๔


๓




๔




๕
๓๕
๓๖




    ๐๐


๗
๓๗




     ๓




๒.




๓.
๓๘




.
๓๙


๒




    ๒.
๔๐




๓




    ๓.




๔
๔๑




    ๔.




๕
๔๒




    ๕.




๖
๔๓




    ๖.




๗
๔๔


         ๗.




๘




    ๘.
๔๕




๙




    ๙.




๐
๔๖




๐.




 .
๔๗


๒
๔๘


    ๒.




๓




    ๓.
๔๙


๔
๕๐




    ๔.




๕




    ๕.
๕๑


๖




    ๖.




๗




    ๗.
๕๒


๘




    ๘.




๙
๕๓




     ๙.




๒๐




     ๒๐.
๕๔


๒




     ๒ .



๒๒




     ๒๒.
๕๕


๒๓




     ๒๓.




๒๔




 ๒๔.
๕๖


๒๕




 ๒๕.




๒๖




 ๒๖.
๕๗


๒๗




     ๒๗.
๕๘
๕๙




- -
      ๒
๖๐
๖๑




๒
๖๒




๘


    -
๖๓




.
๖๔




๕
๖๕




-
๖๖
๖๗
๖๘
๖๙




                  ๓
๑๒        ๔




                      ๓
     ๑๒       ๔
๗๐
๗๑


        ถ




    ๔




๘
๗๒




ถ
๗๓




๒
๗๔


    ถ




๓



        ;
๗๕




๖
๗๖


ถ
๗๗
๗๘
๗๙
๘๐




ภ       ถ


    ๕
๘๑


ภ   ถ
๘๒


ถ
๘๓


๘


    ๘


-
๘๔




๑.




๒.
๘๕




๓.




๔.
๘๖




๕.




๖.
๘๗
๘๘


๗.




     ;
๘๙




๘.
๙๐
๙๑




๔
๙๒
๙๓


     ภ




๑.




๒.




๓.
๙๔


๔.




๕.




๖.




๗.




๘.
๙๕


๙.




๑๐.




๑๑.
๙๖


    ๕

-



        -



        -
๙๗


๕
๙๘


รัตนสูตร

(ว่าด้วยรัตนทั้ง   3   คือพระพุทธ   พระธรรมและพระสงฆ์ สวดเพือปัดเป่า
                                                            ่
อุปัทวันตรายให้หมดไป)

สมัยพุทธกาล เมือครั้งเกิดอหิวาตกโรค ระบาดที่เมืองเวสาลี ในช่วงเวลานั้น
                 ่
เกิดภัยแล้ง ข้าวกล้าในไร่นาเกิดความเสียหายหนัก ผูคนอดอยาก และล้มตาย
                                                 ้
เป็นจานวนมาก ชาวเมืองเวสาลีนาซากศพเหล่านั้นไปทิ้งไว้นอกเมือง ใน
พระไตรปิฎกกล่าวว่า

“เพราะกลิ่นซากศพของคนที่ตายทั้งหลาย พวกอมนุษย์ทั้งหลายก็เข้าเมือง ต่อ
แต่นนคนก็ตายมากต่อมาก เพราะความปฏิกูลนั้น อหิวาตกโรคย่อมเกิดขึนแก่
    ั้                                                        ้
สัตว์ทั้งหลาย”

ชาวเมืองเวสาลีช่วยกันค้นหาสาเหตุของทุพภิกขภัยครังนี้
                                                   ้        ได้กราบทูล
พระราชาว่า คงเป็นเพราะพระองค์ไม่ตั้งอยู่ในธรรมกระมัง จึงเกิดทุกข์เข็ญ
เช่นนี้ พระราชารับสั่งให้ช่วยตรวจสอบว่า พระองค์ไม่ตั้งอยู่ในธรรมข้อใด
ประชาชนก็ช่วยกันพิจารณาตรวจสอบแต่ไม่พบข้อบกพร่องแต่อย่างใด
ต่อมามีบางพวกเสนอว่า บัดนี้พระผู้มีพระภาคเจ้าได้บงเกิดขึ้นแล้ว พระองค์
                                                 ั
เป็นผู้มีฤทธิ์มาก มีอานุภาพมาก ขอได้โปรดกราบบังคมทูลเชิญเสด็จพระพุทธ
องค์มาโปรดชาวเมืองเวสาลีด้วยเถิด

ในขณะนั้นพระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่เมืองราชคฤห์ และพระเจ้าพิมพิสารทรง
อุปัฏฐากพระพุทธองค์อยู่ เมื่อพระพุทธองค์ทรงทราบว่าชาวเมืองเวสาลีได้ทูล
อาราธนาพระองค์เสด็จดับทุกข์ให้ จึงทรงรับด้วยทรงทราบชัดว่า
๙๙


"เมือเราแสดงรัตนสูตรในเมืองเวสาลีแล้ว
    ่                                       อารักขาจะแผ่ไปตลอดแสนโกฏิ
จักรวาล ในเวลาจบพระสูตร ธรรมาภิสมัยจักมีแก่สตว์แปดหมืนสีพน"
                                            ั        ่ ่ ั

เมื่อพระพุทธองค์เสด็จไปถึงเมืองเวสาลี เกิดฝนตกหนัก เรียกว่า "ฝนโบกขร
พรรษ" เป็นฝนพิเศษ เพราะผู้ใดต้องการจะเปียกฝน ก็เปียก ผู้ใดไม่ต้องการ
เปียก ก็จะไม่เปียก ฝนตกหนักจนเกิดน้าท่วมถึงเข่า ถึงเอว ถึงคอ แล้วน้าพัด
พาเอาซากศพเหล่านั้นลงไปในแม่นาคงคาจนหมดสิน
                                  ้            ้        แผ่นดินก็สะอาด
บริสุทธิ์ขึ้น

ต่อมาพระผู้มีพระภาคเจ้าประทับยืนอยู่ที่ประตูพระนคร ตรัสเรียกพระอานนท์
มาแล้วตรัสสอน "รัตนสูตร" แก่พระอานนท์ แล้วโปรดให้ทาน้าพระพุทธมนต์
ประพรมไปทั่วเมือง ในพระไตรปิฎกกล่าวไว้ว่า

"เพื่อกาจัดอุปัทวะเหล่านั้น ที่ประตูพระนครเวสาลี สวดอยู่เพื่อป้องกัน ใช้
บาตรของพระผู้มีพระภาคเจ้าตักน้า เที่ยวประพรมอยู่ทั่วพระนคร ก็เมื่อพระ
เถระกล่าวคาว่า "ยังกิญจิ" เท่านั้น พวกอมนุษย์ทั้งหลายที่อาศัยกองหยากเยื่อ
และประเทศแห่งฝาเรือนเป็นต้น ซึงยังไม่หนีไปในกาลก่อน ก็พากันหนีไปทาง
                                  ่
ประตูทั้ง ๔ ....เมื่อพวกอมนุษย์ไปกันแล้ว โรคของมนุษย์ทั้งหลายก็สงบ" ดังนี้


ขัดระตะนะสุตตัง
ราชะโต วา โจระโต วา มะนุสสะโต วา อะมะนุสสะโต วา อัคคิโต วา อุทะกะโต
วา ปิสาจะโต วา ขาณุกะโต วา กัณฏะกะโต วา นักขัตตะโต วา ชะนะปะทะโร
คะโต วา อะสัทธัมมะโต วา อะสันทิฏฐิโต วา อะสัปปุรสะโต วา จัณฑะหัตถิ
                                                ิ
อัสสะมิคะโคณะกุกกุระอะหิวจฉิกะมะนิสปปะทีปอจฉะตะ รัจฉะสุกะระมะหิสะ
                         ิ         ั     ิ ั
ยักขะรักขะสาทีหิ นานาภะยะโต วา นานาโรคะโต วา นานาอุปททะวะโต วา
                                                        ั
อารักขังคัณหันตุ ฯ
๑๐๐

ขอเหล่าเทพดาจงคุ้มครองให้พนจากราชภัย โจรภัย มนุสสภัย อมนุสสภัย
                            ้
อัคคีภัย อุทกภัย ภัยจากปีศาจ ภัยจากเคราะห์ร้ายยามร้าย จากโรคภัยไข้เจ็บ
จากอสัทธรรม จากมิจฉา ทิฏฐิ คือความเห็นผิด จากคนชัว จากภัยต่างๆ อัน
                                                     ่
เกิดแต่สตว์ร้ายนานาชนิด และจากอมนุษย์ มียักษ์และนางผีเสื้อน้า เป็นต้น
         ั
จากโรคต่างๆ จากอุปัททวะต่างๆ

ปะณิธานะโต ปัฏฐายะ ตะถาคะตัสสะ ทะสะ ปาระมิโย ทะสะ อุปะปาระมิโย ทะ
สะ ปะระมัตถะปาระมิโย ปัญจะ มะหาปะริจจาเค ติสโส จะริยา ปัจฉิมพภะเว ั
คัพภาวักกันติง ชาติง อะภินกขะมะนัง ปะธานะจะริยง โพธิปลลังเก มาระวิชะ
                          ิ                      ั      ั
ยัง สัพพัญญุตะญาณัปปะฏิเวธัง นะวะ โลกุตตะระธัมเมติ สัพเพปิเม พุทธะ
คุเณ อาวัชชิตวา เวสาลิยา ตีสุ ปาการันตะเรสุ ติยามะรัตติง ปะริตตัง กะโรน
โต อายัสมา อานันทัตเถโร วิยะ การุญญะจิตตัง อุปฏฐะเปตวา ฯ
                                               ั

เราทั้งหลาย จงตังจิตอันประกอบไปด้วยความกรุณาในสัตว์ทั้งหลาย ดังพระ
                ้
อานนทเถระผู้มีอายุ นึกถึงพระพุทธคุณทั้งหลายแม้ทั้งปวงของพระตถาคตเจ้า
จาเดิมแต่ปรารถนาพุทธภูมิมา คือบารมี ๑๐ อุปบารมี ๑๐ ปรมัตถบารมี ๑๐
มหาบริจาค ๕ จริยา ๓ เสด็จลงสู่คพโภทร ในภพมีในที่สุด ประสูติ เสด็จออก
                               ั
อภิเนษกรมณ์ บาเพ็ญทุกขกิริยาชนะมาร ตรัสรู้พระสัพพัญญุตญาณ ณ
โพธิบัลลังก์นวโลกุตรธรรม ๙ ดังนี้ แล้วกระทาพระปริตรตลอดราตรีทั้ง ๓
ยาม ในภายในกาแพง ๓ ชัน ในเมืองเวสาลี
                         ้

โกฏิสะตะสะหัสเสสุ จักกะวาเฬสุ เทวะตา ยัสสาณัมปะฏิคคัณหันติ ยัญจะ เว
สาลิยมปุเร
      ั
โรคามะนุสสะทุพภิกขะสัมภูตนติวธมภะยัง
                          ั    ิ ั       ขิปปะมันตะระธาเปสิ   ปะริต
ตันตัมภะณามะ เห ฯ
๑๐๑

เทวดาทั้งหลายในแสนโกฏิจักรวาล ย่อมรับเอาแม้ซึ่งอาชญาแห่งพระปริตร
อันใด อนึ่ง พระปริตรอันใด ยังภัย ๓ ประการอันเกิดจากโรค อมนุษย์ และข้าว
แพงในเมืองเวสาลี ให้อันตรธานไปโดยเร็วพลัน เราทั้งหลาย จงสวดพระปริตร
อันนั้นเทอญ.

บทระตะนะสุตตัง
ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ ภุมมานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเข
สัพเพ วะ ภูตา สุมะนา ภะวันตุ อะโถปิ สักกัจจะ สุณนตุ ภาสิตง
                                                  ั        ั
ตัสมา หิ ภูตา นิสาเมถะ สัพเพ เมตตัง กะโรถะ มานุสยา ปะชายะ
                                                    ิ
ทิวา จะ รัตโต จะ หะรันติ เย พะลิง ตัสมา หิ เน รักขะถะ อัปปะมัตตา ฯ

หมู่ภูตประจาถิ่นเหล่าใด ประชุมกันแล้วในนครนี้ก็ดี เหล่าใดประชุมกันแล้ว
ในอากาศก็ดี ขอหมู่ภูตทั้งปวงจงเป็นผู้ดีใจและจงฟังภาษิตโดยเคารพ เพราะ
เหตุนั้นแล ท่านภูตทั้งปวงจงตั้งใจฟัง กระทาไมตรีจิต ในหมู่มนุษยชาติ
ประชุมชนมนุษย์เหล่าใด ย่อมสังเวยทั้งกลางวันกลางคืน เพราะเหตุนั้นแล
ท่านทั้งหลาย จงเป็นผู้ไม่ประมาท รักษาหมู่มนุษย์เหล่านั้น

ยังกิญจิ วิตตัง อิธะ วา หุรง วา สัคเคสุ วา ยัง ระตะนัง ปะณีตง
                           ั                                ั
นะ โน สะมัง อัตถิ ตะถาคะเตนะ อิทมปิ พุทเธ ระตะนัง ปะณีตง
                                ั                      ั
เอเตนะ สัจเจนะ สุวตถิ โหตุ ฯ
                  ั

ทรัพย์เครื่องปลื้มใจ อันใดอันหนึง ในโลกนีหรือโลกอืน หรือรัตนะอันใด อัน
                                ่        ้        ่
ประณีตในสวรรค์ รัตนะอันนันเสมอด้วยพระตถาคตเจ้าไม่มีเลย แม้อันนี้ เป็น
                             ้
รัตนะ อันประณีตในพระพุทธเจ้า ด้วยคาสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมี
๑๐๒

ขะยัง วิราคัง อะมะตัง ปะณีตง ยะทัชฌะคา สักยะมุนี สะมาหิโต
                           ั
นะ เตนะ ธัมเมนะ สะมัตถิ กิญจิ อิทมปิ ธัมเม ระตะนัง ปะณีตง
                                 ั                      ั
เอเตนะ สัจเจนะ สุวตถิ โหตุ ฯ
                  ั

พระศากยมุนเจ้า มีพระหฤทัยดารงมั่น ได้บรรลุธรรมอันใดเป็นที่สิ้นกิเลส เป็น
              ี
ที่สิ้นราคะ เป็นอมฤตธรรมอันประณีต สิ่งไรๆ เสมอด้วยพระธรรมนั้นย่อมไม่มี
แม้อันนี้เป็นรัตนะอันประณีตในพระธรรม ด้วยคาสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมี

ยัมพุทธะเสฏโฐ ปะริวณณะยี สุจง สะมาธิมานันตะริกญญะมาหุ
                    ั        ิ                   ั
สะมาธินา เตนะ สะโม นะ วิชชะติ อิทมปิ ธัมเม ระตะนัง ปะณีตง
                                 ั                      ั
เอเตนะ สัจเจนะ สุวตถิ โหตุ ฯ
                  ั

พระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐสุด ทรงสรรเสริญแล้วซึ่งสมาธิอันใด ว่าเป็นธรรมอัน
สะอาด บัณฑิตทังหลายกล่าวซึงสมาธิอันใด ว่าให้ผลโดยลาดับ สมาธิอื่น
                   ้          ่
เสมอด้วยสมาธินนย่อมไม่มี แม้อนนี้ เป็นรัตนะอันประณีตในพระธรรม ด้วย
                ั้              ั
คาสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมี

เย ปุคคะลา อัฏฐะ สะตัง ปะสัฏฐา จัตตาริ เอตานิ ยุคานิ โหนติ
เต ทักขิเณยยา สุคะตัสสะ สาวะกา เอเตสุ ทินนานิ มะหัปผะลานิ
อิทมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตง เอเตนะ สัจเจนะ สุวตถิ โหตุ ฯ
   ั                      ั                    ั

บุคคลเหล่าใด ๘ จาพวก ๔ คู่ อันสัตบุรุษทั้งหลายสรรเสริญแล้ว บุคคล
เหล่านั้นเป็นสาวกของพระสุคต ควรแก่ทักษิณาทาน ทานทั้งหลาย อันบุคคล
ถวายในท่านเหล่านั้น ย่อมมีผลมาก แม้อันนี้ เป็นรัตนะอันประณีตในพระสงฆ์
ด้วยคาสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมี
๑๐๓

เย สุปปะยุตตา มะนะสา ทัฬเหนะ นิกกามิโน โคตะมะสาสะนัมหิ
เต ปัตติปตตา อะมะตัง วิคยหะ ลัทธา มุธา นิพพุตง ภุญชะมานา
          ั             ั                       ิ
อิทมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตง เอเตนะ สัจเจนะ สุวตถิ โหตุ ฯ
   ั                      ั                   ั

พระอริยบุคคลทั้งหลายเหล่าใด ในศาสนาพระโคดมเจ้า ประกอบดีแล้ว มีใจ
มั่นคง มีความใคร่ ออกไปแล้ว พระอริยบุคคลทั้งหลายเหล่านั้น ถึงพระ
อรหัตผลที่ควรถึงหยั่งเข้าสู่พระนิพพาน ได้ซงความดับกิเลส โดยเปล่าๆ แล้ว
                                          ึ่
เสวยผลอยู่ แม้อนนี้ เป็นรัตนะอันประณีตในพระสงฆ์ ด้วยคาสัตย์นี้ ขอความ
               ั
สวัสดีจงมี

ยะถินทะขีโล ปะฐะวิง สิโต สิยา จะตุพภิ วาเตภิ อะสัมปะกัมปิโย
ตะถูปะมัง สัปปุรสง วะทามิ โย อะริยะสัจจานิ อะเวจจะ ปัสสะติ
                ิ ั
อิทมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตง เอเตนะ สัจเจนะ สุวตถิ โหตุ ฯ
   ั                       ั                   ั

