SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  88
-ขอบเขตงานสำารวจ-
          ผังเมืองชุมชนเทศบาล
              จอมทอง
    อำาเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่




                         โดย

      กองช่างเทศบาลตำาบลจอมทอง
      อำาเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่


สำานักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดเชียงใหม่
สำานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงใหม่
สำานักงานท้องถิ่นจังหวัดเชียงใหม่
สำานักงานประปาจังหวัดเชียงใหม่
คำานำา

          ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทองนี้ ได้รับการวางและจัดทำาขึ้นโดย
เทศบาลตำาบลจอมทองร่วมกับกรมโยธาธิการและผังเมือง โดยสำานักงาน
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดเชียงใหม่ และร่วมสนับสนุนโดย สำานักงาน
พัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงใหม่ สำา นักงานท้อ งถิ่น จังหวัดเชี ยงใหม่ และ
สำานักงานประปาจังหวัดเชียงใหม่ ภายใต้โครงการ“พลังชุมชนสร้างสรรค์
ชุมชนอยู่เย็นเป็นสุข” ซึ่งมีแนวคิดให้ประชาชนพึ่งพาตนเองและสามารถ
แก้ไขปัญหาส่วนตัวและส่วนรวม รวมทั้งการยังชีพตนเองและประโยชน์
ให้แก่ผู้อื่นด้วย      จึงนำา ไปสู่นโยบายกระทรวงมหาดไทยในการบูร ณา
การภารกิ จ ของ 4 หน่ว ยงาน ได้ แ ก่ กรมการพั ฒ นาชุ ม ชน (จั ดทำา แผน
ชุ ม ชน) กรมส่ ง เสริม การปกครองท้ อ งถิ่ น (จั ดทำา แผนพั ฒ นา อปท.)
กรมโยธาธิการและผังเมือง (จัดทำาผังชุมชน) และการประปาส่วนภูมิภาค
(จั ด ทำา ประปาคุ ณ ภาพได้ ม าตรฐาน) ภายใต้ โ ครงการนี้ การจั ด ทำา ผั ง
ชุ ม ชนจะมุ่ ง เน้ น การบริ ห ารจั ด การการใช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิ น ในชุ ม ชน การ
อนุ รั ก ษ์ พั ฒ นาและฟื้ น ฟู ท รั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม และการ
ปรับโครงสร้างพื้นฐานของชุมชนเพื่อแก้ไขปัญหาหรือเพิ่มศักยภาพทาง
กายภาพของชุมชน บนหลักการพื้นฐานการมีส่วนร่วมของประชาชนให้
เกิดเป็น “ทุนโครงสร้างของชุมชน” ซึ่งเกิดจากการวางแผนร่วมกันใน
ชุมชน
        การวางและจัดทำาผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทองนี้ มีวัตถุประสงค์
ที่สอดคล้องกั บหลักการดั งกล่าวซึ่ง จะได้ใ ช้เ ป็น แนวทางในการพัฒ นา
ชุ ม ชน ใน ด้ า นการใช้ ป ระ โยชน์ ที่ ดิ น การ คม นา คม ขน ส่ ง กา ร
สาธารณูปโภค การบริการสาธารณะ และการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม
ที่มี ป ระสิ ท ธิ ภาพสอดคล้ อ งกั บ สภาพของชุ ม ชนและแนวโน้ ม การเจริ ญ
เติบโตของชุมชนต่อไปในอนาคต



                                              เทศบาลตำาบลจอมทอง
                                                 ตุลาคม 2552
สารบัญ

                               หน้า
บทที่ 1 สภาพโดยทั่วไป
      1.1 สภาพโดยทัวไปของอำาเภอ
                      ่                                      1-1
        1.1.1 ประวัติความเป็นมา                               1-1
        1.1.2 ทีตั้งและอาณาเขตการปกครอง
                ่                                             1-1
        1.1.3 สภาพทางกายภาพ                                   1-1
        1.1.4 สภาพทางสังคมและประชากร                          1-2
        1.1.5 สภาพทางเศรษฐกิจ                                 1-2
      1.2 สภาพโดยทัวไปของชุมชนเทศบาล
                        ่                                     1-2
        1.2.1 ทีตั้งและอาณาเขตการปกครอง
                  ่                                           1-2
        1.2.2                                 สภาพทางกายภาพ
      1-3
        1.2.3        การตั้งถิ่นฐานและการใช้ประโยชน์ที่ดินปัจจุบัน
      1-3
        1.2.4                        สภาพทางสังคมและประชากร
      1-4
        1.2.5                                สภาพทางเศรษฐกิจ
      1-5
        1.2.6                                  โครงสร้างพื้นฐาน
      1-5
บทที่ 2 แนวโน้มและทิศทางการขยายตัวของชุมชนเทศบาล
ในอนาคต 2-1
      2.1 บทบาทและหน้าที่ของชุมชน                           2-1
      2.2 แนวโน้มการขยายตัวด้านประชากร                        2-1
      2.3 แนวโน้มทิศทางการขยายตัวของชุมชนในอนาคต              2-2
           2.3.1 ปัญหาของชุมชน                                2-2
              2.3.2 ข้อจำากัดของชุมชน                         2-3
              2.2.3 ศักยภาพของชุมชน                           2-3
           2.3.4 แนวโน้มและทิศทางการขยายตัวของชุมชน 2-3
หน้า

บทที่ 3 แนวทางการพัฒนา
     3.1 แนวทางการควบคุมการใช้ประโยชน์ที่ดินในอนาคต 3-1
     3.2 แนวทางการพัฒนาระบบคมนาคมและขนส่ง                     3-2
     3.3 โครงการพัฒนา                                         3-3
        3.3.1 โครงการพัฒนาระบบคมนาคมและขนส่ง                  3-3
        3.3.2 โครงการแก้ไขปัญหาและปรับปรุงการจราจร            3-4
        3.3.3 โครงการปรับปรุงวิธีการจัดเก็บและกำาจัดขยะ       3-5
        3.3.4 โครงการจัดสร้างโรงฆ่าสัตว์เทศบาล                3-5
        3.3.5 โครงการสงวนรักษาและใช้ประโยชน์พื้นที่ของราชการ
     3-6
        3.3.6 โครงการปรับปรุงระบบระบายนำ้าของชุมชนและจัด
เตรียม 3-6
                พื้นที่เพื่อการบำาบัดนำ้าเสีย
           3.3.7 โครงการปรับปรุงและขยายการให้บริการประปา3-7
        3.3.8 โครงการปรับปรุงและขยายการให้บริการโทรศัพท์3-8
        3.3.9 โครงการอนุรักษ์พื้นทีริมนำ้าโดยกันไว้เป็นเขตรักษา
                                      ่
     3-9
                    สภาพแวดล้อมในระยะที่เหมาะสม
        3.3.10 โครงการจัดสร้างสวนสาธารณะ สวนสุขภาพ และ
สนามเด็กเล่น                                                  3-9
                     ของชุมชน

ภาคผนวก
-   ตัวอย่างผังเมืองชุมชน (เทศบาล)                        ผ-1
-   ตัวอย่างข้อกำาหนดผังเมืองชุมชนจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ผ-2
-   รายการประกอบแผนผังการใช้ประโยชน์ที่ดิน                ผ-7
-   ข้อเสนอแนะโครงข่ายคมนาคมและขนส่ง                      ผ-8
-   แบบถนนมาตรฐานขนาดเขตทาง 12.00 เมตร                    ผ-9
-   แบบถนนมาตรฐานขนาดเขตทาง 16.00 เมตร                  ผ-10
- แบบถนนมาตรฐานขนาดเขตทาง 20.00 เมตร                   ผ-11
- แบบถนนมาตรฐานขนาดเขตทาง 40.00 เมตร                   ผ-12
- แบบถนนมาตรฐานขนาดเขตทาง 60.00 เมตร                   ผ-13




-   การกำาจัดขยะมูลฝอย                                 ผ-14
-   โรงฆ่าสัตว์                                        ผ-19
-   สวนสาธารณะ                                         ผ-23
-   ระบบบำาบัดนำ้าเสีย                                 ผ-28


                    สารบัญตาราง
                             หน้า
ตารางที่ 1.1 แสดงการใช้ประโยชน์ที่ดิน พ.ศ. 2551   1-4
        ผังเมืองชุมชนเทศบาลตำาบลจอมทอง
        อำาเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่
ตารางที่ 2.1 แสดงการคาดประมาณจำานวนประชากรในอนาคต ใน
การวางผังเมืองชุมชน                               2-2


