SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  21
บทที่ 5
ข้อมูลพื้นฐานการพัฒนาหลักสูตร
มโนทัศน์(Concept)
นักพัฒนาหลักสูตรควรตระหนักและควรนาข้อมูลพื้นฐานทางด้านสังคมและเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นมาเป็น
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรในอนาคตว่า การจัดทาหลักสูตรข้อมูลพื้นฐานมีความสาคัญมาก
ซึ่ง ผู้ที่มีส่วน เกี่ยวข้องไม่ควรละ เลยที่จะศึกษา ไม่ว่าจะ เป็ น ข้อมูลทางด้าน สัง คม เศรษฐกิจ
และการเมืองการปกครองในอน าคตได้ น อกจากนั้น ข้อมูลจากบุคคลต่างๆ ไม่ว่านักการศึกษา
นั ก วิช าก าร ส าข าต่าง ๆ ค ว าม เห็ น จ าก ชุม ช น ค วาม ต้อ ง ก าร ก ว้าง ไก ล แ ล ะ ลึ ก ซึ้ ง
การจัดการศึกษาโดยบุคคลที่มีหน้าที่เพียงกลุ่มเดียวย่อมมีมุมมองที่แคบและไม่ชัดเจนเท่ากับหลายฝ่ายร่วมแรงร่
ว ม ใ จ กั น ดั ง นั้ น
การพัฒนาหลักสูตรโดยศึกษาข้อมูลหลากหลายอย่างครอบคลุมจึงสามารถพัฒนาหลักสูตรให้มีประสิทธิภาพยิ่ง
ขึ้น
ผลการเรียนรู้(Learning Outcome)
1. มีความรู้ ความเข้าใจ ในการเขียนประเด็นสาคัญที่ใช้พื้นฐานการพัฒนาหลักสูตรด้าน ต่างๆ
ในการพัฒนาหลักสูตร
2 .
สามารถนาความรู้ในการเขียนประเด็นสาคัญจากข้อมูลพื้นฐานการพัฒนาหลักสูตรมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนา
หลักสูตรได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
สาระเนื้อหา(Content)
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ในอดีตการพัฒนาหลักสูตรในระดับต่างๆ มักใช้ข้อมูลพื้นฐานประกอบการพิจารณาค่อนข้างน้อย
แ ต่ใ ห้ ค ว าม ส าคั ญ กับ ข้ อ มู ล ที่ เ ป็ น ข้ อ เท็ จ จ ริ ง เฉ พ าะ ด้าน เนื้ อ ห า ใ น วิช า ต่า ง ๆ
นามาบรรจุไว้ใน หลักสู ตรและละเลยข้อมูลทางด้าน ศีลธรรม จริยธรรม และสภ าพ ทางสังคม
ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ท า ง สั ง ค ม แ ล ะ แ น ว โ น้ ม ส ภ า พ สั ง ค ม ใ น อ น า ค ต
ทาให้การศึกษาของชาติที่ผ่านมาไม่สามารถช่วยให้คนไทยหลุดพ้นจากความฟุ่มเฟือย การยึดถือค่านิยมผิดๆ
ใน การดารงชีวิตที่ผิดๆ ไม่ช่วยให้การว่างงานลดลง ไม่ช่วยให้แก้ปัญหาอาชญากรรมหมดไป
ป ร ะ เ ท ศ ยัง ค ง มี ก า ร ฉ้ อ ร า ษ ฎ ร์ บั ง ห ล ว ง ยัง มี ค น ไ ท ย ที่ พึ่ ง พ า ต น เอ ง ไ ม่ไ ด้
ยังมีความไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพ ยากร เพราะฉะนั้ น ในการพัฒน าห ลักสู ตรระ ดับต่างๆ
ใน อน าคตจะต้องศึกษาข้อมูลพื้น ฐาน ใน เรื่องต่างๆ จากหลายๆ แหล่งและจากบุคคลหลายๆ
ฝ่ายเพื่อให้ได้ข้อมูลที่แท้จริงมาพัฒนาหลักสูตร สามารถพัฒนาผู้เรียนให้เจริญเติบโตทั้งทางด้านร่างกายจิตใจ
สติ ปั ญ ญ า และ อารมณ์ เป็ น พ ลเมือ ง ที่มีความรับ ผิด ช อ บ ต่อต น เอง แล ะ ป ระ เท ศช าติ
หรือกล่าวโดยสรุปคือสามารถใช้หลักสูตรเป็นเครื่องมือในการสร้างสังคมใหม่ในทิศทางที่ถูกต้องได้
การพัฒนาหลักสูตรจาเป็ น ต้องศึกษา วิเคราะห์ สารวจ วิจัย สภาพ พื้น ฐานด้าน ต่างๆ
เพื่อให้ได้ข้อมูลอย่างเพียงพอที่จะใช้สนับสนุน อ้างอิงในการตัดสินใจดาเนินการต่างๆเพื่อให้ได้หลักสูตรที่ดี
สามารถพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถ และทัศนคติที่นาไปใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อตนเองและสังคมได้
ก า ร พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร เ ป็ น ง า น ที่ มี ข อ บ เ ข ต ก ว้ า ง ข ว า ง ม า ก
การที่ จัด ห ลัก สู ต รใ ห้ มีคุณ ภ าพ นั้ น ผู้พัฒ น าห ลัก สู ตรต้อ ง ศึ กษ าข้อมูล ห ล าย ๆ ด้าน
ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลเกี่ยวกับตัวผู้เรียน ข้อมูลเกี่ยวกับสังคมหรือข้อมูลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ
เพื่อที่ให้ได้ข้อมูลที่สมจริงที่สุดเพราะข้อมูลเหล่านี้จะช่วยนักพัฒนาหลักสูตรในเรื่องต่างๆ คือ
1.ช่วยให้มองเห็นภาพรวมว่าในการจัดทาหลักสูตรนั้นจาเป็นต้องคานึงถึงสิ่งใดบ้างและสิ่งต่างๆ
เหล่านั้นมีอิทธิพลต่อหลักสูตรอย่างไร
2. ช่วยใ ห้ ส ามารถกาห น ดอง ค์ป ระ กอ บข อง ห ลักสู ตรได้อย่างเห มาะ ส ม เช่น
การกาหนดจุดมุ่งหมายของหลักสูตร และการกาหนดเนื้อหารายวิชา ฯลฯ
3. ช่วยให้สามารถกาหนดยุทธศาสตร์การเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ
4 .
ช่วยเพิ่มพูนความรู้และทักษะในการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรอันจะส่งผลให้การดาเนินการในอนาคตประส
บผลดียิ่งขึ้น
ข้อมูลต่างๆ ที่นามาเป็ นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรนั้น นักการศึกษาทั้งต่างประเทศ
และนักการศึกษาไทย ได้แสดงแนวทางไว้ดังนี้
เ ซ ย์ เ ล อ ร์ แ ล ะ อ เ ล็ ก ซ า น เ ด อ ร์ ( Saylor and Alexander ,1974:102-103)
กล่าวถึงข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรว่า
1. ข้อมูลเกี่ยวกับตัวผู้เรียน
2. ข้อมูลเกี่ยวกับสังคมซึ่งสนับสนุนโรงเรียน
3. ข้อมูลเกี่ยวกับธรรมชาติ และลักษณะของกระบวนการเรียนรู้
4. ความรู้ที่ได้สะสมไว้และความรู้ที่จาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องให้แก่นักเรียน
ทาบา (Taba,1962: 16-87) ได้กล่าวว่า การพัฒนาหลักสูตรโดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์จะต้อง
คานึงถึงสิ่งต่อไปนี้
1. สังคมและวัฒนธรรม
2. ผู้เรียนและกระบวนการเรียน
3. ธรรมชาติของความรู้
ไทเลอร์ ( Tyler, 1949:1-43) กล่าวถึงสิ่งที่ควรพิจารณาในการสร้างจุดมุ่งหมายของการศึกษา คือ
1. ข้อมูลเกี่ยวกับตัวผู้เรียน ซึ่งได้แก่ความต้องการของผู้เรียน และความสนใจของผู้เรียน
2. ข้อมูลจากการศึกษาชีวิตภายนอกโรงเรียน
3. ข้อมูลที่ได้จากข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่างๆ
4. ข้อมูลทางด้านปัญญา
5. ข้อมูลทางด้านจิตวิทยาการเรียนรู้
จากการรายงาน ของ คณ ะ กรรมการวาง พื้ น ฐาน การปฏิรู ปการศึกษา ( 2518:20-50)
ได้กาหนดข้อมูลต่างๆ ในการกาหนดจุดมุ่งหมายทางการศึกษา และในการจัดการศึกษาของประเภทดังนี้
1. สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ
2. สภาพแวดล้อมทางประชากร
3. สภาพแวดล้อมทางสังคม
4. สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ
5. สภาพแวดล้อมทางการเมือง
6. การปกครองและการบริหาร
7. สภาพแวดล้อมทางศาสนาและวัฒนธรรม
8. สภาพของสื่อมวลชนเพื่อการศึกษา
กาญจนา คุณารักษ์ ( 2521: 23-36) กล่าวถึงข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรไว้ดังนี้
1. ตัวผู้เรียน
2. สังคมและวัฒนธรรม
3. ธรรมชาติและคุณสมบัติของการเรียนรู้
4. การสะสมความรู้ที่เพียงพอและเป็นไปได้เพื่อการให้การศึกษา
ธารง บัวศรี (2532:4) กล่าวถึงข้อมูลต่างๆ ในการพัฒนาหลักสูตรไว้ดังนี้
1. พื้นฐานทางปรัชญา
2. พื้นฐานทางสังคม
3. พื้นฐานทางด้านจิตวิทยา
4. พื้นฐานทางความรู้และวิทยาการ
5. พื้นที่ทางเทคโนโลยี
6. พื้นฐานทางประวัติศาสตร์
สงัด อุทรานันท์ (2532: 46) กล่าวถึงพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรไว้ดังนี้
1. พื้นฐานทางปรัชญา
2. ข้อมูลทางสังคมและวัฒนธรรม
3. พื้นฐานเกี่ยวกับพัฒนาการของผู้เรียน
4. พื้นฐานเกี่ยวทฤษฎีการเรียนรู้
5. ธรรมชาติของความรู้
สุมิตร คุณานุกร (2520 : 10) กล่าวถึงข้อมูลต่างๆ ในการพัฒนาหลักสูตรจาแนกตามแหล่งที่มาได้ 6
ประการ คือ
1. ข้อมูลทางปรัชญา
2. ข้อมูลที่ได้จากนักวิชาการแต่ละสาขา
3. ข้อมูลที่ได้จากจิตวิทยาการเรียนรู้
4. ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาสังคมของผู้เรียน
5. ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาความต้องการและความสนใจของผู้เรียน
6. ข้อมูลเกี่ยวกับพัฒนาการทางเทคโนโลยี
สาโรชบัวศรี (2514: 21-22) ได้กล่าวว่าในการจัดการศึกษาหรือจัดหลักสูตรต้องอาศัยพื้นฐานหลัก 5
ประการ คือ
1. พื้นฐานทางปรัชญา
2. พื้นฐานทางจิตวิทยา
3. พื้นฐานทางสังคม
4. พื้นฐานทางประวัติศาสตร์
5. พื้นฐานทางด้านเทคโนโลยี
จะเห็นได้ว่าข้อมูลที่นามาศึกษาเพื่อพัฒนาหลักสูตรมีมากมายหลายด้านสาหรับประเทศไทยควรจัดลา
ดับข้อมูลพื้นฐานที่สาคัญในด้านต่างๆ ดังต่อไปนี้
1. สังคมและวัฒนธรรม
2. เศรษฐกิจ
3. การเมืองการปกครอง
4. สภาพปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหาในสังคม
5. พัฒนาการทางเทคโนโลยีสภาพสังคมในอนาคต
6. บุคคลภายนอกและนักวิชาการแต่ละสาขา
7. โรงเรียน ชุมชน หรือสังคมที่โรงเรียนตั้งอยู่
8. ประวัติศาสตร์การศึกษาและหลักสูตร
9. ธรรมชาติของความรู้
10. ปรัชญาการศึกษา
11. จิตวิทยา
1. ข้อมูลพื้นฐานทางด้านสังคมและวัฒนธรรม
ก า ร ศึ ก ษ า ท า ห น้ า ที่ ส า คั ญ คื อ
อนุรักษ์และถ่ายทอดวัฒนธรรมของสังคมไปสู่คนรุ่นหลังและปรับปรุงเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมของสังคมให้เข้า
กับการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่างๆ
โดยหน้าที่ดังกล่าวการศึกษาจะช่วยควบคุมการเปลี่ยนแปลงสังคมให้ไปในทิศทางที่พึงปรารถนา
เพราะฉะนั้นหลักสูตรที่จะนาไปสอนอนุชนเหล่านั้นจึงต้องมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสังคมอย่างแยกไม่ออก
และโดยธรรมช าติของสังคมและ วัฒ น ธรรมมักมีการเปลี่ยน แปลงไปตามกาลเวลา ดังนั้ น
การพัฒนาหลักสูตรจึงจาเป็ นต้องคานึ งถึงข้อมูลทางสังคมและวัฒนธรรมที่เป็ นปัจจุบัน อยู่เสมอ
จึ ง จ ะ ท า ใ ห้ ห ลั ก สู ต ร มี ค ว า ม ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ส ภ า พ สั ง ค ม ปั จ จุ บั น
ส า ม า ร ถ แ ก้ ปั ญ ห า แ ล ะ ต อ บ ส น อ ง ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร สั ง ค ม ไ ด้
ทั้ ง นี้ ขึ้ น อ ยู่ กั บ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ใ ห ม่
ผ ล ก าร วิเ ค ร า ะ ห์ อ อ ก ม าอ ย่าง ไ ร ห ลัก สู ต ร ก็ จ ะ เ ป ลี่ ย น จุ ด ห ม าย ไ ป ใ น แ น ว นั้ น
สามารถจาแนกข้อมูลให้ชัดเจนได้ดังนี้
1.1 โค ร ง ส ร้ า ง ข อ ง สั ง ค ม โ ค ร ง ส ร้ า ง ไ ท ย แ บ่ ง อ อ ก เ ป็ น 2 ลั ก ษ ณ ะ คื อ
ลักษณ ะ สัง คมช น บท ห รื อสัง คมเกษ ตรกรรม และ สั งคมเมือ งห รื อสั งค มอุตส าห กรรม
ใ น ปั จ จุ บั น ค ว า ม เ จ ริ ญ ก้ า ว ห น้ า ท า ง วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี ม า ก
สังคมอุตสาหกรรมมีแนวโน้มจะเพิ่มขึ้นแต่ถึงอย่างไรก็ตามสังคมส่วนใหญ่ของประเทศก็ยังมีสภาพเป็นสังคมเก
ษตรกรรมอยู่ ดังนั้นการพัฒนาหลักสูตรจาเป็นจะต้องศึกษาโครงสร้างของสังคมที่เป็ นอยู่ในปัจจุบัน
แ ล ะ แ น ว โ น้ ม โ ค ร ง ส ร้ า ง ใ น อ น า ค ต เ พื่ อ ที่ จ ะ ไ ด้ ข้ อ มู ล ม า จัด ห ลั ก สู ต ร ว่า
จะจัดหลักสูตรอย่างไรเพื่อยกระดับการพัฒนาสังคมเกษตรกรรมและเตรียมพื้นฐานเพื่อการเปลี่ยนแปลงทางด้า
นสังคมไปสู่การพัฒนาอุตสาหกรรมตามความจาเป็น
1.2 ค่ า นิ ย ม ใ น สั ง ค ม ค่ า นิ ย ม ห ม า ย ถึ ง
สิ่งที่คนในสังคมเดียวกันมองเห็นว่ามีคุณค่าเป็นที่ยอมรับหรือเป็นที่ปรารถนาของคนทั่วไปในสังคมนั้นๆ
เนื่ อ ง จ า ก ก า ร ศึ ก ษ า เ ป็ น ตั ว ก า ร ที่ ท า ใ ห้ เ กิ ด ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ใ น สั ง ค ม
ค่านิยมชนิดไหนที่จะได้รับการเปลี่ยนแปลงดารงไว้หรือค่านิยมชนิดไหนควรสร้างขึ้นมาใหม่เช่น
ค่า นิ ย ม ข อ ง สั ง ค ม ไ ท ย เ กี่ ย ว กับ ค ว าม เ ฉื่ อ ย ช า ก า ร ถื อ ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ส่ ว น ตั ว
การถือประโยชน์ของตนเองและพวกพ้อง
1.3ธรรมชาติของคนไทยในสังคม ธรรมชาติของคนไทยในแต่ละสังคมย่อมแตกต่างกันออกไป
ทั้ ง นี้ ขึ้ น อ ยู่ กั บ ส ภ า พ พื้ น ฐ า น ท า ง วั ฒ น ธ ร ร ม แ ล ะ ค่ า นิ ย ม นั้ น ๆ
ทาให้คนไทยส่วนใหญ่มีลักษณะบุคลิกภาพดังต่อไปนี้
1. ยึดมั่นในตัวบุคคลมากกว่าหลักการและเหตุผล
2. ยกย่องบุคคลที่มีความรู้หรือได้รับการศึกษาสูง
3. เคารพและคล้อยตามผู้ได้รับวัยวุฒิสูง
4. ยกย่องผู้มีเงินและผู้มีอานาจ
5. นิยมการเล่นพรรคเล่นพวก
6. มีลักษณะเฉื่อยชาไม่กระตือรือร้น
ใน การพัฒ น าห ลักสู ตร ควรคานึ กถึง ลักษ ณ ะธรรมช าติ บุ คลิกของคน ใน สัง คม
โดยพิจารณาว่าลักษณะใดควรไม่ควร เพราะหลักสูตรเป็นแนวทางในการสร้างลักษณะสังคมในอนาคต
1.4 ก า ร ชี้ น า สั ง ค ม ใ น อ น า ค ต
การศึกษาควรมีบทบาทในการชี้นาสังคมในอนาคตด้วยเพราะในอดีตที่ผ่านมาระบบการศึกษา เช่น
การตั้งรับตามการเปลี่ยนต่างๆ เช่น กระแสการเจริญเติบโตของประเทศทางตะวันตก กระแสวิชาการตะวันตก
ความต้องการและปัญหาสังคม จึงทาให้การศึกษาเป็นตัวตาม ฉะนั้นการจัดการเรียนรู้ต้องวางเป้าหมายให้ดี
นั กพัฒ น าห ลักสู ตรจึง ค วรศึ กษ าข้อมูล ต่าง ๆ ที่เป็ น เครื่ อง ชี้ น าสัง ค มใ น อน าคต เช่น
แผนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ การศึกษาไทยจะได้มีบทบาททางสังคมอย่างแท้จริง
1.5 ลั ก ษ ณ ะ สั ง ค ม ต า ม ค ว า ม ค า ด ห วั ง
การเตรียมพัฒนาทรัพยากรให้มีคุณภาพมีคุณลักษณะหรือคุณสมบัติอย่างใดอย่างหนึ่งนั้นเป็นเรื่องไม่คงที่
เรื่ อ ง ข อ ง ป ระ เ ท ศ จ ะ ส่ ง ผ ล ก ร ะ ท บ ก าร ศึ ก ษ ามีมา ก มาย เช่น ก าร เมือ ง เศ ร ษ ฐ กิ จ
ความก้าวห น้าทางวิชาการทั้งนี้ ใน ต่างประ เทศจึงตั้งคุณลักษณะของสังคมเปลี่ ยน แปลงไป
เพื่ อ ที่ จ ะ ค า ด ก า ร ณ์ ล่ ว ง ห น้ า ไ ด้ ใ น อ น า ค ต 5-10 ปี ข้ า ง ห น้ า จ ะ เ ป็ น เ ช่ น ไ ร
และคุณลักษณะของประชากรที่มีคุณภาพมีดังนี้
1. มีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี
2. มีอาชีพเพื่อเลี้ยงตนเองและครอบครัว
3. เป็นสมาชิกที่ดีของสังคม เป็นพลเมืองที่ดีของชาติ
4. มีสติปัญญา
5. มีนิสัยรักการทางาน
6. มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
หน้ าที่ของ นั กพัฒ น าหลักสู ตรก็คือ จะ ต้อ งพิ จารณ าว่าจะ จัดห ลัก สู ตรอย่าง ไร
รูปแบบใดจึงจะทาให้ประชากรมีคุณภาพดี
1.6 ศ า ส น า แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม ใ น สั ง ค ม
ศาสนาเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของคนในสังคมวัฒนธรรมเป็นสัญลักษณ์อันสาคัญที่จะแสดงให้ทราบว่าเขาเห
ล่ า นั้ น เ ป็ น ค น ใ น สั ง ค ม เ ดี ย ว กั น ห รื อ เ ป็ น ค น ช า ติ เ ดี ย ว กั น ดั ง นั้ น
ศ า ส น า แ ล ะ วัฒ น ธ ร ร ม จึ ง เ ป็ น สิ่ ง ส า คั ญ ม า ก ส า ห รั บ ก า ร พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร
ทั้งนี้เพราะจุดประสงค์สาคัญของหลักสูตรก็คือ การทะนุบารุงรักษาและถ่ายทอดวัฒนธรรมที่ดีงามไว้
การพัฒน าหลักสู ตรจึงต้องคานึ กถึงศาสน าและ วัฒ น ธรรมความรู้หลักธรรมศาสน าต่าง ๆ
นามาบรรจุไว้ในหลักสูตรด้วยเหตุที่ว่าประเทศไทยเป็นประเทศประชาธิปไตยให้สิทธิเสรีภาพแก่ประชาชนในก
ารนับถือศาสนา เพราะฉะนั้นสิ่งที่บรรจุไว้ควรจะเป็นหลักธรรมของศาสนาต่างๆ
ข้อมูลพื้นฐานทางสังคมและวัฒนธรรมมีความสาคัญต่อการพัฒนาหลักสูตรเป็ นอย่างมาก
เ พ ร า ะ เ ป็ น ห ลั ก สู ต ร ที่ ต้ อ ง ต อ บ ส น อ ง สั ง ค ม แ ล ะ พั ฒ น า ไ ป พ ร้ อ ม กั น
การศึกษาข้อมูลพื้นฐานทางสังคมและวัฒนธรรมอย่างรอบคอบจะทาให้เราสามารถนาไปพัฒนาหลักสูตรที่ดีตา
มลักษณะดังต่อไปนี้
1. ตอบสนองความต้องการของสังคม
2. สอดคล้องกับความเป็นจริงในสังคม
3. เน้นในเรื่องรักชาติรักประชาชน
4. แก้ปัญหาให้กับสังคมมิใช่สร้างปัญหากับสังคม
5. ปรับปรุงสังคมให้ดีขึ้น
6. สร้างความสานึกในเรื่องของความเปลี่ยนแปลงทางสังคม
7. ชี้นาในเรื่องการเปลี่ยนแปลงประเพณีและค่านิยม
8. ต้องถ่ายทอดวัฒนธรรมและจริยธรรม
9. ปลูกฝังในเรื่องความซื่อสัตย์และความยุติธรรม ในสังคม
10. ให้ความสาคัญในเรื่องผลประโยชน์ในสังคม
2. ข้อมูลพื้นฐานทางด้านเศรษฐกิจ
ก า ร ศึ ก ษ า เ ป็ น เ ค รื่ อ ง มื อ ส า คั ญ ใ น ก า ร พั ฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ
เพราะการศึกษาเป็นเครื่องมือสาคัญในการพัฒนาคนซึ่งเป็นส่วนประกอบที่สาคัญที่สุดในระบบเศรษฐกิจ
เพ รา ะ ระ บ บ เศ ร ษ ฐ กิจ ก้าว ห น้ าเ พี ยง ใ ด ขึ้ น อ ยู่กับ คุณ ภ าพ ข อ ง ค น ใ น สั ง ค ม นั้ น
การพัฒนาหลักสูตรให้ให้เหมาะกับพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ควรพิจารณาประเด็นต่อไปนี้
2.1การเตรียมกาลังคน การให้การศึกษาเป็นสิ่งสาคัญในการผลิตกาลังคนในด้านต่างๆ ให้เพียงพอ
พอเหมาะ และสอดคล้องกับความต้องการในแต่ละสาขาวิชาชีพ เพื่อป้องกันการสูญเปล่าทางการศึกษา
และเพื่อลดปัญหาการว่างงานอันเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศ
นอกจากนี้การเตรียมกาลังคนให้สนองความต้องการของประเทศนั้นต้องพิจารณาให้เหมาะสมกับระดั
บความ สามารถที่ต้องการ ซึ่งมีทั้งระดับผู้เชี่ยวชาญทางวิชาการสาขาต่างๆ ระดับช่างฝีมือ และระดับกรรมกร
รวมทั้งต้องพิจารณาถึงแนวโน้มความต้องการทางเศรษฐกิจของประเทศชาติในอนาคตด้วย
2.2 ก ารพั ฒ น าอาชีพ ป ระ เท ศไท ยพื้ น ที่ ส่วน ใ ห ญ่เป็ น พื้ น ที่ ท าง การเก ษ ต ร
แ ล ะ ป ร ะ ช าก ร ส่ว น ใ ห ญ่ เป็ น เ ก ษ ต รที่ อ า ศัย อ ยู่ใ น ช น บ ท อ าชี พ อุ ต ส า ห ก ร ร ม
พ า ณิ ช ย ก ร ร ม แ ล ะ บ ริ ก า ร มี อ ยู่ เ พี ย ง ชุ ม ช น ใ น เ มื อ ง
ปัจจุบันมีการโยกย้ายถิ่นที่อยู่เข้ามาทางานอุตสาหกรรมในเมืองใหญ่ ซึ่งทาให้เกิดปัญหาอื่นๆ ตามมา
เช่น สิ่ ง แ วด ล้อ ม เป็ น พิ ษ เกิด ชุม ช น แ อ อัด ปั ญ ห าค ร อ บ ค รั ว เด็ ก เร่ร่อ น เป็ น ต้น
เพ ราะฉะนั้ น การพัฒน าห ลักสูตรควรเน้น การส่งเสริมอาชีพ ส่วน ให ญ่ของคน ใน ประ เทศ
จัดหลักสูตรเพื่อพัฒนาอาชีพตามศักยภาพและท้องถิ่น เพื่อพัฒนาอาชีพให้เหมาะสมเป็นการยกระดับรายได้
ค น ใ น ช น บ ท ใ ห้ สู ง ขึ้ น เพื่ อ ล ด ปั ญ ห า ช่ อ ง ว่าง ร ะ ห ว่า ง ค น ร ว ย แ ล ะ ค น จ น
ล ด ก า ร ห ลั่ ง ไ ห ล ข อ ง ป ร ะ ช า ช น เ ข้ า ไ ป ท า ง า น ต า ม เ มื อ ง ใ ห ญ่
สิ่งเหล่านั้นเป็นหน้าที่สาคัญที่นักพัฒนาหลักสูตรจะต้องร่วมมือร่วมใจกันทาหลักสูตรอาชีพเพื่อพัฒนาอาชีพให้
บรรลุผล
2.3 ก า ร ข ย า ย ตั ว ท า ง ด้ า น อุ ต ส า ห ก ร ร ม
ปั จจุบัน ป ระ เทศไทยกาลังพัฒ น าจากเกษ ตรกรรมไป สู่ ภ าคอุตส าห กรรมมากขึ้ น เรื่ อยๆ
นั กพั ฒ น าห ลักสู ต รควรศึก ษ าข้อแ น วโน้ มแล ะ ทิ ศท าง การขยายตัวใ น อุ ตส าห กรร ม
อุ ต ส า ห ก ร ร ม ด้ า น ไ ห น ที่ จ ะ ไ ด้ รั บ ก า ร พั ฒ น า
หลักสูตรที่สามารถพัฒนาเยาวชนให้มีความพร้อมสาหรับการขยายตัวทางด้านอุตสาหกรรมสามารถผลิตผู้จบกา
ร ศึ ก ษ า ที่ ส า ม า ร ถ เ ข้ า สู่ ภ า ค อุ ต ส า ห ก ร ร ม อ ย่ า ง เ ห ม า ะ ส ม
เท่าที่ผ่าน มาจะเห็ นว่าบางครั้งภาคอุตสาหกรรมไม่มีผู้มีความรู้ความสามารถด้านเฉพ าะด้าน เข้า
ไปรับรองการการพัฒนาด้านอุตสาหกรรมบางครั้งมีการผลิตผู้จบการศึกษากับความต้องการของแรงงานของไท
ย ไ ม่ส ม ดุ ล กั น ท า ใ ห้ บ า ง ค รั้ ง ภ า ค อุ ส า ห ก ร ร ม เ ห ล่ า นั้ น อ ย่ า ง พ อ เ พี ย ง
ฉะนั้นการศึกษาแนวโน้มการขยายตัวทางอุตสาหกรรมจึงเป็นสิ่งสาคัญประการหนึ่งที่นักพัฒนาการหลักสูตรจะ
ละเลยเสียมิได้
2.4 ก า ร ใ ช้ ท รั พ ย า ก ร
เศรษฐกิจเป็นเรื่องของการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดให้เกิดประโยชน์สูงสุดเพื่อสอบสนองความต้องการที่ไ
ม่ จ า กั ด ข อ ง ม นุ ษ ย์
เพราะฉะนั้นนักพัฒนาหลักสูตรควรให้ความสาคัญในเรื่องของทรัพยากรโดยใช้หลักสูตรเป็นเครื่องปลูกฝังเกี่ยว
กั บ ค ว า ม ส า คั ญ ข อ ง ท รั พ ย า ก ร จั ด ท า ห ลั ก สู ต ร เ นื้ อ ห า วิ ช า
กิจกรรมและประ สบการณ์ ใน หลักสูตรที่ส่ง เสริ มการใช้ทรัพ ยากรให้เกิด ประโยช น์ สู งสุ ด
และ เน้ น กิจกรรมทาง เศรษฐกิจครบ วง จรอัน ได้แก่ การผลิ ต การจาหน่าย การบริ โภ ค
การแลกเปลี่ยนการบริการโดยเน้นการปฏิบัติจริงและการใช้ทรัพยากรในท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์
โดยเฉพาะอย่างยิ่งการให้รู้จักและเข้าใจระบบเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่
หัว ซึ่งในจุดนี้นักพัฒนาหลักสูตรควรให้ความสาคัญแล้วคิดพัฒนาหลักสูตรเพื่อสนองพระราชดาริดังกล่าว
ในอนาคตประชาชนจะเห็นความสาคัญของทรัพยากรและสามารถนาทรัพยากรที่มีอยู่นามาใช้ประโยชน์
เกิดรายได้อย่างมีคุณค่า ไม่มีการสูญเสียทางทรัพยากร ปัญหาความยากจนและการอพยพย้ายถิ่นก็ไม่เกิดขึ้น
2.5 ก า ร พั ฒ น า คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง บุ ค ค ล ใน ร ะ บ บ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ข อ ง ไ ท ย
คุณลักษณะของในบุคคลในระบบเศรษฐกิจของคนไทยยังขัดแย้งกับความเป็นจริงในระบบเศรษฐกิจ
เช่นคนไทยมีรายได้ต่าแต่ความต้องการจับจ่ายในระบบเศรษฐกิจในระบบเศรษฐกิจในระบบเปิดทาให้สินค้าฟุ่มเ
ฟื อ ย ห ลั่ ง ไ ห ล เ กิ ด ปั ญ ห า ห นี้ สิ น ล้ น พ้ น ตั ว
หรือเป็นเศรษฐกิจในระบบเปิดทาให้สินค้าฟุ่มเฟือยหลั่งไหลเข้ามาสร้างวัฒนธรรมใหม่ในหมู่เยาวชน
ห รื อก ารเอารัดเอ าเป รี ยบ ต่อผู้ด้อ ยการศึก ษ าจากบุ คค ลผู้มีอ าน าจท าง เศ รษฐ กิจ ฯล ฯ
สิ่งเห ล่านี้ เป็ น คุณลักษณะ ของ คน ไทยใน ระ บบเศรษฐกิจที่ต้องได้รับการแก้ไขและพัฒน า
ก าร ใ ช้ ก า ร ศึ ก ษ าเ ข้ า ไ ป แ ก้ไ ข จ ะ เป็ น วิธี ก าร ส า คั ญ แ ล ะ ใ ห้ ผ ล ใ น ร ะ ย ะ ย า ว
เพ ราะ ฉ ะ นั้ น การพัฒ น าห ลัก สู ตร ต้อ ง คานึ ง ถึง ก ารพัฒ น าคุณ ลัก ษ ณ ะ ข อง ค น ไท ย
ใ น ห ลั ก สู ต ร จ ะ ต้ อ ง บ ร ร จุ เ นื้ อ ห า ส า ร ะ
แล ะ ป ร ะ ส บ ก าร ณ์ ก ารเรี ย น รู้ที่ มีก ารป ลูก ฝั ง จิต ส านึ ก ใ น ค วามรับ ผิ ดช อ บ ร่ว มกัน
การสร้างค่านิยมในการทางานร่วมกัน การไม่เอารัดเอาเปรียบกันความขยันหมั่นเพียร การรู้จักอดออม
การมีสติรู้คิด การมีความคิดริ เริ่ มส ร้างส รรค์ การส ร้างเสริ มความส ามารถใ น การผลิ ต
ก า ร ส ร้ า ง ง า น แ ล ะ แ น ว ก า ร ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ ถ้ า ห ลั ก สู ต ร ใ น ร ะ ดั บ ต่ า ง ๆ
ได้บรรจุและปลูกฝังสิ่งเหล่านี้ไว้ทั้งในแนวกว้างและแนวลึกตามระดับการศึกษาแล้วผู้จบการศึกษาก็จะเป็นบุคค
ลมีความสามารถพัฒนาตนเองให้มีประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจภายใต้ความเจริญทางด้านเศรษฐกิจได้เหมาะสม
2.6 ก า ร ล ง ทุ น ก า ร ศึ ก ษ า
การจัด การศึกษาใน ระ ดับ ต้อง ใช้ง บป ระ มาณ ขอ งรัฐโดยเฉ พ าะ การศึกษ าขั้น พื้ น ฐาน
การจัดการศึกษาควรคานึงถึงงบประมาณเพื่อการศึกษาแหล่งงานที่จะช่วยเหลือรัฐในรูปงบประมาณ
ในการพัฒนาพัฒนาหลักสูตรควรจัดให้สอดคล้องกับงบประมาณของรัฐ ไม่ว่าในด้านจัดการเรียนการสอน
ด้ า น วัต ถุ อุ ป ก ร ณ์ เพื่ อ ใ ห้ มี ก า ร ใ ช้ ห ลั ก สู ต ร เ ป็ น ไ ป อ ย่า ง มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ
และ ต้องคานึง ถึงผลตอบแทน จากการลงทุน ใน ด้านกาลังคน ปริมาณคน และ คุณภ าพ เช่น
การพัฒนาหลักสูตรให้เยาวชนมีคาวามสามารถทางด้านคอมพิวเตอร์ การลงทุนด้านอุปกรณ์คือคอมพิวเตอร์
ใ ห้ ทุ ก โ ร ง เ รี ย น มี ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ส อ น นั ก เรี ย น แ ต่บ า ง โ ร ง เ รี ย น ไ ม่มี ไ ฟ ฟ้ า
ห รื อ บ า ง โ ร ง เ รี ย น ยั ง ไ ม่ มี บุ ค ล า ก ร ที่ มี ค ว า ม รู้ ท า ง ด้ า น ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์
ก า ร ล ง ทุ น ใ น จุ ด ดั ง ก ล่ า ว ส่ ว น ห นึ่ ง อ า จ เ ป็ น ก า ร ล ง ทุ น ที่ สู ญ เ ป ล่ า
เฉพาะฉะนั้นในการพัฒนาหลักสูตรควรคานึงถึงการลงทุนทางการศึกษาด้วยว่าเป็นการลงทุนที่สูญเปล่าหรือไม่
ในอนาคตมีตัวอย่างในการพัฒนาหลักสูตรที่ทาให้เกิดการสูตรเปล่าทางการศึกษาอยู่เสมอ
3. ข้อมูลพื้นฐานทางด้านการเมืองการปกครอง
การเมืองการปกครองเป็นที่เกี่ยวกับการจัดระเบียบการอยู่ร่วมกันในสังคมหมู่มากจาเป็นต้องมีระเบียบ
แ บ บ แ ผ น ห รื อ ก ติ ก า ต่ า ง ๆ
สาหรับสมาชิกในสังคมยึดถือเป็นแนวปฏิบัติต่อกันเพื่อความสงบเรียบร้อยและการอยู่รวมกันอย่างสันติ ดังนั้น
ก า ร เ มื อ ง ก า ร ป ก ค ร อ ง จึ ง เ ป็ น เ รื่ อ ง เ กี่ ย ว กั บ บ ท บ า ท ห น้ า ที่ สิ ท ธิ
และความรับผิดชอบที่ทุกคนพึงมีต่อสังคมและประเทศชาติ
ก า ร เ มื อ ง ก า ร ป ก ค ร อ ง มี ค ว า ม สั ม พั น ธ์ กั บ ก า ร ศึ ก ษ า
ในฐานะที่การศึกษามีหน้าที่ผลิตสมาชิกที่ดีให้แก่สังคมให้อยู่ในระบบการปกครองประเทศชาติ
ช่ว ย ใ ห้ ผู้เ รี ย น ท ร าบ ว่าต น มีสิ ท ธิ ห น้ าที่ แ ล ะ ค ว าม รับ ผิ ด ช อ บ ต่อ สั ง ค ม อ ย่าง ไ ร
แ ล ะ ค ว ร แ ส ด ง แ น ว คิ ด ป ฏิ บั ติ ต น อ ย่า ง ไ ร ห ลั ก สู ต ร ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ต่ า ง ๆ
จึงควรบรรจุเนื้อหาวิชาและประสบการที่จะปลูกฝังให้ประชากรอยู่ร่วมกันในสังคมได้ด้วยความเป็นระเบียบเรีย
บร้อยและสันติสุข
ข้ อ มู ล ที่ เ กี่ ย ว กั บ ก า ร เ มื อ ง ก า ร ป ก ค ร อ ง
ที่ ค ว ร จ ะ น าม าเป็ น เนื้ อ ห าป ร ะ ก อ บ ก าร พิ จ าร ณ า ใ น ก าร พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร ก็คื อ
ระบบการเมืองและระบบการปกครอง นโยบายของรัฐและรากฐาน ของประชาธิปไตย
3.1ระบบการเมืองการปกครอง เนื่องจากการศึกษาเป็ นเครื่องมืออันหนึ่ งของสังคม ดังนั้น
การศึกษ าระ บ บการเมือ งก ารปก ครอ งจึง แยกกัน ไม่ออ ก ห ลัก สู ตรของ ป ระ เท ศต่าง ๆ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งระดับประถมศึกษาซึ่งเป็นการศึกษาขั้นพื้นฐานมักจะบรรจุเนื้อหาสาระของระบบการเมืองกา