เสาเขื่อนที่ลงดินแล้ว ไม่หวันไหวด้วยพายุ ๘ ทิศ ฉันใด ผู้ใด เล็งเห็นอริยสัจ
                            ่
ทั้งหลาย เราเรียกผู้นั้นว่า เป็นสัตบุรุษผู้ไม่หวั่นไหวด้วยโลกธรรม อุปมาฉัน
นั้น แม้อันนี้เป็นรัตนะอันประณีตในพระสงฆ์ ด้วยคาสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจง
มี

เย อะริยะสัจจานิ วิภาวะยันติ คัมภีระปัญเญนะ สุเทสิตานิ
กิญจาปิ เต โหนติ ภุสปปะมัตตา นะ เต ภะวัง อัฏฐะมะมาทิยนติ
                     ั                                  ั
อิทมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตง เอเตนะ สัจเจนะ สุวตถิ โหตุ ฯ
   ั                       ั                   ั

พระโสดาบันจาพวกใด กระทาให้แจ้งอยู่ ซึ่งอริยสัจทั้งหลายอันพระศาสดาผู้
มีปัญญาอันลึกซึ้งแสดงดีแล้ว พระโสดาบันจาพวกนัน ยังเป็นผู้ประมาทก็ดี
                                                  ้
ถึงกระนัน ท่านย่อมไม่ถือเอาภพที่ ๘ (คือเกิดอีกอย่างมาก ๗ ชาติ) แม้อนนี้
        ้                                                          ั
เป็นรัตนะอันประณีตในพระสงฆ์ ด้วยคาสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมี
๑๐๔

สะหาวัสสะ ทัสสะนะสัมปะทายะ ตะยัสสุ ธัมมา ชะหิตา ภะวันติ
สักกายะทิฏฐิ วิจิกจฉิตญจะ สีลพพะตัง วาปิ ยะทัตถิ กิญจิ
                  ิ   ั       ั
จะตูหะปาเยหิ จะ วิปปะมุตโต ฉะ จาภิฐานานิ อะภัพโพ กาตุง
อิทมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตง เอเตนะ สัจเจนะ สุวตถิ โหตุ ฯ
   ั                      ั                   ั

สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาส อันใดอันหนึงยังมีอยู่ ธรรมเหล่านั้น
                                                  ่
อันพระโสดาบัน ละได้แล้ว พร้อมด้วยทัสสนะสมบัติ (คือโสดาปัตติมรรค)
ทีเดียว อนึ่งพระโสดาบันเป็นผู้พ้นแล้ว จากอบายทั้ง ๔ ไม่อาจเพื่อจะกระทา
อภิฐานทั้ง ๖ (คืออนันตริยกรรม ๕ และการเข้ารีต) แม้อันนี้ เป็นรัตนะอัน
ประณีตในพระสงฆ์ ด้วยคาสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมี


- กิญจาปิ โส กัมมัง กะโรติ ปาปะกัง กาเยนะ วาจายุทะ เจตะสา วา
อะภัพโพ โส ตัสสะ ปะฏิจฉะทายะ อะภัพพะตา ทิฏฐะปะทัสสะ วุตตา
อิทมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตง เอเตนะ สัจเจนะ สุวตถิ โหตุ ฯ
   ั                      ั                   ั

พระโสดาบันนั้น ยังกระทาบาปกรรม ด้วยกายหรือวาจาหรือใจได้บ้าง (เพราะ
ความพลั้งพลาด) ถึงกระนันท่านไม่ควรเพื่อจะปกปิดบาปกรรมอันนั้น ความ
                         ้
เป็นผู้มีทางพระนิพพาน อันเห็นแล้ว ไม่ควรปกปิดบาปกรรมนั้น อันพระผู้มี
พระภาคเจ้าตรัสแล้ว แม้อันนี้ เป็นรัตนะอันประณีตในพระสงฆ์ ด้วยคาสัตย์นี้
ขอความสวัสดีจงมี

วะนัปปะคุมเพ ยะถา ผุสสิตคเค คิมหานะมาเส ปะฐะมัสมิง คิมเห
                          ั
ตะถูปะมัง ธัมมะวะรัง อะเทสะยิ นิพพานะคามิง ปะระมัง หิตายะ
อิทมปิ พุทเธ ระตะนัง ปะณีตง เอเตนะ สัจเจนะ สุวตถิ โหตุ ฯ
   ั                        ั                 ั

พุ่มไม้ในป่า มียอดอันบานแล้ว ในเดือนต้นคิมหะแห่งคิมหฤดูฉันใด พระผู้มี
พระภาคเจ้าได้ทรงแสดงพระธรรมให้ถึงพระนิพพาน เพื่อประโยชน์แก่สัตว์
๑๐๕

ทั้งหลาย มีอปมาฉันนั้น แม้อันนี้ เป็นรัตนะอันประณีตในพระพุทธเจ้า ด้วยคา
             ุ
สัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมี

วะโร วะรัญญู วะระโท วะราหะโร อะนุตตะโร ธัมมะวะรัง อะเทสะยิ
อิทมปิ พุทเธ ระตะนัง ปะณีตง เอเตนะ สัจเจนะ สุวตถิ โหตุ ฯ
   ั                      ั                   ั

พระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐทรงทราบธรรมอันประเสริฐ           ทรงประทานธรรมอัน
ประเสริฐ ทรงนามาซึ่งธรรมอันประเสริฐ ไม่มีผู้ยิ่งไปกว่า
ได้ทรงแสดงธรรมอันประเสริฐ พุทธรัตนะแม้นี้เป็นรัตนะอันประณีต ด้วยสัจจ
วาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่สัตว์เหล่านี้

ขีณง ปุราณัง นะวัง นัตถิ สัมภะวัง วิรตตะจิตตายะติเก ภะวัสมิง
     ั                               ั
เต ขีณะพีชา อะวิรฬหิฉนทา นิพพันติ ธีรา ยะถายัมปะทีโป
                  ุ    ั
อิทมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตง เอเตนะ สัจเจนะ สุวตถิ โหตุ ฯ
   ั                       ั                  ั

กรรมเก่าของพระอริยบุคคลเหล่าใดสินแล้ว กรรมสมภพใหม่ย่อมไม่มี พระ
                                  ้
อริยบุคคลเหล่าใด มีจิตอันหน่ายแล้วในภพต่อไป พระอริยบุคคลเหล่านัน มี
                                                                 ้
พืชสิ้นไปแล้ว มีความพอใจงอกไม่ได้แล้ว เป็นผู้มีปัญญา ย่อมปรินิพพาน
เหมือนประทีปอันดับไป ฉะนั้น แม้อนนี้ เป็นรัตนะอันประณีตในพระสงฆ์ ด้วย
                                ั
คาสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมี

ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ ภุมมานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเข
ตะถาคะตัง เทวะมะนุสสะปูชตง พุทธัง นะมัสสามะ สุวตถิ โหตุ ฯ
                         ิ ั                    ั

ภูตประจาถิ่นเหล่าใด ประชุมกันแล้วในพระนครก็ดี เหล่าใดประชุมกันแล้วใน
อากาศก็ดี เราทั้งหลาย จงนมัสการพระพุทธเจ้าผู้มาแล้วอย่างนัน ผู้อันเทพดา
                                                          ้
และมนุษย์บูชาแล้ว ขอความสวัสดีจงมี
๑๐๖




ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ ภุมมานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเข
ตะถาคะตัง เทวะมะนุสสะปูชตง ธัมมัง นะมัสสามะ สุวตถิ โหตุ ฯ
                         ิ ั                    ั

ภูตประจาถิ่นเหล่าใด ประชุมกันแล้วในพระนครนี้ก็ดี เหล่าใดประชุมกันแล้ว
ในอากาศก็ดี เราทั้งหลาย จงนมัสการพระธรรมอันมาแล้วอย่างนั้น อันเทพดา
และมนุษย์บูชาแล้ว ขอความสวัสดีจงมี

ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ ภุมมานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเข
ตะถาคะตัง เทวะมะนุสสะปูชตง สังฆัง นะมัสสามะ สุวตถิ โหตุ ฯ
                         ิ ั                    ั

ภูตประจาถิ่นเหล่าใด ประชุมกันแล้วในพระนครนี้ก็ดี เหล่าใดประชุมกันแล้ว
ในอากาศก็ดี เราทั้งหลาย จงนมัสการพระสงฆ์ผู้มาแล้วอย่างนัน ผู้อันเทพดา
                                                        ้
และมนุษย์บูชาแล้ว ขอความสวัสดีจงมี.
๑๐๗


(   )
๑๐๘




          ๑๑


     ๑๑
๑)


๒)


๓)


๔)


๕)
๑๐๙


๖)


๗)


๘)


๙)


๑๐)


๑๑)
๑๑๐




๑๑
๑๑๑




บทขัดธชคฺคปริตต
              ฺ

ยสฺสานุสสรเณนาปิ อนฺตลิกเขปิ ปาณิโน
          ฺ                 ฺ
สัตว์ทั้งหลาย ย่อมประสบที่พึ่ง แม้ในอากาศดุจในแผ่นดินในกาลทุกเมื่อ
ปติฏฐมธิคจฺฉนฺติ ภูมิย วิย สพฺพทา
     ฺ
และความนับสัตว์ทั้งหลายผู้พ้นแล้วจากข่าย
สพฺพปทฺทวชาลมฺหา ยกฺขโจราทิสมฺภวา
       ู
คืออุปัทวะทั้งปวงอันเกิดแก่สัตว์มียักษ์และโจรเป็นต้นมิได้มี
คณนา น จ มุตตาน
            ฺ
แม้ด้วยการตามระลึกพระปริตรอันใด
ปริตตนฺตมฺภณาม เหฯ
    ฺ
เราทั้งหลายจงสวดพระปริตรนั้นเทอญ ฯ
บทธะชัคคะปะริตตัง
เอวมฺเม สุต
อันข้าพเจ้า (คือพระอานนท์เถระ) ได้สดับมาแล้วอย่างนีฯ
                                                   ้
เอก สมย ภควา
สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้า
สาวตฺถย วิหรติ เชตวเน อนาถปิณฑกสฺส อาราเม
       ิ                        ฺ ิ
เสด็จประทับอยู่ ที่เชตวันวิหาร อารามของท่านอนาถบิณฑิกมหาเศรษฐี ใกล้
เมืองสาวัตถี ฯ
๑๑๒

ตตฺร โข ภควา ภิกขู อามนฺเตสิ ภิกขโวติ ฯ
                           ฺ                   ฺ
ในกาลนั้นแล พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกพระภิกษุทั้งหลายมาว่า ดูกรภิกษุ
ทั้งหลาย ดังนีแลฯ  ้
ภทนฺเตติ เต ภิกขู ภควโต ปจฺจสฺโสสุ ฯ
                     ฺ
พระภิกษุเหล่านัน       ้             จึงทูลรับพระพุทธพจน์   ของพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า
พระพุทธเจ้าข้า ดังนีฯ          ้
ภควา เอตทโวจ ภูตปุพพ ภิกขเว        ฺ       ฺ
พระผู้มีพระภาคจึงได้ตรัสพระพุทธพจน์นี้ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เรื่องดึกดา
บรรพ์เคยมีมาแล้ว
เทวาสุรสงฺคาโม สมุปพฺยโฬฺห อโหสิ ฯ     ู
สงครามระหว่างเทพดากับอสูรได้เกิดประชิดกันแล้ว
อถ โข ภิกขเว สกฺโก
                 ฺ
ครั้งนั้นแล ภิกษุทั้งหลาย ท้าวสักกเทวราช
เทวานมินโท เทเว ตาวตึเส อามนฺเตสิ
               ฺ
ผู้เป็นเจ้าแห่งพวกเทพดา เรียกหมู่เทพดาในชั้นดาวดึงส์มาสั่งว่า
สเจ มาริสา เทวาน สงฺคามคตาน อุปปชฺเชยฺย ภย วา ฉมฺภตตฺต วา โลมหโส วา
                                                   ฺ            ิ
ดูก่อนท่านผู้นิรทุกข์ ถ้าความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุงก็ดี ขนพองสยองเกล้า
                                                              ้
ก็ดี พึงบังเกิดขึ้นแก่หมู่เทพดาผู้ไปสู่สงคราม ในสมัยใด
มเมว ตสฺมึ สมเย ธชคฺค อุลโลเกยฺยาถ ฯ     ฺ
ในสมัยนัน ท่านทังหลายพึงแลดูชายธงของเรานันเทียว
             ้           ้                                ่
มมญฺหิ โว ธชคฺค อุลโลกยต         ฺ
เพราะว่าเมื่อท่านทังหลายแลดูชายธงของเราอยู่
                             ้
ยมฺภวิสสติ ภย วา ฉมฺภตตฺต วา โลมหโส วา
         ฺ                           ิ
ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุงก็ดี ความขนพองสยองเกล้าก็ดี อันใดจักมี
                                             ้
โส ปหียสสติ ฯ โน เจ เม ธชคฺค อุลโลเกยฺยาถ
           ิ ฺ                                   ฺ
อันนั้นจักหายไป ถ้าท่านทั้งหลาย ไม่แลดูชายธงของเรา
๑๑๓

อถ ปชาปติสส เทวราชสฺส ธชคฺค อุลโลเกยฺยาถ ฯ
                     ฺ                             ฺ
ทีนั้น ท่านทั้งหลาย พึงแลดูชายธงของเทวราช ชือ ปชาบดี           ่
ปชาปติสส หิ โว เทวราชสฺส ธชคฺค อุลโลกยต
                   ฺ                                   ฺ
เพราะว่าเมื่อท่านทังหลายแลดูชายธงของเทวราช ชือปชาบดีอยู่
                       ้                                         ่
ยมฺภวิสสติ ภย วา ฉมฺภตตฺต วา โลมหโส วา
         ฺ                   ิ
ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุงก็ดี ความขนพองสยองเกล้าก็ดี อันใดจักมี
                                   ้
โส ปหียสสติ ฯ โน เจ ปชาปติสส เทวราชสฺส ธชคฺค อุลโลเกยฺยาถ
               ิ ฺ                       ฺ                           ฺ
อันนั้นจักหายไปฯ ถ้าท่านทั้งหลาย ไม่แลดูชายธงของเทวราช ชือ ปชาบดี      ่
อถ วรุณสฺส เทวราชสฺส ธชคฺค อุลโลเกยฺยาถ ฯ  ฺ
ทีนั้นพวกท่านพึงแลดู ชายธงของเทวราช ชือวรุณ                ่
วรุณสฺส หิ โว เทวราชสฺส ธชคฺค อุลโลกยต         ฺ
เพราะว่าเมื่อท่านทังหลายแลดูชายธงของเทวราช ชือวรุณอยู่
                         ้                                         ่
ยมฺภวิสสติ ภย วา ฉมฺภตตฺต วา โลมหโส วา
           ฺ                   ิ
ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุงก็ดี ขนพองสยองเกล้าก็ดี อันใดจักมี
                                     ้
โส ปหียสสติ ฯ   ิ ฺ
อันนั้นจักหายไป
โน เจ วรุณสฺส เทวราชสฺส ธชคฺค อุลโลเกยฺยาถ       ฺ
ถ้าท่านทั้งหลายไม่แลดูชายธงของเทวราช ชือวรุณ                 ่
อถอีสานสฺส เทวราชสฺส ธชคฺค อุลโลเกยฺยาถ ฯ    ฺ
ทีนั้นพวกท่านพึงแลดู ชายธงของเทวราช ชืออีสาน             ่
อีสานสฺส หิ โว เทวราชสฺส ธชคฺค อุลโลกยต              ฺ
เพราะว่าเมื่อท่านทังหลายแลดูชายธงของเทวราชชื่ออีสานอยู่
                           ้
ยมฺภวิสสติ ภย วา ฉมฺภตตฺต วา โลมหโส วา
             ฺ                   ิ
ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุงก็ดี ขนพองสยองเกล้าก็ดีอันใดจักมี
                                       ้
โส ปหียสสตีติ ฯ  ิ ฺ
อันนั้นจักหายไป ดังนี้
๑๑๔

ต โข ปน ภิกขเว    ฺ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลายก็ข้อนั้นแล
สกฺกสฺส วา เทวานมินทสฺส ธชคฺคอุลโลกยต
                      ฺ                  ฺ
คือการแลดูชายธงของสักกเทวราชผูเป็นเจ้าแห่งเทพดาก็ตาม
                                           ้
ปชาปติสส วา เทวราชสฺส ธชคฺค อุลโลกยต
           ฺ                           ฺ
การแลดูชายธงของเทวราช ชื่อปชาบดีก็ตาม
วรุณสฺส วา เทวราชสฺส ธชคฺค อุลโลกยตฺ
การแลดูชายธงของเทวราช ชื่อวรุณก็ตาม
อีสานสฺส วาเทวราชสฺส ธชคฺค อุลโลกยต  ฺ
การแลดูชายธงของเทวราชชืออีสานก็ตาม
                                 ่
ยมฺภวิสสติ ภย วา ฉมฺภตตฺต วา โลมหโส วา
        ฺ                ิ
ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุงก็ดี ขนพองสยองเกล้าก็ดี อันใดจักมี
                               ้
โส ปหีเยถาปิ โนปิ ปหีเยถ
อันนั้นพึงหายไปได้บ้าง ไม่ได้บ้าง
ต กิสส เหตุ
      ฺ
ข้อนั้นเป็นเพราะเหตุแห่งอะไร
สกฺโก หิ ภิกขเว เทวานมินโท
              ฺ             ฺ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุว่าท้าวสักกเทวราชผู้เป็นเจ้าแห่งเทพดา
อวีตราโค อวีตโทโส อวีตโมโห
เธอมีราคะยังไม่สิ้นไป มีโทสะยังไม่สิ้นไป มีโมหะยังไม่สิ้นไป
ภีรุ ฉมฺภี อุตราสี ปลายีติ ฯ
                ฺ
เธอยังเป็นผู้กลัว ยังเป็นผู้หวาด ยังเป็นผู้สะดุง ยังเป็นผูหนี ดังนี้
                                               ้          ้
อหญฺจ โข ภิกขเว เอว วทามิ
                    ฺ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ส่วนเราแลกล่าวอย่างนี้ว่า
๑๑๕