                     สารบัญแผนที่
แผนที่ 1.1    แสดงเขตการปกครองและเส้นทางคมนาคม          1-1ก
แผนที่ 1.2    แสดงการใช้ประโยชน์ที่ดินปัจจุบน พ.ศ. 2551 1-2ก
                                            ั
แผนที่ 3.4    แสดงประเภทถนนและมาตรฐานสัญลักษณ์          3-4ก
แผนที่ 3.5   แสดงประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดินและมาตรฐาน
สัญลักษณ์                                               3-5ก


                    สารบัญแผนผัง
แผนผังที่ 3.1 แสดงการใช้ประโยชน์ที่ดินในอนาคต          3-1ก
แผนผังที่ 3.2 แสดงโครงการคมนาคมและขนส่ง                3-2ก
แผนผังที่ 3.3 แสดงที่ตั้งโครงการพัฒนา                  3-3ก
บทที่ 1
                        สภาพโดยทั่วไป

1.1 สภาพโดยทัวไปของอำาเภอ
             ่

       1.1.1 ประวัติความเป็นมา
               อำาเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ มีประวัตเกียวพันกับตำานานวัด
                                                     ิ ่
พระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร เดิมทีตงของวัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร มี
                                 ่ ั้
ลักษณะเป็นเนินเขาเล็ก ๆ คล้ายจอมปลวก หรือหลังเต่า มีปาไม้ทองกวาว
                                                           ่
หรือทองหลาง อยูบนเนิน จึงเรียกว่า “ดอยจอมทอง” ตามตำานานดังกล่าว
                     ่
เมือพระพุทธเจ้าเสด็จปรินพพานแล้ว พระเจ้าอโศกมหาราชได้เสด็จมาที่
   ่                         ิ
ดอยแห่งนีและอันเชิญพระทักษิณโมลีธาตุ (พระเศียรเบืองขวาของ
             ้                                         ้
พระพุทธเจ้า) มีขนาดโตเท่าเมล็ดถัวเขียว เมล็ดข้าวโพด มีสณฐานกลม
                                   ่                            ั
เกลียง มีสคล้ายดอกพิกล หรือคล้ายทองดอกบวบ รวมพระบรมธาตุยอยอีก
     ้     ี             ุ                                         ่
เจ็ดองค์เข้าสูโกศเพชรและอันเชิญประดิษฐานไว้ในคูหาใต้พนดอยจอมทอง
                ่                                            ื้
และในปี พ.ศ. 1995 ได้มการก่อสร้างวัดขึนบนดอยจอมทอง แล้วเรียกชือว่า
                               ี         ้                            ่
“วัดพระธาตุจอมทอง” ซึงได้ยกฐานะเป็นพระอารามหลวง พ.ศ.2506 ได้
                           ่
เปลียนชือเป็น “วัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร “
       ่ ่
           เมือ พ.ศ. 2443 ทางราชการได้ตง “ อำาเภอจอมทอง ” ขึน
              ่                             ั้                   ้
      โดยใช้ชอเรียกตามตำานานวัด
                ื่
พระธาตุศรีจอมทอง เดิมทีตงอำาเภอจอมทองอยูทบานท่าศาลา หมูที่ 3
                             ่ ั้              ่ ี่ ้          ่
ตำาบลข่วงเปา ห่างจากทีวาการอำาเภอจอมทองในปัจจุบน 2 กิโลเมตร
                         ่ ่                             ั
ประมาณ พ.ศ. 2476 ทางราชการได้ยายทีวาการอำาเภอไปสร้างทางทิศ
                                    ้     ่ ่
ตะวันตกเฉียงใต้ของวัดพระธาตุศรีจอมอทองวรวิหาร และต่อมากรมการ
ปกครอง ได้อนุมตจดสรรงบประมาณให้กอสร้างอาคารทีวาการอำาเภอหลัง
                   ั ิ ั              ่                    ่ ่
ใหม่ เป็นแบบสองชัน แทนอาคารหลังเก่าซึงเป็นไม้ชนเดียว และทรุดโทรม
                      ้                 ่             ั้
ด้วยงบประมาณ 2,844,200 บาท ซึงไม่เพียงพอในการก่อสร้างใน
                                  ่
สภาวการณ์ขณะนัน อำาเภอจอมทอง จึงได้ขอความร่วมมือจากผูมจตศรัทธา
                   ้                                       ้ ี ิ
สมทบในการก่อสร้างได้จำานวนเงิน 495,868 บาท โดยเฉพาะอย่างยิงได้รบ ่   ั
ความเมตตาจากพระคุณเจ้าพระญาณวิรยาจารย์ บริจาคเงินจำานวน 500,000
                                      ิ
บาท โดยได้เริมก่อสร้างตังแต่วนที่ 13 สิงหาคม 2533 และแล้วเสร็จเมือวัน
                ่        ้    ั                                    ่
ที่ 19 มิถนายน 2534 หลังจากนันได้มพธเปิดทีวาการอำาเภอจอมทองหลัง
          ุ                     ้   ี ิ ี   ่ ่
ใหม่ เมือวันที่ 26 สิงหาคม 2534 เป็นท้องถินทีมประวัตความเป็นมาที่
        ่                                 ่ ่ ี     ิ
ยาวนาน มีอายุครบ 108 ปี ในปีพทธศักราช 2552
                                  ุ




                                                                 1-2

       1.1.2 ที่ตั้งและอาณาเขตการปกครอง
           อำาเภอจอมทอง ตังอยูหางจากตัวจังหวัดเชียงใหม่ไปทางทิศใต้
                             ้  ่ ่
ประมาณ 58 กิโลเมตร ตามทางหลวงถนนสายเชียงใหม่– ฮอด มีพนที่       ื้
ทังหมดประมาณ 864.83 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 1.38 ไร่ คิด
  ้
เป็นร้อยละ 4.37 ของพืนทีจงหวัดเชียงใหม่ อำาเภอจอมทอง แบ่งเขต
                         ้ ่ ั
การปกครอง ตามพระราชบัญญัตลกษณะปกครองท้องที่ พ.ศ. 2457 แบ่ง
                                 ิ ั
เป็นองค์การบริหารส่วนตำาบล จำานวน 6 ตำาบล คือตำาบลบ้านหลวง ,
ตำาบลข่วงเปา, ตำาบลดอยแก้ว , ตำาบลสบเตียะ , ตำาบลแม่สอย , ตำาบล
                                           ๊
บ้านแปะ มีจำานวนหมูบาน 103 หมูบาน เทศบาลตำาบล 1 แห่ง คือ
                     ่ ้             ่ ้
เทศบาลตำาบลจอมทอง โดยมีอาณาเขตการปกครองต่อไปนี.        ้
           ทิศเหนือ ติดต่อกับอำาเภอดอยหล่อ จังหวัดเชียงใหม่
           ทิศตะวันออก ติดต่อกับอำาเภอบ้านโฮ่งและอำาเภอเวียง
หนองล่อง (จังหวัดลำาพูน)
           ทิศใต้           ติดต่อกับอำาเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่
           ทิศตะวันตก       ติดต่อกับอำาเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่

       1.1.3 สภาพทางกายภาพ
           อำาเภอจอมทอง มีลักษณะภูมิประเทศ พอสรุปได้ดังนี้
ลักษณะพื้นที่อำาเภอจอมทอง ส่วนใหญ่เป็นที่ราบริมฝั่งแม่นำ้า
ปิง นำ้าแม่กลาง     พื้นที่หุบเขา เชิงเขาซึ่งใช้ประโยชน์ในการทำานา ทำา
สวน ทำาไร่ ปลูกไม้ยืนต้น เช่นลำาไย สำาหรับบริเวณภูเขาเป็นแหล่งต้นนำ้า
ลำาธารและที่อยู่อาศัย
                  สภาพพื้นที่ พื้นที่สูงทางตอนกลางทีราบลุ่มทางทิศ
                                                       ่
เหนือ และพื้นที่ภูเขาสูงหรือเนินเขาอยู่ด้านตะวันตก มีเทือกเขาอินทน
นท์ซึ่งมียอดเขาที่สูงที่สุดในประเทศไทย คือ สูงจากระดับนำ้าทะเลปาน
กลาง 2,565.3341 เมตร กั้นเขตแดนระหว่างอำาเภอจอมทองและอำาเภอ
แม่แจ่มโดยตลอด
           ภูมิอากาศ
             ลักษณะภูมอากาศเป็นแบบมรสุม มี 3 ฤดู ฤดูฝน เริ่ม
                      ิ
ตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคม จนถึงเดือนตุลาคม โดยได้รับอิทธิพลจาก
ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน ไปจนถึง
กลางเดือนกุมภาพันธ์ โดยได้รับอิทธิพลจาก ลมมรสุมตะวันออกเฉียง
เหนือ ซึ่งพัดพาเอาความหนาวเย็นจากประเทศจีนลงมาปกคลุม
ประเทศไทยตอนบน ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ ถึงกลางเดือน
พฤษภาคม ซึ่งอยู่ภายใต้อิทธิพลของ ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ และลม
ฝ่ายใต้ สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไป อากาศมรสุมเมืองร้อน ช่วง
พฤษภาคม - กันยายน มีฝนตกชุก ช่วงเดือนพฤศจิกายน - กุมภาพันธ์ มี
อากาศหนาวและแห้งแล้ง อุณหภูมิประมาณ ٩.٧ องศา สูงสุดประมาณ ٣
٩.٦ องศา

