Ce diaporama a bien été signalé.
Le téléchargement de votre SlideShare est en cours. ×

9 รูปแบบการวิจัย

Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité

Consultez-les par la suite

1 sur 28 Publicité

Plus De Contenu Connexe

Diaporamas pour vous (20)

Publicité

Similaire à 9 รูปแบบการวิจัย (20)

Plus récents (20)

Publicité

9 รูปแบบการวิจัย

  1. 1. รูปแบบการวิจัย Research Design ผศ . ( พิเศษ ) น . พ . นภดล สุชาติ พ . บ . M.P.H.
  2. 2. การวิจัย <ul><li>เป็นการค้นคว้า อย่างเป็นระบบ มีเหตุมีผล เพื่อผลิตความรู้ใหม่ ซึ่งความรู้ใหม่ อาจเป็นความรู้ใหม่ เชิงทฤษฏี หรือการประยุกต์ปฏิบัติก็ได้ แต่ต้องอยู่บนรากฐาน ของความถูกต้อง โดยต้องพยายาม หลีกเลี่ยง ความแปรปรวน และอคติต่าง ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น โดยใช้รูปแบบการวิจัย วิธีการวิจัย และสถิติที่เหมาะสม </li></ul>
  3. 3. ขั้นตอนกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การกำหนดปัญหา การตั้งสมมติฐาน รวบรวมข้อมูลและ พิสูจน์สมมติฐาน ข้อสรุปจากการศึกษา รับรองสมมติฐาน ได้สมมติฐานใหม่ สอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว่ ไม่สอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว่
  4. 4. โลกความจริง โลกสมมติ กำหนดปัญหา พิสูจน์สมมติฐาน ผลที่ได้จากการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูล การแปลผล ข้อสรุป การตั้งสมมติฐาน
  5. 5. เกณฑ์พิจารณาว่าเรื่องใดเป็นงานวิจัย <ul><li>ความสมบูรณ์ของกระบวนการ </li></ul><ul><li>ความลึกซึ้งของการค้นคว้า </li></ul><ul><li>ได้ความรู้ใหม่ </li></ul><ul><li>ความถูกต้องและความเชื่อถือได้ </li></ul>
  6. 6. การวิจัย 2 แบบ <ul><li>การวิจัยเชิงคุณภาพ </li></ul><ul><li>การวิจัยเชิงปริมาณ </li></ul>
  7. 7. การวิจัยเชิงคุณภาพ <ul><li>การวิจัยเชิงคุณภาพ ( เชิงคุณลักษณะ ) </li></ul><ul><li>เครื่องมือคือนักวิจัย ถามเฉพาะคนที่รู้เรื่องดี </li></ul><ul><li>การสังเกต (Observation) </li></ul><ul><ul><li>Participant Observation </li></ul></ul><ul><ul><li>Non-Participant Observation </li></ul></ul><ul><li>Focus Group, </li></ul><ul><li>in-depth Interview , </li></ul><ul><li>Life history collection </li></ul>
  8. 8. การวิจัยเชิงคุณภาพ <ul><li>Observation - Structured Observation - Unstructured Observation </li></ul><ul><li>สัมภาษณ์ทางลึก (In-depth Interview) คำถามปลายเปิด (Open ended questions) </li></ul><ul><li>การสนทนากลุ่ม (Focus group) ผู้ให้ข้อมูลเป็นผู้มีความรู้ (Key Informants) มีนักวิจัย ผู้จดบันทึก ใช้เทปบันทึก ถอดเทปสรุปวิเคราะห์ข้อมูล </li></ul><ul><li>การศึกษาเฉพาะราย (Case study, Life history collection) </li></ul>
  9. 9. การวิจัยเชิงปริมาณ <ul><li>ต้องมีกลุ่มตัวอย่างจำนวนที่กำหนด มีเครื่องมือ เช่น แบบสอบถาม ใช้หลักวิชาสถิติวิเคราะห์ จำแนกตามวิธีการวิจัย แบ่งเป็น Observational Study และ Experimental study </li></ul>