สเจ ตุมหาก ภิกขเว อรญฺญคตาน วา รุกขมูลคตาน วา สุญญาคารคตาน วา
           ฺ                ฺ                       ฺ   ฺ
ถ้าว่าเมื่อท่านทั้งหลาย ไปอยู่ในป่าก็ตาม ไปอยู่ที่โคนต้นไม้กตาม ไปอยู่ใน
                                                            ็
เรือนเปล่าก็ตาม
อุปปชฺเชยฺย ภย วา ฉมฺภตตฺต วา โลมหโส วา
      ฺ                                   ิ
ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุงก็ดี ขนพองสยองเกล้าก็ดี พึงเกิดขึ้นในสมัยใด
                                              ้
มเมว ตสฺมึ สมเย อนุสสเรยฺยาถ      ฺ
ในสมัยนัน ท่านทังหลายพึงระลึกถึงเรานั่นเทียวว่า
               ้              ้
อิตปิ โส ภควา
    ิ
แม้เพราะเหตุนๆ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น
                       ี้
อรห
เป็นผู้ไกลกิเลส เป็นผู้ควรไหว้ ควรบูชา
สมฺมาสมฺพทโธ     ุ ฺ
เป็นผู้รู้ชอบเอง
วิชชาจรณสมฺปนฺโน
        ฺ
เป็นผู้บริบูรณ์แล้วด้วยวิชชาและจรณะ
สุคโต โลกวิทู อนุตตโร ปุรสทมฺมสารถิ
                                ฺ           ิ
เป็นพระสุคตผู้เสด็จไปดีแล้ว เป็นผูทรงรู้โลก เป็นผูฝึกบุรุษที่ควรฝึก ไม่มี
                                                  ้   ้
ผู้อื่นยิ่งกว่า
สตฺถา เทวมนุสสาน พุทโธ ภควาติ ฯ
                          ฺ             ฺ
เป็นศาสดาผู้สอนของเทพดา และมนุษย์ทั้งหลาย เป็นผู้เบิกบานแล้ว เป็นผู้
จาแนกธรรมดังนี้
มม หิ โว ภิกขเว อนุสสรต
                     ฺ              ฺ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะว่าเมื่อท่านทั้งหลาย ตามระลึกถึงเราอยู่
ยมฺภวิสสติ ภย วา ฉมฺภตตฺต วา โลมหโส วา
             ฺ                        ิ
ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุงก็ดี ขนพองสยองเกล้าก็ดี อันใดจักมี
                                                ้
๑๑๖

โส ปหียสสติ ฯ
          ิ ฺ
อันนั้นจักหายไป
โน เจ ม อนุสสเรยฺยาถ
               ฺ
ถ้าท่านทั้งหลายไม่ระลึกถึงเรา
อถ ธมฺม อนุสสเรยฺยาถ
                 ฺ
ทีนั้นพึงตามระลึกถึงพระธรรมว่า
สฺวากฺขาโต ภควตา ธมฺโม
พระธรรมอันพระผู้มีพระภาคตรัสดีแล้ว
สนฺทฏฺฐโก
      ิ ิ
เป็นของอันบุคคลพึงเห็นเอง
อกาลิโก
เป็นของไม่มีกาลเวลา
เอหิปสฺสโก  ิ
เป็นของจะร้องเรียกผู้อื่นให้มาดูได้
โอปนยิโก
เป็นของอันบุคคลพึงน้อมเข้ามาใส่ใจ
ปจฺจตฺต เวทิตพฺโพ วิญฺ ูหติ ฯ
                            ี
เป็นของอันวิญญูชนทั้งหลาย พึงรู้เฉพาะตัว ดังนี้
ธมฺม หิ โว ภิกขเว อนุสสรต
                     ฺ  ฺ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะว่าเมื่อท่านทั้งหลาย ตามระลึกถึงพระธรรมอยู่
ยมฺภวิสสติ ภย วา ฉมฺภตตฺต วา โลมหโส วา
        ฺ                 ิ
ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุงก็ดี ขนพองสยองเกล้าก็ดี อันใดจักมี
                              ้
โส ปหียสสติ ฯ โน เจ ธมฺม อนุสสเรยฺยาถ
           ิ ฺ                  ฺ
ก็จักหายไป ถ้าท่านทั้งหลายไม่ตามระลึกถึงพระธรรม
อถ สงฺฆ อนุสสเรยฺยาถ
                   ฺ
ทีนั้นพวกเธอพึงตามระลึกถึงพระสงฆ์ว่า
๑๑๗

สุปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ
พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นผู้ปฏิบัติดีแล้ว
อุชปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ
    ุ
พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นผู้ปฏิบัติตรงแล้ว
ญายปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ
พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นผู้ปฏิบัติถูกแล้ว
สามีจปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ
          ิ
พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นผู้ปฏิบัติชอบแล้ว
ยทิท
คือ
จตฺตาริ ปุรสยุคานิ
              ิ
คู่แห่งบุรุษทั้งหลาย ๔
อฏฺฐ ปุรสปุคคลา
            ิ     ฺ
บุรุษบุคคลทั้งหลาย ๘
เอส ภควโต สาวกสงฺโฆ
นี่พระสงฆ์สาวก ของพระผู้มีพระภาคเจ้า
อาหุเนยฺโย
ท่านเป็นผู้ควรแก่สักการะที่เขานามาบูชา
ปาหุเนยฺโย
ท่านเป็นผู้ควรของต้อนรับ
ทกฺขเณยฺโย
        ิ
ท่านเป็นผู้ควรทักษิณาทาน
อญฺชลิกรณีโย
ท่านเป็นผู้ควรแก่การทาอัญชลีกรรม
อนุตตร ปุญญกฺเขตฺต โลกสฺสาติ ฯ
      ฺ         ฺ
ท่านเป็นนาบุญของโลก ไม่มีนาอืนยิงไปกว่าดังนี้
                               ่ ่
๑๑๘

สงฺฆ หิ โว ภิกขเวอนุสสรต
                ฺ         ฺ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะว่าเมื่อท่านทั้งหลาย ระลึกถึงพระสงฆ์อยู่
ยมฺภวิสสติ ภย วา ฉมฺภตตฺต วา โลมหโส วา
          ฺ                 ิ
ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุงก็ดี ขนพองสยองเกล้าก็ดี อันใดจักมี
                                 ้
โส ปหียสสติ ิ ฺ
อันนั้นจักหายไป
ต กิสส เหตุ
        ฺ
ข้อนั้นเป็นเพราะเหตุแห่งอะไร
ตถาคโต หิ ภิกขเว  ฺ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุว่าพระตถาคต
อรห สมฺมาสมฺพทโธ    ุ ฺ
เป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
วีตราโค วีตโทโส วีตโมโห
มีราคะสิ้นไปแล้ว มีโทสะสิ้นไปแล้ว มีโมหะสินไปแล้ว
                                           ้
อภีรุ อจฺฉมฺภี
เป็นผู้ไม่กลัว เป็นผู้ไม่หวาด
อนุตตราสี อปลายีติ ฯ
      ฺ
เป็นผู้ไม่สะดุ้ง เป็นผู้ไม่หนี ดังนี้แล
อิทมโวจ ภควา
พระผู้มีพระภาคเจ้า ได้ตรัสพระพุทธพจน์นี้
อิท วตฺวาน สุคโต
พระผู้เป็นพระสุคต ครั้นตรัสพระพุทธพจน์นี้แล้ว
อถาปร เอตทโวจ สตฺถา
ลาดับนั้น พระองค์ผู้เป็นพระศาสดา จึงตรัสพระพุทธพจน์นี้ อีกว่า
๑๑๙

อรญฺเญ รุกขมูเล วา สุญญาคาเรว ภิกขโว
                 ฺ           ฺ           ฺ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เมื่อท่านทั้งหลายอยู่ในป่า หรือในรุกขมูลหรือในเรือน
เปล่า
อนุสสเรถ สมฺพทธ ภย ตุมหาก โน สิยา
           ฺ           ุ ฺ     ฺ
พึงระลึกถึงพระสัมพุทธ ภัยจะไม่พึงมี แก่ท่านทั้งหลาย
โน เจ พุทธ สเรยฺยาถ
               ฺ
ถ้าท่านทั้งหลาย ไม่ระลึกถึงพระพุทธ
โลกเชฏฺฐ นราสภ
ซึ่งเป็นใหญ่กว่าโลก ประเสริฐกว่านรชน
อถ ธมฺม สเรยฺยาถ
ที่นั้นพึงระลึกถึงพระธรรม
นิยยานิก สุเทสิต
     ฺ
อันเป็นเครืองนาออกซึ่งเราแสดงไว้ดีแล้ว
โน เจ ธมฺม สเรยฺยาถ
ถ้าท่านทั้งหลายไม่ระลึกถึงพระธรรม
นิยยานิก สุเทสิต
       ฺ
อันเป็นเครืองนาออกซึ่งเราแสดงไว้ดีแล้ว
อถ สงฺฆ สเรยฺยาถ
ที่นั้นพึงระลึกถึงพระสงฆ์
ปุญญกฺเขตฺต อนุตตร
         ฺ                 ฺ
ซึ่งเป็นนาบุญของโลก ไม่มนาอื่นยิงกว่า
                                 ี   ่
เอว พุทธ สรนฺตาน ธมฺม สงฺฆญฺจ ภิกขโว
             ฺ                         ฺ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เมื่อท่านทั้งหลายมาระลึกถึงพระพุทธ พระธรรม และ
พระสงฆ์อยูอย่างนี้ ่
ภย วา ฉมฺภตตฺต วา โลมหโส น เหสฺสตีติ ฯ
                     ิ
ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุงก็ดี ขนพองสยองเกล้าก็ดี จักไม่มีแลฯ
                                   ้
๑๒๐




ปะริตตัง ยัง ภะนันตัสสะ
นิสนนัฏฐานะโธวะนัง
   ิ
อุทะกัมปิ วินาเสติ
สัพพะเมวะ ปะริสสะยัง.
น้าล้างที่นั่งของพระองคุลิมาลผู้สวดพระปริตรใด สามารถขจัดอันตรายทังปวง
                                                                 ้
ให้หมดไปได้


โสตถินา คัพภะวุฏฐานัง
ยัญจะ สาเธติ ตังขะเณ
เถรัสสะ อังคุลมาลัสสะ
              ิ
โลกะนาเถนะ ภาสิตง  ั
กัปปัฏฐายิง มะหาเตชัง
ปะริตตัง ตัง ภะณามะ เห.
พระปริตรใดที่พระมหาโลกนาถทรงภาษิตไว้แก่พระองคุลิมาลเถระ สามารถยัง
การคลอดบุตรให้เป็นไปได้โดยสวัสดีในทันที ขอเราทั้งหลายจงร่วมกันสวด
พระปริตรซึ่งมีเดชใหญ่ คงอยู่ตลอดกัปนั้นเถิด)


บทอังคุลมาลปริตร
        ิ

ยะโตหัง ภะคินิ อะริยายะ ชาติยา ชาโต
นาภิชานามิ สัญจิจจะ ปาณัง ชีวตา โวโรเปตา
                              ิ
เตนะ สัจเจนะ โสตถิ เต โหตุ, โสตถิ คัพพัสสะ.
๑๒๑




ดูก่อนน้องหญิง นับแต่เราเกิดโดยอริยชาตินี้แล้ว เราไม่เคยคิดปลงชีวตสัตว์
                                                                 ิ
เลย ด้วยสัจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่เธอ ขอความสวัสดีจงมีแก่ครรภ์ของ
เธอ




       [๕๒                          -
๑๒๒




[๕๒๒




[๕๒๓
๑๒๓




[๕๒๔
๑๒๔




[๕๒๕
๑๒๕




[๕๒๖




       ๕๐๐
๑๒๖




[๕๒๗
๑๒๗




[๕๒๘
๑๒๘




[๕๒๙
๑๒๙




[๕๓๐
๑๓๐




[๕๓
๑๓๑




[๕๓๒




[๕๓๓
๑๓๒




[๕๓๔
๑๓๓




                                   (


๓



    http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=13&i=521
๑๓๔


ขันธปริตตสูตร

บทขัดขันธะปะริตตะคาถา

สัพพาสีวสะชาตีนง
        ิ      ั
ทิพพะมันตาคะทัง วิยะ
ยันนาเสติ วิสง โฆรัง
             ั
เสสัญจาปิ ปะริสสะยัง
อาณักเขตตัมปิ สัพพัตถะ
สัพพะทา สัพพะปาณินง  ั
สัพพะโสปิ นิวาเรต
ปะริตตันตัมะภะณามะ เห ฯ
พระปริตรอันใด ย่อมยังพิษอันร้ายแห่งงูร้ายทั้งหลาย ให้ฉิบหายไป ดุจยา
วิเศษอันประกอบด้วยมนต์ทิพย์ อนึงพระปริตรอันใด ย่อมห้ามกันอันตรายอัน
                                 ่
เศษของสัตว์ทั้งสิ้น โดยประการทั้งปวง ในอาณาเขต ในที่ทั้งหมด ในกาลทุก
เมื่อ เราทั้งหลาย จงสวดพระปริตรอันนั้นเทอญ.
๑๓๕


ขันธะปะริตตะคาถา

วิรปกเขหิ เม เมตตัง
   ู ั
เมตตัง เอราปะเถหิ เม
ฉัพยาปุตเตหิ เม เมตตัง
เมตตัง กัณหาโคตะมะเกหิ จะ
อะปาทะเกหิ เม เมตตัง
เมตตัง ทิปาทะเกหิ เม
จะตุปปะเทหิ เม เมตตัง
เมตตัง พะหุปปะเทหิ เม
มา มัง อะปาทะโก หิงสิ
มา มัง หิงสิ ทิปาทะโก
มา มัง จะตุปปะโท หิงสิ
มา มัง หิงสิ พะหุปปะโท
สัพเพ สัตตา สัพเพ ปาณา
สัพเพ ภูตา จะ เกวะลา
สัพเพ ภัทรานิ ปัสสันตุ
มา กิญจิ ปาปะมาคะมา


อัปปะมาโณ พุทโธ อัปปะมาโณ ธัมโม อัปปะมาโณ สังโฆ
ปะมาณะวันตานิ สิรงสะปานิ อะหิ วิจฉิกา สะตะปะที อุณณานาภี
                   ิ
สะระพู มูสกา กะตา เม รักขา กะตา เม ปะริตตา ปะฏิกกะมันตุ
          ิ
ภูตานิ โสหัง นะโม ภะคะวะโต นะโม สัตตันนัง สัมมาสัมพุทธานัง ฯ
๑๓๖




ความเป็นมิตรของเรา จงมีกับพระยานาคทั้งหลาย สกุลวิรูปักข์ด้วย,
ความเป็นมิตรของเรา จงมีกับพระยานาคทั้งหลาย สกุลเอราบถด้วย,
ความเป็นมิตรของ รา จงมีกับพระยานาคทั้งหลาย สกุลฉัพยาบุตรด้วย,
ความเป็นมิตรของเรา จงมีกับพระยานาคทั้งหลาย สกุลกัณหาโคตมกะด้วย,
ความเป็นมิตรของเรา จงมีกับสัตว์ทั้งหลายที่มี ๔ เท้าด้วย,
ความเป็นมิตรของเรา จงมีกับสัตว์ที่มีเท้ามากด้วย,
สัตว์ไม่มีเท้าอย่าเบียดเบียนเรา
สัตว์ ๒ เท้าอย่าเบียดเบียนเรา
สัตว์ ๔ เท้า อย่าเบียดเบียนเรา
สัตว์มากเท้าอย่าเบียดเบียนเรา
ขอสรรพสัตว์มีชีวตทั้งหลายที่เกิดมาทั้งหมดจนสิ้นเชิงด้วย
                   ิ
จงเห็นซึงความเจริญทั้งหลายทั้งปวงเถิด
          ่
โทษลามกไรๆ อย่าได้ มาถึงแล้วแก่สตว์เหล่านั้น
                                  ั
พระพุทธเจ้าทรงพระคุณไม่มีประมาณ
พระธรรมทรงพระคุณไม่มีประมาณ
พระสงฆ์ทรงพระคุณไม่มีประมาณ
สัตว์เสือกคลานทั้งหลายคือ งู แมลงป่อง ตะเข็บ ตะขาบ แมงมุม ตุ๊กแก หนู
เหล่านี้ล้วนมีประมาณ(ไม่มากเหมือนคุณพระรัตนตรัย)
ความรักษาอันเรากระทาแล้ว
ความป้องกันอันเรากระทาแล้ว
หมู่สัตว์ทั้งหลาย จงหลีกไปเสีย
เรานั้นกระทาการนอบน้อมแต่พระผู้มีพระภาคเจ้าอยู่
ทาการนอบน้อมแด่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งหลาย ๗ พระองค์อยู่
๑๓๗


โมรปริตสูตร

บทขัดโมระปะริตตัง
ปูเรนตัมโพธิสมภาเร นิพพัตตัง โมระโยนิยง
               ั                           ั
เยนะ สังวิหตารักขัง มะหาสัตตัง วะเนจะรา
             ิ
จิรสสัง วายะมันตาปิ เนวะ สักขิงสุ คัณหิตง
    ั                                    ุ
พรัหมะมันตันติ อักขาตัง ปะริตตันตัมภะณามะ เห ฯ
พวกพรานไพร แม้พยายามอยู่ช้านานไม่อาจนั่นเทียว เพื่อจะจับพระมหาสัตว์
ผู้บังเกิดแล้วในกาเนิดแห่งนกยูง ผู้ยังโพธิสมภารให้บริบูรณ์อยู่ มีความรักษา
อันตนจัดแจงดีแล้ว ด้วยพระปริตรอันใด เราทั้งหลาย จงสวดพระปริตรอันนั้น
ที่พระพุทธเจ้าทรงเรียกว่า พรหมมนตร์ เทอญ.