                                                                    1-3
       แหล่งนำ้า
แหล่งนำ้าของอำาเภอ ทีใช้ประโยชน์ในการเกษตรกรรม อุปโภค และ
                         ่
บริโภคทีสำาคัญ ได้แก่ ลำานำ้าปิง ลำานำ้าแม่กลาง ลำานำ้าแม่แจ่ม ลำานำ้าแม่
           ่
เตียะ ลำานำ้าแม่แต๊ะ และลำานำ้าแม่สอย อ่างเก็บนำ้า ได้แก่ หนองด้าง หนอง
    ๊
หลวง และห้วยตันตึง สำาหรับแหล่งนำ้าใต้ดนของอำาเภอ ได้มการขุดเจาะ
                                                 ิ           ี
เพือนำามาใช้อปโภค บริโภค นำ้าเพือการอุปโภคใช้นำ้าประปาจากแม่นำ้าปิง
      ่       ุ                     ่
ประชาชนชนบท นำ้ากรองได้ไม่สะอาดเนืองจากใช้มานานแล้ว และขาดการ
                                         ่
บำารุงรักษาเครืองกรองนำ้าทีใช้สวนร่วม บางหมูบาน ขาดนำ้าใช้ในช่วงเดือน
                ่          ่    ่                    ่ ้
กุมภาพันธ์ - พฤษภาคม ของทุกปี ในส่วนการใช้นำ้าเพือบริโภค ประชาชน
                                                         ่
ร้อยละ 70 ซือนำ้าดืมเกือบตลอดปี ส่วนทีเหลือจะบริโภคจากบ่อบาดาล
                  ้   ่                    ่
บ่อนำ้าตืน และประปาจากแม่นำ้าปิง และไม่มภาชนะรองรับนำ้าฝนครบทุกครัว
         ้                                     ี
เรือน สำาหรับนำ้าเพือการเกษตร ส่วนใหญ่ปญหาเกิดในฤดูแล้ง จะขาดแคลน
                    ่                        ั
นำ้าสำาหรับการประกอบอาชีพและจะต้องใช้เครืองสูบนำ้าพลังงานไฟฟ้าจาก
                                                   ่
แม่นำ้าปิง บางพืนทีทอส่งนำ้ายังไปไม่ทวถึง และเพียงพอ ต้องอาศัยนำ้าจาก
                ้ ่ ่                ั่
การขุดเจาะบาดาลและแหล่งนำ้าธรรมชาติทวไป    ั่

       1.1.4 สภาพทางสังคมและประชากร
               อำา เภอจอมทอง จำา นวนประชากรทั้ง สิ้น 65,675 คน (
สำา นักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง) มากเป็น อัน ดับ ที่ 14 ของ
จังหวัดเชียงใหม่ มีพื้นที่รวมทั้งอำา เภอประมาณ 864 ตารางกิโลเมตร มี
ความหนาแน่นของประชากรโดยเฉลี่ย 76 คนต่อตารางกิโลเมตรหรือ 1
คนต่อไร่ โดยตำาบล บ้านหลวง จำานวน 13,437 คน มีประชากรมากที่สุด
ประมาณร้อยละ 20.46 ของอำาเภอ รองลงมาคือ ตำาบลสบเตี้ยะ จำานวน
12,628 คน มี ป ระชากร ร้ อ ยละ 19.23 ของอำา เภอ ส่ ว นตำา บลที่ มี
ประชากรน้อยที่สุด คือตำา บลดอยแก้ว จำา นวน 3,555 คน คิดเป็นร้อย
ละ 5.41 ของอำาเภอ
              การนับถือศาสนา อำาเภอจอมทอง เป็นอำาเภอที่มีความ
        เกี่ยวข้องผูกพันกับสถาบันทางศาสนา
มาตั้งแต่ต้นโดยเฉพาะอย่างยิง ชื่อของอำาเภอตั้งและเรียกตามตำานานวัด
                              ่
พระธาตุศรีจอมทอง มีสถาบัน / องค์การทางศาสนาตั้งอยู่ จำานวน 55
แห่ง ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ จำาแนกตามการนับถือศาสนา
ดังนี้ (ที่มา จปฐ.ปี 2551)
              - ศาสนาพุทธ                    จำานวน 50,419 คน คิด
เป็น 91.83 %
              - ศาสนาคริสต์                 จำานวน 4,377 คน คิด
เป็น 7.98 %
              - ศาสนาอิสลาม,ซิกข์และอื่นๆ จำานวน     108 คน คิด
เป็น 0.19%
               - ประเพณี ที่ สำา คั ญ เฉพาะประเพณี แ ห่ ไ ม้ คำ้า โพธิ์ แ ละ
ประเพณีสรงนำ้าพระธาตุ/เดือนเก้าเป็ง
               1. ประเพณีแห่ไม้คำ้าโพธิ์            ประมาณ
เดือน เมษายน
               2. ประเพณีสรงนำ้าพระธาตุ/เดือนเก้าเป็ง      ประมาณ
เดือน มิถุนายน

                                                                     1-4
          - เชื้อสายของประชากร เป็นชาวเผ่ากระเหรียงและม้ง
                                                 ่
ประชากรส่วนใหญ่จะอาศัยหนาแน่นอยู่ทางตอนกลาง และด้านตะวันออก
ของอำาเภอ เนื่องสภาพภูมิประเทศ เหมาะสมสำาหรับการทำาเกษตรด้าน
ตะวันตกมีประชากรอาศัยอยู่เบาบาง เนื่องจากพื้นที่เป็นภูเขา

        การบริการด้านสังคม
             การบริการด้านสังคม ประกอบด้วย.-
               ด้านสาธารณสุข
                ด้านสาธารณสุขของอำาเภอ มีสถานทีให้บริการด้าน
                                                      ่
             สาธารณสุขทีมศกยภาพในการพัฒนา
                         ่ ี ั
คุณภาพชีวตด้านสุขภาพอนามัย ให้กบประชาชนชาวอำาเภอจอมทองและ
           ิ                        ั
ใกล้เคียง โดยกระทรวงสาธารณสุขได้ยกระดับโรงพยาบาลจอมทอง ให้
เป็นโรงพยาบาลระดับจังหวัด รองจากโรงพยาบาลนครพิงค์ และมี
สำานักงานสาธารณสุข 1 แห่ง
              ด้านการศึกษา
                   ด้านการศึกษา เป็นพื้นที่ตั้งสำานักงานพื้นที่การศึกษา
เชียงใหม่ เขตที่ 6 มีสถานที่ให้บริการด้านการศึกษา ตั้งแต่ก่อนประถม
ศึกษา จนถึงระดับอุดมศึกษา เป็นที่ตั้ง วิทยาการอาชีพจอมทอง และ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา วิทยาเขตเทคนิคภาคพายัพ
(อินทนนท์) และการให้บริการระบบการศึกษานอกโรงเรียนของศูนย์การ
ศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
  ข้อมูลประชากรจำาแนกตามระดับการศึกษา (ที่มา จปฐ.2551)
    - ไม่เคยศึกษา – ตำ่า   จำานวน    11,691      คิดเป็น 21.26%
    กว่า ป. 4              คน
    - ป. 4 - ป. 6          จำานวน    24,022      คิดเป็น 43.75%
                           คน
    -   ม. 1 – 6 , ม.ศ 1-5 จำานวน    11,231      คิดเป็น 20.45%
                           คน
    -   ปวช. – ปวส.        จำานวน    2,125       คิดเป็น 3.87%
                           คน
    -   ระดับปริญญา        จำานวน    3,006       คิดเป็น 5.48%
                           คน
    -   อื่นๆ ไม่ระบุ      จำานวน    2,829       คิดเป็น 5.16 %
                           คน
                 ด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
            ด้านความปลอดภัยในชีวตและทรัพย์สนของอำาเภอ
                                ิ          ิ
จอมทอง ในการสร้างความปลอดภัยในชีวตและทรัพย์สนของประชาชน
                                  ิ          ิ
อำาเภอจอมทอง มีหน่วยงาน กลุม/องค์กร ทีสามารถสร้างความสงบสุขแก่
                              ่           ่
ประชาชน อาทิ เช่น สถานีตำารวจภูธรจอมทอง , เจ้าหน้าทีฝายปกครอง (
                                                    ่ ่
ทีทำาการปกครองอำาเภอ, กำานัน / ผูใหญ่บาน , อาสาสมัครพลังมวลชน) ,
  ่                              ้    ้
ศูนย์ตอสูเพือเอาชนะยาเสพติด (สตส.อ.)
      ่ ้ ่