รปกครองไว้ เพื่อสร้างความเข้าใจให้กับประชาชนอยู่ร่วมกันใจสังคมได้ด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อย
ใ น บ า ง ป ร ะ เ ท ศ ที่ ต้ อ ง ก าร ป ลู ก ฝั ง อุ ด ม ก าร ณ์ ท า ง ก า ร เมื อ ง ใ ห้ แ ก่ป ร ะ ช าช น
เพ ราะ ฉ ะ นั้ น ใ น ก ารพั ฒ น าห ลัก สู ตรค วรเลื อก เนื้ อห าวิช าป ระ ส บ ก ารณ์ ก ารเรี ยน รู้
และการจัดให้มีการเรียนการสอนเกี่ยวกับระบบการเมืองการปกครองที่ต้องการปลูกฝัง
3.2 น โ ย บ า ย ข อ ง รั ฐ
เนื่ องจากการศึกษาเป็ นส่วนหนึ่ งของระบบสังคมจึงมีความจาเป็ น ต้องสอดคล้องกับระบบอื่น ๆ
ใ น สั ง ค ม ก า ร ที่ จ ะ ท า ใ ห้ ร ะ บ บ ต่ า ง ๆ
สามารถเกื้อหนุนส่งเสริมซึ่งกันและกันจึงจาเป็ นต้องมีการประสานสัมพันธ์ระหว่างระบบเหล่านั้น
ด้วยเหตุนี้ รัฐบายจึงมีน โยบายแห่งรัฐเพื่อเป็ น แน วทางใน การดาเนิ น งาน ของระบบต่าง ๆ
ให้ มีความต่อเนื่ อง แ ละ ส อด คล้อ งซึ่ ง กัน แ ละ กัน น โยบ ายขอ ง รัฐ ที่เห็ น ได้ชัด เจน คื อ
แ ผ น พั ฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ สั ง ค ม แ ห่ ง ช า ติ แ ผ น พั ฒ น า ก า ร ศึ ก ษ า
ในการพัฒนาหลักสูตรควรจะได้พิจารณานโยบายของรัฐด้วย เพื่อที่จะได้จัดการศึกษาให้สอดคล้องกัน
3.3 ร า ก ฐ า น ข อ ง ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย
จากการที่ประเทศไทยได้เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาสิทธิราชย์มาเป็นระบบอบประชาธิปไต
ย ใ น พ .ศ . 2475 นั้ น ค ว ร รู้ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ต ล อ ด จ น ค ว า ม รู้ สึ ก นึ ก คิ ด ต่ า ง ๆ
เ กี่ ย ว กั บ ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย ใ น สั ง ค ม ไ ท ย ยั ง ไ ม่ เ พี ย ง พ อ
หลักสูตรในฐานะที่เป็นเครื่องมือสาหรับพัฒนาคนควรที่จะวางรากฐานที่เกี่ยวกับประชาธิปไตยให้แก่สังคม
เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจให้ถูกต้องซึ่งจะสร้างสรรค์ให้ทุกคนอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสัน ติสุ ข
แล ะ ไม่มีการ เอารัด เอ าเป รี ยบ ซึ่ ง กัน แ ละ กัน น อ ก จาก นี้ ก ารจัดก ารเรี ยน ก ารส อ น
จึงควรมุ่งเน้นพฤติกรรมประชาธิปไตยด้วย สาหรับประเทศไทยปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยมานานแล้ว
แ ต่ ท า ง ป ฏิ บั ติ เ ร า ต้ อ ง ย อ ม รั บ ว่ า ยั ง ไ ม่ ส ม บู ร ณ์
ดั ง จ ะ เ ห็ น ไ ด้ จ า ก ก า ร ร า ษ ฎ ร ส่ ว น ใ ห ญ่ ยั ง ไ ม่รู้ ถึ ง สิ ท ธิ ห น้ า ที่ ข อ ง ต น ต่อ รั ฐ
ไ ม่ รู้ ว่ า ต น เ อ ง มี ค ว า ม ส า คั ญ มี ส่ ว น มี เ สี ย ง ใ น ก า ร ป ก ค ร อ ง
ไม่รู้ว่าการเมืองมีส่วนสัมพันธ์กับชีวิตประจาวันของตน ไม่เห็นความจาเป็ นในการเลือกตั้งเป็ นต้น
ก า ร ศึ ก ษ า ค ว ร มี บ ท บ า ท ส า คั ญ ใ น ก า ร ป รั บ ป รุ ง แ ก้ ไ ข
ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ค ว ร เ น้ น เ รื่ อ ง ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ต่ อ บ้ า น เ มื อ ง
ใ ห้ ป ร ะ ช า ช น รู้ ห น้ า ที่ ข อ ง ต น ใ น ร ะ บ อ บ ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย
ให้สานึกว่าการเมืองและการปกครองเป็นเรื่องของทุกคนในสังคม ทั้งที่ศึกษาอยู่ในระบบและนอกระบบและ/
หรือจบการศึกษาแล้วได้ศึกษาและนาไปปฏิบัติจริงเพื่อสอดคล้องกับน โยบายที่ว่าการศึกษาและ/
ห รื อ จ บ ก า ร ศึ ก ษ า แ ล้ ว ไ ด้ ศึ ก ษ า คื อ ก ร ะ บ ว น ก า ร ต่ อ เ นื่ อ ง ต ล อ ด ชี วิ ต
เมื่อเป็นเช่นการจัดหลักสูตรให้ประชาชนเข้าใจเกี่ยวกับการเมืองการปกครองจึงกระทาได้หลายรูปแบบเพื่อให้ผู้เ
รียนได้รับความรู้ มีจิตสานึกในความร่วมมือ เข้าใจบทบาทตนเองในด้านการเมืองการปกครองอย่างแท้จริง
เ พื่ อ เ ป็ น ก า ร ว า ง ร า ก ฐ า น ท า ง ด้ า น ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย
การจัดการศึกษาให้เหมาะสมกับระบบการเมืองการปกครองแบบประชาธิปไตย ควรจัดตามลาดับดังนี้
1. การจัดการศึกษาให้เท่าเทียมทั่วถึง
2. ให้อานาจการจัดการศึกษากระจายในท้องถิ่น
3. ให้เสรีภาพและเสถียรภาพแก่บุคคล ให้โอกาสแสดงความคิดเห็น
4. การเรียนการสอนควรส่งเสริมความเป็นประชาธิปไตย ให้โอกาสผู้เรียนแสวงหาความรู้
5. ส่งเสริมการแก้ไขปัญหาตนเอง
6. จัดหลักสูตรให้ยืดหยุ่นได้ง่าย
7. เน้นวิชามนุษย์สัมพันธ์และจริยธรรมเป็นพิเศษ
น อ ก จ า ก นั้ น ก า ร ป ลู ก ฝั ง อ บ ร ม สั่ ง ส อ น นั ก เ รี ย น
ก็มีส่วนสาคัญที่จะช่วยให้ประชาธิปไตยของไทยมีความเป็นประชาธิปไตยยิ่งขึ้นด้วยวิธีการดังนี้
1. ชี้ให้เห็นประโยชน์ประชาธิปไตยโดยการให้คาแนะนาและปฏิบัติ
2. สร้างนิสัยให้มีความกระตือรือร้น สนใจเหตุการณ์บ้านเมือง
3. ปลูกฝังการมีวินัยและการเคารพสิทธิเสรีภาพของผู้อื่น
4. ฝึกการเคารพกฎเกณฑ์ต่างๆ อย่างเข้มผู้เข้มงวด
5. กระตุ้นและปลูกฝังให้มีความตั้งใจเรียน ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัวและประเทศชาติ
6. ฝึกให้ความสนใจและร่วมกันพิจารณาปัญหาต่าง ของสังคมและหาทางแก้ไข
7. หาโอกาสให้ให้ความร่วมมือประกอบกิจกรรมเพื่อประโยชน์ต่อส่วนรวม
8. ช่วยแก้ไขค่านิยมที่ไม่เหมาะสมในสังคมและสร้างค่านิยมที่ดีและเหมาะสม
9. ป ลู ก ฝั ง ทัศ น ค ติ ที่ ว่าก ารเมือ ง เป็ น เรื่ อง ก ารใ ห้ ค วามร่ว มมือ ก าร เสี ยส ล ะ
และการช่วยชาติเพื่อบุคคลรุ่นใหม่จะได้เป็นนักการเรียนที่ดี
10. ใ ห้ ค วามรู้ แล ะ ก ระ ตุ้น ใ ห้ ส น ใ จก ารเมื อ ง โ ด ยค านึ ง ถึ ง ห ลัก ก าร วิ ธี ก าร
สิทธิหน้าที่ในฐานะพลเมืองของประเทศ
11.ปลูกฝังให้มีความพร้อมที่จะมีส่วนร่วมในกระบวนการทางการเมืองทั้งในระดับโรงเรียน ท้องถิ่น
และประเทศชาติ
12. ป ลู ก ฝั ง ใ ห้ ผู้ เ รี ย น มี แ น ว คิ ด ว่า ทุ ก ค น ค ว ร มี บ ท บ า ท ท า ง ก า ร เ มื อ ง
และการเมืองเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับทุกคนทั้งทางตรงและทางอ้อม
13. เน้นให้เห็นความสาคัญของการใช้สิทธิ์เลือกตั้ง
จ า ก ตั ว อ ย่ า ง ดั ง ก ล่ า ว พ อ จ ะ เ ป็ น แ น ว ท า ง ก า ห น ด เ นื้ อ ห า
กิจ ก ร ร ม ก า ร จัด ก าร เ รี ย น ก า ร ส อ น แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ เรี ย น รู้ ไ ว้เ ป็ น ห ลั ก สู ต ร
เพื่อให้ผู้เรียนที่จบการศึกษาเป็นผลเมืองที่มีคุณภาพสอดคล้องกับระบบการเมืองการปกครองของประเทศ
4. ข้อมูลพื้นฐานสภาพปัญหา และแนวทางการแก้ปัญหาในสังคม
สภาพปัญหาและแนวทางในการแก้ปัญหาของสังคมเป็นข้อมูลพื้นฐานที่สาคัญที่ต้องศึกษา
สังคมไทยปัจจุบันกาลังประสบปัญหายุ่งยากหลายประการ ทั้งปัญหาสิ่งแวดล้อม ปัญหาเศรษฐกิจ
แ ล ะ ปั ญ ห า ก า ร เ มื อ ง ซึ่ ง ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า เ ห ล่า นี้ มี ทั้ ง ร ะ ย ะ สั้ น ร ะ ย ะ ย า ว
แ ล ะ ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า อ า จ ท า ไ ด้ ชั่ ว ค ร า ว ห รื อ อ ย่ า ง ถ า ว ร
การจัดการศึกษาเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าวจึงเป็ น เรื่องสาคัญ ที่นักพัฒน าหลักสู ตรจะ ต้องศึกษา
แล้วนามาสร้างเป็นหลักสูตร ปัญหาสาคัญๆ ที่ควรศึกษาคือ
4.1ปัญหาทางด้านสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ การขยายตัวของอุตสาหกรรม และการใช้เทคโนโลยี
ทาให้เกิดปัญหาสภาวะแวดล้อมทางธรรมชาติในสังคมไทยมากขึ้น เช่น ปัญหาการทาลายป่ าไม้
ปัญหาความเสื่อมโทรมของดิน ปัญหาน้าเสีย และอากาศเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น ปัญหาต่างๆ
สมควรที่จะได้ศึกษาข้อเท็จจริงถึงสภาพปัญหาและแนวทางแก้ไขเพื่อที่นาไปเป็นข้อมูลในการจัดการศึกษาและ
พัฒนาหลักสูตร เช่น การกาหนดเนื้อหาในเรื่องสภาพแวดล้อม การปลูกฝังการสร้างสภาพแวดล้อมที่ดี
แ ล ะ ก า ร อ นุ รั ก ษ์ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ก าร ใ ช้ ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ ที่ ฉ ล า ด ถู ก ต้ อ ง
ซึ่งสิ่ งเห ล่านี้ เราสามารถกาหนดลงในเนื้ อหาของหลักสูตรใน ระดับต่างๆ ตามความเหมาะสม
เ พื่ อ ที่ ป ลู ก ฝั ง ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ใ น สิ่ ง เ ห ล่ า นี้ ใ ห้ เ กิ ด ใ น ผู้ เ รี ย น
แ ล ะ ป ร ะ เ ท ศ ก็ จ ะ มี พ ล เ มื อ ง ที่ รั บ ผิ ด ช อ บ ต่ อ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ
ปัญหาเกี่ยวสิ่งแวดล้อมในอนาคตก็จะได้รับการป้องกันไม่ให้เกิดขึ้น
4.2 ปั ญ ห า ท า ง ด้ า น สั ง ค ม ปั ญ ห า ท า ง สั ง ค ม ที่ เ ป็ น อ ยู่ใ น ปั จ จุ บั น
มั ก จ ะ เ กิ ด ขึ้ น จ า ก ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ข อ ง สั ง ค ม
ซึ่งมีสาเหตุจากความเจริญทางด้านวัตถุและวัฒนธรรมตะวันตกหลั่งไหลเข้ามาอย่างรวดเร็วด้วยอิทธิพลของการ
สื่ อสาร ทาใ ห้คน ไทยรับ วัฒ น ธรรมตะ วัน ตกเข้ามาโดยเฉพ าะ ใน ห นุ่มสาวหรือเยาวช น
ก่อให้เกิดความขัดแย้งทางด้าน ความคิดระหว่างคนหนุ่มสาวกับผู้ใหญ่ที่ยึดมั่น ในวัฒนธรรมเดิม
ท า ใ ห้ เ กิ ด ปั ญ ห า กั บ ย า เ ส พ ติ ด ปั ญ ห า ท า ง เ พ ศ ปั ญ ห า ท า ง อ า ช ญ า ก ร ร ม
ซึ่งการศึกษาปัญหาเหล่านี้จะเป็นข้อมูลในการจัดหลักสูตรเพื่อเตรียมเยาวชนสามารถดารงอยู่ในสังคมที่เปลี่ยนแ
ปลงได้อย่างมีความสุขและไม่เกิดปัญหา
4.3ปัญหาด้านเศรษฐกิจ โดยพื้นฐานนั้นประเทศไทยเป็นประเทศที่มีพื้นฐานดั้งเดิมจากเกษตรกรรม
ประ ช าช น ส่วน ใหญ่ยัง มีพื้ น ฐาน อยากจน และ มีการศึกษาต่า ประช าช น เกิดการว่างงาน
ก า ร ย้ า ย ถิ่ น ท า กิ น ช น บ ท เ ข้ า สู่ เ มื อ ง ห รื อ อั ต ร า ค่ า จ้ า ง แ ร ง ง า น ต่ า
สิ่งเหล่านี้ เป็ นปัญหาทางเศรษฐกิจยาวนานของประเทศ ประกอบกับใน ปัจจุบันประเทศต่างๆ
ประสบกับภาวะปัญหาทางด้านเศรษฐกิจของโลกทั้งประเทศไทยด้วย ทาให้ปัญหาทางเศรษฐกิจในอดีต
ปัจจุบัน และแน วโน้มปั ญหาที่เกิดใน อนาคต เพื่อจะให้นาข้อมูลทางเศรษฐกิจของประเทศ
โ ด ย ก า ห น ด จุ ด ห ม า ย ข อ ง ห ลั ก สู ต ร ก า ร ส ร้ า ง ห ลั ก สู ต ร ห ล า ย วิ ช า
หรือการบรรจุเนื้อหาสาระให้ผู้เรียน มีความรู้ความสามารถและประ สิทธิภ าพทางเศรษฐกิจ
ท า ใ ห้ ผู้ ที่ จ บ ก า ร ศึ ก ษ า ใ น ร ะ ดั บ ต่ า ง ๆ ส า ม า ร ถ อ อ ก ไ ป ป ร ะ ก อ บ อ าชี พ ไ ด้
และสามารถดารงอยู่ในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ โดยไม่เป็นปัญหาหรือภาระของสังคม
หรือจัดการศึกษาเพื่อให้บุคคลสามารถสร้างงานได้
4.4ปัญหาทางด้านการเมืองการปกครอง สภาพปัญหาทางด้านการเมืองของไทยเป็นมาอย่างยาวนาน
ส ม ค ว ร ที่ ก า ร ศึ ก ษ า จ ะ เ ข้ า ไ ป มี บ ท บ า ท ใ น ก า ร พั ฒ น า ด้ า น ก า ร เ มื อ ง
คื อ ก า ร ใ ห้ ค ว า ม รู้ แ ล ะ ป ลู ก ฝั ง ใ น เ รื่ อ ง ข อ ง ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย
เพราะประชาชนทั่วไปโดยเฉพาะอย่างยิ่งประชาชนในท้องถิ่นชนบทมีความรู้เข้าใจเกี่ยวกับประชาธิปไตยไม่ดีพ
อ นอกจากนั้นประชาชนส่วนใหญ่ยังขาดความสานึกและความรับผิดชอบต่อวิถีทางแบบประชาธิปไตย
ซึ่ ง จ ะ เห็ น ไ ด้ จา ก ก าร เข้ ามี บ ท บ าท ท าง ก าร เมื อ ง ยัง เป็ น เรื่ อ ง ข อ ง ค น ก ลุ่มน้ อ ย
หรือจานวนผู้ไปใช้เสียงในการเลือกตั้งแต่ละครั้งมีจานวนน้อยมากเมื่อเปรียบกับผู้มีสิทธิ์ออกเสียงเลือกตั้งทั้งหม
ด แม้ว่านักศึกษามีอายุที่จะ ใช้สิ ทธิ์ เลือกตั้งได้แล้วแต่อัตราส่วน ผู้ใช้สิ ทธิ์ ยังน้อยเห มือน เดิม
ใ น เมื่อ ผู้ไ ด้รับ การ ศึ ก ษ าที่ มีค ว ามรู้ ค วามเข้าใ จ ใ น เรื่ อ ง ป ระ ช าธิ ป ไต ย เป็ น อ ย่าง ดี
ยังขาดความสานึกความรับผิดชอบเช่นนี้ นักพัฒนาหลักสูตรจึงควรที่จะได้ตระหนักและพัฒนาหลักสูตร
เนื้ อห าวิช าห รื อกิจก รรมก ารเรี ยน ก ารส อน ใ ห้ ส ามารถ พัฒ น าผู้เรี ยน ใ ห้ มีจิตส านึ ก
และความรู้สึงรับผิดชอบต่อการปกครองของประเทศ
จากสภาพปัญหาต่างๆ ที่กล่าวมาเป็ น เพียงตัวอย่างที่นักพัฒนาห ลักสูตรจะตั้งคานึงถึง
ทั้งนี้เพื่อให้หลักสูตรที่ร่างขึ้นมามีส่วนแก้ปัญหาสังคมและประเทศชาติโดยส่วนรวมบางปัญหาอาจแก้ได้โดยตร
ง บ า ง ปั ญ ห า ก า ร ศึ ก ษ า แ ก้ ไ ข โ ด ย ท า ง อ้ อ ม
ซึ่งเป็นหน้าที่ของนักพัฒนาหลักสูตรจะต้องพิจารณาปัญหาเพื่อนาไปสู่การตัดสินใจเลือกทิศทางในการพัฒนาห
ลักสูตรเพื่อสร้างคนที่เป็นประโยชน์แก่สังคม หรือคนที่จะไปพัฒนาหรือแก้ปัญหาสังคมต่อไป
ขั้นตอนในการพิจารณาปัญหาและแนวทางแก้ไขมีดังนี้
1. พิจารณาปัญหาที่ระบบการศึกษาเอื้ออานวยในการปรับปรุงให้ดีขึ้น
2. พิจารณาสาเหตุ ข้อเท็จจริงสภาพปัญหา
3. พิจารณาวิชา เนื้อหาและประสบการณ์การเรียนรู้ที่เหมาะสม
4. พิจารณากิจกรรมการเรียนการสอนที่เหมาะสม