บทโมระปะริตตัง

อุเทตะยัญจักขุมา เอกะราชา หะริสสะวัณโณ ปะฐะวิปปะภาโส
ตัง ตัง นะมัสสามิ หะริสสะวัณณัง ปะฐะวิปปะภาสัง
ตะยัชชะ คุตตา วิหะเรมุ ทิวะสัง เย พราหมะณา เวทะคุ สัพพะธัมเม
เต เม นะโม เต จะ มัง ปาละยันตุ
พระอาทิตย์เป็นดวงตาของโลก เป็นเอกราช มีสีเพียงดังสีแห่งทอง ยังพืนปฐพี
                                                                  ้
ให้สว่าง อุทัยขึ้นมา เพราะเหตุนน ข้าขอนอบน้อมพระอาทิตย์นั้น ซึ่งมีสีเพียง
                                 ั้
ดังสีแห่งทอง ยังพื้นปฐพีให้สว่าง ข้าทั้งหลาย อันท่านปกครองแล้วในวันนี้
พึงอยู่เป็นสุขตลอดวัน พราหมณ์ทั้งหลายเหล่าใด ผู้ถึงซึ่งเวทในธรรมทั้งปวง
พราหมณ์ทั้งหลายเหล่านั้น จงรับความนอบน้อมของข้า อนึ่ง พราหมณ์
ทั้งหลายเหล่านั้น จงรักษาซึ่งข้า
๑๓๘

นะมัตถุ พุทธานัง นะมัตถุ โพธิยา
นะโม วิมตตานัง นะโม วิมตติยา
          ุ              ุ
อิมง โส ปะริตตัง กัตวา โมโร จะระติ เอสะนา ฯ
    ั
ความนอบน้อมของข้า จงมีแด่พระพุทธเจ้าทั้งหลาย ความนอบน้อมของข้า จง
มีแด่พระโพธิญาณ ความนอบน้อมของข้า จงมีแด่ท่านผู้พ้นแล้วทั้งหลาย
ความนอบน้อมของข้า จงมีแด่วิมตติธรรม นกยูงนันได้กระทาปริตรอันนี้แล้ว
                                ุ           ้
จึงเที่ยวไป เพืออันแสวงหาอาหาร
               ่


อะเปตะยัญจักขุมา เอกะราชา หะริสสะวัณโณ ปะฐะวิปปะภาโส
ตัง ตัง นะมัสสามิ หะริสสะวัณณัง ปะฐะวิปปะภาสัง
ตะยัชชะ คุตตา วิหะเรมุ รัตติง เย พราหมะณา เวทะคุ สัพพะธัมเม
เต เม นะโม เต จะ มัง ปาละยันตุ
พระอาทิตย์นี้เป็นดวงตาของโลก เป็นเอกราช มีสีเพียงดังสีแห่งทองยังพื้น
ปฐพีให้สว่าง ย่อมอัสดงคตไป เพราะเหตุนน ข้าขอนอบน้อมพระอาทิตย์นั้น
                                           ั้
ซึ่งมีสีเพียงดังสีแห่งทอง ยังพื้นปฐพีให้สว่าง ข้าทั้งหลาย อันท่านปกครอง
แล้วในวันนี้ พึงอยู่เป็นสุขตลอดคืน พราหมณ์ทั้งหลายเหล่าใด ผู้ถึงซึงเวทใน
                                                                  ่
ธรรมทั้งปวง พราหมณ์ทั้งหลายเหล่านั้น จงรับความนอบน้อมของข้า อนึ่ง
พราหมณ์ทั้งหลายเหล่านั้น จงรักษาซึ่งข้า



นะมัตถุ พุทธานัง นะมัตถุ โพธิยา
นะโม วิมตตานัง นะโม วิมตติยา
         ุ               ุ
อิมง โส ปะริตตัง กัตวา โมโร วาสะมะกัปปะยีติ ฯ
   ั
ความนอบน้อมของข้า จงมีแด่พระพุทธเจ้าทั้งหลาย ความนอบน้อมของข้า จง
มีแด่พระโพธิญาณ         ความนอบน้อมของข้าจงมีแด่ท่านผู้พ้นแล้วทั้งหลาย
๑๓๙

ความนอบน้อมของข้า จงมีแด่วิมตติธรรม นกยูงนันได้กระทาปริตรอันนี้แล้ว
                            ุ              ้
จึงสาเร็จความอยูแล.
                ่

อาฏานาฏิยสูตร

บทนา อาฏานาฏิยะปะริตตัง

อัปปะสันเนหิ นาถัสสะ สาสะเน สาธุสมมะเต
                                 ั
พระพุทธเจ้าผู้แกล้วกล้าใหญ่ยิ่ง ทรงแสดงพระปริตรอันใดเพื่อความไม่เบียด
เบียนกัน
อะมะนุสเสหิ จัณเฑหิ สะทา กิพพิสะการิภิ
ด้วยความคุ้มครองของตนแก่บริษัท ๔ เหล่า อันเกิดจากหมู่อมนุษย์ที่ร้ายกาจ
กระทากรรมอันหยาบช้า ในกาลทุกเมื่อ
ปะริสานัญจะ ตัสสันนะมะหิงสายะ จะ
ผู้มิได้เลื่อมใสในพระพุทธศาสนาของพระพุทธเจ้า
คุตติยา ยันเทเสสี มะหาวีโร
เป็นผู้ที่พึ่งของโลกอันสัตบุรุษ สมมติว่าเป็นศาสนาอันดี
ปะริตตันตัมภะณะนะ เห ฯ
เราทั้งหลาย จงสวดพระปริตรอันนันเทอญ
                                  ้
๑๔๐


บทอาฏานาฏิยะปะริตตัง

วิปสสิสะ นะมัตถุ จักขุมนตัสสะ สิรมะโต
   ั                    ั        ี
สิขสสะปิ นะมัตถุ สัพพะภูตานุกมปิโน
     ิ                         ั
เวสสะภุสสะ นะมัตถุ น๎หาตะกัสสะ ตะปัสสิโน
นะมัตถุ กะกุสนธัสสะ มาระเสนัปปะมัททิโน
              ั
โกนาคะมะนัสสะ นะมัตถุ พราหมะณัสสะ วุสมะโต ี
กัสสะปัสสะ นะมัตถุ วิปปะมุตตัสสะ สัพพะธิ
อังคีระสัสสะ นะมัตถุ สักยะปุตตัสสะ สิรมะโต
                          ๎           ี
โย อิมง ธัมมะมะเทเสสิ สัพพะทุกขาปะนูทะนัง
         ั
เย จาปิ นิพพุตา โลเก ยะถาภูตง วิปสสิสง
                             ั     ั    ุ
เต ชะนา อะปิสณา มะหันตา วีตะสาระทา
                ุ
หิตง เทวะมะนุสสานัง ยัง นะมัสสันติ โคตะมัง
       ั
วิชชาจาระระณะสัมปันนัง มะหันตัง วีตะสาระทังฯ


นะโม เม สัพพะพุทธานัง อุปปันนานัง มะเหสินง
                                         ั
ตัณหังกะโร มะหาวีโร เมธังกะโร มะหายะโส
สะระณังกะโร โลกะหิโต ทีปงกะโร ชุตนธะโร
                          ั        ิ
โกณฑัญโญ ชะนะปาโมกโข มังคะโล ปุรสาสะโภ ิ
สุมะโน สุมะโน ธีโร เรวะโต ระติวฑฒะโน
                               ั
โสภีโต คุณสัมปันโน อะโนมะทัสสี ชะนุตตะโม
ปะทุโม โลกะปัชโชโต นาระโท วะระสาระถี
ปะทุมตตะโร สัตตะสาโร สุเมโธ อัปปะฏิปคคะโล
     ุ                               ุ
สุชาโต สัพพะโลกัคโค ปิยะทัสสี นะราสะโภ
อัตถะทัสสี การุณโก ธัมมะทัสสี ตะโมนุโท
                 ิ
บทสวดมนต์ประจำวัน
บทสวดมนต์ประจำวัน
บทสวดมนต์ประจำวัน
บทสวดมนต์ประจำวัน
บทสวดมนต์ประจำวัน
บทสวดมนต์ประจำวัน
บทสวดมนต์ประจำวัน
บทสวดมนต์ประจำวัน
บทสวดมนต์ประจำวัน
บทสวดมนต์ประจำวัน
บทสวดมนต์ประจำวัน

More Related Content

What's hot

หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่Theeraphisith Candasaro
 
บทที่ 4 กิริยาศัพท์
บทที่ 4  กิริยาศัพท์บทที่ 4  กิริยาศัพท์
บทที่ 4 กิริยาศัพท์Gawewat Dechaapinun
 
บทสวด
บทสวดบทสวด
บทสวดsanunya
 
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญสวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญKitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์Gawewat Dechaapinun
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]นิตยา ทองดียิ่ง
 
การศึกษาเรื่องการกในคัมภีร์โมคคัลลานไวยากรณ์
การศึกษาเรื่องการกในคัมภีร์โมคคัลลานไวยากรณ์การศึกษาเรื่องการกในคัมภีร์โมคคัลลานไวยากรณ์
การศึกษาเรื่องการกในคัมภีร์โมคคัลลานไวยากรณ์Tongsamut vorasan
 
ประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนพัน พัน
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์Nhui Srr
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติAnchalee BuddhaBucha
 

What's hot (20)

ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
 
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
 
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส
 
บทที่ 4 กิริยาศัพท์
บทที่ 4  กิริยาศัพท์บทที่ 4  กิริยาศัพท์
บทที่ 4 กิริยาศัพท์
 
สรุปนักธรรมตรี_V2565.pdf
สรุปนักธรรมตรี_V2565.pdfสรุปนักธรรมตรี_V2565.pdf
สรุปนักธรรมตรี_V2565.pdf
 
บทสวด
บทสวดบทสวด
บทสวด
 
บาลีเสริม ๑๐ Pdf
บาลีเสริม ๑๐ Pdfบาลีเสริม ๑๐ Pdf
บาลีเสริม ๑๐ Pdf
 
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญสวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
 
บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์
 
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลีแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
 
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
 
สรุปสูตรตรีโกณมิติ
สรุปสูตรตรีโกณมิติสรุปสูตรตรีโกณมิติ
สรุปสูตรตรีโกณมิติ
 
การศึกษาเรื่องการกในคัมภีร์โมคคัลลานไวยากรณ์
การศึกษาเรื่องการกในคัมภีร์โมคคัลลานไวยากรณ์การศึกษาเรื่องการกในคัมภีร์โมคคัลลานไวยากรณ์
การศึกษาเรื่องการกในคัมภีร์โมคคัลลานไวยากรณ์
 
ประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อน
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
 
คำศัพท์พื้นฐานชั้นป.6
คำศัพท์พื้นฐานชั้นป.6คำศัพท์พื้นฐานชั้นป.6
คำศัพท์พื้นฐานชั้นป.6
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
 

Similar to บทสวดมนต์ประจำวัน

สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 15
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 15สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 15
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 15Tongsamut vorasan
 
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖Noppawan Chantasan
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 16
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 16สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 16
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 16Tongsamut vorasan
 
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕Noppawan Chantasan
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 20
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 20สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 20
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 20Tongsamut vorasan
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19Tongsamut vorasan
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 18
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 18สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 18
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 18Tongsamut vorasan
 
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔Noppawan Chantasan
 
ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556
ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556
ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ผอ.พีระยศ บุญเพ็ง
 
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ผอ.พีระยศ บุญเพ็ง
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 17
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 17สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 17
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 17Tongsamut vorasan
 
คู่มือโสดาบัน
คู่มือโสดาบันคู่มือโสดาบัน
คู่มือโสดาบันpiak120
 

Similar to บทสวดมนต์ประจำวัน (17)

สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 15
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 15สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 15
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 15
 
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 16
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 16สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 16
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 16
 
tes
testes
tes
 
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 20
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 20สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 20
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 20
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 18
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 18สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 18
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 18
 
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
 
02 luangpudu dhamma
02 luangpudu dhamma02 luangpudu dhamma
02 luangpudu dhamma
 
ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556
ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556
ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556
 
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
 
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
บัญชีคำพื้นฐานชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
 
จำนวนนับ
จำนวนนับจำนวนนับ
จำนวนนับ
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 17
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 17สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 17
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 17
 
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5
 
คู่มือโสดาบัน
คู่มือโสดาบันคู่มือโสดาบัน
คู่มือโสดาบัน
 

More from Panda Jing

จิตตนคร นครหลวงของโลก
จิตตนคร นครหลวงของโลกจิตตนคร นครหลวงของโลก
จิตตนคร นครหลวงของโลกPanda Jing
 
อีบุ๊ค หลักธรรม หลักทำ ตามรอยพระยุคลบาท
อีบุ๊ค หลักธรรม หลักทำ ตามรอยพระยุคลบาทอีบุ๊ค หลักธรรม หลักทำ ตามรอยพระยุคลบาท
อีบุ๊ค หลักธรรม หลักทำ ตามรอยพระยุคลบาทPanda Jing
 
File 633116b358da6b762609165edeaa0f3c
File 633116b358da6b762609165edeaa0f3cFile 633116b358da6b762609165edeaa0f3c
File 633116b358da6b762609165edeaa0f3cPanda Jing
 
Plook ฉบับเดือน เมษายน ปี 2011
Plook ฉบับเดือน เมษายน ปี 2011Plook ฉบับเดือน เมษายน ปี 2011
Plook ฉบับเดือน เมษายน ปี 2011Panda Jing
 
Plook ฉบับเดือน มีนาคม ปี 2011
Plook ฉบับเดือน มีนาคม ปี 2011Plook ฉบับเดือน มีนาคม ปี 2011
Plook ฉบับเดือน มีนาคม ปี 2011Panda Jing
 
Way toteacher001
Way toteacher001Way toteacher001
Way toteacher001Panda Jing
 
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรมอีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรมPanda Jing
 
อีบุ๊ค ชีวิตนี้น้อยนัก
อีบุ๊ค ชีวิตนี้น้อยนักอีบุ๊ค ชีวิตนี้น้อยนัก
อีบุ๊ค ชีวิตนี้น้อยนักPanda Jing
 
Plook ฉบับเดือน กุมภาพันธ์ ปี 2011
Plook ฉบับเดือน กุมภาพันธ์ ปี 2011Plook ฉบับเดือน กุมภาพันธ์ ปี 2011
Plook ฉบับเดือน กุมภาพันธ์ ปี 2011Panda Jing
 
Plook ฉบับเดือน มกราคม ปี 2011
Plook ฉบับเดือน มกราคม ปี 2011Plook ฉบับเดือน มกราคม ปี 2011
Plook ฉบับเดือน มกราคม ปี 2011Panda Jing
 
สาเหตุและวิธีการรักษาอาการนอนกรน
สาเหตุและวิธีการรักษาอาการนอนกรนสาเหตุและวิธีการรักษาอาการนอนกรน
สาเหตุและวิธีการรักษาอาการนอนกรนPanda Jing
 
อีบุ๊ค ใจความสำคัญแห่งพระพุทธศาสนา
อีบุ๊ค ใจความสำคัญแห่งพระพุทธศาสนาอีบุ๊ค ใจความสำคัญแห่งพระพุทธศาสนา
อีบุ๊ค ใจความสำคัญแห่งพระพุทธศาสนาPanda Jing
 
อีบุ๊ค ทำไมต้องค้านเขื่อนแม่วงก์
อีบุ๊ค ทำไมต้องค้านเขื่อนแม่วงก์อีบุ๊ค ทำไมต้องค้านเขื่อนแม่วงก์
อีบุ๊ค ทำไมต้องค้านเขื่อนแม่วงก์Panda Jing
 
ให้สุขแก่ท่าน สุขนั้นถึงตัว
ให้สุขแก่ท่าน สุขนั้นถึงตัวให้สุขแก่ท่าน สุขนั้นถึงตัว
ให้สุขแก่ท่าน สุขนั้นถึงตัวPanda Jing
 
อีบุ๊ค คุณานุคุณไตรภาค
อีบุ๊ค คุณานุคุณไตรภาคอีบุ๊ค คุณานุคุณไตรภาค
อีบุ๊ค คุณานุคุณไตรภาคPanda Jing
 
อีบุ๊ค กองทัพทั้งสิบของมาร
อีบุ๊ค กองทัพทั้งสิบของมารอีบุ๊ค กองทัพทั้งสิบของมาร
อีบุ๊ค กองทัพทั้งสิบของมารPanda Jing
 