                                                                                 1-5

        1.1.5 สภาพทางเศรษฐกิจ
                   โครงสร้างทางเศรษฐกิจหลักของอำาเภอจอมทอง ส่วนใหญ่
ประกอบอาชี พ เกษตรกรรม ได้ แ ก่ การปลู ก ลำา ไย ข้ า ว หอมแดง
กระเทียม ฯลฯ รองลงมาได้แก่พาณิชยกรรม ได้แก่รานขายของชำา และ       ้
ของใช้เบ็ดเตล็ด ร้านขายอาหารและเครืองดืม         ่   ่
                        พาณิชยกรรม จำานวน 450 แห่งลั กษณะกิ จการค้ าและ
บริ การที่ มี อยู่ ในชุ มชน ส่ วนใหญ่ เป็ นประเภทการค้ าและบริ การพื้นฐานที่
จำาเป็นสำาหรับผู้ที่พักอาศัยอยู่ในเขตเทศบาลและบริเวณโดยรอบ เป็นร้าน
ค้าขนาดเล็ก ซึ่งได้แก่ ร้านค้าปลีกประเภทร้านขายอาหารและเครื่องดื่ม
ร้านขายของชำาและของใช้เบ็ดเตล็ด และสถานบริการอื่นๆ เป็นต้น
                       อุ ต สาหกรรม จำา นวน 900 แห่ ง กิ จ การส่ ว นใหญ่
กิจการที่เกี่ยวกับประเภทซ่อมรถยนต์ และรถจักรยานยนต์ รองลงมา
ได้แก่ กิจการโรงสีข้าว และรับจ้างทำาดอกไม้
                            เกษตรกรรม จากพื้นที่ทั้งหมด 470,956 ไร่ เป็น
เ นื้ อ ที่ ถื อ ค ร อ ง ท า ง ก า ร เ ก ษ ต ร 79,097 ไ ร่ คิ ด เ ป็ น ร้ อ ย ล ะ 16.80
เนื่องจากพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นแหล่งต้นนำ้า ทำาให้มีพื้นที่หลายจุดตามแนว
เชิงเขาสามารถสร้างอ่างเก็บนำ้า เพื่อเป็นต้นทุนให้กับระบบชลประทาน
ราษฎร์หรือระบบเหมืองฝาย แม่นำ้าปิดทีไหล่ผ่านตลอดแนว

1.2 สภาพโดยทัวไปของชุมชนเทศบาล
             ่

         1.2.1 ที่ตั้งและอาณาเขตการปกครอง
            เทศบาลตำาบลจอมทอง        ตังอยูเลขที่ 299 หมูที่ 4
                                       ้   ่             ่
ตำาบลบ้านหลวง อำาเภอจอมทอง
จังหวัดเชียงใหม่ อยูหางจากตัวจังหวัดเชียงใหม่ไปทางทิศใต้ประมาณ 60
                      ่ ่
กิโลเมตร ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 108 (ถนนเชียงใหม่ – ฮอด)
มีพนทีทงหมด 3.82 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพืนทีบางส่วนของ 3
    ื้ ่ ั้                                       ้ ่
ตำาบล คือตำาบลบ้านหลวง ตำาบลข่วงเปา และตำาบลดอยแก้ว รวม
ทังหมด 10 หมูบาน เทศบาลจัดตังตาม
  ้              ่ ้             ้
ประกาศกระทรวงมหาดไทยในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 117 ตอนที่ 84
ก ลงวันที่ 11 กันยายน 2543 โดยมีเขตดังต่อไปนี้
               ทิศเหนือ         จดหลักกิโลเมตรที่ 1 หน้าวัดข่วงเปา
               ทิศใต้               จดหลักกิโลเมตรที่ 60 ถนน
สายเชียงใหม่ - ฮอด
               ทิศตะวันออก           ติดบ้านสันป่าซาง ม. 9 ต.ข่วง
เปา และบ้านแท่นคำา
                                หมู่ 1 ต. บ้านหลวง
                ทิศตะวันตก            จดลำานำ้าแม่กลาง

                                                                1-6

       1.2.2 สภาพทางกายภาพ
             เทศบาลตำาบลจอมทอง พืนทีสวนใหญ่ของเทศบาลเป็น
                                         ้ ่ ่
ทีราบลุมแม่นำ้า มีทราบสูงอยุทางทิศตะวันตกเลียบตามลำานำ้าแม่กลาง
    ่   ่            ี่        ่
ซึงเป็นแม่นำ้าสายสำาคัญ ใช้ประโยชน์ทงการเกษตรกรรมและการอุปโภค
  ่                                 ั้
บริโภค บริเวณชุมชนมีถนนสายสำาคัญผ่านคือเส้นทางทีสามารถติดต่อกับ
                                                    ่
อำาเภอบ้านโฮ่ง จังหวัดลำาพูน ทางด้านตะวันออก และเส้นทางสูนำ้าตกแม่
                                                            ่
ยะ ทางด้านตะวันตกของชุมชน สำาหรับถนนทีเชือมต่อพืนทีตางๆ ของชุมชน
                                           ่ ่     ้ ่ ่
เข้าด้วยกัน จะมีโครงข่ายทีคอนข้างจะทัวถึงเกือบทังหมดอยูในพืนทีชมชน
                           ่ ่         ่        ้      ่   ้ ่ ุ
ด้านตะวันตก

       1.2.3 การตั้งถิ่นฐานและการใช้ประโยชน์ที่ดินปัจจุบัน

            การตั้งถิ่นฐานของประชากรในเขตเทศบาลตำาบลจอมทอง มี
ลักษณะการตั้งถิ่นฐานกระจายตัวอยู่ทั่วไป แต่จะหนาแน่นสองข้างทาง
ของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 108 บริเวณรอบนอกหรือพื้นที่ด้าน
หลังทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 108 จะมีการตั้งถิ่นฐานของประชากร
ทีเบาบาง สามารถจำาแนกการใช้ประโยชน์ที่ดินได้ดังต่อไปนี้ (ตารางที่
  ่
1.1)
            - การใช้ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัย จะกระจายตัวอยู่โดยทั่วไป
ในชุมชนบริเวณด้านตะวันตกของถนนสายหลัก ซึ่งเป็นพื้นที่ดอนระหว่าง
แม่นำ้า แม่กลางและแม่นำ้า แม่ปิง ลักษณะของพื้นที่อยู่อาศัยจะสะท้อนถึง
วิถีชีวิตและลักษณะทางสังคมของกลุ่มชนในพื้นที่ คือ มีการตั้งบ้านเรือน
เป็นกลุ่มเครือญาติ ในพื้นที่แต่ละแปลงโดยเฉลี่ยจะมีบ้านปะมาณ 3-4
หลังคาเรือน แต่ละหลังคาเรือนจะมียุ้งข้าวของตนเอง
ในปัจจุบนลักษณะการใช้ทดนประเภททีอยูอาศัยจะมี 2
                                ั                 ี่ ิ ่ ่
ลักษณะ คือเพือทีอยูอาศัยและประกอบธุรกิจการค้าในอาคารเดียวกัน โดย
               ่ ่ ่
ชันล่างหรือบางส่วนของอาคารใช้เพือประกอบธุรกิจการค้า ส่วนชันบนใช้
  ้                                         ่                ้
เป็นทีอยูอาศัย โดยมากอยูในบริเวณถนนสายหลักทางหลวงแผ่นดิน
      ่ ่                         ่
หมายเลข 108
            - การใช้ทดนประเภทพาณิชยกรรม ลักษณะการใช้ทดน
                          ี่ ิ                                   ี่ ิ
           ประเภทพาณิชยกรรมในเขตเทศบาล
ตำาบล ส่วนใหญ่เป็นร้านค้าขายของชำาและของใช้เบ็ดเตล็ด จำานวน 96
แห่ง คิดเป็นร้อยละ 23.19 รองลงมาเป็นร้านขายอาหารและเครืองดืม   ่       ่
จำานวน 61 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 14.73 ของจำานวนสถานประกอบการ
ในเขตเทศบาล นอกนันก็เป็นกิจการอืนๆ ทีให้บริการแก่ประชากรในพืนที่
                       ้                      ่ ่                   ้
                การพาณิชยกรรมและการบริการ
                  1) สถานประกอบการด้านพาณิชยกรรม
                         - ร้านขายของชำาและของใช้เบ็ดเตล็ด
                  96                   แห่ง
                     - ร้านขายอาหารและเครื่องดื่ม
                61                  แห่ง
                     - ร้านขายเสื้อผ้าสำาเร็จรูป
                43                  แห่ง
                     -         ร้านเสริมสวย/ ตัดผม
                43                   แห่ง
                     -         สถานีบริการนำ้ามัน          6          แห่ง