5. ข้อมูลพื้นฐานทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความเจริญก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโน โลยี ทาให้สังคมเปลี่ยน แปลงไป
ผู้เรียน เกิดความจาเป็ น ต้องเพิ่ มความรู้ให ม่ ทักษะใ หม่ และต้อง เปลี่ยน แปลงเจตคติให ม่
ทาให้เกิดความจาเป็นจะต้องสร้างคุณธรรมและความคิดใหม่เพื่อให้คนในสังคมสามารถปรับตัวเข้ากับการเปลี่ย
น แ ป ล ง ข อ ง สั ง ค ม ไ ด้
โดยใช้การศึกษาทาหน้าที่สร้างประชาชนที่มีคุณภาพและมีความสามารถปรับตัวให้กับความเจริญทางด้านวิทยา
ศ า ส ต ร์ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี ไ ด้ อ ย่ า ง เ ห ม า ะ ส ม
หลักสูตรที่นามาใช้จาเป็นต้องมีความสอดคล้องกับความเจริญ ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ปัจจุบันประเทศไทยได้นาเอาความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์มาใช้ในสังคมอย่างกว้างขวางในทุกๆ ด้าน
ท า ใ ห้ เกิด ผ ล ก ร ะ ท บ ต่อ สั ง ค ม แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล้อ ม ทั้ ง ท า ง ต ร ง แ ล ะ ท าง อ้อ ม ดัง นั้ น
ก าร จัด ก าร ศึ ก ษ า จึ ง ค ว ร จ ะ ใ ห้ ป ร ะ ช าช น ต ร ะ ห นั ก ถึ ง ส ภ าพ ข้ อ เ ท็ จ จ ริ ง ต่า ง ๆ
ที่เป็ นผลกระทบจากความเจริญทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พร้อมทั้งให้เขาได้รับข้อมูลต่างๆ
อย่าง เพี ยง พ อ เพื่ อ ใ ห้ เข าส าม ารถ เลื อก ตัด สิ น ใ จใ ช้ วิธี การป ฏิ บัติ ที่ ถู ก ต้อ ง ดัง นั้ น
นักพัฒนาหลักสูตรต้องศึกษาข้อมูลทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทั้งในปัจจุบันและแนวโน้มความเจริญใ
น อ น า ค ต
เพื่อที่จะได้พัฒนาหลักสูตรเพื่อพัฒนาคนให้สามารถดารงตนอยู่ได้อย่างเหมาะสมในสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป
นอกจากจะพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับความเจริญทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแล้ว
ความเจริญทางด้านนี้ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในเรื่องเนื้อหาของหลักสูตรและการเรียนการสอน เช่น
อุปกรณ์สอนใหม่ๆ เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ คอมพิวเตอร์ วิทยุ โทรทัศน์ เครื่องบันทึกเสียง วีดีทัศน์
ไมโครฟิ ล์ม โพรเจกเตอร์ วิธีการสอน แบบใหม่ๆ ซึ่งใช้เครื่องมือต่างๆ ช่วย เช่น วิทยุการศึกษา
โทรทัศน์การศึกษา การศึกษาทางไกล การสอนแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็นต้น
วั ส ดุ อุ ป ก ร ณ์ เ ค รื่ อ ง อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์
และวิธีการสอน ใหม่ที่อาศัยความเจริญ ก้าวหน้าทางด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโน โลยีเหล่านี้
ส า ม า ร ถ ช่ ว ย ใ ห้ จั ด ก า ร ศึ ก ษ า มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ สู ง ก ว่า ก า ร ส อ น ใ น อ ดี ต
ผู้พัฒนาหลักสูตรจึงมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความก้าวหน้าในเรื่องดังกล่าวนามาพัฒนาหลักสูตรและการจัด
การเรียนการสอนให้เหมาะสมด้วย
6. ข้อมูลพื้นฐานทางสภาพทางสังคมในอนาคต
จ า ก ส ภ า พ ก า ร เป ลี่ ย น แ ป ล ง ทั้ ง ท า ง ด้ า น เศ ร ษ ฐ กิ จ ก า ร เ มื อ ง สั ง ค ม
และ ความเจริ ญ ก้าวหน้ าทางวิทยาศาสต ร์แล ะ เท คโน โลยีของ ประ เทศไท ยใ น ปั จจุบัน
ชี้ ให้ เห็ น ว่าใน อน าคตประ เทศไทยมีแน วโน้มที่จะ พัฒ น าทางด้าน อุตสาห กรรมมากขึ้ น
ซึ่ ง จ ะ เ ป็ น ผ ล ใ ห้ เ กิ ด อุ ต ส า ห ก ร ร ม ใ ห ม่ ห ล า ก ห ล า ย ส า ข า
จากสภาพการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมีผลทาให้สังคมเปลี่ยนแปลงไปดังนี้
1. มีการส่งเสริมอุตสาหกรรมขนาดย่อม รวมทั้งอุตสาหกรรมท้องถิ่นเพิ่มขึ้น
2.
งานอาชีพอิสระมีแนวโน้มจะมีความสาเร็จมากขึ้นในอนาคตทั้งนี้เนื่องจากลักษณะการผลิตอุตสาหกรรมส่วนใ
หญ่มักเป็นการผลิตใช้ทุนมากกว่าใช้แรงงาน
3.
ในอนาคตสภาพสังคมจะมีการแข่งขันและต่อสู้เพื่ออยู่รอดเฉพาะตัวเพราะที่ดินทากินไม่สามารถขยายเพิ่มให้สม
ดุ ล กั บ ป ร ะ ช า ก ร ไ ด้ ท า ใ ห้ เ กิ ด ก า ร เ ข้ า ม า ท า ง า น ใ น เ มื อ ง ม า ก ขึ้ น
และภาคอุตสาหกรรมก็ไม่สามารถรองรับแรงงานได้ทั้งหมด เพราะฉะนั้นการแข่งขันเพื่อความอยู่รอดมีมากขึ้น
4.
การประพฤติปฏิบัติของคนไทยจะเปลี่ยนไปจากวัฒนธรรมดั้งเดิมซึ่งเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิ
จ สังคม การเมือง ความเจริญด้าน เทคโน โลยีและการห ลั่งไห ลเข้ามาของวัฒน ธรรมตะวันตก
ซึ่งมีผลกระทบต่อคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และสิ่งแวดล้อมของสังคมไทย
5.ในอนาคตคาดว่าการดาเนินชีวิตของคนไทยประสบกับปัญหา ทั้งใน ด้าน สุขภาพและ
การ ป ร ะ ก อ บ อ าชี พ ม ากขึ้ น ซึ่ ง เป็ น ผ ล กร ะ ท บ มาจ าก ก าร เป ลี่ ย น แ ป ล ง ท าง สั ง ค ม
เศรษฐกิจและการเพิ่มของประชากร
จากสภาพการเปลี่ยนแปลงในลักษณะต่างๆ ดังกล่าวแล้ว หลักสูตรในอนาคตต้องมีบทบาทดังต่อไปนี้
1.เตรียมกาลังคนให้เหมาะสมกับงานด้านอุตสาหกรรมขนาดย่อย และอุตสาหกรรมท้องถิ่น
โดยเตรียมกาลังคนที่มีคุณภาพทางด้านความรู้ทักษะ และลักษณะนิสัย ตลอดจนเจตคติที่ดีต่อการทางานอาชีพ
2.
ส่งเสริมอาชีพอิสระและเตรียมคนให้เห็นช่องทางในการประกอบอาชีพอิสระมากขึ้นเพื่อแก้ปัญหาการว่างงานข
องประชาชนส่วนหนึ่ง
3.การศึกษาใน อน าคตควรเน้นไปที่การสร้างค่านิยมด้าน ความสามัคคีใน การอยู่ร่วมกัน
โดยให้ทุกคนรู้จักเสียสละ มุ่งทาประโยชน์ให้แก่สังคมเป็นส่วนใหญ่ และหาจุดยืนที่เป็นที่ยอมรับ
4. เ ต รี ย ม ค น ใ ห้ เ ห็ น คุ ณ ค่ า ข อ ง ก า ร ด า ร ง รั ก ษ า วั ฒ น ธ ร ร ม ไ ท ย
รู้จัก ผส มผ สาน วัฒ น ธรรม ดั่ง เดิมกับ วัฒ น ธ รรมใ ห ม่ เพื่ อเป็ น แน วท าง การป ฏิ บัติต น
มุ่งพัฒนาตนเองและสร้างสรรค์ความเจริญทางสังคมตลอดจนมุ่งพัฒนาจิตใจให้ยึดมั่นในศาสนาและหลักธรรม
มีคุณธรรมจริยธรรมอันจะนาไปสู่การมีชีวิตที่สงบสุข
5. เต รี ยมฝึ ก ค น ใ ห้ ส ามาร ถ แ ก้ไข ปั ญ ห าเกี่ย วกับ สุ ข ภ าพ แ ล ะ ปั ญ ห าต่าง ๆ
ในการดารงชีวิตพร้อมทั้งสามารถเลือกแนวทางในการปรับปรุงคุณภาพชีวิตให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
7. ข้อมูลพื้นฐานจากนักวิชาการจากสาขาต่างๆ
ข้ อ มู ล พื้ น ฐ า น จ า ก นั ก วิ ช า ก า ร ใ น วิ ช า ส า ข า ต่ า ง ๆ
เป็นข้อมูลสาคัญอีกอย่างหนึ่งที่จะช่วยให้ข้อมูลในการพัฒนาหลักสูตรสามารถคลอบคลุมความต้องการจาเป็นใ
นการพัฒนาหลักสูตรได้อย่างกว้างขวาง ข้อมูลดังกล่าวได้แก่ข้อมูลจากนักวิชาการในวิชาสาขาต่างๆ
นั ก ก าร ศึ ก ษ า ห รื อ บุ ค ค ล ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง กับ ก า ร ใ ช้ ผ ล ผ ลิ ต ข อ ง ก าร จัด ก า ร ศึ ก ษ า
คื อ ส ถ า น ป ร ะ ก อ บ ก า ร ที่ จ บ ก า ร ศึ ก ษ า เ ข้ า ไ ป สู่
หรืออาจจะเรียกข้อมูลจากสถานประกอบหรือตลาดแรงงานเป็นต้น
7.1 ข้ อ มู ล จ า ก นั ก วิ ช า ก า ร นั ก วิ ช า ก า ร แ ต่ ล ะ ส า ข า ที่ มี ค ว า ม รู้
ค ว ามส า มาร ถ ค ว าม ช าน า ญ เฉ พ า ะ ท าง ย่อ ม รู้ ท ฤ ษ ฎี ห ลั ก ธ ร รม ช าติ โ ค ร ง ส ร้ า ง
แ ล ะ ร ะ ดั บ ค ว า ม ย า ก ง่ า ย ข อ ง ค ว า ม รู้ แ ต่ ล ะ ศ า ส ต ร์ ข อ ง ต น เ ป็ น อ ย่า ง ดี
คณะพัฒนาหลักสูตรต้องปรึกษาและร่วมมือกับนักวิชาการเหล่านี้เกี่ยวกับการกาหนดจุดมุ่งหมายการเรียนรู้ในแ
ต่ ล ะ ส า ข า วิ ช า ใ น ก า ร ก า ห น ด เ นื้ อ ห า วิ ช า ค ว า ม ก ว้ า ง ค ว า ม ลึ ก
และความต่อเนื่องสัมพันธ์เนื้อหาในเรื่องการปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรของไทยยังขาดข้อมูลด้านนี้มา ก
ท า ใ ห้ เ กิ ด ก า ร สู ญ เ ป ล่ า ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า นั ก วิ ช า ก า ร ส า ข า ต่ า ง ๆ
จึงน่าจะมีบทบาทในการพัฒนาหลักสูตรโดยร่วมเป็นคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรในแต่ละสาขา
เพื่อสร้างหลักสูตรที่สมเหตุสมผลและสมจริงทางวิชาการ
7.2 ข้อมูลจากสถานประกอบการ เป็นแหล่งข้อมูลที่สาคัญที่นักพัฒนาหลักสูตรไม่สมควรมองข้าม
เ พ ร า ะ ห ลั ก สู ต ร จ ะ ต้ อ ง ผ ลิ ต ค น สู่ ส ถ า น ป ร ะ ก อ บ ก า ร ต่ า ง ๆ ใ น สั ง ค ม
โ ด ย เ ฉ พ า ะ อ ย่ า ง ยิ่ ง ก า ร พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร ใ น ร ะ ดั บ อ า ชี ว ศึ ก ษ า
ความต้องการของสถาน ประกอบการเป็ น ข้อมูลสาคัญที่นักพัฒน าหลักสูตรควรนาไปพิจารณา
เพื่อจัดหลักสูตรและการเรียนการสอนให้ผู้จบหลักสูตรสามารถเข้าไปสู่สถานประกอบการได้อย่างมีประสิทธิภ
าพ
8. ข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวกับโรงเรียน ชุมชนหรือสังคมที่โรงเรียนตั้งอยู่
ข้อมูลที่สาคัญอีกอย่างหนึ่งที่ควรศึกษาวิเคราะห์ คือข้อมูลที่เกี่ยวกับสภาพทั่วไปของโรงเรียน เช่น
ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว กั บ จ า น ว น ค รู ใ น โ ร ง เ รี ย น
จาน วน อาคารสถาน ที่หรือห้องเรียน จาน วน อุป กรณ์และศักยภ าพ ของโรงเรี ยน มากที่สุ ด
นอกจากนี้ข้อมูลเกี่ยวกับชุมชนและสภาพสังคมที่โรงเรียนตั้งอยู่ก็เป็นข้อมูลที่ผู้จัดทาหลักสูตรหรือพัฒนาหลักสู
ต ร จ ะ ต้ อ ง ศึ ก ษ า เ ช่ น ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม แ ล ะ ส ภ า พ ภู มิ ศ า ส ต ร์ ที่ ตั้ ง
ห รื อ สั ง ค ม โ ด ย ทั่ ว ไ ป ข อ ง ผู้ ใ ช้ ห ลั ก สู ต ร ห รื อ โ ร ง เ รี ย น นั้ น เ ป็ น อ ย่า ง ไ ร
ก าร ส นั บ ส นุ น ห รื อ ค ว าม ร่ว มมื อ ข อ ง ชุ ม ช น สั ง ค มที่ มีต่อ โ รง เรี ย น เป็ น อ ย่าง ไ ร
ข้อมูลดังกล่าวจะ เป็ น ประ โยช น์ ใ น การจัดท าหลักสู ตร เช่น การกาหน ดวิช าเรี ยน ต่าง ๆ
เพราะบางรายวิชาสภาพชุมชนและสังคมไม่สามารถเอื้ออานวยหรือส่งเสริมเท่าที่ควร การศึกษาก็ไม่บรรลุผล
เ พ ร า ะ ฉ ะ นั้ น ก า ร ศึ ก ษ า ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว กั บ โ ร ง เ รี ย น ชุ ม ช น
แ ล ะ สั ง ค ม ที่ โ ร ง เรี ย น ตั้ ง อ ยู่จึ ง เ ป็ น สิ่ ง ที่ ส าคั ญ ที่ ผู้ จัด ท าห ลั ก สู ต ร ต้ อ ง ศึ ก ษ า
เ พื่ อ ใ ห้ ไ ด้ ข้ อ มู ล ม า จั ด ท า ห ลั ก สู ต ร ที่ โ ร ง เ รี ย น ต่ า ง ๆ
สามารถน าไป ใ ช้ใ น การจัดการเรี ยน การส อน ได้อย่าง มีป ระ สิ ท ธิ ภ าพ ซึ่ งข้อมูลต่าง ๆ
เหล่านี้ สามารถค้น คว้าและหาข้อมูลได้จากเอกสารในการรายงาน ต่างๆ การสารวจ สอบถาม
และการสัมภาษณ์บุคคลต่างๆ ตลอดจนข้อมูลเกี่ยวข้อง เช่น คนในชุมชน ผู้บริหาร ครู นักเรียน ผู้ปกครอง
ผู้ที่สาเร็จการศึกษาซึ่งการศึกษาข้อมูลดังกล่าวจาเป็นสาหรับการพัฒนาหลักสูตรทั้งระดับท้องถิ่นและระดับชาติ
เพื่ อ ใ ห้ ไ ด้ ห ลั ก สู ต ร ที่ ทุ ก โ ร ง เรี ย น ส าม า ร ถ น า ไ ป ใ ช้ ไ ด้อ ย่า ง มีป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ
โ ด ย เฉ พ า ะ ห ลั ก สู ต ร ร ะ ดั บ ท้ อ ง ถิ่ น ข้ อ มู ล ดั ง ก ล่า ว มี ค ว า ม ส า คั ญ อ ย่า ง ยิ่ ง
ผู้พัฒนาหลักสูตรระดับท้องถิ่นจะต้องให้ความสาคัญเพื่อที่จะเสริมสร้างได้หลักสูตรที่เหมาะสมและตอบสนอง
ต่อท้องถิ่นนั้นๆ ได้อย่างเต็มที่
9. ข้อมูลพื้นฐานทางประวัติศาสตร์และการศึกษาหลักสูตรเดิม
ประ วัติศาสตร์ มีความสาคัญ ต่อชีวิตและ การกระ ท าใ น ปั จจุบัน ดังคาก ล่าวที่ ว่า
ปั จจุบัน ผลของ อดีตและ อน าคตเป็ น ผลปั จจุบัน เพ ราะ ฉ ะ นั้ น ข้อมูลทางป ระ วัติศาส ตร์
และการศึกษาหลักสูตรในอดีตย่อมมีประโยชน์ต่อการจัดการศึกษาและการจัดทาหลักสูตรในปัจจุบัน
ก า ร ศึ ก ษ า ไ ท ย กั บ ป ร ะ วัติ ศ า ส ต ร์ ไ ท ย มี ค ว า ม ผู ก พั น กั น อ ย่า ง แ น่ น แ ฟ้ น
เ พ ร า ะ เ ห ตุ ก า ร ณ์ ใ น ช า ติ ย่ อ ม มี ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ ก า ร ศึ ก ษ า เ ส ม อ
นักการศึกษาและนักพัฒนาหลักสูตรจึงจาเป็นต้องมีความรู้หรือข้อมูลศึกษาเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ของชาติ
ร ว ม ทั้ ง ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ค ว บ คู่ กั น ไ ป
เพราะเราต้องอาศัยพื้นฐานทางประวัติศาสตร์มาช่วยในการจัดการศึกษาและพัฒนาหลักสูตรในปัจจุบัน
การศึกษาข้อมูลทางประวัติศาสตร์จะทาให้เราเห็นภาพรวมความเจริญของชาติทั้งทางด้านเศรษฐกิจ
สภ าพ แวดล้อม การเมือง และวัฒน ธรรมใน อดีตที่ผ่าน มา รวมทั้งผลกระทบที่มีต่อการศึกษา
ซึ่งข้อมูลในส่วนนี้นักพัฒนาหลักสูตรต้องวิเคราะห์ว่าการจัดการศึกษาหรือการจัดหลักสูตรอย่างนั้นในสภาพเศร
ษฐกิจ สั ง คม แล ะ การเมือง ใ น ขณ ะ นั้ น มีค วามถูกต้อ งแ ละ เห ม าะ ส มมากน้ อยเพี ยง ใ ด
5 170819173404
5 170819173404