ศาสนาพุทธในประเทศไทย
ศาสนาพุทธในประเทศไทยศาสนาพุทธในประเทศไทย
ศาสนาพุทธในประเทศไทยPanda Jing
 
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)Panda Jing
 
อีบุ๊ค Health ฉบับที่ 1
อีบุ๊ค Health ฉบับที่ 1อีบุ๊ค Health ฉบับที่ 1
อีบุ๊ค Health ฉบับที่ 1Panda Jing
 
พญานาค ตำนาน ความเชื่อ หรือความจริง
พญานาค ตำนาน ความเชื่อ หรือความจริงพญานาค ตำนาน ความเชื่อ หรือความจริง
พญานาค ตำนาน ความเชื่อ หรือความจริงPanda Jing
 

More from Panda Jing (20)

จิตตนคร นครหลวงของโลก
จิตตนคร นครหลวงของโลกจิตตนคร นครหลวงของโลก
จิตตนคร นครหลวงของโลก
 
อีบุ๊ค หลักธรรม หลักทำ ตามรอยพระยุคลบาท
อีบุ๊ค หลักธรรม หลักทำ ตามรอยพระยุคลบาทอีบุ๊ค หลักธรรม หลักทำ ตามรอยพระยุคลบาท
อีบุ๊ค หลักธรรม หลักทำ ตามรอยพระยุคลบาท
 
File 633116b358da6b762609165edeaa0f3c
File 633116b358da6b762609165edeaa0f3cFile 633116b358da6b762609165edeaa0f3c
File 633116b358da6b762609165edeaa0f3c
 
Plook ฉบับเดือน เมษายน ปี 2011
Plook ฉบับเดือน เมษายน ปี 2011Plook ฉบับเดือน เมษายน ปี 2011
Plook ฉบับเดือน เมษายน ปี 2011
 
Plook ฉบับเดือน มีนาคม ปี 2011
Plook ฉบับเดือน มีนาคม ปี 2011Plook ฉบับเดือน มีนาคม ปี 2011
Plook ฉบับเดือน มีนาคม ปี 2011
 
Way toteacher001
Way toteacher001Way toteacher001
Way toteacher001
 
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรมอีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
อีบูีค ๑๐๐ พระชันษา พระโอวาทธรรม
 
อีบุ๊ค ชีวิตนี้น้อยนัก
อีบุ๊ค ชีวิตนี้น้อยนักอีบุ๊ค ชีวิตนี้น้อยนัก
อีบุ๊ค ชีวิตนี้น้อยนัก
 
Plook ฉบับเดือน กุมภาพันธ์ ปี 2011
Plook ฉบับเดือน กุมภาพันธ์ ปี 2011Plook ฉบับเดือน กุมภาพันธ์ ปี 2011
Plook ฉบับเดือน กุมภาพันธ์ ปี 2011
 
Plook ฉบับเดือน มกราคม ปี 2011
Plook ฉบับเดือน มกราคม ปี 2011Plook ฉบับเดือน มกราคม ปี 2011
Plook ฉบับเดือน มกราคม ปี 2011
 
สาเหตุและวิธีการรักษาอาการนอนกรน
สาเหตุและวิธีการรักษาอาการนอนกรนสาเหตุและวิธีการรักษาอาการนอนกรน
สาเหตุและวิธีการรักษาอาการนอนกรน
 
อีบุ๊ค ใจความสำคัญแห่งพระพุทธศาสนา
อีบุ๊ค ใจความสำคัญแห่งพระพุทธศาสนาอีบุ๊ค ใจความสำคัญแห่งพระพุทธศาสนา
อีบุ๊ค ใจความสำคัญแห่งพระพุทธศาสนา
 
อีบุ๊ค ทำไมต้องค้านเขื่อนแม่วงก์
อีบุ๊ค ทำไมต้องค้านเขื่อนแม่วงก์อีบุ๊ค ทำไมต้องค้านเขื่อนแม่วงก์
อีบุ๊ค ทำไมต้องค้านเขื่อนแม่วงก์
 
ให้สุขแก่ท่าน สุขนั้นถึงตัว
ให้สุขแก่ท่าน สุขนั้นถึงตัวให้สุขแก่ท่าน สุขนั้นถึงตัว
ให้สุขแก่ท่าน สุขนั้นถึงตัว
 
อีบุ๊ค คุณานุคุณไตรภาค
อีบุ๊ค คุณานุคุณไตรภาคอีบุ๊ค คุณานุคุณไตรภาค
อีบุ๊ค คุณานุคุณไตรภาค
 
อีบุ๊ค กองทัพทั้งสิบของมาร
อีบุ๊ค กองทัพทั้งสิบของมารอีบุ๊ค กองทัพทั้งสิบของมาร
อีบุ๊ค กองทัพทั้งสิบของมาร
 
ศาสนาพุทธในประเทศไทย
ศาสนาพุทธในประเทศไทยศาสนาพุทธในประเทศไทย
ศาสนาพุทธในประเทศไทย
 
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
 
อีบุ๊ค Health ฉบับที่ 1
อีบุ๊ค Health ฉบับที่ 1อีบุ๊ค Health ฉบับที่ 1
อีบุ๊ค Health ฉบับที่ 1
 
พญานาค ตำนาน ความเชื่อ หรือความจริง
พญานาค ตำนาน ความเชื่อ หรือความจริงพญานาค ตำนาน ความเชื่อ หรือความจริง
พญานาค ตำนาน ความเชื่อ หรือความจริง
 