                                                                      1-7
                    -   ร้านจำาหน่ายวัสดุก่อสร้าง           5
                     แห่ง
                   -                   ร้ า น ค้ า อื่ น ๆ
              160           แห่ง
                2) สถานประกอบการเทศพาณิชย์
                      โรงฆ่าสัตว์ (ของเทศบาล)             1
                       แห่ง
                3) สถานประกอบการด้านบริการ
                     ก. ธนาคาร                          6
              แห่ง
                     ข. สถานที่จำาหน่ายอาหาร ตาม พ.ร.บ.
              สาธารณสุข      64     แห่ง
- การใช้ทดนประเภทอุตสาหกรรม มีจำานวนโรงงาน
                                    ี่ ิ
ทังสิน 51 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 26.29 ส่วนใหญ่เป็นกิจการประเภทซ่อม
  ้ ้
รถยนต์และรถจักรยานยนต์ จำานวน 15 แห่ง จักสานตะกร้า จำานวน                                  9
แห่ง นอกจากนันเป็นกิจการอุตสาหกรรมซึงมีจำานวนไม่มากนัก
                   ้                                         ่
                      - การใช้ทดนประเภทสถาบันการศึกษา จำานวน 4
                                      ี่ ิ
แห่ง ได้แก่ โรงเรียนระดับมัธยมศึกษา ประถมศึกษา จำานวน 2 แห่ง คือ
โรงเรียนชุมชนศรีจอมทอง โรงเรียนชุมชนบ้านข่วงเปาเหนือและโรงเรียน
เอกชน จำานวน 2 แห่ง คือ โรงเรียนไชยจีนะวิทยา และโรงเรียนสุทธิวงศ์
ดำารงวิทย์ ซึงตังอยูในเขตชุมชนทางด้านตะวันตก ของทางหลวงแผ่นดิน
               ่ ้       ่
หมายเลข 108
                      - การใช้ทดนประเภทสถาบันศาสนา จำานวน 4 วัด
                                        ี่ ิ
ได้แก่ วัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร วัดข่วงเปาอยูทางด้านเหนือ วัดดอย
                                                               ่
แก้วอยูทางใต้ของชุมชน และวัดพุทธนิมต มีโบสถ์คริสต์ จำานวน 3
        ่                                                ิ
แห่ง ประกอบด้วย คริสตจักรลามันคาทอลิก คริสต์จกรคริสเตียนบ้านทุง    ั                   ่
รวงทองและคริสตจักรคริสเตียนข่วงเปา วัดจีน (ศาลเจ้า) 2 แห่ง
                      - การใช้ทดนประเภทสวนสาธารณะและทีพกผ่อน
                                          ี่ ิ                               ่ ั
หย่อนใจ ในเทศบาลตำาบลจอมทอง มีสนามกีฬาเอนกประสงค์ จำานวน
12 แห่ง         แบ่งเป็นสนามกีฬาเอนกประสงค์ 2 แห่ง สนามฟุตบอล 2
แห่ง สนามบาสเกตบอล 2 แห่ง สนามตะกร้อ 5 แห่ง และสนามเด็ก
เล่น 1 แห่ง
                           - การใช้ที่ดินประเภทสถาบันราชการ ทางการ
สาธารณูปโภคและสาธารณูปการ บริเวณสถานทีราชการทีสำาคัญ             ่         ่
ได้แก่สำานักงานเทศบาลตำาบลจอมทอง โรงเรียน โรงพยาบาล ส่วนใหญ่
จะอยูตอนกลางของชุมชนใกล้ทวาการอำาเภอ ส่วนโรงพยาบาลอยูดานใต้
      ่                                        ี่ ่                              ่ ้
ของชุมชน
                     - การใช้ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม
ได้แก่พนทีโดยรอบชุมชนทังพืนทีชนบททัวไปและบริเวณทีเกษตรกรรมเพือ
          ื้ ่                  ้ ้ ่                      ่             ่               ่
สวนลำาไย จะอยูตดกับพืนทีชมชน ทังนีเนืองจากเจ้าของหรือเกษตรกร
                     ่ ิ      ้ ่ ุ                  ้ ้ ่
สามารถดูแลได้สะดวก ส่วนบริเวณทีลมและห่างจากทีอยูอาศัย จะเป็นพืนที่
                                                    ่ ุ่             ่ ่             ้
ทำานา




                                                                                      1-8
    ตารางที่ 1.1 แสดงการใช้ที่ดิน พ.ศ. 2551 ผังเมือง
ชุมชนเทศบาลตำาบลจอมทอง
                อำาเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่
                                              ผังเมืองชุมชนเทศบาล
                ประเภท
                                              พื้นที่ (ไร่)  ร้อยละ
- ทีอยู่อาศัย
    ่                                          1,476.50           61.84
- พาณิชยกรรม                                    135.00             5.65
- อุตสาหกรรม                                    10.00              0.42
- ชนบทและเกษตรกรรม                              700.00            29.32
- สวนสาธารณะ สถานที่พักผ่อน                      1.00              0.04
หย่อนใจ                                         30.00              1.26
- สถาบันการศึกษา
- สถาบันศาสนา                                   44.00              1.84
- สถาบันราชการ สาธารณูปโภค                        -                  -
และสาธารณูปการ
- ถนน ซอย แม่นำ้า ห้วย หนอง
บึง

                  รวม                         2,387.50           100.00
                                             3.82 ตร.กม.         100.00
ทีมา : สำานักงานเทศบาลตำาบลจอมทอง
  ่

      1.2.4 สภาพทางสังคมและประชากร

              ข้อมูลจากสำา นักบริหารการทะเบียน เมือเดือนธันวาคม พ.ศ.
                                                    ่
255 ١ เขตเทศบาลตำาบลจอมทอง มีจำานวนประชากร ٩,٣٠٢ คน เพศ
ชาย 4,419 คน เพศหญิ ง 4,٨٨٣ คน มีความหนาแน่ น ของประชากร
โดยเฉลี่ ย ประมาณ 2,435 คนต่ อ ตารางกิ โ ลเมตร มี จำา นวนบ้ า น 3,598
หลัง คาเรื อน ขนาดครั ว เรื อ นโดยเฉลี่ ย 3 คนต่ อ ครั ว เรื อ น อั ต ราส่ ว น
ระหว่ า งเพศเท่ า กั บ 47.50 : 52.50 เมื่ อ พิ จ ารณาโครงสร้ า งด้ า นอายุ
ของประชากรปรากฏว่ า ประชากรในหมวดอายุ 50-54 ปี มี จำา นวนมาก
ที่สุดคิ ดเป็ น ร้ อยละ ٩.76 ของประชากรในเขตเทศบาลตำา บลจอมทอง
ทั้ง หมด รองลงมาเป็ นประชากรในหมวดอายุ ٥5 – ٥9 ปี , ٤٩ - ٤٥ ปี
และ ٢٩ - ٢٥ ปี คิดเป็นร้อยละ ٨.٥٣, 8.11 , และ 7.64 ของประชากร
ในเขตเทศบาลตำาบลจอมทองตามลำาดับ จะเห็นได้ว่าประชากรส่วนใหญ่
อยูในวัยทำางาน กล่าวคือ ประชากรที่มีอายุระหว่าง ٥٩ - ١٥ ปี มีจำานวน
    ่
6,١٠٥ คน คิ ดเป็น ร้อยละ 65.62 ของจำา นวนประชากรในเขตเทศบาล
ตำาบลจอมทอง

                                                                     1-9
               จากโครงสร้างประชากรในเขตเทศบาลตำา บลจอมทอง ได้
ศึก ษาอัตราส่ว นผู้ เป็ นภาระ โดยศึก ษาจากจำา นวนประชากรที่มี อายุ ตำ่า
กว่ า ١٥ ปี (١٤ -٠ ปี ) ซึ่ ง มี จำา นวน 1,٢٢١ คน และประชากรที่ มี อ ายุ
ตังแต่ ٦٠ ปีขนไป ١,977 คน ต่อจำานวนประชากรทีมอายุระหว่าง ٥٩ – ١٥
  ้              ึ้                                ่ ี
ปี ซึ่ง มีจำา นวน ٦,١٠٥ คนจะได้อัตราส่ว นผู้เ ป็น ภาระเท่า กับ 52 คนซึ่ง
หมายถึงว่าประชากรในวัยทำางาน ١٠٠ คน ต้องรับภาระเลี้ยงดูเด็กและคน
ชรา ٥٢ คน
               - ลักษณะทางสังคม ประชากรส่วนใหญ่ นับถือศาสนา
พุทธ ร้อยละ 83 ของจำานวนประชากรทั้งหมด โดยมีศาสนสถาน 4
แห่ง ความสัมพันธ์ของคนในสังคมแบบเครือญาติ มีวฒนธรรมและ ั
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีงามสืบต่อกันมา ฯลฯ เช่น ประเพณีแห่ไม้คำ้า
โพธิ์ ประมาณเดือนเมษายน และประเพณีสรงนำ้าพระธาตุ/เดือนเก้าเป็ง
ประมาณเดือนมิถุนายน