Contenu connexe

Similaire à 5 170819173404

Similaire à 5 170819173404 (20)

บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5
 

Plus de gam030

Random 170819173908
Random 170819173908Random 170819173908
Random 170819173908gam030
 
10 170819173737
10 17081917373710 170819173737
10 170819173737gam030
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701gam030
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524gam030
 
6 170819173444
6 1708191734446 170819173444
6 170819173444gam030
 
4 170819173249
4 1708191732494 170819173249
4 170819173249gam030
 
3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149gam030
 
2 170819173059
2 1708191730592 170819173059
2 170819173059gam030
 
1 170819173012
1 1708191730121 170819173012
1 170819173012gam030
 

Plus de gam030 (9)

Random 170819173908
Random 170819173908Random 170819173908
Random 170819173908
 
10 170819173737
10 17081917373710 170819173737
10 170819173737
 
9 170819173701
9 1708191737019 170819173701
9 170819173701
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
6 170819173444
6 1708191734446 170819173444
6 170819173444
 
4 170819173249
4 1708191732494 170819173249
4 170819173249
 
3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149
 
2 170819173059
2 1708191730592 170819173059
2 170819173059
 
1 170819173012
1 1708191730121 170819173012
1 170819173012
 

5 170819173404

  • 1. บทที่ 5 ข้อมูลพื้นฐานการพัฒนาหลักสูตร มโนทัศน์(Concept) นักพัฒนาหลักสูตรควรตระหนักและควรนาข้อมูลพื้นฐานทางด้านสังคมและเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นมาเป็น ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรในอนาคตว่า การจัดทาหลักสูตรข้อมูลพื้นฐานมีความสาคัญมาก ซึ่ง ผู้ที่มีส่วน เกี่ยวข้องไม่ควรละ เลยที่จะศึกษา ไม่ว่าจะ เป็ น ข้อมูลทางด้าน สัง คม เศรษฐกิจ และการเมืองการปกครองในอน าคตได้ น อกจากนั้น ข้อมูลจากบุคคลต่างๆ ไม่ว่านักการศึกษา นั ก วิช าก าร ส าข าต่าง ๆ ค ว าม เห็ น จ าก ชุม ช น ค วาม ต้อ ง ก าร ก ว้าง ไก ล แ ล ะ ลึ ก ซึ้ ง การจัดการศึกษาโดยบุคคลที่มีหน้าที่เพียงกลุ่มเดียวย่อมมีมุมมองที่แคบและไม่ชัดเจนเท่ากับหลายฝ่ายร่วมแรงร่ ว ม ใ จ กั น ดั ง นั้ น การพัฒนาหลักสูตรโดยศึกษาข้อมูลหลากหลายอย่างครอบคลุมจึงสามารถพัฒนาหลักสูตรให้มีประสิทธิภาพยิ่ง ขึ้น ผลการเรียนรู้(Learning Outcome) 1. มีความรู้ ความเข้าใจ ในการเขียนประเด็นสาคัญที่ใช้พื้นฐานการพัฒนาหลักสูตรด้าน ต่างๆ ในการพัฒนาหลักสูตร 2 . สามารถนาความรู้ในการเขียนประเด็นสาคัญจากข้อมูลพื้นฐานการพัฒนาหลักสูตรมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนา หลักสูตรได้อย่างถูกต้องเหมาะสม สาระเนื้อหา(Content) ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร ในอดีตการพัฒนาหลักสูตรในระดับต่างๆ มักใช้ข้อมูลพื้นฐานประกอบการพิจารณาค่อนข้างน้อย แ ต่ใ ห้ ค ว าม ส าคั ญ กับ ข้ อ มู ล ที่ เ ป็ น ข้ อ เท็ จ จ ริ ง เฉ พ าะ ด้าน เนื้ อ ห า ใ น วิช า ต่า ง ๆ
  • 2. นามาบรรจุไว้ใน หลักสู ตรและละเลยข้อมูลทางด้าน ศีลธรรม จริยธรรม และสภ าพ ทางสังคม ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ท า ง สั ง ค ม แ ล ะ แ น ว โ น้ ม ส ภ า พ สั ง ค ม ใ น อ น า ค ต ทาให้การศึกษาของชาติที่ผ่านมาไม่สามารถช่วยให้คนไทยหลุดพ้นจากความฟุ่มเฟือย การยึดถือค่านิยมผิดๆ ใน การดารงชีวิตที่ผิดๆ ไม่ช่วยให้การว่างงานลดลง ไม่ช่วยให้แก้ปัญหาอาชญากรรมหมดไป ป ร ะ เ ท ศ ยัง ค ง มี ก า ร ฉ้ อ ร า ษ ฎ ร์ บั ง ห ล ว ง ยัง มี ค น ไ ท ย ที่ พึ่ ง พ า ต น เอ ง ไ ม่ไ ด้ ยังมีความไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพ ยากร เพราะฉะนั้ น ในการพัฒน าห ลักสู ตรระ ดับต่างๆ ใน อน าคตจะต้องศึกษาข้อมูลพื้น ฐาน ใน เรื่องต่างๆ จากหลายๆ แหล่งและจากบุคคลหลายๆ ฝ่ายเพื่อให้ได้ข้อมูลที่แท้จริงมาพัฒนาหลักสูตร สามารถพัฒนาผู้เรียนให้เจริญเติบโตทั้งทางด้านร่างกายจิตใจ สติ ปั ญ ญ า และ อารมณ์ เป็ น พ ลเมือ ง ที่มีความรับ ผิด ช อ บ ต่อต น เอง แล ะ ป ระ เท ศช าติ หรือกล่าวโดยสรุปคือสามารถใช้หลักสูตรเป็นเครื่องมือในการสร้างสังคมใหม่ในทิศทางที่ถูกต้องได้ การพัฒนาหลักสูตรจาเป็ น ต้องศึกษา วิเคราะห์ สารวจ วิจัย สภาพ พื้น ฐานด้าน ต่างๆ เพื่อให้ได้ข้อมูลอย่างเพียงพอที่จะใช้สนับสนุน อ้างอิงในการตัดสินใจดาเนินการต่างๆเพื่อให้ได้หลักสูตรที่ดี สามารถพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถ และทัศนคติที่นาไปใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อตนเองและสังคมได้ ก า ร พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร เ ป็ น ง า น ที่ มี ข อ บ เ ข ต ก ว้ า ง ข ว า ง ม า ก การที่ จัด ห ลัก สู ต รใ ห้ มีคุณ ภ าพ นั้ น ผู้พัฒ น าห ลัก สู ตรต้อ ง ศึ กษ าข้อมูล ห ล าย ๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลเกี่ยวกับตัวผู้เรียน ข้อมูลเกี่ยวกับสังคมหรือข้อมูลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ เพื่อที่ให้ได้ข้อมูลที่สมจริงที่สุดเพราะข้อมูลเหล่านี้จะช่วยนักพัฒนาหลักสูตรในเรื่องต่างๆ คือ 1.ช่วยให้มองเห็นภาพรวมว่าในการจัดทาหลักสูตรนั้นจาเป็นต้องคานึงถึงสิ่งใดบ้างและสิ่งต่างๆ เหล่านั้นมีอิทธิพลต่อหลักสูตรอย่างไร 2. ช่วยใ ห้ ส ามารถกาห น ดอง ค์ป ระ กอ บข อง ห ลักสู ตรได้อย่างเห มาะ ส ม เช่น การกาหนดจุดมุ่งหมายของหลักสูตร และการกาหนดเนื้อหารายวิชา ฯลฯ 3. ช่วยให้สามารถกาหนดยุทธศาสตร์การเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ 4 . ช่วยเพิ่มพูนความรู้และทักษะในการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรอันจะส่งผลให้การดาเนินการในอนาคตประส บผลดียิ่งขึ้น ข้อมูลต่างๆ ที่นามาเป็ นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรนั้น นักการศึกษาทั้งต่างประเทศ และนักการศึกษาไทย ได้แสดงแนวทางไว้ดังนี้ เ ซ ย์ เ ล อ ร์ แ ล ะ อ เ ล็ ก ซ า น เ ด อ ร์ ( Saylor and Alexander ,1974:102-103) กล่าวถึงข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรว่า
  • 3. 1. ข้อมูลเกี่ยวกับตัวผู้เรียน 2. ข้อมูลเกี่ยวกับสังคมซึ่งสนับสนุนโรงเรียน 3. ข้อมูลเกี่ยวกับธรรมชาติ และลักษณะของกระบวนการเรียนรู้ 4. ความรู้ที่ได้สะสมไว้และความรู้ที่จาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องให้แก่นักเรียน ทาบา (Taba,1962: 16-87) ได้กล่าวว่า การพัฒนาหลักสูตรโดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์จะต้อง คานึงถึงสิ่งต่อไปนี้ 1. สังคมและวัฒนธรรม 2. ผู้เรียนและกระบวนการเรียน 3. ธรรมชาติของความรู้ ไทเลอร์ ( Tyler, 1949:1-43) กล่าวถึงสิ่งที่ควรพิจารณาในการสร้างจุดมุ่งหมายของการศึกษา คือ 1. ข้อมูลเกี่ยวกับตัวผู้เรียน ซึ่งได้แก่ความต้องการของผู้เรียน และความสนใจของผู้เรียน 2. ข้อมูลจากการศึกษาชีวิตภายนอกโรงเรียน 3. ข้อมูลที่ได้จากข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่างๆ 4. ข้อมูลทางด้านปัญญา 5. ข้อมูลทางด้านจิตวิทยาการเรียนรู้ จากการรายงาน ของ คณ ะ กรรมการวาง พื้ น ฐาน การปฏิรู ปการศึกษา ( 2518:20-50) ได้กาหนดข้อมูลต่างๆ ในการกาหนดจุดมุ่งหมายทางการศึกษา และในการจัดการศึกษาของประเภทดังนี้ 1. สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ 2. สภาพแวดล้อมทางประชากร 3. สภาพแวดล้อมทางสังคม 4. สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ 5. สภาพแวดล้อมทางการเมือง 6. การปกครองและการบริหาร 7. สภาพแวดล้อมทางศาสนาและวัฒนธรรม 8. สภาพของสื่อมวลชนเพื่อการศึกษา กาญจนา คุณารักษ์ ( 2521: 23-36) กล่าวถึงข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรไว้ดังนี้ 1. ตัวผู้เรียน 2. สังคมและวัฒนธรรม 3. ธรรมชาติและคุณสมบัติของการเรียนรู้
  • 4. 4. การสะสมความรู้ที่เพียงพอและเป็นไปได้เพื่อการให้การศึกษา ธารง บัวศรี (2532:4) กล่าวถึงข้อมูลต่างๆ ในการพัฒนาหลักสูตรไว้ดังนี้ 1. พื้นฐานทางปรัชญา 2. พื้นฐานทางสังคม 3. พื้นฐานทางด้านจิตวิทยา 4. พื้นฐานทางความรู้และวิทยาการ 5. พื้นที่ทางเทคโนโลยี 6. พื้นฐานทางประวัติศาสตร์ สงัด อุทรานันท์ (2532: 46) กล่าวถึงพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรไว้ดังนี้ 1. พื้นฐานทางปรัชญา 2. ข้อมูลทางสังคมและวัฒนธรรม 3. พื้นฐานเกี่ยวกับพัฒนาการของผู้เรียน 4. พื้นฐานเกี่ยวทฤษฎีการเรียนรู้ 5. ธรรมชาติของความรู้ สุมิตร คุณานุกร (2520 : 10) กล่าวถึงข้อมูลต่างๆ ในการพัฒนาหลักสูตรจาแนกตามแหล่งที่มาได้ 6 ประการ คือ 1. ข้อมูลทางปรัชญา 2. ข้อมูลที่ได้จากนักวิชาการแต่ละสาขา 3. ข้อมูลที่ได้จากจิตวิทยาการเรียนรู้ 4. ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาสังคมของผู้เรียน 5. ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาความต้องการและความสนใจของผู้เรียน 6. ข้อมูลเกี่ยวกับพัฒนาการทางเทคโนโลยี สาโรชบัวศรี (2514: 21-22) ได้กล่าวว่าในการจัดการศึกษาหรือจัดหลักสูตรต้องอาศัยพื้นฐานหลัก 5 ประการ คือ 1. พื้นฐานทางปรัชญา 2. พื้นฐานทางจิตวิทยา 3. พื้นฐานทางสังคม 4. พื้นฐานทางประวัติศาสตร์ 5. พื้นฐานทางด้านเทคโนโลยี
  • 5. จะเห็นได้ว่าข้อมูลที่นามาศึกษาเพื่อพัฒนาหลักสูตรมีมากมายหลายด้านสาหรับประเทศไทยควรจัดลา ดับข้อมูลพื้นฐานที่สาคัญในด้านต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1. สังคมและวัฒนธรรม 2. เศรษฐกิจ 3. การเมืองการปกครอง 4. สภาพปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหาในสังคม 5. พัฒนาการทางเทคโนโลยีสภาพสังคมในอนาคต 6. บุคคลภายนอกและนักวิชาการแต่ละสาขา 7. โรงเรียน ชุมชน หรือสังคมที่โรงเรียนตั้งอยู่ 8. ประวัติศาสตร์การศึกษาและหลักสูตร 9. ธรรมชาติของความรู้ 10. ปรัชญาการศึกษา 11. จิตวิทยา 1. ข้อมูลพื้นฐานทางด้านสังคมและวัฒนธรรม ก า ร ศึ ก ษ า ท า ห น้ า ที่ ส า คั ญ คื อ อนุรักษ์และถ่ายทอดวัฒนธรรมของสังคมไปสู่คนรุ่นหลังและปรับปรุงเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมของสังคมให้เข้า กับการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่างๆ โดยหน้าที่ดังกล่าวการศึกษาจะช่วยควบคุมการเปลี่ยนแปลงสังคมให้ไปในทิศทางที่พึงปรารถนา เพราะฉะนั้นหลักสูตรที่จะนาไปสอนอนุชนเหล่านั้นจึงต้องมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสังคมอย่างแยกไม่ออก และโดยธรรมช าติของสังคมและ วัฒ น ธรรมมักมีการเปลี่ยน แปลงไปตามกาลเวลา ดังนั้ น การพัฒนาหลักสูตรจึงจาเป็ นต้องคานึ งถึงข้อมูลทางสังคมและวัฒนธรรมที่เป็ นปัจจุบัน อยู่เสมอ จึ ง จ ะ ท า ใ ห้ ห ลั ก สู ต ร มี ค ว า ม ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ส ภ า พ สั ง ค ม ปั จ จุ บั น ส า ม า ร ถ แ ก้ ปั ญ ห า แ ล ะ ต อ บ ส น อ ง ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร สั ง ค ม ไ ด้ ทั้ ง นี้ ขึ้ น อ ยู่ กั บ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ใ ห ม่ ผ ล ก าร วิเ ค ร า ะ ห์ อ อ ก ม าอ ย่าง ไ ร ห ลัก สู ต ร ก็ จ ะ เ ป ลี่ ย น จุ ด ห ม าย ไ ป ใ น แ น ว นั้ น สามารถจาแนกข้อมูลให้ชัดเจนได้ดังนี้ 1.1 โค ร ง ส ร้ า ง ข อ ง สั ง ค ม โ ค ร ง ส ร้ า ง ไ ท ย แ บ่ ง อ อ ก เ ป็ น 2 ลั ก ษ ณ ะ คื อ ลักษณ ะ สัง คมช น บท ห รื อสัง คมเกษ ตรกรรม และ สั งคมเมือ งห รื อสั งค มอุตส าห กรรม ใ น ปั จ จุ บั น ค ว า ม เ จ ริ ญ ก้ า ว ห น้ า ท า ง วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี ม า ก