บทสวดมนต์ประจำวัน

  • 1.
  • 2. ส วิธีสวด .............................................................................................................๔ คาอธิษฐานอันเชิญเทวดาและขอพรพระ ........................................................๕ ชุมนุมเทวดา....................................................................................................๖ บูชาพระรัตนตรัย ...........................................................................................๗ กราบพระรัตนตรัย.......................................................................................... ๘ คาขอขมาพระรัตนตรัย .................................................................................. ๙ นมัสการพระรัตนตรัย..................................................................................... ๙ ไตรสรณคมน์ ............................................................................................... ๑๐ ถวายพรพระ ................................................................................................. ๑๑ พุทธชัยมงคลคาถา.......................................................................................๑๓ มหาการุณิโก............................................................................................... ๑๗ อิติปิโส เท่าอายุ........................................................................................... ๑๙ แผ่เมตตาแก่ตนเอง ...................................................................................... ๑๙ แผ่เมตตาให้สรรพสัตว์ ................................................................................. ๒๐ แผ่ส่วนกุศล.................................................................................................. ๒๐ กรวดน้าให้เจ้ากรรมนายเวร.........................................................................๒๒ คาอธิษฐานอโหสิกรรม.................................................................................๒๒ คาขอขมารวม...............................................................................................๒๓ คาอธิษฐานขอพร .........................................................................................๒๔ คาถาหลวงพ่อคูณ ........................................................................................๒๕ คาถาบูชาลูกแก้วสารพัดนึก หลวงปูฤาษีลิงดา ............................................๒๕ ่ คาถาบูชาองค์จตุคามรามเทพ ......................................................................๒๖ คาถาเงินล้าน (นาสังสีโม)............................................................................ ๒๗ คาถามหาลาภ .............................................................................................. ๒๗ คาถาค้าขายดี ..............................................................................................๒๘
  • 3. ๓ สาลิกาลิ้นทอง ..............................................................................................๒๘ คาถาชินบัญชร ........................................................................................... ๒๙ ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก ................................................................................๓๖ ธัมมจักกัปปวัตตนสุตตปาฐะ........................................................................ ๕๙ เขมาเขมสรณทีปิกคาถา.............................................................................. ๗๑ ธัมมคารวาทิคาถา ....................................................................................... ๗๒ โอวาทปาติโมกขคาถา................................................................................. ๗๔ ติลักขณาทิคาถา ......................................................................................... ๗๖ บทพิจารณาสังขาร...................................................................................... ๗๘ ภารสุตตคาถา............................................................................................... ๘๐ ภัทเทกรัตตคาถา ..........................................................................................๘๑ อริยธนคาถา .................................................................................................๘๒ อริยมรรคมีองค์ ๘.........................................................................................๘๓ บุคคล ๔ จาพวก .......................................................................................... ๙๑ ดูคนให้ดูที่พฤติกรรม.................................................................................. ๙๒ ปราภวสุตตปาฐะ.......................................................................................... ๙๓ คาอาราธนาศีล ๕ ........................................................................................ ๙๖ คาสมาทานศีล ๕ .........................................................................................๙๗ รัตนสูตร ...................................................................................................... ๙๘ เมตตาสูตร(อานิสงส์การเจริญเมตตา) .......................................................๑๐๗ ธชัคคสูตร ................................................................................................. ๑๑๑ อังคุลิมาลสูตร ........................................................................................... ๑๒๐ ขันธปริตตสูตร .......................................................................................... ๑๓๔ โมรปริตสูตร ............................................................................................. ๑๓๗ อาฏานาฏิยสูตร .........................................................................................๑๓๙ โพชฌงคปริตตสูตร................................................................................... ๑๔๘
  • 4.
  • 5. ๕ ( ๓ )
  • 6. ๖ สะรัชชัง สะเสนัง สะพันธุง นะรินทัง ปะริตตังนุภาโว สะทา รักขะตูติ ผะริตวานะ เมตตัง สะเมตตา ภะทันตา อะวิกขิตตะจิตตา ปะริตตัง ภะณันตุ ท่านผู้เจริญทั้งหลาย ผู้มีเมตตา จงแผ่เมตตาจิต ด้วยคิดว่า ขออานุภาพพระปริตร จงรักษาพระราชาผู้เป็นเจ้าแห่งนรชน พร้อมด้วยราชสมบัติ พร้อมด้วยราชวงศ์ พร้อมด้วยเสนามาตย์ อย่ามีจิตฟุ้งซ่าน ตั้งใจสวดพระปริตร สัคเค กาเม จะ รูเป คิริสขะระตะเฏ จันตะลิกเข วิมาเน ิ ขอเชิญเหล่าเทพเจ้าซึ่งสถิตย์อยู่ในสวรรค์ชนกามภพก็ดี รูปภพก็ดี ั้ และภุมมเทวดา ซึงสถิตย์อยู่ในวิมานหรือยอดเขาและหุบผา ในอากาศก็ดี ่ ทีเป รัฏเฐ จะ คาเม ตะรุวะนะคะหะเน เคหะวัตถุมหิ เขตเต ในเกาะก็ดี ในแว่นแคว้นก็ดี ในบ้านก็ดี ในต้นพฤกษาและป่าชัฏก็ดี ในเรือน ก็ดี ในที่ไร่นาก็ดี ภุมมา จายันตุ เทวา ชะละถะละวิสะเม ยักขะคันธัพพะนาคา เทพยดาทั้งหลาย ซึ่งสถิตย์ตามภาคพื้นดิน รวมทั้งยักษ์ คนธรรพ์และพยานาค ซึ่งสถิตย์อยู่ในน้า บนบก และที่อันไม่ราบเรียบ ก็ดี ติฏฐันตา สันติเก ยัง มุนวะระวะจะนัง สาธะโว เม สุณนตุ ิ ั ซึ่งอยู่ในที่ใกล้เคียง จงมาประชุมพร้อมกันในที่นี้ คาใดเป็นของพระมุนีผู้ประเสริฐ ท่านสาธุชนทั้งหลาย จงสดับคาข้าพเจ้านั้น ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา ดูก่อน ท่านผู้เจริญทั้งหลาย กาลนี้เป็นกาลฟังธรรม
  • 7. ๗ ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา ดูก่อน ท่านผู้เจริญทั้งหลาย กาลนี้เป็นกาลฟังธรรม ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา ดูก่อน ท่านผู้เจริญทั้งหลาย กาลนี้เป็นกาลฟังธรรม
  • 8.
  • 12. ๑๒ ๔ ๘ ๘)
  • 13. ๑๓ ถ ๑. ๑๐ ๒.
  • 17. ๑๗ ๓
  • 19. ๑๙ ( - - - - -
  • 25. ๒๕ ถ ถ ๓ " "
  • 26. ๒๖ ถ
  • 27. ๒๗ ถ ๓ ๙ ( ( ถ ภ ๓ ๓
  • 28. ๒๘ ถ ๓ ๗ ๓
  • 29. ๒๙ ถ ๓ ๒ ๒๘
  • 31. ๓๑ ๕ ๒ ๖ ๗
  • 32. ๓๒ ๘ ๕ ๙ ( )
  • 36. ๓๖ ๐๐ ๗
  • 37. ๓๗ ๓ ๒. ๓.
  • 39. ๓๙ ๒ ๒.
  • 40. ๔๐ ๓ ๓. ๔
  • 41. ๔๑ ๔. ๕
  • 42. ๔๒ ๕. ๖
  • 43. ๔๓ ๖. ๗
  • 44. ๔๔ ๗. ๘ ๘.
  • 45. ๔๕ ๙ ๙. ๐
  • 48. ๔๘ ๒. ๓ ๓.
  • 50. ๕๐ ๔. ๕ ๕.
  • 51. ๕๑ ๖ ๖. ๗ ๗.
  • 52. ๕๒ ๘ ๘. ๙
  • 53. ๕๓ ๙. ๒๐ ๒๐.
  • 54. ๕๔ ๒ ๒ . ๒๒ ๒๒.
  • 55. ๕๕ ๒๓ ๒๓. ๒๔ ๒๔.
  • 57. ๕๗ ๒๗ ๒๗.
  • 59. ๕๙ - -
  • 69. ๖๙ ๓ ๑๒ ๔ ๓ ๑๒ ๔
  • 71. ๗๑ ถ ๔ ๘
  • 74. ๗๔ ถ ๓ ;
  • 80. ๘๐ ภ ถ ๕
  • 81. ๘๑ ภ
  • 83. ๘๓ ๘ ๘ -
  • 93. ๙๓ ภ ๑. ๒. ๓.
  • 96. ๙๖ ๕ - - -
  • 98. ๙๘ รัตนสูตร (ว่าด้วยรัตนทั้ง 3 คือพระพุทธ พระธรรมและพระสงฆ์ สวดเพือปัดเป่า ่ อุปัทวันตรายให้หมดไป) สมัยพุทธกาล เมือครั้งเกิดอหิวาตกโรค ระบาดที่เมืองเวสาลี ในช่วงเวลานั้น ่ เกิดภัยแล้ง ข้าวกล้าในไร่นาเกิดความเสียหายหนัก ผูคนอดอยาก และล้มตาย ้ เป็นจานวนมาก ชาวเมืองเวสาลีนาซากศพเหล่านั้นไปทิ้งไว้นอกเมือง ใน พระไตรปิฎกกล่าวว่า “เพราะกลิ่นซากศพของคนที่ตายทั้งหลาย พวกอมนุษย์ทั้งหลายก็เข้าเมือง ต่อ แต่นนคนก็ตายมากต่อมาก เพราะความปฏิกูลนั้น อหิวาตกโรคย่อมเกิดขึนแก่ ั้ ้ สัตว์ทั้งหลาย” ชาวเมืองเวสาลีช่วยกันค้นหาสาเหตุของทุพภิกขภัยครังนี้ ้ ได้กราบทูล พระราชาว่า คงเป็นเพราะพระองค์ไม่ตั้งอยู่ในธรรมกระมัง จึงเกิดทุกข์เข็ญ เช่นนี้ พระราชารับสั่งให้ช่วยตรวจสอบว่า พระองค์ไม่ตั้งอยู่ในธรรมข้อใด ประชาชนก็ช่วยกันพิจารณาตรวจสอบแต่ไม่พบข้อบกพร่องแต่อย่างใด ต่อมามีบางพวกเสนอว่า บัดนี้พระผู้มีพระภาคเจ้าได้บงเกิดขึ้นแล้ว พระองค์ ั เป็นผู้มีฤทธิ์มาก มีอานุภาพมาก ขอได้โปรดกราบบังคมทูลเชิญเสด็จพระพุทธ องค์มาโปรดชาวเมืองเวสาลีด้วยเถิด ในขณะนั้นพระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่เมืองราชคฤห์ และพระเจ้าพิมพิสารทรง อุปัฏฐากพระพุทธองค์อยู่ เมื่อพระพุทธองค์ทรงทราบว่าชาวเมืองเวสาลีได้ทูล อาราธนาพระองค์เสด็จดับทุกข์ให้ จึงทรงรับด้วยทรงทราบชัดว่า
  • 99. ๙๙ "เมือเราแสดงรัตนสูตรในเมืองเวสาลีแล้ว ่ อารักขาจะแผ่ไปตลอดแสนโกฏิ จักรวาล ในเวลาจบพระสูตร ธรรมาภิสมัยจักมีแก่สตว์แปดหมืนสีพน" ั ่ ่ ั เมื่อพระพุทธองค์เสด็จไปถึงเมืองเวสาลี เกิดฝนตกหนัก เรียกว่า "ฝนโบกขร พรรษ" เป็นฝนพิเศษ เพราะผู้ใดต้องการจะเปียกฝน ก็เปียก ผู้ใดไม่ต้องการ เปียก ก็จะไม่เปียก ฝนตกหนักจนเกิดน้าท่วมถึงเข่า ถึงเอว ถึงคอ แล้วน้าพัด พาเอาซากศพเหล่านั้นลงไปในแม่นาคงคาจนหมดสิน ้ ้ แผ่นดินก็สะอาด บริสุทธิ์ขึ้น ต่อมาพระผู้มีพระภาคเจ้าประทับยืนอยู่ที่ประตูพระนคร ตรัสเรียกพระอานนท์ มาแล้วตรัสสอน "รัตนสูตร" แก่พระอานนท์ แล้วโปรดให้ทาน้าพระพุทธมนต์ ประพรมไปทั่วเมือง ในพระไตรปิฎกกล่าวไว้ว่า "เพื่อกาจัดอุปัทวะเหล่านั้น ที่ประตูพระนครเวสาลี สวดอยู่เพื่อป้องกัน ใช้ บาตรของพระผู้มีพระภาคเจ้าตักน้า เที่ยวประพรมอยู่ทั่วพระนคร ก็เมื่อพระ เถระกล่าวคาว่า "ยังกิญจิ" เท่านั้น พวกอมนุษย์ทั้งหลายที่อาศัยกองหยากเยื่อ และประเทศแห่งฝาเรือนเป็นต้น ซึงยังไม่หนีไปในกาลก่อน ก็พากันหนีไปทาง ่ ประตูทั้ง ๔ ....เมื่อพวกอมนุษย์ไปกันแล้ว โรคของมนุษย์ทั้งหลายก็สงบ" ดังนี้ ขัดระตะนะสุตตัง ราชะโต วา โจระโต วา มะนุสสะโต วา อะมะนุสสะโต วา อัคคิโต วา อุทะกะโต วา ปิสาจะโต วา ขาณุกะโต วา กัณฏะกะโต วา นักขัตตะโต วา ชะนะปะทะโร คะโต วา อะสัทธัมมะโต วา อะสันทิฏฐิโต วา อะสัปปุรสะโต วา จัณฑะหัตถิ ิ อัสสะมิคะโคณะกุกกุระอะหิวจฉิกะมะนิสปปะทีปอจฉะตะ รัจฉะสุกะระมะหิสะ ิ ั ิ ั ยักขะรักขะสาทีหิ นานาภะยะโต วา นานาโรคะโต วา นานาอุปททะวะโต วา ั อารักขังคัณหันตุ ฯ
  • 100. ๑๐๐ ขอเหล่าเทพดาจงคุ้มครองให้พนจากราชภัย โจรภัย มนุสสภัย อมนุสสภัย ้ อัคคีภัย อุทกภัย ภัยจากปีศาจ ภัยจากเคราะห์ร้ายยามร้าย จากโรคภัยไข้เจ็บ จากอสัทธรรม จากมิจฉา ทิฏฐิ คือความเห็นผิด จากคนชัว จากภัยต่างๆ อัน ่ เกิดแต่สตว์ร้ายนานาชนิด และจากอมนุษย์ มียักษ์และนางผีเสื้อน้า เป็นต้น ั จากโรคต่างๆ จากอุปัททวะต่างๆ ปะณิธานะโต ปัฏฐายะ ตะถาคะตัสสะ ทะสะ ปาระมิโย ทะสะ อุปะปาระมิโย ทะ สะ ปะระมัตถะปาระมิโย ปัญจะ มะหาปะริจจาเค ติสโส จะริยา ปัจฉิมพภะเว ั คัพภาวักกันติง ชาติง อะภินกขะมะนัง ปะธานะจะริยง โพธิปลลังเก มาระวิชะ ิ ั ั ยัง สัพพัญญุตะญาณัปปะฏิเวธัง นะวะ โลกุตตะระธัมเมติ สัพเพปิเม พุทธะ คุเณ อาวัชชิตวา เวสาลิยา ตีสุ ปาการันตะเรสุ ติยามะรัตติง ปะริตตัง กะโรน โต อายัสมา อานันทัตเถโร วิยะ การุญญะจิตตัง อุปฏฐะเปตวา ฯ ั เราทั้งหลาย จงตังจิตอันประกอบไปด้วยความกรุณาในสัตว์ทั้งหลาย ดังพระ ้ อานนทเถระผู้มีอายุ นึกถึงพระพุทธคุณทั้งหลายแม้ทั้งปวงของพระตถาคตเจ้า จาเดิมแต่ปรารถนาพุทธภูมิมา คือบารมี ๑๐ อุปบารมี ๑๐ ปรมัตถบารมี ๑๐ มหาบริจาค ๕ จริยา ๓ เสด็จลงสู่คพโภทร ในภพมีในที่สุด ประสูติ เสด็จออก ั อภิเนษกรมณ์ บาเพ็ญทุกขกิริยาชนะมาร ตรัสรู้พระสัพพัญญุตญาณ ณ โพธิบัลลังก์นวโลกุตรธรรม ๙ ดังนี้ แล้วกระทาพระปริตรตลอดราตรีทั้ง ๓ ยาม ในภายในกาแพง ๓ ชัน ในเมืองเวสาลี ้ โกฏิสะตะสะหัสเสสุ จักกะวาเฬสุ เทวะตา ยัสสาณัมปะฏิคคัณหันติ ยัญจะ เว สาลิยมปุเร ั โรคามะนุสสะทุพภิกขะสัมภูตนติวธมภะยัง ั ิ ั ขิปปะมันตะระธาเปสิ ปะริต ตันตัมภะณามะ เห ฯ