       1.2.5 สภาพทางเศรษฐกิจ

               โครงสร้างทางเศรษฐกิจหลัก ของเทศบาลตำาบลจอมทอง
ส่วนใหญ่เป็นกิจกรรมด้านการเกษตรกรรมและรับจ้างทัวไปและการพาณิช
                                                       ่
ยกรรม ทางด้านการเกษตรกรรมส่วนใหญ่จำาทำานา ทำาสวน พืนทีทำานานันมี
                                                             ้ ่      ้
นำ้าใช้เพียงพอตลอดปี สามารถทำาการเพาะปลูกได้ปละ 3 ครัง มีการปลูก
                                                     ี        ้
พืชไร่ และไม้ผลไม้ยนต้น เช่น ถัวเหลือง หอมแดง กระเทียม ลำาไย
                        ื          ่
มะม่วง เป็นต้น
               - พาณิชยกรรมและบริการ ในเขตเทศบาลตำาบลจอมทอง
        มี ส ถานประกอบกิ จ การค้ า และบริ ก ารทั้ ง หมด จำา นวน 414 แห่ ง
ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น กิ จ กรรมประเภท กิ จ การค้ า และบริ ก าร (ข้ อ มู ล จาก
สำา นักงานสถิติแห่งชาติ โดยการสำา มะโน ในปี พ.ศ. ٢٥٥٠) ส่วนใหญ่
จำานวน 96 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ ٢٣.١٩ ของจำานวนสถานประกอบ
การในเขตเทศบาลเป็น ร้านขายของชำา และของใช้ เบ็ ดเตล็ ด รองลงมา
เป็นร้านขายอาหารและเครื่องดื่ม จำานวน 61 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ ١
٤.٧٣ ของจำานวนสถานประกอบการในเขตเทศบาล นอกนั้นก็เป็นกิจกา
รอื่นๆ ที่ให้บริการแก่ประชากรในพื้นที่
- อุตสาหกรรม ในเขตเทศบาลตำา บลจอมทอง มี จำา นวน
โรงงานทั้ งสิ้ นจำา นวน ٥١ แห่ ง หรื อคิ ดเป็ นร้ อยละ ٢٦.٢٩ ของจำา นวน
สถานประกอบกิ จ การอุ ต สาหกรรมทั้ งหมด ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น กิ จ การ
ประเภทซ่อมรถยนต์ และรถจักรยานยนต์ จำานวน 15 แห่ง และจักสาน
ตะกร้า จำานวน 9 แห่ง นอกนั้นเป็นกิจการอุตสาหกรรมประเภทอื่นๆ ซึ่ง
มีจำานวนไม่มากนัก
           - เกษตรกรรม จากพื้ น ที่ ทั้ ง หมดของเทศบาลตำา บล
จอมทอง จำานวน 2,387.5 ไร่ เป็นเนื้อที่ถือครองทางการเกษตร 700
ไร่ คิดเป็นร้อยละ 29.32 ของเทศบาล พื้นที่ทำา นานั้นมีนำ้า ใช้เพียงพอ
ตลอดปี สามารถทำา การเพาะปลูกได้ปีละ 3 ครั้ง พื้นที่ทำานานั้นมีนำ้า ใช้
เพียงพอตลอดปี สามารถทำาการเพาะปลูกได้ปีละ 3 ครั้ง มีการปลูกพืช
ไร่ และไม้ผลไม้ยืนต้น พืชเศรษฐกิจหลักที่สำาคัญได้แก่ ลำาไย ถัวเหลือง
                                                               ่
หอมแดง กระเทียม มันฝรั่ง