  10. 10. ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม ตัวแปรอิสระ (Independent Variables) ตัวแปรตาม (Dependent Variables) เป็นต้นเหตุ เป็นปัจจัยเสี่ยง เป็นตัวกำหนด มีอิทธิพล
  11. 11. ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม <ul><li>โดยที่ตัวแปรอิสระ เป็นตัวแปรที่อาจเป็นต้นเหตุ หรือปัจจัยเสี่ยง (Risk Factor) หรือเป็นตัวที่กำหนด (Determines) หรือเป็นตัวที่มีอิทธิพล (Influences) ต่อตัวแปรตาม (Andrew Fisher, John Laing, John Stoeckel, 1984) </li></ul>
  12. 12. ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม <ul><li>เช่น ถ้าตัวแปรอิสระ คือการสูบบุหรี่ ตัวแปรตาม คือโรคมะเร็งปอด </li></ul><ul><li>ถ้าตัวแปรอิสระ คือระดับการศึกษา ตัวแปรตาม คือระดับรายได้ หรือระดับตำแหน่งหน้าที่ </li></ul><ul><li>ถ้าตัวแปรอิสระ คือระดับรายได้ ตัวแปรตาม คือระดับการมีคุณภาพชีวิต และการมีสุขภาพอนามัยดี เป็นต้น </li></ul>
  13. 13. กลุ่มควบคุม <ul><li>กลุ่มควบคุม (Control Group) หรือ กลุ่มเปรียบเทียบ (Comparison Group) </li></ul><ul><li>อายุ เพศ เชื้อชาติ อาชีพ คล้ายๆกัน </li></ul><ul><li>จำนวนกลุ่มควบคุมเท่าๆกัน หรืออาจเป็น 2 เท่าของกลุ่มทดลอง </li></ul>
  14. 14. รูปแบบการวิจัย <ul><li>การวิจัยโดยการสังเกต (Observation Research) </li></ul><ul><li>การวิจัยโดยการทดลอง (Experimental Research) </li></ul><ul><li>Risk Factor เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหรือว่าผู้ทดลองเป็นผู้กำหนดให้ตัวอย่างได้รับ Risk Factor </li></ul>
  15. 15. จำแนกรูปแบบการวิจัย <ul><li>จำแนกตามเป้าหมาย </li></ul><ul><li>จำแนกตามลักษณะสิ่งที่ศึกษา </li></ul><ul><li>จำแนกตามเวลา </li></ul><ul><li>จำแนกตามวิธีดำเนินงานวิจัย </li></ul>
  16. 16. จำแนกตามเป้าหมาย <ul><li>การวิจัยพื้นฐาน (Basic Research) </li></ul><ul><li>การวิจัยประยุกต์ (Applied Research) </li></ul>
  17. 17. จำแนกตามลักษณะสิ่งที่ศึกษา <ul><li>วิจัยเอกสาร (Documentary Research) </li></ul><ul><li>วิจัยทางห้องปฏิบัติการ (Laboratory Research) </li></ul><ul><li>วิจัยในสัตว์ทดลอง (Animal Research) </li></ul><ul><li>วิจัยทางคลินิก (Clinical Research) </li></ul><ul><li>วิจัยชุมชน (Community Research) </li></ul><ul><li>วิจัยปฏิบัติการ (Operational Research) </li></ul><ul><li>วิจัยระบบบริการสาธารณสุข (Health Service Research) </li></ul>
  18. 18. จำแนกตามเวลา <ul><li>การวิจัยย้อนหลัง (Retrospective) </li></ul><ul><li>การวิจัยไปข้างหน้า (Prospective) </li></ul>
  19. 19. จำแนกตามวิธีดำเนินงานวิจัย <ul><li>การวิจัยโดยการสังเกต (Observation Research) </li></ul><ul><ul><li>วิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive Research) </li></ul></ul><ul><ul><li>วิจัยเชิงวิเคราะห์ (Analytical Research) </li></ul></ul><ul><li>การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) </li></ul>