  • 101. ๑๐๑ เทวดาทั้งหลายในแสนโกฏิจักรวาล ย่อมรับเอาแม้ซึ่งอาชญาแห่งพระปริตร อันใด อนึ่ง พระปริตรอันใด ยังภัย ๓ ประการอันเกิดจากโรค อมนุษย์ และข้าว แพงในเมืองเวสาลี ให้อันตรธานไปโดยเร็วพลัน เราทั้งหลาย จงสวดพระปริตร อันนั้นเทอญ. บทระตะนะสุตตัง ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ ภุมมานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเข สัพเพ วะ ภูตา สุมะนา ภะวันตุ อะโถปิ สักกัจจะ สุณนตุ ภาสิตง ั ั ตัสมา หิ ภูตา นิสาเมถะ สัพเพ เมตตัง กะโรถะ มานุสยา ปะชายะ ิ ทิวา จะ รัตโต จะ หะรันติ เย พะลิง ตัสมา หิ เน รักขะถะ อัปปะมัตตา ฯ หมู่ภูตประจาถิ่นเหล่าใด ประชุมกันแล้วในนครนี้ก็ดี เหล่าใดประชุมกันแล้ว ในอากาศก็ดี ขอหมู่ภูตทั้งปวงจงเป็นผู้ดีใจและจงฟังภาษิตโดยเคารพ เพราะ เหตุนั้นแล ท่านภูตทั้งปวงจงตั้งใจฟัง กระทาไมตรีจิต ในหมู่มนุษยชาติ ประชุมชนมนุษย์เหล่าใด ย่อมสังเวยทั้งกลางวันกลางคืน เพราะเหตุนั้นแล ท่านทั้งหลาย จงเป็นผู้ไม่ประมาท รักษาหมู่มนุษย์เหล่านั้น ยังกิญจิ วิตตัง อิธะ วา หุรง วา สัคเคสุ วา ยัง ระตะนัง ปะณีตง ั ั นะ โน สะมัง อัตถิ ตะถาคะเตนะ อิทมปิ พุทเธ ระตะนัง ปะณีตง ั ั เอเตนะ สัจเจนะ สุวตถิ โหตุ ฯ ั ทรัพย์เครื่องปลื้มใจ อันใดอันหนึง ในโลกนีหรือโลกอืน หรือรัตนะอันใด อัน ่ ้ ่ ประณีตในสวรรค์ รัตนะอันนันเสมอด้วยพระตถาคตเจ้าไม่มีเลย แม้อันนี้ เป็น ้ รัตนะ อันประณีตในพระพุทธเจ้า ด้วยคาสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมี
  • 102. ๑๐๒ ขะยัง วิราคัง อะมะตัง ปะณีตง ยะทัชฌะคา สักยะมุนี สะมาหิโต ั นะ เตนะ ธัมเมนะ สะมัตถิ กิญจิ อิทมปิ ธัมเม ระตะนัง ปะณีตง ั ั เอเตนะ สัจเจนะ สุวตถิ โหตุ ฯ ั พระศากยมุนเจ้า มีพระหฤทัยดารงมั่น ได้บรรลุธรรมอันใดเป็นที่สิ้นกิเลส เป็น ี ที่สิ้นราคะ เป็นอมฤตธรรมอันประณีต สิ่งไรๆ เสมอด้วยพระธรรมนั้นย่อมไม่มี แม้อันนี้เป็นรัตนะอันประณีตในพระธรรม ด้วยคาสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมี ยัมพุทธะเสฏโฐ ปะริวณณะยี สุจง สะมาธิมานันตะริกญญะมาหุ ั ิ ั สะมาธินา เตนะ สะโม นะ วิชชะติ อิทมปิ ธัมเม ระตะนัง ปะณีตง ั ั เอเตนะ สัจเจนะ สุวตถิ โหตุ ฯ ั พระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐสุด ทรงสรรเสริญแล้วซึ่งสมาธิอันใด ว่าเป็นธรรมอัน สะอาด บัณฑิตทังหลายกล่าวซึงสมาธิอันใด ว่าให้ผลโดยลาดับ สมาธิอื่น ้ ่ เสมอด้วยสมาธินนย่อมไม่มี แม้อนนี้ เป็นรัตนะอันประณีตในพระธรรม ด้วย ั้ ั คาสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมี เย ปุคคะลา อัฏฐะ สะตัง ปะสัฏฐา จัตตาริ เอตานิ ยุคานิ โหนติ เต ทักขิเณยยา สุคะตัสสะ สาวะกา เอเตสุ ทินนานิ มะหัปผะลานิ อิทมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตง เอเตนะ สัจเจนะ สุวตถิ โหตุ ฯ ั ั ั บุคคลเหล่าใด ๘ จาพวก ๔ คู่ อันสัตบุรุษทั้งหลายสรรเสริญแล้ว บุคคล เหล่านั้นเป็นสาวกของพระสุคต ควรแก่ทักษิณาทาน ทานทั้งหลาย อันบุคคล ถวายในท่านเหล่านั้น ย่อมมีผลมาก แม้อันนี้ เป็นรัตนะอันประณีตในพระสงฆ์ ด้วยคาสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมี
  • 103. ๑๐๓ เย สุปปะยุตตา มะนะสา ทัฬเหนะ นิกกามิโน โคตะมะสาสะนัมหิ เต ปัตติปตตา อะมะตัง วิคยหะ ลัทธา มุธา นิพพุตง ภุญชะมานา ั ั ิ อิทมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตง เอเตนะ สัจเจนะ สุวตถิ โหตุ ฯ ั ั ั พระอริยบุคคลทั้งหลายเหล่าใด ในศาสนาพระโคดมเจ้า ประกอบดีแล้ว มีใจ มั่นคง มีความใคร่ ออกไปแล้ว พระอริยบุคคลทั้งหลายเหล่านั้น ถึงพระ อรหัตผลที่ควรถึงหยั่งเข้าสู่พระนิพพาน ได้ซงความดับกิเลส โดยเปล่าๆ แล้ว ึ่ เสวยผลอยู่ แม้อนนี้ เป็นรัตนะอันประณีตในพระสงฆ์ ด้วยคาสัตย์นี้ ขอความ ั สวัสดีจงมี ยะถินทะขีโล ปะฐะวิง สิโต สิยา จะตุพภิ วาเตภิ อะสัมปะกัมปิโย ตะถูปะมัง สัปปุรสง วะทามิ โย อะริยะสัจจานิ อะเวจจะ ปัสสะติ ิ ั อิทมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตง เอเตนะ สัจเจนะ สุวตถิ โหตุ ฯ ั ั ั เสาเขื่อนที่ลงดินแล้ว ไม่หวันไหวด้วยพายุ ๘ ทิศ ฉันใด ผู้ใด เล็งเห็นอริยสัจ ่ ทั้งหลาย เราเรียกผู้นั้นว่า เป็นสัตบุรุษผู้ไม่หวั่นไหวด้วยโลกธรรม อุปมาฉัน นั้น แม้อันนี้เป็นรัตนะอันประณีตในพระสงฆ์ ด้วยคาสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจง มี เย อะริยะสัจจานิ วิภาวะยันติ คัมภีระปัญเญนะ สุเทสิตานิ กิญจาปิ เต โหนติ ภุสปปะมัตตา นะ เต ภะวัง อัฏฐะมะมาทิยนติ ั ั อิทมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตง เอเตนะ สัจเจนะ สุวตถิ โหตุ ฯ ั ั ั พระโสดาบันจาพวกใด กระทาให้แจ้งอยู่ ซึ่งอริยสัจทั้งหลายอันพระศาสดาผู้ มีปัญญาอันลึกซึ้งแสดงดีแล้ว พระโสดาบันจาพวกนัน ยังเป็นผู้ประมาทก็ดี ้ ถึงกระนัน ท่านย่อมไม่ถือเอาภพที่ ๘ (คือเกิดอีกอย่างมาก ๗ ชาติ) แม้อนนี้ ้ ั เป็นรัตนะอันประณีตในพระสงฆ์ ด้วยคาสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมี
  • 104. ๑๐๔ สะหาวัสสะ ทัสสะนะสัมปะทายะ ตะยัสสุ ธัมมา ชะหิตา ภะวันติ สักกายะทิฏฐิ วิจิกจฉิตญจะ สีลพพะตัง วาปิ ยะทัตถิ กิญจิ ิ ั ั จะตูหะปาเยหิ จะ วิปปะมุตโต ฉะ จาภิฐานานิ อะภัพโพ กาตุง อิทมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตง เอเตนะ สัจเจนะ สุวตถิ โหตุ ฯ ั ั ั สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาส อันใดอันหนึงยังมีอยู่ ธรรมเหล่านั้น ่ อันพระโสดาบัน ละได้แล้ว พร้อมด้วยทัสสนะสมบัติ (คือโสดาปัตติมรรค) ทีเดียว อนึ่งพระโสดาบันเป็นผู้พ้นแล้ว จากอบายทั้ง ๔ ไม่อาจเพื่อจะกระทา อภิฐานทั้ง ๖ (คืออนันตริยกรรม ๕ และการเข้ารีต) แม้อันนี้ เป็นรัตนะอัน ประณีตในพระสงฆ์ ด้วยคาสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมี - กิญจาปิ โส กัมมัง กะโรติ ปาปะกัง กาเยนะ วาจายุทะ เจตะสา วา อะภัพโพ โส ตัสสะ ปะฏิจฉะทายะ อะภัพพะตา ทิฏฐะปะทัสสะ วุตตา อิทมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตง เอเตนะ สัจเจนะ สุวตถิ โหตุ ฯ ั ั ั พระโสดาบันนั้น ยังกระทาบาปกรรม ด้วยกายหรือวาจาหรือใจได้บ้าง (เพราะ ความพลั้งพลาด) ถึงกระนันท่านไม่ควรเพื่อจะปกปิดบาปกรรมอันนั้น ความ ้ เป็นผู้มีทางพระนิพพาน อันเห็นแล้ว ไม่ควรปกปิดบาปกรรมนั้น อันพระผู้มี พระภาคเจ้าตรัสแล้ว แม้อันนี้ เป็นรัตนะอันประณีตในพระสงฆ์ ด้วยคาสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมี วะนัปปะคุมเพ ยะถา ผุสสิตคเค คิมหานะมาเส ปะฐะมัสมิง คิมเห ั ตะถูปะมัง ธัมมะวะรัง อะเทสะยิ นิพพานะคามิง ปะระมัง หิตายะ อิทมปิ พุทเธ ระตะนัง ปะณีตง เอเตนะ สัจเจนะ สุวตถิ โหตุ ฯ ั ั ั พุ่มไม้ในป่า มียอดอันบานแล้ว ในเดือนต้นคิมหะแห่งคิมหฤดูฉันใด พระผู้มี พระภาคเจ้าได้ทรงแสดงพระธรรมให้ถึงพระนิพพาน เพื่อประโยชน์แก่สัตว์
  • 105. ๑๐๕ ทั้งหลาย มีอปมาฉันนั้น แม้อันนี้ เป็นรัตนะอันประณีตในพระพุทธเจ้า ด้วยคา ุ สัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมี วะโร วะรัญญู วะระโท วะราหะโร อะนุตตะโร ธัมมะวะรัง อะเทสะยิ อิทมปิ พุทเธ ระตะนัง ปะณีตง เอเตนะ สัจเจนะ สุวตถิ โหตุ ฯ ั ั ั พระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐทรงทราบธรรมอันประเสริฐ ทรงประทานธรรมอัน ประเสริฐ ทรงนามาซึ่งธรรมอันประเสริฐ ไม่มีผู้ยิ่งไปกว่า ได้ทรงแสดงธรรมอันประเสริฐ พุทธรัตนะแม้นี้เป็นรัตนะอันประณีต ด้วยสัจจ วาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่สัตว์เหล่านี้ ขีณง ปุราณัง นะวัง นัตถิ สัมภะวัง วิรตตะจิตตายะติเก ภะวัสมิง ั ั เต ขีณะพีชา อะวิรฬหิฉนทา นิพพันติ ธีรา ยะถายัมปะทีโป ุ ั อิทมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตง เอเตนะ สัจเจนะ สุวตถิ โหตุ ฯ ั ั ั กรรมเก่าของพระอริยบุคคลเหล่าใดสินแล้ว กรรมสมภพใหม่ย่อมไม่มี พระ ้ อริยบุคคลเหล่าใด มีจิตอันหน่ายแล้วในภพต่อไป พระอริยบุคคลเหล่านัน มี ้ พืชสิ้นไปแล้ว มีความพอใจงอกไม่ได้แล้ว เป็นผู้มีปัญญา ย่อมปรินิพพาน เหมือนประทีปอันดับไป ฉะนั้น แม้อนนี้ เป็นรัตนะอันประณีตในพระสงฆ์ ด้วย ั คาสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมี ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ ภุมมานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเข ตะถาคะตัง เทวะมะนุสสะปูชตง พุทธัง นะมัสสามะ สุวตถิ โหตุ ฯ ิ ั ั ภูตประจาถิ่นเหล่าใด ประชุมกันแล้วในพระนครก็ดี เหล่าใดประชุมกันแล้วใน อากาศก็ดี เราทั้งหลาย จงนมัสการพระพุทธเจ้าผู้มาแล้วอย่างนัน ผู้อันเทพดา ้ และมนุษย์บูชาแล้ว ขอความสวัสดีจงมี
  • 106. ๑๐๖ ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ ภุมมานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเข ตะถาคะตัง เทวะมะนุสสะปูชตง ธัมมัง นะมัสสามะ สุวตถิ โหตุ ฯ ิ ั ั ภูตประจาถิ่นเหล่าใด ประชุมกันแล้วในพระนครนี้ก็ดี เหล่าใดประชุมกันแล้ว ในอากาศก็ดี เราทั้งหลาย จงนมัสการพระธรรมอันมาแล้วอย่างนั้น อันเทพดา และมนุษย์บูชาแล้ว ขอความสวัสดีจงมี ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ ภุมมานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเข ตะถาคะตัง เทวะมะนุสสะปูชตง สังฆัง นะมัสสามะ สุวตถิ โหตุ ฯ ิ ั ั ภูตประจาถิ่นเหล่าใด ประชุมกันแล้วในพระนครนี้ก็ดี เหล่าใดประชุมกันแล้ว ในอากาศก็ดี เราทั้งหลาย จงนมัสการพระสงฆ์ผู้มาแล้วอย่างนัน ผู้อันเทพดา ้ และมนุษย์บูชาแล้ว ขอความสวัสดีจงมี.
  • 108. ๑๐๘ ๑๑ ๑๑ ๑) ๒) ๓) ๔) ๕)
  • 111. ๑๑๑ บทขัดธชคฺคปริตต ฺ ยสฺสานุสสรเณนาปิ อนฺตลิกเขปิ ปาณิโน ฺ ฺ สัตว์ทั้งหลาย ย่อมประสบที่พึ่ง แม้ในอากาศดุจในแผ่นดินในกาลทุกเมื่อ ปติฏฐมธิคจฺฉนฺติ ภูมิย วิย สพฺพทา ฺ และความนับสัตว์ทั้งหลายผู้พ้นแล้วจากข่าย สพฺพปทฺทวชาลมฺหา ยกฺขโจราทิสมฺภวา ู คืออุปัทวะทั้งปวงอันเกิดแก่สัตว์มียักษ์และโจรเป็นต้นมิได้มี คณนา น จ มุตตาน ฺ แม้ด้วยการตามระลึกพระปริตรอันใด ปริตตนฺตมฺภณาม เหฯ ฺ เราทั้งหลายจงสวดพระปริตรนั้นเทอญ ฯ บทธะชัคคะปะริตตัง เอวมฺเม สุต อันข้าพเจ้า (คือพระอานนท์เถระ) ได้สดับมาแล้วอย่างนีฯ ้ เอก สมย ภควา สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้า สาวตฺถย วิหรติ เชตวเน อนาถปิณฑกสฺส อาราเม ิ ฺ ิ เสด็จประทับอยู่ ที่เชตวันวิหาร อารามของท่านอนาถบิณฑิกมหาเศรษฐี ใกล้ เมืองสาวัตถี ฯ
  • 112. ๑๑๒ ตตฺร โข ภควา ภิกขู อามนฺเตสิ ภิกขโวติ ฯ ฺ ฺ ในกาลนั้นแล พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกพระภิกษุทั้งหลายมาว่า ดูกรภิกษุ ทั้งหลาย ดังนีแลฯ ้ ภทนฺเตติ เต ภิกขู ภควโต ปจฺจสฺโสสุ ฯ ฺ พระภิกษุเหล่านัน ้ จึงทูลรับพระพุทธพจน์ ของพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า พระพุทธเจ้าข้า ดังนีฯ ้ ภควา เอตทโวจ ภูตปุพพ ภิกขเว ฺ ฺ พระผู้มีพระภาคจึงได้ตรัสพระพุทธพจน์นี้ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เรื่องดึกดา บรรพ์เคยมีมาแล้ว เทวาสุรสงฺคาโม สมุปพฺยโฬฺห อโหสิ ฯ ู สงครามระหว่างเทพดากับอสูรได้เกิดประชิดกันแล้ว อถ โข ภิกขเว สกฺโก ฺ ครั้งนั้นแล ภิกษุทั้งหลาย ท้าวสักกเทวราช เทวานมินโท เทเว ตาวตึเส อามนฺเตสิ ฺ ผู้เป็นเจ้าแห่งพวกเทพดา เรียกหมู่เทพดาในชั้นดาวดึงส์มาสั่งว่า สเจ มาริสา เทวาน สงฺคามคตาน อุปปชฺเชยฺย ภย วา ฉมฺภตตฺต วา โลมหโส วา ฺ ิ ดูก่อนท่านผู้นิรทุกข์ ถ้าความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุงก็ดี ขนพองสยองเกล้า ้ ก็ดี พึงบังเกิดขึ้นแก่หมู่เทพดาผู้ไปสู่สงคราม ในสมัยใด มเมว ตสฺมึ สมเย ธชคฺค อุลโลเกยฺยาถ ฯ ฺ ในสมัยนัน ท่านทังหลายพึงแลดูชายธงของเรานันเทียว ้ ้ ่ มมญฺหิ โว ธชคฺค อุลโลกยต ฺ เพราะว่าเมื่อท่านทังหลายแลดูชายธงของเราอยู่ ้ ยมฺภวิสสติ ภย วา ฉมฺภตตฺต วา โลมหโส วา ฺ ิ ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุงก็ดี ความขนพองสยองเกล้าก็ดี อันใดจักมี ้ โส ปหียสสติ ฯ โน เจ เม ธชคฺค อุลโลเกยฺยาถ ิ ฺ ฺ อันนั้นจักหายไป ถ้าท่านทั้งหลาย ไม่แลดูชายธงของเรา
  • 113. ๑๑๓ อถ ปชาปติสส เทวราชสฺส ธชคฺค อุลโลเกยฺยาถ ฯ ฺ ฺ ทีนั้น ท่านทั้งหลาย พึงแลดูชายธงของเทวราช ชือ ปชาบดี ่ ปชาปติสส หิ โว เทวราชสฺส ธชคฺค อุลโลกยต ฺ ฺ เพราะว่าเมื่อท่านทังหลายแลดูชายธงของเทวราช ชือปชาบดีอยู่ ้ ่ ยมฺภวิสสติ ภย วา ฉมฺภตตฺต วา โลมหโส วา ฺ ิ ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุงก็ดี ความขนพองสยองเกล้าก็ดี อันใดจักมี ้ โส ปหียสสติ ฯ โน เจ ปชาปติสส เทวราชสฺส ธชคฺค อุลโลเกยฺยาถ ิ ฺ ฺ ฺ อันนั้นจักหายไปฯ ถ้าท่านทั้งหลาย ไม่แลดูชายธงของเทวราช ชือ ปชาบดี ่ อถ วรุณสฺส เทวราชสฺส ธชคฺค อุลโลเกยฺยาถ ฯ ฺ ทีนั้นพวกท่านพึงแลดู ชายธงของเทวราช ชือวรุณ ่ วรุณสฺส หิ โว เทวราชสฺส ธชคฺค อุลโลกยต ฺ เพราะว่าเมื่อท่านทังหลายแลดูชายธงของเทวราช ชือวรุณอยู่ ้ ่ ยมฺภวิสสติ ภย วา ฉมฺภตตฺต วา โลมหโส วา ฺ ิ ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุงก็ดี ขนพองสยองเกล้าก็ดี อันใดจักมี ้ โส ปหียสสติ ฯ ิ ฺ อันนั้นจักหายไป โน เจ วรุณสฺส เทวราชสฺส ธชคฺค อุลโลเกยฺยาถ ฺ ถ้าท่านทั้งหลายไม่แลดูชายธงของเทวราช ชือวรุณ ่ อถอีสานสฺส เทวราชสฺส ธชคฺค อุลโลเกยฺยาถ ฯ ฺ ทีนั้นพวกท่านพึงแลดู ชายธงของเทวราช ชืออีสาน ่ อีสานสฺส หิ โว เทวราชสฺส ธชคฺค อุลโลกยต ฺ เพราะว่าเมื่อท่านทังหลายแลดูชายธงของเทวราชชื่ออีสานอยู่ ้ ยมฺภวิสสติ ภย วา ฉมฺภตตฺต วา โลมหโส วา ฺ ิ ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุงก็ดี ขนพองสยองเกล้าก็ดีอันใดจักมี ้ โส ปหียสสตีติ ฯ ิ ฺ อันนั้นจักหายไป ดังนี้
  • 114. ๑๑๔ ต โข ปน ภิกขเว ฺ ดูก่อนภิกษุทั้งหลายก็ข้อนั้นแล สกฺกสฺส วา เทวานมินทสฺส ธชคฺคอุลโลกยต ฺ ฺ คือการแลดูชายธงของสักกเทวราชผูเป็นเจ้าแห่งเทพดาก็ตาม ้ ปชาปติสส วา เทวราชสฺส ธชคฺค อุลโลกยต ฺ ฺ การแลดูชายธงของเทวราช ชื่อปชาบดีก็ตาม วรุณสฺส วา เทวราชสฺส ธชคฺค อุลโลกยตฺ การแลดูชายธงของเทวราช ชื่อวรุณก็ตาม อีสานสฺส วาเทวราชสฺส ธชคฺค อุลโลกยต ฺ การแลดูชายธงของเทวราชชืออีสานก็ตาม ่ ยมฺภวิสสติ ภย วา ฉมฺภตตฺต วา โลมหโส วา ฺ ิ ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุงก็ดี ขนพองสยองเกล้าก็ดี อันใดจักมี ้ โส ปหีเยถาปิ โนปิ ปหีเยถ อันนั้นพึงหายไปได้บ้าง ไม่ได้บ้าง ต กิสส เหตุ ฺ ข้อนั้นเป็นเพราะเหตุแห่งอะไร สกฺโก หิ ภิกขเว เทวานมินโท ฺ ฺ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุว่าท้าวสักกเทวราชผู้เป็นเจ้าแห่งเทพดา อวีตราโค อวีตโทโส อวีตโมโห เธอมีราคะยังไม่สิ้นไป มีโทสะยังไม่สิ้นไป มีโมหะยังไม่สิ้นไป ภีรุ ฉมฺภี อุตราสี ปลายีติ ฯ ฺ เธอยังเป็นผู้กลัว ยังเป็นผู้หวาด ยังเป็นผู้สะดุง ยังเป็นผูหนี ดังนี้ ้ ้ อหญฺจ โข ภิกขเว เอว วทามิ ฺ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ส่วนเราแลกล่าวอย่างนี้ว่า