                                                                     1-10
       1.2.6 โครงสร้างพื้นฐาน
              ก. การคมนาคมและขนส่ง
             1.) สภาพถนนปัจจุบัน เทศบาลตำาบลจอมทอง สามารถ
ติดต่อระหว่างชุมชนได้สะดวก
โดยมีเส้นทางคมนาคมสายสำาคัญ ดังนี้
             - ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 108 (ถนนเชียงใหม่ – ฮอด)
เชื่อมต่อเขตเมืองเชียงใหม่ กับอำาเภอต่างๆ ทางด้านใต้ และสามารถ
ติดต่อกับเขตจังหวัดลำาพูนและแม่ฮ่องสอนได้                โดยผ่านอำาเภอ
สันป่าตอง- จอมทอง –ฮอด
             - ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1009 แยกจากทางหลวงแผ่น
ดินหมายเลข 108 ทางด้านเหนือของชุมชนบ้านหลวง อำาเภอจอมทอง
ไปทางทิศตะวันตกเชื่อมต่อนำ้าตกแม่กลาง และอุทยานแห่งชาติดอย อิน
ทนนท์
             ในส่วนของปัญหาทางด้านคมนาคมและขนส่ง เป็นปัญหาของ
ระบบและโครงข่ายถนนในปัจจุบัน ตลอดจนปัญหาการจราจรและ
อุบัติเหตุต่าง ๆ ทีเกิดจากการคมนาคมและขนส่ง
                   ่
             สภาพถนน โดยส่วนใหญ่พื้นผิวจราจรบนถนนสายหลักอยู่
ในสภาพดี บริเวณที่มีปัญหาได้แก่ถนนภายในชุมชน ซึ่งมีขนาดเขต
ทางคับแคบ ไม่มีท่อระบายนำ้าอย่างเป็นระบบ และถนนบางแห่งมีสภาพ
ผิวจราจรถนนชำารุดทรุดโทรม จึงควรได้รับการพัฒนาต่อไป
             ระบบและโครงข่ายถนน การเชื่อมโยงการจราจรระหว่างถนน
แต่ ล ะสาย ในปั จ จุ บั น ยั ง ขาดความต่ อ เนื่ อ งที่ ดี ในอนาคตควรมี ก าร
ปรั บ ปรุ ง ระบบถนน โดยกำา หนดแนวทางเพื่ อ รองรั บ และเชื่ อ มต่ อ การ
คมนาคม ให้เป็นระบบและมีโครงข่ายที่ดียงขึ้นิ่
                2.) การขนส่งผู้โดยสาร ปัจจุบนเทศบาลตำาบลจอมทอง
                                                ั
มีถนนสายสำาคัญทีใช้ตดต่อกับ
                      ่   ิ
หน่วยงานอืน ๆ คือ ถนน สายเชียงใหม่ – ฮอด และถนนสายนำ้าตกแม่
              ่
กลาง ซึงอยูในความ รับผิดชอบของกรมทางหลวง ถนนทีอยูในความรับผิด
          ่     ่                                     ่ ่
ชอบของเทศบาลตำาบลจอมทอง มี 72 สาย ความยาว 18.432
กิโล กิโลเมตร ถนนกว้างประมาณ 3 – 6 เมตร
                ถนน คสล.และ ถนน คสม.         ยาวรวม 2.65 กิโลเมตร
                ถนนลาดยาง            ยาวรวม         8.872 กิโลเมตร
                ถนนดินลูกรัง         ยาวรวม         18.423 กิโลเมตร
                ถนนที่มปัญหาด้านการจราจร
                        ี                            2 แห่ง
                มีทางแยก 10 แห่ง ทางแยกที่มีสัญญาณไฟจราจร 1
            แห่ง
                สะพาน จำานวน 7 แห่ง เป็นสะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก 7 แห่ง
            สะพานไม้ – แห่ง
          การจราจรใช้ทงถนนทางหลวงแผ่นดินและถนนของเทศบาล
                          ั้
ในการสัญจรซึ่ งยังมีปญหาในเรืองของถนนคับแคบในย่านชุมชน ไม่
                      ั      ่
สามารถขยายถนนได้ เนืองจากมีการก่อสร้างอาคารพาณิชย์ใกล้กบถนน
                        ่                               ั
ทำาให้ยานพาหนะทีสญจรไปมาในเวลาเร่งด่วนไม่คล่องตัว และตามจุด
                  ่ ั
แยกบางแห่งยังขาดสัญญาณเตือนภัย ไม่มี
                                                           1-11
ทีจอดรถโดยเฉพาะต่างหาก เพราะไม่มพนทีและพืนทีถนนก็คบแคบ การ
  ่                                 ี ื้ ่  ้ ่      ั
ควบคุมการจราจรอยูในความรับผิดชอบของสถานีตำารวจภูธรอำาเภอจอมทอง
                  ่
             การจัดการขนส่งมวลชน
             - มีรถโดยสารประจำาทาง รถเมล์ธรรมดา สายเชียงใหม่ –
     ฮอด
             - รถยนต์โดยสารสองแถวเล็ก เชียงใหม่ – จอมทอง
             - รถยนต์โดยสารสองแถวเล็ก จอมทอง – แม่แจ่ม
             - รถยนต์โดยสารสองแถวเล็ก จอมทอง – ฮอด
             - รถมอเตอร์ไซด์รับจ้าง
             - มอเตอร์ไซด์พ่วงรับจ้าง
     ข. การสาธารณูปโภค
         1.) การประปา ปัจจุบันการประปาภายในเทศบาลตำาบล
จอมทอง รับผิดชอบและดำาเนินการโดยการประปาส่วนภูมิภาค จำานวน 1
แห่ง ประปาหมู่บาน 1 แห่ง นำ้าประปาที่ผลิตได้ จำานวน 2,100
               ้
ลูกบาศก์เมตรต่อวัน นำ้าประปาที่ใช้เฉลี่ย 1,950 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน
จำานวนครัวเรือนที่มีผู้ใช้นำ้าประปามีจำานวนทั้งสิ้น 2,120 ครัวเรือน คิด
เป็นร้อยละ 55.69 ของประชากรทั้งหมด แหล่งนำ้าดิบที่ใช้ผลิตนำ้าประปา
คือแม่นำ้าปิง และนำ้าแม่กลาง นอกจากนี้ยังมีแหล่งนำ้าดิบสำารองคือ อ่าง
เก็บนำ้าหนองด้าง และอ่างเก็บนำ้าห้วยต้นตึง เพื่อให้บริการแก่ผู้ใช้นำ้า
ประปาในเขตเทศบาลตำาบลจอมทอง นอกจากนี้ยังมีการใช้นำ้าเพื่อการ
อุปโภคบริโภคจากนำ้าบาดาลบ่อนำ้าตื้นด้วย
             2.) การไฟฟ้า รับผิดชอบและดำาเนินการโดยการไฟฟ้าส่วน
ภูมิภาคอำาเภอจอมทอง
ในปัจจุบันสามารถให้บริการได้ครอบคลุมทัวทั้งเทศบาลตำาบลจอมทอง
                                            ่
จำานวนครัวเรือนที่ใช้ไฟฟ้า 3,162ครัวเรือน ไฟฟ้าสาธารณะมีประมาณ
300 จุด ครอบคลุมถนน 70 สาย
             3.) การสื่อสาร ในเขตเทศบาลมีททำาการไปรษณีย์โทรเลข
                                                  ี่
จำานวน 1 แห่ง โทรศัพท์ส่วน บุคคลจำานวน 1,500 หมายเลข
โทรศัพท์สาธารณะ จำานวน 60 หมายเลข หน่วยงานข่ายวิทยุสื่อสาร
จำานวน 7 หน่วยงาน และสถานีวทยุชุมชน จำานวน 2 แห่ง
                                    ิ
      ค. การสาธารณูปการ
            1.) การศึกษา ในพื้นที่ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง มี
ตั้งแต่การศึกษาระดับก่อนประถมศึกษา ถึงประถมศึกษาตอนปลาย โดย
มีโรงเรียนสังกัดสำานักงานพื้นที่การศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ เขต 6
จำานวน 2 แห่ง ได้แก่
                         - โรงเรียนชุมชนศรีจอมทอง
นักเรียน 1,141 คน จำานวนครู 42 คน
                         - โรงเรียนชุมชนบ้านข่วงเปาเหนือ นักเรียน
240 คน จำานวนครู 13 คน
โรงเรียนเอกชน จำานวน 2 แห่ง ได้แก่โรงเรียนไชยจีนะวิทยา นักเรียน
148 คน จำานวนครู 8 คน
และโรงเรียนสุทธิวงศ์ดำารงวิทย์ นักเรียน 379 คน จำานวนครู 16
คน
                                                               1-12
           2.) การสาธารณสุข การให้บริการทางด้านสาธารณสุข มี
สำานักงานสาธารณสุขอำาเภอ จำานวน 1 แห่ง คลินิกเอกชน จำานวน 10
แห่ง อยู่ในเขตพื้นที่เทศบาลตำาบลจอมทอง
           3.) การศาสนา ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธร้อยละ
83 มีวัด 4 แห่ง คือวัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร วัดข่วงเปา วัดดอย
แก้ว และวัดพุทธนิคม มีโบสถ์คริสต์ จำานวน 3 แห่ง ได้แก่คริสตจักร
ลามันคาทอลิก คริสต์จักรคริสเตียนบ้านทุ่งรวงทอง และคริสต์จักร
คริสเตียนข่วงเปา
            4.) การดับเพลิงและป้องกันอัคคีภัย ดำาเนินการโดยฝ่าย
บรรเทาสาธารณภัยซึ่งมีที่ตั้งในเขตเทศบาลตำาบลจอมทอง รถดับเพลิง
3 คัน บรรจุนำ้าได้ 52 ลูกบาศก์ลิตร รถบรรทุกนำ้า 20 ลูกบาศก์ลิตร
มีพนักงานดับเพลิง จำานวน 3 คน อาสาสมัครป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัย จำานวน 120 คน
            5.) ตลาดสด ภายในเทศบาลมีตลาดสดของเทศบาลตำาบล
จอมทอง มีจำานวน 8 แห่ง ตั้งอยู่บริเวณย่านชุมชนในเขตเทศบาลฯ
และบริเวณรอบๆ หมู่บานในเขตเทศบาลฯ
                      ้
            6.) โรงฆ่าสัตว์ เทศบาล มีโรงฆ่าสัตว์ 1 .แห่ง ตั้งอยู่
บริเวณเขตเทศบาลตำาบลจอมทอง
            7.) การกำาจัดขยะ เทศบาลตำาบลจอมทองมีปริมาณขยะ 10
ตันต่อวัน รถยนต์ที่ใช้กำาจัดขยะมี 2 คัน ขนาดความจุ 6,400
กิโลกรัม ขยะที่ขนได้ จำานวน 9.5 ตันต่อวัน ขยะที่กำาจัดได้ จำานวน
9.5 ตันต่อวัน (โดยวิธีทิ้งในหลุมขยะเพื่อรอการฝังกลบ) ทีดินสำาหรับ
                                                          ่
ทิงขยะมี 2 แห่งได้แก่.-
  ้
                            1. หมูที่ 4 ตำาบลข่วงเปา (นอกเขต
                                    ่
เทศบาล) จำานวน 20 ไร่
                  2. หมูที่ 11 ตำาบลข่วงเปา จำานวน 600 ไร่ (ที่ดิน
                          ่
สำารองที่เตรียมไว้สำาหรับกำาจัดขยะ)
         8.) สนามเด็กเล่น สวนสาธารณะ และสวนสุขภาพ ภายใน
เทศบาล มีจำานวน 12 แห่ง ได้แก่   สนามกีฬาเอนกประสงค์ จำานวน
2 แห่ง , สนามฟุตบอล จำานวน 2 แห่ง , สนามบาลเก็ตบอล จำานวน
2 แห่ง สนามตระกร้อ จำานวน 5 แห่ง สนามเด็กเล่น จำานวน 1 แห่ง
บทที่ 2
       แนวโน้มและทิศทางการขยายตัวของ
ชุมชนเทศบาลในอนาคต
         จากลั ก ษณะการขยายตั ว ของเทศบาลจอมทองที่ ข าดการ
วางแผน ทำา ให้บริเวณพื้นที่ชุมชนมีการใช้ที่ดินปะปนกัน ขาดรูปแบบที่
ชัดเจน ส่งผลให้การบริการสาธารณูปโภคต่าง ๆ เช่น ไฟฟ้า ประปา ถนน
ระบบระบายนำ้า และการดับเพลิง ไม่สามารถให้บริการชุมชนได้ทั่วถึงและ
มีประสิทธิภาพเพียงพอต่อความต้องการของชุมชนในอนาคต เมื่อชุมชน
มีการขยายตัว ย่อมมีความต้องการการบริการในด้านต่าง ๆ มากขึ้นจึงควร
มีการวางแผนรองรั บ การขยายตั ว เพื่ อ ให้ ชุม ชนมี แ นวทางเจริ ญ เติ บ โต
และขยายตัวในทิศทางที่เหมาะสมตามลักษณะทางกายภาพ เศรษฐกิจ
สังคม และสภาพแวดล้อม
2.1 บทบาทและหน้าที่ของชุมชน
      จากผั ง ภาคและผั ง อนุ ภ าค ของกรมโยธาธิ ก ารและผั ง เมื อ ง
กระทรวงมหาดไทย ได้ ศึ ก ษาโครงสร้ า งระบบชุ ม ชนของภาคพบว่ า
บทบาทหน้ า ที่ ข องเทศบาลตำา บลจอมทอง ในปี พ.ศ. 2551 ผั ง ภาค
และผั ง อนุ ภ าคได้ กำา หนดให้ เ ทศบาลตำา บลจอมทอง จั ง หวั ด เชี ย งใหม่
เป็นชุมชนศูนย์กลางลำา ดับที่ 3 มีบทบาทเป็นศูนย์กลางในระดับอำา เภอ
รวมทั้ ง อำา เภอใกล้ เ คี ย ง ในด้ า นบริ ก ารการเกษตรและอุ ต สาหกรรม
การเกษตร สถาบั น การเงิ น การสาธารณสุ ข และศู น ย์ ก ลางการศึ ก ษา
และในอนาคตปี พ.ศ. 2567 บทบาทและหน้ า ที่ ข องเทศบาลตำา บล
จอมทองได้ถกกำาหนดให้เป็นชุมชนศูนย์กลางลำาดับที่ 2 ของผังภาคและ
               ู
ผังอนุภาคและเป็นชุมชนศูนย์กลางลำาดับที่ 2 ของผังเมืองรวมจังหวัด
เชียงใหม่
2.2 แนวโน้มการขยายตัวด้านประชากร
      การขยายตั ว ของชุ ม ชน เป็ น ผลต่ อ เนื่ อ งมาจากการเพิ่ ม ขึ้ น ของ
ประชากร ทำาให้เกิดความต้องการใช้พื้นที่เพื่อกิจกรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น
ในการคาดประมาณจำานวนประชากรในอนาคต จะต้องคำา นึงถึงปัจจัยที่มี
ผลต่อการเปลี่ยนแปลงประชากร เช่น การอพยพย้ายถิ่นทั้งตามฤดูกาล
และย้ายถิ่นถาวรตลอดจน การลงทุนทั้งภาครัฐและเอกชน อันอาจก่อให้
เกิดการจ้างงานในพื้นที่ ซึ่งหากไม่มีการเปลี่ยนแปลงจากปัจจุบันมากนัก
คาดว่าประชากรจะเพิ่มมากขึ้นตามที่ได้คาดการณ์ไว้
      การคาดประมาณจำา นวนประชากร ได้พิจารณาจากการคาดการณ์
ของ (สำานักพัฒนามาตรฐาน กรมโยธาธิการและผังเมือง) ประกอบกับ
การเปลี่ ย นแปลงประชากรของเทศบาลตำา บลจอมทองในอดี ต (ปี
พ.ศ.2546 – 2551) พบว่ามีอัตราการขยายตัวของประชากรลดลงร้อยละ
0.73 ดังนั้นการคาดการประชากรของผังเมืองรวมเทศบาลตำาบลจอมทอง
จึงใช้ข้อมูลประชากรของอำาเภอจอมทองตั้งแต่ปี พ.ศ.2536-2551 (ระยะ
เวลา 15 ปี) ซึ่งมีการเพิ่มขึ้นและลดลงในอัตราการขยายตัวของประชากร
มี อั ต ราการเปลี่ ย นแปลงที่ ไ ม่ ม ากเท่ า ใดนั ก จึ ง ใช้ อั ต ราการเพิ่ ม ของ
ประชากรเฉลี่ยร้อยละ 1.00 ต่อปี และนำามาคำา นวณประชากรในอนาคต
ของชุมชนโดยใช้ฐานประชากรปัจ จุบั นปี พ.ศ.2551 มีประชากรภายใน
เขตวางผั งเมื องชุ ม ชนรวมทั้ ง สิ้ น 9,302 คน และในอนาคตอี ก 20 ปี
ข้างหน้า (พ.ศ. 2571) จะมีประชากรประมาณ 11,400 คน