  • 6. สังคมอุตสาหกรรมมีแนวโน้มจะเพิ่มขึ้นแต่ถึงอย่างไรก็ตามสังคมส่วนใหญ่ของประเทศก็ยังมีสภาพเป็นสังคมเก ษตรกรรมอยู่ ดังนั้นการพัฒนาหลักสูตรจาเป็นจะต้องศึกษาโครงสร้างของสังคมที่เป็ นอยู่ในปัจจุบัน แ ล ะ แ น ว โ น้ ม โ ค ร ง ส ร้ า ง ใ น อ น า ค ต เ พื่ อ ที่ จ ะ ไ ด้ ข้ อ มู ล ม า จัด ห ลั ก สู ต ร ว่า จะจัดหลักสูตรอย่างไรเพื่อยกระดับการพัฒนาสังคมเกษตรกรรมและเตรียมพื้นฐานเพื่อการเปลี่ยนแปลงทางด้า นสังคมไปสู่การพัฒนาอุตสาหกรรมตามความจาเป็น 1.2 ค่ า นิ ย ม ใ น สั ง ค ม ค่ า นิ ย ม ห ม า ย ถึ ง สิ่งที่คนในสังคมเดียวกันมองเห็นว่ามีคุณค่าเป็นที่ยอมรับหรือเป็นที่ปรารถนาของคนทั่วไปในสังคมนั้นๆ เนื่ อ ง จ า ก ก า ร ศึ ก ษ า เ ป็ น ตั ว ก า ร ที่ ท า ใ ห้ เ กิ ด ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ใ น สั ง ค ม ค่านิยมชนิดไหนที่จะได้รับการเปลี่ยนแปลงดารงไว้หรือค่านิยมชนิดไหนควรสร้างขึ้นมาใหม่เช่น ค่า นิ ย ม ข อ ง สั ง ค ม ไ ท ย เ กี่ ย ว กับ ค ว าม เ ฉื่ อ ย ช า ก า ร ถื อ ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ส่ ว น ตั ว การถือประโยชน์ของตนเองและพวกพ้อง 1.3ธรรมชาติของคนไทยในสังคม ธรรมชาติของคนไทยในแต่ละสังคมย่อมแตกต่างกันออกไป ทั้ ง นี้ ขึ้ น อ ยู่ กั บ ส ภ า พ พื้ น ฐ า น ท า ง วั ฒ น ธ ร ร ม แ ล ะ ค่ า นิ ย ม นั้ น ๆ ทาให้คนไทยส่วนใหญ่มีลักษณะบุคลิกภาพดังต่อไปนี้ 1. ยึดมั่นในตัวบุคคลมากกว่าหลักการและเหตุผล 2. ยกย่องบุคคลที่มีความรู้หรือได้รับการศึกษาสูง 3. เคารพและคล้อยตามผู้ได้รับวัยวุฒิสูง 4. ยกย่องผู้มีเงินและผู้มีอานาจ 5. นิยมการเล่นพรรคเล่นพวก 6. มีลักษณะเฉื่อยชาไม่กระตือรือร้น ใน การพัฒ น าห ลักสู ตร ควรคานึ กถึง ลักษ ณ ะธรรมช าติ บุ คลิกของคน ใน สัง คม โดยพิจารณาว่าลักษณะใดควรไม่ควร เพราะหลักสูตรเป็นแนวทางในการสร้างลักษณะสังคมในอนาคต 1.4 ก า ร ชี้ น า สั ง ค ม ใ น อ น า ค ต การศึกษาควรมีบทบาทในการชี้นาสังคมในอนาคตด้วยเพราะในอดีตที่ผ่านมาระบบการศึกษา เช่น การตั้งรับตามการเปลี่ยนต่างๆ เช่น กระแสการเจริญเติบโตของประเทศทางตะวันตก กระแสวิชาการตะวันตก ความต้องการและปัญหาสังคม จึงทาให้การศึกษาเป็นตัวตาม ฉะนั้นการจัดการเรียนรู้ต้องวางเป้าหมายให้ดี นั กพัฒ น าห ลักสู ตรจึง ค วรศึ กษ าข้อมูล ต่าง ๆ ที่เป็ น เครื่ อง ชี้ น าสัง ค มใ น อน าคต เช่น แผนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ การศึกษาไทยจะได้มีบทบาททางสังคมอย่างแท้จริง
  • 7. 1.5 ลั ก ษ ณ ะ สั ง ค ม ต า ม ค ว า ม ค า ด ห วั ง การเตรียมพัฒนาทรัพยากรให้มีคุณภาพมีคุณลักษณะหรือคุณสมบัติอย่างใดอย่างหนึ่งนั้นเป็นเรื่องไม่คงที่ เรื่ อ ง ข อ ง ป ระ เ ท ศ จ ะ ส่ ง ผ ล ก ร ะ ท บ ก าร ศึ ก ษ ามีมา ก มาย เช่น ก าร เมือ ง เศ ร ษ ฐ กิ จ ความก้าวห น้าทางวิชาการทั้งนี้ ใน ต่างประ เทศจึงตั้งคุณลักษณะของสังคมเปลี่ ยน แปลงไป เพื่ อ ที่ จ ะ ค า ด ก า ร ณ์ ล่ ว ง ห น้ า ไ ด้ ใ น อ น า ค ต 5-10 ปี ข้ า ง ห น้ า จ ะ เ ป็ น เ ช่ น ไ ร และคุณลักษณะของประชากรที่มีคุณภาพมีดังนี้ 1. มีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี 2. มีอาชีพเพื่อเลี้ยงตนเองและครอบครัว 3. เป็นสมาชิกที่ดีของสังคม เป็นพลเมืองที่ดีของชาติ 4. มีสติปัญญา 5. มีนิสัยรักการทางาน 6. มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี หน้ าที่ของ นั กพัฒ น าหลักสู ตรก็คือ จะ ต้อ งพิ จารณ าว่าจะ จัดห ลัก สู ตรอย่าง ไร รูปแบบใดจึงจะทาให้ประชากรมีคุณภาพดี 1.6 ศ า ส น า แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม ใ น สั ง ค ม ศาสนาเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของคนในสังคมวัฒนธรรมเป็นสัญลักษณ์อันสาคัญที่จะแสดงให้ทราบว่าเขาเห ล่ า นั้ น เ ป็ น ค น ใ น สั ง ค ม เ ดี ย ว กั น ห รื อ เ ป็ น ค น ช า ติ เ ดี ย ว กั น ดั ง นั้ น ศ า ส น า แ ล ะ วัฒ น ธ ร ร ม จึ ง เ ป็ น สิ่ ง ส า คั ญ ม า ก ส า ห รั บ ก า ร พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร ทั้งนี้เพราะจุดประสงค์สาคัญของหลักสูตรก็คือ การทะนุบารุงรักษาและถ่ายทอดวัฒนธรรมที่ดีงามไว้ การพัฒน าหลักสู ตรจึงต้องคานึ กถึงศาสน าและ วัฒ น ธรรมความรู้หลักธรรมศาสน าต่าง ๆ นามาบรรจุไว้ในหลักสูตรด้วยเหตุที่ว่าประเทศไทยเป็นประเทศประชาธิปไตยให้สิทธิเสรีภาพแก่ประชาชนในก ารนับถือศาสนา เพราะฉะนั้นสิ่งที่บรรจุไว้ควรจะเป็นหลักธรรมของศาสนาต่างๆ ข้อมูลพื้นฐานทางสังคมและวัฒนธรรมมีความสาคัญต่อการพัฒนาหลักสูตรเป็ นอย่างมาก เ พ ร า ะ เ ป็ น ห ลั ก สู ต ร ที่ ต้ อ ง ต อ บ ส น อ ง สั ง ค ม แ ล ะ พั ฒ น า ไ ป พ ร้ อ ม กั น การศึกษาข้อมูลพื้นฐานทางสังคมและวัฒนธรรมอย่างรอบคอบจะทาให้เราสามารถนาไปพัฒนาหลักสูตรที่ดีตา มลักษณะดังต่อไปนี้ 1. ตอบสนองความต้องการของสังคม 2. สอดคล้องกับความเป็นจริงในสังคม 3. เน้นในเรื่องรักชาติรักประชาชน
  • 8. 4. แก้ปัญหาให้กับสังคมมิใช่สร้างปัญหากับสังคม 5. ปรับปรุงสังคมให้ดีขึ้น 6. สร้างความสานึกในเรื่องของความเปลี่ยนแปลงทางสังคม 7. ชี้นาในเรื่องการเปลี่ยนแปลงประเพณีและค่านิยม 8. ต้องถ่ายทอดวัฒนธรรมและจริยธรรม 9. ปลูกฝังในเรื่องความซื่อสัตย์และความยุติธรรม ในสังคม 10. ให้ความสาคัญในเรื่องผลประโยชน์ในสังคม 2. ข้อมูลพื้นฐานทางด้านเศรษฐกิจ ก า ร ศึ ก ษ า เ ป็ น เ ค รื่ อ ง มื อ ส า คั ญ ใ น ก า ร พั ฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ เพราะการศึกษาเป็นเครื่องมือสาคัญในการพัฒนาคนซึ่งเป็นส่วนประกอบที่สาคัญที่สุดในระบบเศรษฐกิจ เพ รา ะ ระ บ บ เศ ร ษ ฐ กิจ ก้าว ห น้ าเ พี ยง ใ ด ขึ้ น อ ยู่กับ คุณ ภ าพ ข อ ง ค น ใ น สั ง ค ม นั้ น การพัฒนาหลักสูตรให้ให้เหมาะกับพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ควรพิจารณาประเด็นต่อไปนี้ 2.1การเตรียมกาลังคน การให้การศึกษาเป็นสิ่งสาคัญในการผลิตกาลังคนในด้านต่างๆ ให้เพียงพอ พอเหมาะ และสอดคล้องกับความต้องการในแต่ละสาขาวิชาชีพ เพื่อป้องกันการสูญเปล่าทางการศึกษา และเพื่อลดปัญหาการว่างงานอันเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศ นอกจากนี้การเตรียมกาลังคนให้สนองความต้องการของประเทศนั้นต้องพิจารณาให้เหมาะสมกับระดั บความ สามารถที่ต้องการ ซึ่งมีทั้งระดับผู้เชี่ยวชาญทางวิชาการสาขาต่างๆ ระดับช่างฝีมือ และระดับกรรมกร รวมทั้งต้องพิจารณาถึงแนวโน้มความต้องการทางเศรษฐกิจของประเทศชาติในอนาคตด้วย 2.2 ก ารพั ฒ น าอาชีพ ป ระ เท ศไท ยพื้ น ที่ ส่วน ใ ห ญ่เป็ น พื้ น ที่ ท าง การเก ษ ต ร แ ล ะ ป ร ะ ช าก ร ส่ว น ใ ห ญ่ เป็ น เ ก ษ ต รที่ อ า ศัย อ ยู่ใ น ช น บ ท อ าชี พ อุ ต ส า ห ก ร ร ม พ า ณิ ช ย ก ร ร ม แ ล ะ บ ริ ก า ร มี อ ยู่ เ พี ย ง ชุ ม ช น ใ น เ มื อ ง ปัจจุบันมีการโยกย้ายถิ่นที่อยู่เข้ามาทางานอุตสาหกรรมในเมืองใหญ่ ซึ่งทาให้เกิดปัญหาอื่นๆ ตามมา เช่น สิ่ ง แ วด ล้อ ม เป็ น พิ ษ เกิด ชุม ช น แ อ อัด ปั ญ ห าค ร อ บ ค รั ว เด็ ก เร่ร่อ น เป็ น ต้น เพ ราะฉะนั้ น การพัฒน าห ลักสูตรควรเน้น การส่งเสริมอาชีพ ส่วน ให ญ่ของคน ใน ประ เทศ จัดหลักสูตรเพื่อพัฒนาอาชีพตามศักยภาพและท้องถิ่น เพื่อพัฒนาอาชีพให้เหมาะสมเป็นการยกระดับรายได้ ค น ใ น ช น บ ท ใ ห้ สู ง ขึ้ น เพื่ อ ล ด ปั ญ ห า ช่ อ ง ว่าง ร ะ ห ว่า ง ค น ร ว ย แ ล ะ ค น จ น ล ด ก า ร ห ลั่ ง ไ ห ล ข อ ง ป ร ะ ช า ช น เ ข้ า ไ ป ท า ง า น ต า ม เ มื อ ง ใ ห ญ่
  • 9. สิ่งเหล่านั้นเป็นหน้าที่สาคัญที่นักพัฒนาหลักสูตรจะต้องร่วมมือร่วมใจกันทาหลักสูตรอาชีพเพื่อพัฒนาอาชีพให้ บรรลุผล 2.3 ก า ร ข ย า ย ตั ว ท า ง ด้ า น อุ ต ส า ห ก ร ร ม ปั จจุบัน ป ระ เทศไทยกาลังพัฒ น าจากเกษ ตรกรรมไป สู่ ภ าคอุตส าห กรรมมากขึ้ น เรื่ อยๆ นั กพั ฒ น าห ลักสู ต รควรศึก ษ าข้อแ น วโน้ มแล ะ ทิ ศท าง การขยายตัวใ น อุ ตส าห กรร ม อุ ต ส า ห ก ร ร ม ด้ า น ไ ห น ที่ จ ะ ไ ด้ รั บ ก า ร พั ฒ น า หลักสูตรที่สามารถพัฒนาเยาวชนให้มีความพร้อมสาหรับการขยายตัวทางด้านอุตสาหกรรมสามารถผลิตผู้จบกา ร ศึ ก ษ า ที่ ส า ม า ร ถ เ ข้ า สู่ ภ า ค อุ ต ส า ห ก ร ร ม อ ย่ า ง เ ห ม า ะ ส ม เท่าที่ผ่าน มาจะเห็ นว่าบางครั้งภาคอุตสาหกรรมไม่มีผู้มีความรู้ความสามารถด้านเฉพ าะด้าน เข้า ไปรับรองการการพัฒนาด้านอุตสาหกรรมบางครั้งมีการผลิตผู้จบการศึกษากับความต้องการของแรงงานของไท ย ไ ม่ส ม ดุ ล กั น ท า ใ ห้ บ า ง ค รั้ ง ภ า ค อุ ส า ห ก ร ร ม เ ห ล่ า นั้ น อ ย่ า ง พ อ เ พี ย ง ฉะนั้นการศึกษาแนวโน้มการขยายตัวทางอุตสาหกรรมจึงเป็นสิ่งสาคัญประการหนึ่งที่นักพัฒนาการหลักสูตรจะ ละเลยเสียมิได้ 2.4 ก า ร ใ ช้ ท รั พ ย า ก ร เศรษฐกิจเป็นเรื่องของการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดให้เกิดประโยชน์สูงสุดเพื่อสอบสนองความต้องการที่ไ ม่ จ า กั ด ข อ ง ม นุ ษ ย์ เพราะฉะนั้นนักพัฒนาหลักสูตรควรให้ความสาคัญในเรื่องของทรัพยากรโดยใช้หลักสูตรเป็นเครื่องปลูกฝังเกี่ยว กั บ ค ว า ม ส า คั ญ ข อ ง ท รั พ ย า ก ร จั ด ท า ห ลั ก สู ต ร เ นื้ อ ห า วิ ช า กิจกรรมและประ สบการณ์ ใน หลักสูตรที่ส่ง เสริ มการใช้ทรัพ ยากรให้เกิด ประโยช น์ สู งสุ ด และ เน้ น กิจกรรมทาง เศรษฐกิจครบ วง จรอัน ได้แก่ การผลิ ต การจาหน่าย การบริ โภ ค การแลกเปลี่ยนการบริการโดยเน้นการปฏิบัติจริงและการใช้ทรัพยากรในท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการให้รู้จักและเข้าใจระบบเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ หัว ซึ่งในจุดนี้นักพัฒนาหลักสูตรควรให้ความสาคัญแล้วคิดพัฒนาหลักสูตรเพื่อสนองพระราชดาริดังกล่าว ในอนาคตประชาชนจะเห็นความสาคัญของทรัพยากรและสามารถนาทรัพยากรที่มีอยู่นามาใช้ประโยชน์ เกิดรายได้อย่างมีคุณค่า ไม่มีการสูญเสียทางทรัพยากร ปัญหาความยากจนและการอพยพย้ายถิ่นก็ไม่เกิดขึ้น 2.5 ก า ร พั ฒ น า คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง บุ ค ค ล ใน ร ะ บ บ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ข อ ง ไ ท ย คุณลักษณะของในบุคคลในระบบเศรษฐกิจของคนไทยยังขัดแย้งกับความเป็นจริงในระบบเศรษฐกิจ เช่นคนไทยมีรายได้ต่าแต่ความต้องการจับจ่ายในระบบเศรษฐกิจในระบบเศรษฐกิจในระบบเปิดทาให้สินค้าฟุ่มเ ฟื อ ย ห ลั่ ง ไ ห ล เ กิ ด ปั ญ ห า ห นี้ สิ น ล้ น พ้ น ตั ว
  • 10. หรือเป็นเศรษฐกิจในระบบเปิดทาให้สินค้าฟุ่มเฟือยหลั่งไหลเข้ามาสร้างวัฒนธรรมใหม่ในหมู่เยาวชน ห รื อก ารเอารัดเอ าเป รี ยบ ต่อผู้ด้อ ยการศึก ษ าจากบุ คค ลผู้มีอ าน าจท าง เศ รษฐ กิจ ฯล ฯ สิ่งเห ล่านี้ เป็ น คุณลักษณะ ของ คน ไทยใน ระ บบเศรษฐกิจที่ต้องได้รับการแก้ไขและพัฒน า ก าร ใ ช้ ก า ร ศึ ก ษ าเ ข้ า ไ ป แ ก้ไ ข จ ะ เป็ น วิธี ก าร ส า คั ญ แ ล ะ ใ ห้ ผ ล ใ น ร ะ ย ะ ย า ว เพ ราะ ฉ ะ นั้ น การพัฒ น าห ลัก สู ตร ต้อ ง คานึ ง ถึง ก ารพัฒ น าคุณ ลัก ษ ณ ะ ข อง ค น ไท ย ใ น ห ลั ก สู ต ร จ ะ ต้ อ ง บ ร ร จุ เ นื้ อ ห า ส า ร ะ แล ะ ป ร ะ ส บ ก าร ณ์ ก ารเรี ย น รู้ที่ มีก ารป ลูก ฝั ง จิต ส านึ ก ใ น ค วามรับ ผิ ดช อ บ ร่ว มกัน การสร้างค่านิยมในการทางานร่วมกัน การไม่เอารัดเอาเปรียบกันความขยันหมั่นเพียร การรู้จักอดออม การมีสติรู้คิด การมีความคิดริ เริ่ มส ร้างส รรค์ การส ร้างเสริ มความส ามารถใ น การผลิ ต ก า ร ส ร้ า ง ง า น แ ล ะ แ น ว ก า ร ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ ถ้ า ห ลั ก สู ต ร ใ น ร ะ ดั บ ต่ า ง ๆ ได้บรรจุและปลูกฝังสิ่งเหล่านี้ไว้ทั้งในแนวกว้างและแนวลึกตามระดับการศึกษาแล้วผู้จบการศึกษาก็จะเป็นบุคค ลมีความสามารถพัฒนาตนเองให้มีประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจภายใต้ความเจริญทางด้านเศรษฐกิจได้เหมาะสม 2.6 ก า ร ล ง ทุ น ก า ร ศึ ก ษ า การจัด การศึกษาใน ระ ดับ ต้อง ใช้ง บป ระ มาณ ขอ งรัฐโดยเฉ พ าะ การศึกษ าขั้น พื้ น ฐาน การจัดการศึกษาควรคานึงถึงงบประมาณเพื่อการศึกษาแหล่งงานที่จะช่วยเหลือรัฐในรูปงบประมาณ ในการพัฒนาพัฒนาหลักสูตรควรจัดให้สอดคล้องกับงบประมาณของรัฐ ไม่ว่าในด้านจัดการเรียนการสอน ด้ า น วัต ถุ อุ ป ก ร ณ์ เพื่ อ ใ ห้ มี ก า ร ใ ช้ ห ลั ก สู ต ร เ ป็ น ไ ป อ ย่า ง มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ และ ต้องคานึง ถึงผลตอบแทน จากการลงทุน ใน ด้านกาลังคน ปริมาณคน และ คุณภ าพ เช่น การพัฒนาหลักสูตรให้เยาวชนมีคาวามสามารถทางด้านคอมพิวเตอร์ การลงทุนด้านอุปกรณ์คือคอมพิวเตอร์ ใ ห้ ทุ ก โ ร ง เ รี ย น มี ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ส อ น นั ก เรี ย น แ ต่บ า ง โ ร ง เ รี ย น ไ ม่มี ไ ฟ ฟ้ า ห รื อ บ า ง โ ร ง เ รี ย น ยั ง ไ ม่ มี บุ ค ล า ก ร ที่ มี ค ว า ม รู้ ท า ง ด้ า น ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ก า ร ล ง ทุ น ใ น จุ ด ดั ง ก ล่ า ว ส่ ว น ห นึ่ ง อ า จ เ ป็ น ก า ร ล ง ทุ น ที่ สู ญ เ ป ล่ า เฉพาะฉะนั้นในการพัฒนาหลักสูตรควรคานึงถึงการลงทุนทางการศึกษาด้วยว่าเป็นการลงทุนที่สูญเปล่าหรือไม่ ในอนาคตมีตัวอย่างในการพัฒนาหลักสูตรที่ทาให้เกิดการสูตรเปล่าทางการศึกษาอยู่เสมอ 3. ข้อมูลพื้นฐานทางด้านการเมืองการปกครอง การเมืองการปกครองเป็นที่เกี่ยวกับการจัดระเบียบการอยู่ร่วมกันในสังคมหมู่มากจาเป็นต้องมีระเบียบ แ บ บ แ ผ น ห รื อ ก ติ ก า ต่ า ง ๆ