  20. 20. การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) ผู้วิจัยกำหนด Exposure การวิจัยโดยการสังเกต (Observational Research) การวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive Study) การวิจัยเชิงวิเคราะห์ (Analytic Study) ณ จุดเวลาใดเวลาหนึ่ง (Cross-sectional) ชนิดไปข้างหน้า (Cohort or Prospective) ชนิดย้อนหลัง (Case control or Retrospective) มีกลุ่มเปรียบเทียบ ไม่มีกลุ่มเปรียบเทียบ Longitudinal (Incidence) Cross-sectional (Prevalence) Exposure เกิดตามธรรมชาติ
  21. 21. Descriptive Study <ul><li>Cross-sectional study ศึกษาความชุก (Prevalence) </li></ul><ul><li>Longitudinal study ศึกษาอุบัติการณ์ (Incidence) </li></ul>
  22. 22. Analytic Study <ul><li>Cohort or prospective </li></ul><ul><li>Case Control or retrospective study </li></ul><ul><li>Cross-sectional พบเหตุและผลได้พร้อมๆกัน </li></ul>
  23. 23. เลือกรูปแบบการวิจัย <ul><li>ประเมินขนาดของปัญหา ใช้การวิจัยเชิงพรรณนา </li></ul><ul><li>ศึกษาธรรมชาติของโรค ใช้การวิจัยเชิงพรรณนา </li></ul><ul><li>ค้นหาสาเหตุปัจจัยเสี่ยงของโรค เช่น พิสูจน์สมมติฐานความสัมพันธ์บุหรี่กับมะเร็งปอด การวิจัยเชิงวิเคราะห์หรือการวิจัยเชิงทดลอง </li></ul><ul><li>การวิจัยเชิงทดลองให้ผลวิจัยเชื่อถือได้มากที่สุด เพราะออกแบบให้หลีกเลี่ยง Bias ที่อาจเกิดขึ้นได้ แต่มีปัญหาด้านจริยธรรมได้ </li></ul><ul><li>ประเมินผลระบบบริการ ใช้การวิจัยเชิงทดลอง </li></ul>
  24. 24. การวิจัยแบบไปข้างหน้า Cohort หรือ Prospective study <ul><li>ข้อดี </li></ul><ul><li>ไม่มีปัญหาจริยธรรรมเพราะเป็นการสังเกตตามธรรมชาติ </li></ul><ul><li>มีอคติน้อยกว่าเพราะกำหนดกฎเกณฑ์การคัดเลือกเข้าได้ (Eligibility) </li></ul><ul><li>หา Incidence ของโรคได้ </li></ul><ul><li>ข้อเสีย </li></ul><ul><li>ใช้ เงิน คน เวลา มากกว่า </li></ul><ul><li>ถ้าโรคนั้นพบน้อยหรือต้องใช้เวลานานกว่าจะเกิดโรคก็ต้องติดตามนานมาก </li></ul><ul><li>ไม่สามารถควบคุมปัจจัยกวนให้กระจายเท่ากัน </li></ul>
  25. 25. การวิจัยแบบไปข้างหลัง Case-Control หรือ Retrospective study <ul><li>ข้อดี </li></ul><ul><li>เหมาะสำหรับศึกษาโรคที่มีอุบัติการณ์ต่ำ </li></ul><ul><li>ประหยัด ง่ายและรวดเร็ว </li></ul><ul><li>วัดปัจจัยเสี่ยงได้หลายอย่าง </li></ul><ul><li>ไม่มีปัญหาด้านจริยธรรม </li></ul><ul><li>ข้อเสีย </li></ul><ul><li>เลือกกลุ่มควบคุมได้ยาก </li></ul><ul><li>Recall Bias ซักย้อนหลังไปนานจึงจำไม่ได้ </li></ul><ul><li>Exposure Suspicion Bias ผู้สัมผัสสี่งคุกคามจะถูกซักถามมากกว่า </li></ul>
  26. 26. Experimental Study <ul><li>Researcher assign exposure status to population </li></ul>Population Random New Treatment Control or Standard Treatment Success Fail Success Fail
  27. 27. <ul><li>Phase 1 ประมาณ 10 คน พิสูจน์ว่าปลอดภัย </li></ul><ul><li>Phase 2 ประมาณ 5 0 คน เรื่องขนาดยาและพิสูจน์ว่าได้ผล </li></ul><ul><li>Phase 3 Standard RCT Safety & Efficacy </li></ul><ul><li>Phase 4 Post-marketing surveillance </li></ul>
  28. 28. Experimental study <ul><li>Quasi Experimental study </li></ul><ul><li>No randomization </li></ul>

×