  • 115. ๑๑๕ สเจ ตุมหาก ภิกขเว อรญฺญคตาน วา รุกขมูลคตาน วา สุญญาคารคตาน วา ฺ ฺ ฺ ฺ ถ้าว่าเมื่อท่านทั้งหลาย ไปอยู่ในป่าก็ตาม ไปอยู่ที่โคนต้นไม้กตาม ไปอยู่ใน ็ เรือนเปล่าก็ตาม อุปปชฺเชยฺย ภย วา ฉมฺภตตฺต วา โลมหโส วา ฺ ิ ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุงก็ดี ขนพองสยองเกล้าก็ดี พึงเกิดขึ้นในสมัยใด ้ มเมว ตสฺมึ สมเย อนุสสเรยฺยาถ ฺ ในสมัยนัน ท่านทังหลายพึงระลึกถึงเรานั่นเทียวว่า ้ ้ อิตปิ โส ภควา ิ แม้เพราะเหตุนๆ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ี้ อรห เป็นผู้ไกลกิเลส เป็นผู้ควรไหว้ ควรบูชา สมฺมาสมฺพทโธ ุ ฺ เป็นผู้รู้ชอบเอง วิชชาจรณสมฺปนฺโน ฺ เป็นผู้บริบูรณ์แล้วด้วยวิชชาและจรณะ สุคโต โลกวิทู อนุตตโร ปุรสทมฺมสารถิ ฺ ิ เป็นพระสุคตผู้เสด็จไปดีแล้ว เป็นผูทรงรู้โลก เป็นผูฝึกบุรุษที่ควรฝึก ไม่มี ้ ้ ผู้อื่นยิ่งกว่า สตฺถา เทวมนุสสาน พุทโธ ภควาติ ฯ ฺ ฺ เป็นศาสดาผู้สอนของเทพดา และมนุษย์ทั้งหลาย เป็นผู้เบิกบานแล้ว เป็นผู้ จาแนกธรรมดังนี้ มม หิ โว ภิกขเว อนุสสรต ฺ ฺ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะว่าเมื่อท่านทั้งหลาย ตามระลึกถึงเราอยู่ ยมฺภวิสสติ ภย วา ฉมฺภตตฺต วา โลมหโส วา ฺ ิ ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุงก็ดี ขนพองสยองเกล้าก็ดี อันใดจักมี ้
  • 116. ๑๑๖ โส ปหียสสติ ฯ ิ ฺ อันนั้นจักหายไป โน เจ ม อนุสสเรยฺยาถ ฺ ถ้าท่านทั้งหลายไม่ระลึกถึงเรา อถ ธมฺม อนุสสเรยฺยาถ ฺ ทีนั้นพึงตามระลึกถึงพระธรรมว่า สฺวากฺขาโต ภควตา ธมฺโม พระธรรมอันพระผู้มีพระภาคตรัสดีแล้ว สนฺทฏฺฐโก ิ ิ เป็นของอันบุคคลพึงเห็นเอง อกาลิโก เป็นของไม่มีกาลเวลา เอหิปสฺสโก ิ เป็นของจะร้องเรียกผู้อื่นให้มาดูได้ โอปนยิโก เป็นของอันบุคคลพึงน้อมเข้ามาใส่ใจ ปจฺจตฺต เวทิตพฺโพ วิญฺ ูหติ ฯ ี เป็นของอันวิญญูชนทั้งหลาย พึงรู้เฉพาะตัว ดังนี้ ธมฺม หิ โว ภิกขเว อนุสสรต ฺ ฺ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะว่าเมื่อท่านทั้งหลาย ตามระลึกถึงพระธรรมอยู่ ยมฺภวิสสติ ภย วา ฉมฺภตตฺต วา โลมหโส วา ฺ ิ ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุงก็ดี ขนพองสยองเกล้าก็ดี อันใดจักมี ้ โส ปหียสสติ ฯ โน เจ ธมฺม อนุสสเรยฺยาถ ิ ฺ ฺ ก็จักหายไป ถ้าท่านทั้งหลายไม่ตามระลึกถึงพระธรรม อถ สงฺฆ อนุสสเรยฺยาถ ฺ ทีนั้นพวกเธอพึงตามระลึกถึงพระสงฆ์ว่า
  • 117. ๑๑๗ สุปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นผู้ปฏิบัติดีแล้ว อุชปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ ุ พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นผู้ปฏิบัติตรงแล้ว ญายปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นผู้ปฏิบัติถูกแล้ว สามีจปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ ิ พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นผู้ปฏิบัติชอบแล้ว ยทิท คือ จตฺตาริ ปุรสยุคานิ ิ คู่แห่งบุรุษทั้งหลาย ๔ อฏฺฐ ปุรสปุคคลา ิ ฺ บุรุษบุคคลทั้งหลาย ๘ เอส ภควโต สาวกสงฺโฆ นี่พระสงฆ์สาวก ของพระผู้มีพระภาคเจ้า อาหุเนยฺโย ท่านเป็นผู้ควรแก่สักการะที่เขานามาบูชา ปาหุเนยฺโย ท่านเป็นผู้ควรของต้อนรับ ทกฺขเณยฺโย ิ ท่านเป็นผู้ควรทักษิณาทาน อญฺชลิกรณีโย ท่านเป็นผู้ควรแก่การทาอัญชลีกรรม อนุตตร ปุญญกฺเขตฺต โลกสฺสาติ ฯ ฺ ฺ ท่านเป็นนาบุญของโลก ไม่มีนาอืนยิงไปกว่าดังนี้ ่ ่
  • 118. ๑๑๘ สงฺฆ หิ โว ภิกขเวอนุสสรต ฺ ฺ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะว่าเมื่อท่านทั้งหลาย ระลึกถึงพระสงฆ์อยู่ ยมฺภวิสสติ ภย วา ฉมฺภตตฺต วา โลมหโส วา ฺ ิ ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุงก็ดี ขนพองสยองเกล้าก็ดี อันใดจักมี ้ โส ปหียสสติ ิ ฺ อันนั้นจักหายไป ต กิสส เหตุ ฺ ข้อนั้นเป็นเพราะเหตุแห่งอะไร ตถาคโต หิ ภิกขเว ฺ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุว่าพระตถาคต อรห สมฺมาสมฺพทโธ ุ ฺ เป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า วีตราโค วีตโทโส วีตโมโห มีราคะสิ้นไปแล้ว มีโทสะสิ้นไปแล้ว มีโมหะสินไปแล้ว ้ อภีรุ อจฺฉมฺภี เป็นผู้ไม่กลัว เป็นผู้ไม่หวาด อนุตตราสี อปลายีติ ฯ ฺ เป็นผู้ไม่สะดุ้ง เป็นผู้ไม่หนี ดังนี้แล อิทมโวจ ภควา พระผู้มีพระภาคเจ้า ได้ตรัสพระพุทธพจน์นี้ อิท วตฺวาน สุคโต พระผู้เป็นพระสุคต ครั้นตรัสพระพุทธพจน์นี้แล้ว อถาปร เอตทโวจ สตฺถา ลาดับนั้น พระองค์ผู้เป็นพระศาสดา จึงตรัสพระพุทธพจน์นี้ อีกว่า
  • 119. ๑๑๙ อรญฺเญ รุกขมูเล วา สุญญาคาเรว ภิกขโว ฺ ฺ ฺ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เมื่อท่านทั้งหลายอยู่ในป่า หรือในรุกขมูลหรือในเรือน เปล่า อนุสสเรถ สมฺพทธ ภย ตุมหาก โน สิยา ฺ ุ ฺ ฺ พึงระลึกถึงพระสัมพุทธ ภัยจะไม่พึงมี แก่ท่านทั้งหลาย โน เจ พุทธ สเรยฺยาถ ฺ ถ้าท่านทั้งหลาย ไม่ระลึกถึงพระพุทธ โลกเชฏฺฐ นราสภ ซึ่งเป็นใหญ่กว่าโลก ประเสริฐกว่านรชน อถ ธมฺม สเรยฺยาถ ที่นั้นพึงระลึกถึงพระธรรม นิยยานิก สุเทสิต ฺ อันเป็นเครืองนาออกซึ่งเราแสดงไว้ดีแล้ว โน เจ ธมฺม สเรยฺยาถ ถ้าท่านทั้งหลายไม่ระลึกถึงพระธรรม นิยยานิก สุเทสิต ฺ อันเป็นเครืองนาออกซึ่งเราแสดงไว้ดีแล้ว อถ สงฺฆ สเรยฺยาถ ที่นั้นพึงระลึกถึงพระสงฆ์ ปุญญกฺเขตฺต อนุตตร ฺ ฺ ซึ่งเป็นนาบุญของโลก ไม่มนาอื่นยิงกว่า ี ่ เอว พุทธ สรนฺตาน ธมฺม สงฺฆญฺจ ภิกขโว ฺ ฺ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เมื่อท่านทั้งหลายมาระลึกถึงพระพุทธ พระธรรม และ พระสงฆ์อยูอย่างนี้ ่ ภย วา ฉมฺภตตฺต วา โลมหโส น เหสฺสตีติ ฯ ิ ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุงก็ดี ขนพองสยองเกล้าก็ดี จักไม่มีแลฯ ้
  • 120. ๑๒๐ ปะริตตัง ยัง ภะนันตัสสะ นิสนนัฏฐานะโธวะนัง ิ อุทะกัมปิ วินาเสติ สัพพะเมวะ ปะริสสะยัง. น้าล้างที่นั่งของพระองคุลิมาลผู้สวดพระปริตรใด สามารถขจัดอันตรายทังปวง ้ ให้หมดไปได้ โสตถินา คัพภะวุฏฐานัง ยัญจะ สาเธติ ตังขะเณ เถรัสสะ อังคุลมาลัสสะ ิ โลกะนาเถนะ ภาสิตง ั กัปปัฏฐายิง มะหาเตชัง ปะริตตัง ตัง ภะณามะ เห. พระปริตรใดที่พระมหาโลกนาถทรงภาษิตไว้แก่พระองคุลิมาลเถระ สามารถยัง การคลอดบุตรให้เป็นไปได้โดยสวัสดีในทันที ขอเราทั้งหลายจงร่วมกันสวด พระปริตรซึ่งมีเดชใหญ่ คงอยู่ตลอดกัปนั้นเถิด) บทอังคุลมาลปริตร ิ ยะโตหัง ภะคินิ อะริยายะ ชาติยา ชาโต นาภิชานามิ สัญจิจจะ ปาณัง ชีวตา โวโรเปตา ิ เตนะ สัจเจนะ โสตถิ เต โหตุ, โสตถิ คัพพัสสะ.
  • 121. ๑๒๑ ดูก่อนน้องหญิง นับแต่เราเกิดโดยอริยชาตินี้แล้ว เราไม่เคยคิดปลงชีวตสัตว์ ิ เลย ด้วยสัจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่เธอ ขอความสวัสดีจงมีแก่ครรภ์ของ เธอ [๕๒ -
  • 125. ๑๒๕ [๕๒๖ ๕๐๐
  • 133. ๑๓๓ ( ๓ http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=13&i=521
  • 134. ๑๓๔ ขันธปริตตสูตร บทขัดขันธะปะริตตะคาถา สัพพาสีวสะชาตีนง ิ ั ทิพพะมันตาคะทัง วิยะ ยันนาเสติ วิสง โฆรัง ั เสสัญจาปิ ปะริสสะยัง อาณักเขตตัมปิ สัพพัตถะ สัพพะทา สัพพะปาณินง ั สัพพะโสปิ นิวาเรต ปะริตตันตัมะภะณามะ เห ฯ พระปริตรอันใด ย่อมยังพิษอันร้ายแห่งงูร้ายทั้งหลาย ให้ฉิบหายไป ดุจยา วิเศษอันประกอบด้วยมนต์ทิพย์ อนึงพระปริตรอันใด ย่อมห้ามกันอันตรายอัน ่ เศษของสัตว์ทั้งสิ้น โดยประการทั้งปวง ในอาณาเขต ในที่ทั้งหมด ในกาลทุก เมื่อ เราทั้งหลาย จงสวดพระปริตรอันนั้นเทอญ.
  • 135. ๑๓๕ ขันธะปะริตตะคาถา วิรปกเขหิ เม เมตตัง ู ั เมตตัง เอราปะเถหิ เม ฉัพยาปุตเตหิ เม เมตตัง เมตตัง กัณหาโคตะมะเกหิ จะ อะปาทะเกหิ เม เมตตัง เมตตัง ทิปาทะเกหิ เม จะตุปปะเทหิ เม เมตตัง เมตตัง พะหุปปะเทหิ เม มา มัง อะปาทะโก หิงสิ มา มัง หิงสิ ทิปาทะโก มา มัง จะตุปปะโท หิงสิ มา มัง หิงสิ พะหุปปะโท สัพเพ สัตตา สัพเพ ปาณา สัพเพ ภูตา จะ เกวะลา สัพเพ ภัทรานิ ปัสสันตุ มา กิญจิ ปาปะมาคะมา อัปปะมาโณ พุทโธ อัปปะมาโณ ธัมโม อัปปะมาโณ สังโฆ ปะมาณะวันตานิ สิรงสะปานิ อะหิ วิจฉิกา สะตะปะที อุณณานาภี ิ สะระพู มูสกา กะตา เม รักขา กะตา เม ปะริตตา ปะฏิกกะมันตุ ิ ภูตานิ โสหัง นะโม ภะคะวะโต นะโม สัตตันนัง สัมมาสัมพุทธานัง ฯ
  • 136. ๑๓๖ ความเป็นมิตรของเรา จงมีกับพระยานาคทั้งหลาย สกุลวิรูปักข์ด้วย, ความเป็นมิตรของเรา จงมีกับพระยานาคทั้งหลาย สกุลเอราบถด้วย, ความเป็นมิตรของ รา จงมีกับพระยานาคทั้งหลาย สกุลฉัพยาบุตรด้วย, ความเป็นมิตรของเรา จงมีกับพระยานาคทั้งหลาย สกุลกัณหาโคตมกะด้วย, ความเป็นมิตรของเรา จงมีกับสัตว์ทั้งหลายที่มี ๔ เท้าด้วย, ความเป็นมิตรของเรา จงมีกับสัตว์ที่มีเท้ามากด้วย, สัตว์ไม่มีเท้าอย่าเบียดเบียนเรา สัตว์ ๒ เท้าอย่าเบียดเบียนเรา สัตว์ ๔ เท้า อย่าเบียดเบียนเรา สัตว์มากเท้าอย่าเบียดเบียนเรา ขอสรรพสัตว์มีชีวตทั้งหลายที่เกิดมาทั้งหมดจนสิ้นเชิงด้วย ิ จงเห็นซึงความเจริญทั้งหลายทั้งปวงเถิด ่ โทษลามกไรๆ อย่าได้ มาถึงแล้วแก่สตว์เหล่านั้น ั พระพุทธเจ้าทรงพระคุณไม่มีประมาณ พระธรรมทรงพระคุณไม่มีประมาณ พระสงฆ์ทรงพระคุณไม่มีประมาณ สัตว์เสือกคลานทั้งหลายคือ งู แมลงป่อง ตะเข็บ ตะขาบ แมงมุม ตุ๊กแก หนู เหล่านี้ล้วนมีประมาณ(ไม่มากเหมือนคุณพระรัตนตรัย) ความรักษาอันเรากระทาแล้ว ความป้องกันอันเรากระทาแล้ว หมู่สัตว์ทั้งหลาย จงหลีกไปเสีย เรานั้นกระทาการนอบน้อมแต่พระผู้มีพระภาคเจ้าอยู่ ทาการนอบน้อมแด่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งหลาย ๗ พระองค์อยู่
  • 137. ๑๓๗ โมรปริตสูตร บทขัดโมระปะริตตัง ปูเรนตัมโพธิสมภาเร นิพพัตตัง โมระโยนิยง ั ั เยนะ สังวิหตารักขัง มะหาสัตตัง วะเนจะรา ิ จิรสสัง วายะมันตาปิ เนวะ สักขิงสุ คัณหิตง ั ุ พรัหมะมันตันติ อักขาตัง ปะริตตันตัมภะณามะ เห ฯ พวกพรานไพร แม้พยายามอยู่ช้านานไม่อาจนั่นเทียว เพื่อจะจับพระมหาสัตว์ ผู้บังเกิดแล้วในกาเนิดแห่งนกยูง ผู้ยังโพธิสมภารให้บริบูรณ์อยู่ มีความรักษา อันตนจัดแจงดีแล้ว ด้วยพระปริตรอันใด เราทั้งหลาย จงสวดพระปริตรอันนั้น ที่พระพุทธเจ้าทรงเรียกว่า พรหมมนตร์ เทอญ. บทโมระปะริตตัง อุเทตะยัญจักขุมา เอกะราชา หะริสสะวัณโณ ปะฐะวิปปะภาโส ตัง ตัง นะมัสสามิ หะริสสะวัณณัง ปะฐะวิปปะภาสัง ตะยัชชะ คุตตา วิหะเรมุ ทิวะสัง เย พราหมะณา เวทะคุ สัพพะธัมเม เต เม นะโม เต จะ มัง ปาละยันตุ พระอาทิตย์เป็นดวงตาของโลก เป็นเอกราช มีสีเพียงดังสีแห่งทอง ยังพืนปฐพี ้ ให้สว่าง อุทัยขึ้นมา เพราะเหตุนน ข้าขอนอบน้อมพระอาทิตย์นั้น ซึ่งมีสีเพียง ั้ ดังสีแห่งทอง ยังพื้นปฐพีให้สว่าง ข้าทั้งหลาย อันท่านปกครองแล้วในวันนี้ พึงอยู่เป็นสุขตลอดวัน พราหมณ์ทั้งหลายเหล่าใด ผู้ถึงซึ่งเวทในธรรมทั้งปวง พราหมณ์ทั้งหลายเหล่านั้น จงรับความนอบน้อมของข้า อนึ่ง พราหมณ์ ทั้งหลายเหล่านั้น จงรักษาซึ่งข้า
  • 138. ๑๓๘ นะมัตถุ พุทธานัง นะมัตถุ โพธิยา นะโม วิมตตานัง นะโม วิมตติยา ุ ุ อิมง โส ปะริตตัง กัตวา โมโร จะระติ เอสะนา ฯ ั ความนอบน้อมของข้า จงมีแด่พระพุทธเจ้าทั้งหลาย ความนอบน้อมของข้า จง มีแด่พระโพธิญาณ ความนอบน้อมของข้า จงมีแด่ท่านผู้พ้นแล้วทั้งหลาย ความนอบน้อมของข้า จงมีแด่วิมตติธรรม นกยูงนันได้กระทาปริตรอันนี้แล้ว ุ ้ จึงเที่ยวไป เพืออันแสวงหาอาหาร ่ อะเปตะยัญจักขุมา เอกะราชา หะริสสะวัณโณ ปะฐะวิปปะภาโส ตัง ตัง นะมัสสามิ หะริสสะวัณณัง ปะฐะวิปปะภาสัง ตะยัชชะ คุตตา วิหะเรมุ รัตติง เย พราหมะณา เวทะคุ สัพพะธัมเม เต เม นะโม เต จะ มัง ปาละยันตุ พระอาทิตย์นี้เป็นดวงตาของโลก เป็นเอกราช มีสีเพียงดังสีแห่งทองยังพื้น ปฐพีให้สว่าง ย่อมอัสดงคตไป เพราะเหตุนน ข้าขอนอบน้อมพระอาทิตย์นั้น ั้ ซึ่งมีสีเพียงดังสีแห่งทอง ยังพื้นปฐพีให้สว่าง ข้าทั้งหลาย อันท่านปกครอง แล้วในวันนี้ พึงอยู่เป็นสุขตลอดคืน พราหมณ์ทั้งหลายเหล่าใด ผู้ถึงซึงเวทใน ่ ธรรมทั้งปวง พราหมณ์ทั้งหลายเหล่านั้น จงรับความนอบน้อมของข้า อนึ่ง พราหมณ์ทั้งหลายเหล่านั้น จงรักษาซึ่งข้า นะมัตถุ พุทธานัง นะมัตถุ โพธิยา นะโม วิมตตานัง นะโม วิมตติยา ุ ุ อิมง โส ปะริตตัง กัตวา โมโร วาสะมะกัปปะยีติ ฯ ั ความนอบน้อมของข้า จงมีแด่พระพุทธเจ้าทั้งหลาย ความนอบน้อมของข้า จง มีแด่พระโพธิญาณ ความนอบน้อมของข้าจงมีแด่ท่านผู้พ้นแล้วทั้งหลาย
  • 139. ๑๓๙ ความนอบน้อมของข้า จงมีแด่วิมตติธรรม นกยูงนันได้กระทาปริตรอันนี้แล้ว ุ ้ จึงสาเร็จความอยูแล. ่ อาฏานาฏิยสูตร บทนา อาฏานาฏิยะปะริตตัง อัปปะสันเนหิ นาถัสสะ สาสะเน สาธุสมมะเต ั พระพุทธเจ้าผู้แกล้วกล้าใหญ่ยิ่ง ทรงแสดงพระปริตรอันใดเพื่อความไม่เบียด เบียนกัน อะมะนุสเสหิ จัณเฑหิ สะทา กิพพิสะการิภิ ด้วยความคุ้มครองของตนแก่บริษัท ๔ เหล่า อันเกิดจากหมู่อมนุษย์ที่ร้ายกาจ กระทากรรมอันหยาบช้า ในกาลทุกเมื่อ ปะริสานัญจะ ตัสสันนะมะหิงสายะ จะ ผู้มิได้เลื่อมใสในพระพุทธศาสนาของพระพุทธเจ้า คุตติยา ยันเทเสสี มะหาวีโร เป็นผู้ที่พึ่งของโลกอันสัตบุรุษ สมมติว่าเป็นศาสนาอันดี ปะริตตันตัมภะณะนะ เห ฯ เราทั้งหลาย จงสวดพระปริตรอันนันเทอญ ้
  • 140. ๑๔๐ บทอาฏานาฏิยะปะริตตัง วิปสสิสะ นะมัตถุ จักขุมนตัสสะ สิรมะโต ั ั ี สิขสสะปิ นะมัตถุ สัพพะภูตานุกมปิโน ิ ั เวสสะภุสสะ นะมัตถุ น๎หาตะกัสสะ ตะปัสสิโน นะมัตถุ กะกุสนธัสสะ มาระเสนัปปะมัททิโน ั โกนาคะมะนัสสะ นะมัตถุ พราหมะณัสสะ วุสมะโต ี กัสสะปัสสะ นะมัตถุ วิปปะมุตตัสสะ สัพพะธิ อังคีระสัสสะ นะมัตถุ สักยะปุตตัสสะ สิรมะโต ๎ ี โย อิมง ธัมมะมะเทเสสิ สัพพะทุกขาปะนูทะนัง ั เย จาปิ นิพพุตา โลเก ยะถาภูตง วิปสสิสง ั ั ุ เต ชะนา อะปิสณา มะหันตา วีตะสาระทา ุ หิตง เทวะมะนุสสานัง ยัง นะมัสสันติ โคตะมัง ั วิชชาจาระระณะสัมปันนัง มะหันตัง วีตะสาระทังฯ นะโม เม สัพพะพุทธานัง อุปปันนานัง มะเหสินง ั ตัณหังกะโร มะหาวีโร เมธังกะโร มะหายะโส สะระณังกะโร โลกะหิโต ทีปงกะโร ชุตนธะโร ั ิ โกณฑัญโญ ชะนะปาโมกโข มังคะโล ปุรสาสะโภ ิ สุมะโน สุมะโน ธีโร เรวะโต ระติวฑฒะโน ั โสภีโต คุณสัมปันโน อะโนมะทัสสี ชะนุตตะโม ปะทุโม โลกะปัชโชโต นาระโท วะระสาระถี ปะทุมตตะโร สัตตะสาโร สุเมโธ อัปปะฏิปคคะโล ุ ุ สุชาโต สัพพะโลกัคโค ปิยะทัสสี นะราสะโภ อัตถะทัสสี การุณโก ธัมมะทัสสี ตะโมนุโท ิ