  • 11. สาหรับสมาชิกในสังคมยึดถือเป็นแนวปฏิบัติต่อกันเพื่อความสงบเรียบร้อยและการอยู่รวมกันอย่างสันติ ดังนั้น ก า ร เ มื อ ง ก า ร ป ก ค ร อ ง จึ ง เ ป็ น เ รื่ อ ง เ กี่ ย ว กั บ บ ท บ า ท ห น้ า ที่ สิ ท ธิ และความรับผิดชอบที่ทุกคนพึงมีต่อสังคมและประเทศชาติ ก า ร เ มื อ ง ก า ร ป ก ค ร อ ง มี ค ว า ม สั ม พั น ธ์ กั บ ก า ร ศึ ก ษ า ในฐานะที่การศึกษามีหน้าที่ผลิตสมาชิกที่ดีให้แก่สังคมให้อยู่ในระบบการปกครองประเทศชาติ ช่ว ย ใ ห้ ผู้เ รี ย น ท ร าบ ว่าต น มีสิ ท ธิ ห น้ าที่ แ ล ะ ค ว าม รับ ผิ ด ช อ บ ต่อ สั ง ค ม อ ย่าง ไ ร แ ล ะ ค ว ร แ ส ด ง แ น ว คิ ด ป ฏิ บั ติ ต น อ ย่า ง ไ ร ห ลั ก สู ต ร ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ต่ า ง ๆ จึงควรบรรจุเนื้อหาวิชาและประสบการที่จะปลูกฝังให้ประชากรอยู่ร่วมกันในสังคมได้ด้วยความเป็นระเบียบเรีย บร้อยและสันติสุข ข้ อ มู ล ที่ เ กี่ ย ว กั บ ก า ร เ มื อ ง ก า ร ป ก ค ร อ ง ที่ ค ว ร จ ะ น าม าเป็ น เนื้ อ ห าป ร ะ ก อ บ ก าร พิ จ าร ณ า ใ น ก าร พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร ก็คื อ ระบบการเมืองและระบบการปกครอง นโยบายของรัฐและรากฐาน ของประชาธิปไตย 3.1ระบบการเมืองการปกครอง เนื่องจากการศึกษาเป็ นเครื่องมืออันหนึ่ งของสังคม ดังนั้น การศึกษ าระ บ บการเมือ งก ารปก ครอ งจึง แยกกัน ไม่ออ ก ห ลัก สู ตรของ ป ระ เท ศต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งระดับประถมศึกษาซึ่งเป็นการศึกษาขั้นพื้นฐานมักจะบรรจุเนื้อหาสาระของระบบการเมืองกา รปกครองไว้ เพื่อสร้างความเข้าใจให้กับประชาชนอยู่ร่วมกันใจสังคมได้ด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อย ใ น บ า ง ป ร ะ เ ท ศ ที่ ต้ อ ง ก าร ป ลู ก ฝั ง อุ ด ม ก าร ณ์ ท า ง ก า ร เมื อ ง ใ ห้ แ ก่ป ร ะ ช าช น เพ ราะ ฉ ะ นั้ น ใ น ก ารพั ฒ น าห ลัก สู ตรค วรเลื อก เนื้ อห าวิช าป ระ ส บ ก ารณ์ ก ารเรี ยน รู้ และการจัดให้มีการเรียนการสอนเกี่ยวกับระบบการเมืองการปกครองที่ต้องการปลูกฝัง 3.2 น โ ย บ า ย ข อ ง รั ฐ เนื่ องจากการศึกษาเป็ นส่วนหนึ่ งของระบบสังคมจึงมีความจาเป็ น ต้องสอดคล้องกับระบบอื่น ๆ ใ น สั ง ค ม ก า ร ที่ จ ะ ท า ใ ห้ ร ะ บ บ ต่ า ง ๆ สามารถเกื้อหนุนส่งเสริมซึ่งกันและกันจึงจาเป็ นต้องมีการประสานสัมพันธ์ระหว่างระบบเหล่านั้น ด้วยเหตุนี้ รัฐบายจึงมีน โยบายแห่งรัฐเพื่อเป็ น แน วทางใน การดาเนิ น งาน ของระบบต่าง ๆ ให้ มีความต่อเนื่ อง แ ละ ส อด คล้อ งซึ่ ง กัน แ ละ กัน น โยบ ายขอ ง รัฐ ที่เห็ น ได้ชัด เจน คื อ แ ผ น พั ฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ สั ง ค ม แ ห่ ง ช า ติ แ ผ น พั ฒ น า ก า ร ศึ ก ษ า ในการพัฒนาหลักสูตรควรจะได้พิจารณานโยบายของรัฐด้วย เพื่อที่จะได้จัดการศึกษาให้สอดคล้องกัน 3.3 ร า ก ฐ า น ข อ ง ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย จากการที่ประเทศไทยได้เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาสิทธิราชย์มาเป็นระบบอบประชาธิปไต
  • 12. ย ใ น พ .ศ . 2475 นั้ น ค ว ร รู้ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ต ล อ ด จ น ค ว า ม รู้ สึ ก นึ ก คิ ด ต่ า ง ๆ เ กี่ ย ว กั บ ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย ใ น สั ง ค ม ไ ท ย ยั ง ไ ม่ เ พี ย ง พ อ หลักสูตรในฐานะที่เป็นเครื่องมือสาหรับพัฒนาคนควรที่จะวางรากฐานที่เกี่ยวกับประชาธิปไตยให้แก่สังคม เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจให้ถูกต้องซึ่งจะสร้างสรรค์ให้ทุกคนอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสัน ติสุ ข แล ะ ไม่มีการ เอารัด เอ าเป รี ยบ ซึ่ ง กัน แ ละ กัน น อ ก จาก นี้ ก ารจัดก ารเรี ยน ก ารส อ น จึงควรมุ่งเน้นพฤติกรรมประชาธิปไตยด้วย สาหรับประเทศไทยปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยมานานแล้ว แ ต่ ท า ง ป ฏิ บั ติ เ ร า ต้ อ ง ย อ ม รั บ ว่ า ยั ง ไ ม่ ส ม บู ร ณ์ ดั ง จ ะ เ ห็ น ไ ด้ จ า ก ก า ร ร า ษ ฎ ร ส่ ว น ใ ห ญ่ ยั ง ไ ม่รู้ ถึ ง สิ ท ธิ ห น้ า ที่ ข อ ง ต น ต่อ รั ฐ ไ ม่ รู้ ว่ า ต น เ อ ง มี ค ว า ม ส า คั ญ มี ส่ ว น มี เ สี ย ง ใ น ก า ร ป ก ค ร อ ง ไม่รู้ว่าการเมืองมีส่วนสัมพันธ์กับชีวิตประจาวันของตน ไม่เห็นความจาเป็ นในการเลือกตั้งเป็ นต้น ก า ร ศึ ก ษ า ค ว ร มี บ ท บ า ท ส า คั ญ ใ น ก า ร ป รั บ ป รุ ง แ ก้ ไ ข ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ค ว ร เ น้ น เ รื่ อ ง ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ต่ อ บ้ า น เ มื อ ง ใ ห้ ป ร ะ ช า ช น รู้ ห น้ า ที่ ข อ ง ต น ใ น ร ะ บ อ บ ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย ให้สานึกว่าการเมืองและการปกครองเป็นเรื่องของทุกคนในสังคม ทั้งที่ศึกษาอยู่ในระบบและนอกระบบและ/ หรือจบการศึกษาแล้วได้ศึกษาและนาไปปฏิบัติจริงเพื่อสอดคล้องกับน โยบายที่ว่าการศึกษาและ/ ห รื อ จ บ ก า ร ศึ ก ษ า แ ล้ ว ไ ด้ ศึ ก ษ า คื อ ก ร ะ บ ว น ก า ร ต่ อ เ นื่ อ ง ต ล อ ด ชี วิ ต เมื่อเป็นเช่นการจัดหลักสูตรให้ประชาชนเข้าใจเกี่ยวกับการเมืองการปกครองจึงกระทาได้หลายรูปแบบเพื่อให้ผู้เ รียนได้รับความรู้ มีจิตสานึกในความร่วมมือ เข้าใจบทบาทตนเองในด้านการเมืองการปกครองอย่างแท้จริง เ พื่ อ เ ป็ น ก า ร ว า ง ร า ก ฐ า น ท า ง ด้ า น ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย การจัดการศึกษาให้เหมาะสมกับระบบการเมืองการปกครองแบบประชาธิปไตย ควรจัดตามลาดับดังนี้ 1. การจัดการศึกษาให้เท่าเทียมทั่วถึง 2. ให้อานาจการจัดการศึกษากระจายในท้องถิ่น 3. ให้เสรีภาพและเสถียรภาพแก่บุคคล ให้โอกาสแสดงความคิดเห็น 4. การเรียนการสอนควรส่งเสริมความเป็นประชาธิปไตย ให้โอกาสผู้เรียนแสวงหาความรู้ 5. ส่งเสริมการแก้ไขปัญหาตนเอง 6. จัดหลักสูตรให้ยืดหยุ่นได้ง่าย 7. เน้นวิชามนุษย์สัมพันธ์และจริยธรรมเป็นพิเศษ น อ ก จ า ก นั้ น ก า ร ป ลู ก ฝั ง อ บ ร ม สั่ ง ส อ น นั ก เ รี ย น ก็มีส่วนสาคัญที่จะช่วยให้ประชาธิปไตยของไทยมีความเป็นประชาธิปไตยยิ่งขึ้นด้วยวิธีการดังนี้
  • 13. 1. ชี้ให้เห็นประโยชน์ประชาธิปไตยโดยการให้คาแนะนาและปฏิบัติ 2. สร้างนิสัยให้มีความกระตือรือร้น สนใจเหตุการณ์บ้านเมือง 3. ปลูกฝังการมีวินัยและการเคารพสิทธิเสรีภาพของผู้อื่น 4. ฝึกการเคารพกฎเกณฑ์ต่างๆ อย่างเข้มผู้เข้มงวด 5. กระตุ้นและปลูกฝังให้มีความตั้งใจเรียน ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัวและประเทศชาติ 6. ฝึกให้ความสนใจและร่วมกันพิจารณาปัญหาต่าง ของสังคมและหาทางแก้ไข 7. หาโอกาสให้ให้ความร่วมมือประกอบกิจกรรมเพื่อประโยชน์ต่อส่วนรวม 8. ช่วยแก้ไขค่านิยมที่ไม่เหมาะสมในสังคมและสร้างค่านิยมที่ดีและเหมาะสม 9. ป ลู ก ฝั ง ทัศ น ค ติ ที่ ว่าก ารเมือ ง เป็ น เรื่ อง ก ารใ ห้ ค วามร่ว มมือ ก าร เสี ยส ล ะ และการช่วยชาติเพื่อบุคคลรุ่นใหม่จะได้เป็นนักการเรียนที่ดี 10. ใ ห้ ค วามรู้ แล ะ ก ระ ตุ้น ใ ห้ ส น ใ จก ารเมื อ ง โ ด ยค านึ ง ถึ ง ห ลัก ก าร วิ ธี ก าร สิทธิหน้าที่ในฐานะพลเมืองของประเทศ 11.ปลูกฝังให้มีความพร้อมที่จะมีส่วนร่วมในกระบวนการทางการเมืองทั้งในระดับโรงเรียน ท้องถิ่น และประเทศชาติ 12. ป ลู ก ฝั ง ใ ห้ ผู้ เ รี ย น มี แ น ว คิ ด ว่า ทุ ก ค น ค ว ร มี บ ท บ า ท ท า ง ก า ร เ มื อ ง และการเมืองเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับทุกคนทั้งทางตรงและทางอ้อม 13. เน้นให้เห็นความสาคัญของการใช้สิทธิ์เลือกตั้ง จ า ก ตั ว อ ย่ า ง ดั ง ก ล่ า ว พ อ จ ะ เ ป็ น แ น ว ท า ง ก า ห น ด เ นื้ อ ห า กิจ ก ร ร ม ก า ร จัด ก าร เ รี ย น ก า ร ส อ น แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ เรี ย น รู้ ไ ว้เ ป็ น ห ลั ก สู ต ร เพื่อให้ผู้เรียนที่จบการศึกษาเป็นผลเมืองที่มีคุณภาพสอดคล้องกับระบบการเมืองการปกครองของประเทศ 4. ข้อมูลพื้นฐานสภาพปัญหา และแนวทางการแก้ปัญหาในสังคม สภาพปัญหาและแนวทางในการแก้ปัญหาของสังคมเป็นข้อมูลพื้นฐานที่สาคัญที่ต้องศึกษา สังคมไทยปัจจุบันกาลังประสบปัญหายุ่งยากหลายประการ ทั้งปัญหาสิ่งแวดล้อม ปัญหาเศรษฐกิจ แ ล ะ ปั ญ ห า ก า ร เ มื อ ง ซึ่ ง ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า เ ห ล่า นี้ มี ทั้ ง ร ะ ย ะ สั้ น ร ะ ย ะ ย า ว แ ล ะ ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า อ า จ ท า ไ ด้ ชั่ ว ค ร า ว ห รื อ อ ย่ า ง ถ า ว ร การจัดการศึกษาเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าวจึงเป็ น เรื่องสาคัญ ที่นักพัฒน าหลักสู ตรจะ ต้องศึกษา แล้วนามาสร้างเป็นหลักสูตร ปัญหาสาคัญๆ ที่ควรศึกษาคือ
  • 14. 4.1ปัญหาทางด้านสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ การขยายตัวของอุตสาหกรรม และการใช้เทคโนโลยี ทาให้เกิดปัญหาสภาวะแวดล้อมทางธรรมชาติในสังคมไทยมากขึ้น เช่น ปัญหาการทาลายป่ าไม้ ปัญหาความเสื่อมโทรมของดิน ปัญหาน้าเสีย และอากาศเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น ปัญหาต่างๆ สมควรที่จะได้ศึกษาข้อเท็จจริงถึงสภาพปัญหาและแนวทางแก้ไขเพื่อที่นาไปเป็นข้อมูลในการจัดการศึกษาและ พัฒนาหลักสูตร เช่น การกาหนดเนื้อหาในเรื่องสภาพแวดล้อม การปลูกฝังการสร้างสภาพแวดล้อมที่ดี แ ล ะ ก า ร อ นุ รั ก ษ์ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ก าร ใ ช้ ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ ที่ ฉ ล า ด ถู ก ต้ อ ง ซึ่งสิ่ งเห ล่านี้ เราสามารถกาหนดลงในเนื้ อหาของหลักสูตรใน ระดับต่างๆ ตามความเหมาะสม เ พื่ อ ที่ ป ลู ก ฝั ง ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ใ น สิ่ ง เ ห ล่ า นี้ ใ ห้ เ กิ ด ใ น ผู้ เ รี ย น แ ล ะ ป ร ะ เ ท ศ ก็ จ ะ มี พ ล เ มื อ ง ที่ รั บ ผิ ด ช อ บ ต่ อ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ปัญหาเกี่ยวสิ่งแวดล้อมในอนาคตก็จะได้รับการป้องกันไม่ให้เกิดขึ้น 4.2 ปั ญ ห า ท า ง ด้ า น สั ง ค ม ปั ญ ห า ท า ง สั ง ค ม ที่ เ ป็ น อ ยู่ใ น ปั จ จุ บั น มั ก จ ะ เ กิ ด ขึ้ น จ า ก ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ข อ ง สั ง ค ม ซึ่งมีสาเหตุจากความเจริญทางด้านวัตถุและวัฒนธรรมตะวันตกหลั่งไหลเข้ามาอย่างรวดเร็วด้วยอิทธิพลของการ สื่ อสาร ทาใ ห้คน ไทยรับ วัฒ น ธรรมตะ วัน ตกเข้ามาโดยเฉพ าะ ใน ห นุ่มสาวหรือเยาวช น ก่อให้เกิดความขัดแย้งทางด้าน ความคิดระหว่างคนหนุ่มสาวกับผู้ใหญ่ที่ยึดมั่น ในวัฒนธรรมเดิม ท า ใ ห้ เ กิ ด ปั ญ ห า กั บ ย า เ ส พ ติ ด ปั ญ ห า ท า ง เ พ ศ ปั ญ ห า ท า ง อ า ช ญ า ก ร ร ม ซึ่งการศึกษาปัญหาเหล่านี้จะเป็นข้อมูลในการจัดหลักสูตรเพื่อเตรียมเยาวชนสามารถดารงอยู่ในสังคมที่เปลี่ยนแ ปลงได้อย่างมีความสุขและไม่เกิดปัญหา 4.3ปัญหาด้านเศรษฐกิจ โดยพื้นฐานนั้นประเทศไทยเป็นประเทศที่มีพื้นฐานดั้งเดิมจากเกษตรกรรม ประ ช าช น ส่วน ใหญ่ยัง มีพื้ น ฐาน อยากจน และ มีการศึกษาต่า ประช าช น เกิดการว่างงาน ก า ร ย้ า ย ถิ่ น ท า กิ น ช น บ ท เ ข้ า สู่ เ มื อ ง ห รื อ อั ต ร า ค่ า จ้ า ง แ ร ง ง า น ต่ า สิ่งเหล่านี้ เป็ นปัญหาทางเศรษฐกิจยาวนานของประเทศ ประกอบกับใน ปัจจุบันประเทศต่างๆ ประสบกับภาวะปัญหาทางด้านเศรษฐกิจของโลกทั้งประเทศไทยด้วย ทาให้ปัญหาทางเศรษฐกิจในอดีต ปัจจุบัน และแน วโน้มปั ญหาที่เกิดใน อนาคต เพื่อจะให้นาข้อมูลทางเศรษฐกิจของประเทศ โ ด ย ก า ห น ด จุ ด ห ม า ย ข อ ง ห ลั ก สู ต ร ก า ร ส ร้ า ง ห ลั ก สู ต ร ห ล า ย วิ ช า หรือการบรรจุเนื้อหาสาระให้ผู้เรียน มีความรู้ความสามารถและประ สิทธิภ าพทางเศรษฐกิจ ท า ใ ห้ ผู้ ที่ จ บ ก า ร ศึ ก ษ า ใ น ร ะ ดั บ ต่ า ง ๆ ส า ม า ร ถ อ อ ก ไ ป ป ร ะ ก อ บ อ าชี พ ไ ด้ และสามารถดารงอยู่ในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ โดยไม่เป็นปัญหาหรือภาระของสังคม หรือจัดการศึกษาเพื่อให้บุคคลสามารถสร้างงานได้
  • 15. 4.4ปัญหาทางด้านการเมืองการปกครอง สภาพปัญหาทางด้านการเมืองของไทยเป็นมาอย่างยาวนาน ส ม ค ว ร ที่ ก า ร ศึ ก ษ า จ ะ เ ข้ า ไ ป มี บ ท บ า ท ใ น ก า ร พั ฒ น า ด้ า น ก า ร เ มื อ ง คื อ ก า ร ใ ห้ ค ว า ม รู้ แ ล ะ ป ลู ก ฝั ง ใ น เ รื่ อ ง ข อ ง ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย เพราะประชาชนทั่วไปโดยเฉพาะอย่างยิ่งประชาชนในท้องถิ่นชนบทมีความรู้เข้าใจเกี่ยวกับประชาธิปไตยไม่ดีพ อ นอกจากนั้นประชาชนส่วนใหญ่ยังขาดความสานึกและความรับผิดชอบต่อวิถีทางแบบประชาธิปไตย ซึ่ ง จ ะ เห็ น ไ ด้ จา ก ก าร เข้ ามี บ ท บ าท ท าง ก าร เมื อ ง ยัง เป็ น เรื่ อ ง ข อ ง ค น ก ลุ่มน้ อ ย หรือจานวนผู้ไปใช้เสียงในการเลือกตั้งแต่ละครั้งมีจานวนน้อยมากเมื่อเปรียบกับผู้มีสิทธิ์ออกเสียงเลือกตั้งทั้งหม ด แม้ว่านักศึกษามีอายุที่จะ ใช้สิ ทธิ์ เลือกตั้งได้แล้วแต่อัตราส่วน ผู้ใช้สิ ทธิ์ ยังน้อยเห มือน เดิม ใ น เมื่อ ผู้ไ ด้รับ การ ศึ ก ษ าที่ มีค ว ามรู้ ค วามเข้าใ จ ใ น เรื่ อ ง ป ระ ช าธิ ป ไต ย เป็ น อ ย่าง ดี ยังขาดความสานึกความรับผิดชอบเช่นนี้ นักพัฒนาหลักสูตรจึงควรที่จะได้ตระหนักและพัฒนาหลักสูตร เนื้ อห าวิช าห รื อกิจก รรมก ารเรี ยน ก ารส อน ใ ห้ ส ามารถ พัฒ น าผู้เรี ยน ใ ห้ มีจิตส านึ ก และความรู้สึงรับผิดชอบต่อการปกครองของประเทศ จากสภาพปัญหาต่างๆ ที่กล่าวมาเป็ น เพียงตัวอย่างที่นักพัฒนาห ลักสูตรจะตั้งคานึงถึง ทั้งนี้เพื่อให้หลักสูตรที่ร่างขึ้นมามีส่วนแก้ปัญหาสังคมและประเทศชาติโดยส่วนรวมบางปัญหาอาจแก้ได้โดยตร ง บ า ง ปั ญ ห า ก า ร ศึ ก ษ า แ ก้ ไ ข โ ด ย ท า ง อ้ อ ม ซึ่งเป็นหน้าที่ของนักพัฒนาหลักสูตรจะต้องพิจารณาปัญหาเพื่อนาไปสู่การตัดสินใจเลือกทิศทางในการพัฒนาห ลักสูตรเพื่อสร้างคนที่เป็นประโยชน์แก่สังคม หรือคนที่จะไปพัฒนาหรือแก้ปัญหาสังคมต่อไป ขั้นตอนในการพิจารณาปัญหาและแนวทางแก้ไขมีดังนี้ 1. พิจารณาปัญหาที่ระบบการศึกษาเอื้ออานวยในการปรับปรุงให้ดีขึ้น 2. พิจารณาสาเหตุ ข้อเท็จจริงสภาพปัญหา 3. พิจารณาวิชา เนื้อหาและประสบการณ์การเรียนรู้ที่เหมาะสม 4. พิจารณากิจกรรมการเรียนการสอนที่เหมาะสม 5. ข้อมูลพื้นฐานทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ความเจริญก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโน โลยี ทาให้สังคมเปลี่ยน แปลงไป ผู้เรียน เกิดความจาเป็ น ต้องเพิ่ มความรู้ให ม่ ทักษะใ หม่ และต้อง เปลี่ยน แปลงเจตคติให ม่ ทาให้เกิดความจาเป็นจะต้องสร้างคุณธรรมและความคิดใหม่เพื่อให้คนในสังคมสามารถปรับตัวเข้ากับการเปลี่ย น แ ป ล ง ข อ ง สั ง ค ม ไ ด้ โดยใช้การศึกษาทาหน้าที่สร้างประชาชนที่มีคุณภาพและมีความสามารถปรับตัวให้กับความเจริญทางด้านวิทยา
  • 16. ศ า ส ต ร์ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี ไ ด้ อ ย่ า ง เ ห ม า ะ ส ม หลักสูตรที่นามาใช้จาเป็นต้องมีความสอดคล้องกับความเจริญ ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปัจจุบันประเทศไทยได้นาเอาความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์มาใช้ในสังคมอย่างกว้างขวางในทุกๆ ด้าน ท า ใ ห้ เกิด ผ ล ก ร ะ ท บ ต่อ สั ง ค ม แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล้อ ม ทั้ ง ท า ง ต ร ง แ ล ะ ท าง อ้อ ม ดัง นั้ น ก าร จัด ก าร ศึ ก ษ า จึ ง ค ว ร จ ะ ใ ห้ ป ร ะ ช าช น ต ร ะ ห นั ก ถึ ง ส ภ าพ ข้ อ เ ท็ จ จ ริ ง ต่า ง ๆ ที่เป็ นผลกระทบจากความเจริญทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พร้อมทั้งให้เขาได้รับข้อมูลต่างๆ อย่าง เพี ยง พ อ เพื่ อ ใ ห้ เข าส าม ารถ เลื อก ตัด สิ น ใ จใ ช้ วิธี การป ฏิ บัติ ที่ ถู ก ต้อ ง ดัง นั้ น นักพัฒนาหลักสูตรต้องศึกษาข้อมูลทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทั้งในปัจจุบันและแนวโน้มความเจริญใ น อ น า ค ต เพื่อที่จะได้พัฒนาหลักสูตรเพื่อพัฒนาคนให้สามารถดารงตนอยู่ได้อย่างเหมาะสมในสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป นอกจากจะพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับความเจริญทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแล้ว ความเจริญทางด้านนี้ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในเรื่องเนื้อหาของหลักสูตรและการเรียนการสอน เช่น อุปกรณ์สอนใหม่ๆ เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ คอมพิวเตอร์ วิทยุ โทรทัศน์ เครื่องบันทึกเสียง วีดีทัศน์ ไมโครฟิ ล์ม โพรเจกเตอร์ วิธีการสอน แบบใหม่ๆ ซึ่งใช้เครื่องมือต่างๆ ช่วย เช่น วิทยุการศึกษา โทรทัศน์การศึกษา การศึกษาทางไกล การสอนแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็นต้น วั ส ดุ อุ ป ก ร ณ์ เ ค รื่ อ ง อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ และวิธีการสอน ใหม่ที่อาศัยความเจริญ ก้าวหน้าทางด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโน โลยีเหล่านี้ ส า ม า ร ถ ช่ ว ย ใ ห้ จั ด ก า ร ศึ ก ษ า มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ สู ง ก ว่า ก า ร ส อ น ใ น อ ดี ต ผู้พัฒนาหลักสูตรจึงมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความก้าวหน้าในเรื่องดังกล่าวนามาพัฒนาหลักสูตรและการจัด การเรียนการสอนให้เหมาะสมด้วย 6. ข้อมูลพื้นฐานทางสภาพทางสังคมในอนาคต จ า ก ส ภ า พ ก า ร เป ลี่ ย น แ ป ล ง ทั้ ง ท า ง ด้ า น เศ ร ษ ฐ กิ จ ก า ร เ มื อ ง สั ง ค ม และ ความเจริ ญ ก้าวหน้ าทางวิทยาศาสต ร์แล ะ เท คโน โลยีของ ประ เทศไท ยใ น ปั จจุบัน ชี้ ให้ เห็ น ว่าใน อน าคตประ เทศไทยมีแน วโน้มที่จะ พัฒ น าทางด้าน อุตสาห กรรมมากขึ้ น ซึ่ ง จ ะ เ ป็ น ผ ล ใ ห้ เ กิ ด อุ ต ส า ห ก ร ร ม ใ ห ม่ ห ล า ก ห ล า ย ส า ข า จากสภาพการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมีผลทาให้สังคมเปลี่ยนแปลงไปดังนี้ 1. มีการส่งเสริมอุตสาหกรรมขนาดย่อม รวมทั้งอุตสาหกรรมท้องถิ่นเพิ่มขึ้น
  • 17. 2. งานอาชีพอิสระมีแนวโน้มจะมีความสาเร็จมากขึ้นในอนาคตทั้งนี้เนื่องจากลักษณะการผลิตอุตสาหกรรมส่วนใ หญ่มักเป็นการผลิตใช้ทุนมากกว่าใช้แรงงาน 3. ในอนาคตสภาพสังคมจะมีการแข่งขันและต่อสู้เพื่ออยู่รอดเฉพาะตัวเพราะที่ดินทากินไม่สามารถขยายเพิ่มให้สม ดุ ล กั บ ป ร ะ ช า ก ร ไ ด้ ท า ใ ห้ เ กิ ด ก า ร เ ข้ า ม า ท า ง า น ใ น เ มื อ ง ม า ก ขึ้ น และภาคอุตสาหกรรมก็ไม่สามารถรองรับแรงงานได้ทั้งหมด เพราะฉะนั้นการแข่งขันเพื่อความอยู่รอดมีมากขึ้น 4. การประพฤติปฏิบัติของคนไทยจะเปลี่ยนไปจากวัฒนธรรมดั้งเดิมซึ่งเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิ จ สังคม การเมือง ความเจริญด้าน เทคโน โลยีและการห ลั่งไห ลเข้ามาของวัฒน ธรรมตะวันตก ซึ่งมีผลกระทบต่อคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และสิ่งแวดล้อมของสังคมไทย 5.ในอนาคตคาดว่าการดาเนินชีวิตของคนไทยประสบกับปัญหา ทั้งใน ด้าน สุขภาพและ การ ป ร ะ ก อ บ อ าชี พ ม ากขึ้ น ซึ่ ง เป็ น ผ ล กร ะ ท บ มาจ าก ก าร เป ลี่ ย น แ ป ล ง ท าง สั ง ค ม เศรษฐกิจและการเพิ่มของประชากร จากสภาพการเปลี่ยนแปลงในลักษณะต่างๆ ดังกล่าวแล้ว หลักสูตรในอนาคตต้องมีบทบาทดังต่อไปนี้ 1.เตรียมกาลังคนให้เหมาะสมกับงานด้านอุตสาหกรรมขนาดย่อย และอุตสาหกรรมท้องถิ่น โดยเตรียมกาลังคนที่มีคุณภาพทางด้านความรู้ทักษะ และลักษณะนิสัย ตลอดจนเจตคติที่ดีต่อการทางานอาชีพ 2. ส่งเสริมอาชีพอิสระและเตรียมคนให้เห็นช่องทางในการประกอบอาชีพอิสระมากขึ้นเพื่อแก้ปัญหาการว่างงานข องประชาชนส่วนหนึ่ง 3.การศึกษาใน อน าคตควรเน้นไปที่การสร้างค่านิยมด้าน ความสามัคคีใน การอยู่ร่วมกัน โดยให้ทุกคนรู้จักเสียสละ มุ่งทาประโยชน์ให้แก่สังคมเป็นส่วนใหญ่ และหาจุดยืนที่เป็นที่ยอมรับ 4. เ ต รี ย ม ค น ใ ห้ เ ห็ น คุ ณ ค่ า ข อ ง ก า ร ด า ร ง รั ก ษ า วั ฒ น ธ ร ร ม ไ ท ย รู้จัก ผส มผ สาน วัฒ น ธรรม ดั่ง เดิมกับ วัฒ น ธ รรมใ ห ม่ เพื่ อเป็ น แน วท าง การป ฏิ บัติต น มุ่งพัฒนาตนเองและสร้างสรรค์ความเจริญทางสังคมตลอดจนมุ่งพัฒนาจิตใจให้ยึดมั่นในศาสนาและหลักธรรม มีคุณธรรมจริยธรรมอันจะนาไปสู่การมีชีวิตที่สงบสุข 5. เต รี ยมฝึ ก ค น ใ ห้ ส ามาร ถ แ ก้ไข ปั ญ ห าเกี่ย วกับ สุ ข ภ าพ แ ล ะ ปั ญ ห าต่าง ๆ ในการดารงชีวิตพร้อมทั้งสามารถเลือกแนวทางในการปรับปรุงคุณภาพชีวิตให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
  • 18. 7. ข้อมูลพื้นฐานจากนักวิชาการจากสาขาต่างๆ ข้ อ มู ล พื้ น ฐ า น จ า ก นั ก วิ ช า ก า ร ใ น วิ ช า ส า ข า ต่ า ง ๆ เป็นข้อมูลสาคัญอีกอย่างหนึ่งที่จะช่วยให้ข้อมูลในการพัฒนาหลักสูตรสามารถคลอบคลุมความต้องการจาเป็นใ นการพัฒนาหลักสูตรได้อย่างกว้างขวาง ข้อมูลดังกล่าวได้แก่ข้อมูลจากนักวิชาการในวิชาสาขาต่างๆ นั ก ก าร ศึ ก ษ า ห รื อ บุ ค ค ล ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง กับ ก า ร ใ ช้ ผ ล ผ ลิ ต ข อ ง ก าร จัด ก า ร ศึ ก ษ า คื อ ส ถ า น ป ร ะ ก อ บ ก า ร ที่ จ บ ก า ร ศึ ก ษ า เ ข้ า ไ ป สู่ หรืออาจจะเรียกข้อมูลจากสถานประกอบหรือตลาดแรงงานเป็นต้น 7.1 ข้ อ มู ล จ า ก นั ก วิ ช า ก า ร นั ก วิ ช า ก า ร แ ต่ ล ะ ส า ข า ที่ มี ค ว า ม รู้ ค ว ามส า มาร ถ ค ว าม ช าน า ญ เฉ พ า ะ ท าง ย่อ ม รู้ ท ฤ ษ ฎี ห ลั ก ธ ร รม ช าติ โ ค ร ง ส ร้ า ง แ ล ะ ร ะ ดั บ ค ว า ม ย า ก ง่ า ย ข อ ง ค ว า ม รู้ แ ต่ ล ะ ศ า ส ต ร์ ข อ ง ต น เ ป็ น อ ย่า ง ดี คณะพัฒนาหลักสูตรต้องปรึกษาและร่วมมือกับนักวิชาการเหล่านี้เกี่ยวกับการกาหนดจุดมุ่งหมายการเรียนรู้ในแ ต่ ล ะ ส า ข า วิ ช า ใ น ก า ร ก า ห น ด เ นื้ อ ห า วิ ช า ค ว า ม ก ว้ า ง ค ว า ม ลึ ก และความต่อเนื่องสัมพันธ์เนื้อหาในเรื่องการปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรของไทยยังขาดข้อมูลด้านนี้มา ก ท า ใ ห้ เ กิ ด ก า ร สู ญ เ ป ล่ า ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า นั ก วิ ช า ก า ร ส า ข า ต่ า ง ๆ จึงน่าจะมีบทบาทในการพัฒนาหลักสูตรโดยร่วมเป็นคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรในแต่ละสาขา เพื่อสร้างหลักสูตรที่สมเหตุสมผลและสมจริงทางวิชาการ 7.2 ข้อมูลจากสถานประกอบการ เป็นแหล่งข้อมูลที่สาคัญที่นักพัฒนาหลักสูตรไม่สมควรมองข้าม เ พ ร า ะ ห ลั ก สู ต ร จ ะ ต้ อ ง ผ ลิ ต ค น สู่ ส ถ า น ป ร ะ ก อ บ ก า ร ต่ า ง ๆ ใ น สั ง ค ม โ ด ย เ ฉ พ า ะ อ ย่ า ง ยิ่ ง ก า ร พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร ใ น ร ะ ดั บ อ า ชี ว ศึ ก ษ า ความต้องการของสถาน ประกอบการเป็ น ข้อมูลสาคัญที่นักพัฒน าหลักสูตรควรนาไปพิจารณา เพื่อจัดหลักสูตรและการเรียนการสอนให้ผู้จบหลักสูตรสามารถเข้าไปสู่สถานประกอบการได้อย่างมีประสิทธิภ าพ 8. ข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวกับโรงเรียน ชุมชนหรือสังคมที่โรงเรียนตั้งอยู่ ข้อมูลที่สาคัญอีกอย่างหนึ่งที่ควรศึกษาวิเคราะห์ คือข้อมูลที่เกี่ยวกับสภาพทั่วไปของโรงเรียน เช่น ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว กั บ จ า น ว น ค รู ใ น โ ร ง เ รี ย น จาน วน อาคารสถาน ที่หรือห้องเรียน จาน วน อุป กรณ์และศักยภ าพ ของโรงเรี ยน มากที่สุ ด นอกจากนี้ข้อมูลเกี่ยวกับชุมชนและสภาพสังคมที่โรงเรียนตั้งอยู่ก็เป็นข้อมูลที่ผู้จัดทาหลักสูตรหรือพัฒนาหลักสู ต ร จ ะ ต้ อ ง ศึ ก ษ า เ ช่ น ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม แ ล ะ ส ภ า พ ภู มิ ศ า ส ต ร์ ที่ ตั้ ง
  • 19. ห รื อ สั ง ค ม โ ด ย ทั่ ว ไ ป ข อ ง ผู้ ใ ช้ ห ลั ก สู ต ร ห รื อ โ ร ง เ รี ย น นั้ น เ ป็ น อ ย่า ง ไ ร ก าร ส นั บ ส นุ น ห รื อ ค ว าม ร่ว มมื อ ข อ ง ชุ ม ช น สั ง ค มที่ มีต่อ โ รง เรี ย น เป็ น อ ย่าง ไ ร ข้อมูลดังกล่าวจะ เป็ น ประ โยช น์ ใ น การจัดท าหลักสู ตร เช่น การกาหน ดวิช าเรี ยน ต่าง ๆ เพราะบางรายวิชาสภาพชุมชนและสังคมไม่สามารถเอื้ออานวยหรือส่งเสริมเท่าที่ควร การศึกษาก็ไม่บรรลุผล เ พ ร า ะ ฉ ะ นั้ น ก า ร ศึ ก ษ า ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว กั บ โ ร ง เ รี ย น ชุ ม ช น แ ล ะ สั ง ค ม ที่ โ ร ง เรี ย น ตั้ ง อ ยู่จึ ง เ ป็ น สิ่ ง ที่ ส าคั ญ ที่ ผู้ จัด ท าห ลั ก สู ต ร ต้ อ ง ศึ ก ษ า เ พื่ อ ใ ห้ ไ ด้ ข้ อ มู ล ม า จั ด ท า ห ลั ก สู ต ร ที่ โ ร ง เ รี ย น ต่ า ง ๆ สามารถน าไป ใ ช้ใ น การจัดการเรี ยน การส อน ได้อย่าง มีป ระ สิ ท ธิ ภ าพ ซึ่ งข้อมูลต่าง ๆ เหล่านี้ สามารถค้น คว้าและหาข้อมูลได้จากเอกสารในการรายงาน ต่างๆ การสารวจ สอบถาม และการสัมภาษณ์บุคคลต่างๆ ตลอดจนข้อมูลเกี่ยวข้อง เช่น คนในชุมชน ผู้บริหาร ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ผู้ที่สาเร็จการศึกษาซึ่งการศึกษาข้อมูลดังกล่าวจาเป็นสาหรับการพัฒนาหลักสูตรทั้งระดับท้องถิ่นและระดับชาติ เพื่ อ ใ ห้ ไ ด้ ห ลั ก สู ต ร ที่ ทุ ก โ ร ง เรี ย น ส าม า ร ถ น า ไ ป ใ ช้ ไ ด้อ ย่า ง มีป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ โ ด ย เฉ พ า ะ ห ลั ก สู ต ร ร ะ ดั บ ท้ อ ง ถิ่ น ข้ อ มู ล ดั ง ก ล่า ว มี ค ว า ม ส า คั ญ อ ย่า ง ยิ่ ง ผู้พัฒนาหลักสูตรระดับท้องถิ่นจะต้องให้ความสาคัญเพื่อที่จะเสริมสร้างได้หลักสูตรที่เหมาะสมและตอบสนอง ต่อท้องถิ่นนั้นๆ ได้อย่างเต็มที่ 9. ข้อมูลพื้นฐานทางประวัติศาสตร์และการศึกษาหลักสูตรเดิม ประ วัติศาสตร์ มีความสาคัญ ต่อชีวิตและ การกระ ท าใ น ปั จจุบัน ดังคาก ล่าวที่ ว่า ปั จจุบัน ผลของ อดีตและ อน าคตเป็ น ผลปั จจุบัน เพ ราะ ฉ ะ นั้ น ข้อมูลทางป ระ วัติศาส ตร์ และการศึกษาหลักสูตรในอดีตย่อมมีประโยชน์ต่อการจัดการศึกษาและการจัดทาหลักสูตรในปัจจุบัน ก า ร ศึ ก ษ า ไ ท ย กั บ ป ร ะ วัติ ศ า ส ต ร์ ไ ท ย มี ค ว า ม ผู ก พั น กั น อ ย่า ง แ น่ น แ ฟ้ น เ พ ร า ะ เ ห ตุ ก า ร ณ์ ใ น ช า ติ ย่ อ ม มี ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ ก า ร ศึ ก ษ า เ ส ม อ นักการศึกษาและนักพัฒนาหลักสูตรจึงจาเป็นต้องมีความรู้หรือข้อมูลศึกษาเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ของชาติ ร ว ม ทั้ ง ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ค ว บ คู่ กั น ไ ป เพราะเราต้องอาศัยพื้นฐานทางประวัติศาสตร์มาช่วยในการจัดการศึกษาและพัฒนาหลักสูตรในปัจจุบัน การศึกษาข้อมูลทางประวัติศาสตร์จะทาให้เราเห็นภาพรวมความเจริญของชาติทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สภ าพ แวดล้อม การเมือง และวัฒน ธรรมใน อดีตที่ผ่าน มา รวมทั้งผลกระทบที่มีต่อการศึกษา ซึ่งข้อมูลในส่วนนี้นักพัฒนาหลักสูตรต้องวิเคราะห์ว่าการจัดการศึกษาหรือการจัดหลักสูตรอย่างนั้นในสภาพเศร ษฐกิจ สั ง คม แล ะ การเมือง ใ น ขณ ะ นั้ น มีค วามถูกต้อ งแ ละ เห ม าะ ส มมากน้ อยเพี ยง ใ ด