 ตารางที่ 2.1 แสดงการคาดประมาณ จำานวนประชากรใน
             อนาคตในการวางผังเมืองชุมชน
                เทศบาลตำาบลจอมทอง

                                จำานวนประชากร (คน)
   ปี พ.ศ.           (อัตราการเปลี่ยนแปลงประชากรในอนาคต
                             เฉลี่ยร้อยละ 1.00 ต่อปี)
    2551                                   9,302
    2556                                   9,800
    2561                                  10,300
    2566                                  10,800
    2571                                  11,400
ที่มา : จากการคำานวณโดยวิธี Exponentia Rate of
Growth
2.3 แนวโน้มและทิศทางการขยายตัวของชุมชนในอนาคต
     เมื่ อศึ กษาถึ ง สภาพทางกายภาพ เศรษฐกิ จ สั ง คม และประชากร
ของชุม ชนทำา ให้ทราบถึ งปัญ หาทิ ศทาง และแนวโน้ม การขยายตัว ของ
ชุมชน และสามารถนำามากำาหนดรูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดินในอนาคต
ตลอดจนแนวทางการพัฒนาต่าง ๆ โดยให้สอดคล้ องและเหมาะสมกั บ
บทบาทหน้าที่ของชุมชน

      2.3.1 ปัญหาของชุมชน
จากการสำารวจและวิเคราะห์สภาพทางกายภาพของ
เทศบาลตำาบลจอมทอง และบริเวณพื้นที่ต่อเนื่อง สามารถสรุปสภาพ
ปัญหาของชุมชนได้ ดังนี้
          1.) ปัญหาทางด้านกายภาพ
              - สภาพบริเวณและอาคารทรุดโทรมขาดสุขลักษณะและ
บดบังทัศนียภาพ
          2.) ปัญหาด้านการคมนาคมและขนส่ง
                      - การจราจรคับคั่งบนทางหลวงในเขตเทศบาล
เนื่องจากบริเวณทางหลวงแผ่นดินคับแคบเกินไป ไม่มีสัญญาณไฟ
จราจร และถนนชำารุด
          3.) ปัญหาด้านสาธารณูปโภค
                     - โรงเรียนระดับอนุบาล - ประถมศึกษา ขาด
อุปกรณ์การสอนทีทันสมัย
                 ่
          4.) ปัญหาด้านสาธารณูปการ
                     - ตู้โทรศัพท์สาธารณะมีน้อย




            5.) ปัญหาด้านนันทนาการ
            6.) ปัญหาด้านการใช้ที่ดิน
              - ภายในชุมชนมีลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินเป็นแบบผสม
ผสาน และขาดการวางแผน                 โดยฉพาะที่ดินเพื่อการพักผ่อนหย่อน
ใจมีน้อย โดยทางเทศบาลตำาบลจอมทองไม่มีที่ดินสาธารณะประโยชน์
เพื่อจัดสร้างสถานที่พักผ่อน สนามกีฬา สนามเด็กเล่น เป็นต้น
                       7.ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมชุมชน
             ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลต่อชุมชน ได้แก่ บ่อกำาจัดขยะ
ทีใช้อยู่ในปัจจุบันไม่เพียงพอ
  ่
       2.3.2 ข้อจำากัดของชุมชน
             เนื่องจากสภาพโดยทั่วไปของเทศบาลตำาบลจอมทองมีพนที่     ื้
ส่วนใหญ่เป็นทีราบลุมแม่นำ้า มีทราบสูงอยุทางทิศตะวันตกเลียบตามลำานำ้า
                 ่   ่            ี่       ่
แม่กลาง เมือชุมชนมีการขยายตัวเพือมากขึน แต่พนทีของเทศบาลตำาบลมี
               ่                       ่     ้      ื้ ่
น้อย จึงทำาให้การขยายตัวของพื้นที่ชุมชน         มีลักษณะกระจายตัวอยู่
ทัวไป แต่จะหนาแน่นสองข้างทางของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 108
    ่
บริเวณรอบนอกหรือพื้นที่ด้านหลังทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 108 จะ
มีการตั้งถิ่นฐานของประชากรที่เบาบาง
       2.3.3 ศักยภาพของชุมชน
- ชุมชนตั้งอยู่ในบริเวณทีราบลุมแม่นำ้า มีทราบสูงอยุทาง
                                                    ่     ่              ี่           ่
ทิศตะวันตกเลียบตามลำานำ้าแม่กลาง สามารถใช้เป็นแหล่งนำ้าสำาหรับการ
อุปโภค - บริโภค และการเกษตรกรรมในพืนทีในเขตเทศบาลได้  ้ ่
                       - ทีตั้งของชุมชนอยุ่ใกล้ถนนเลียงเมืองแนวทางที่ 1
                               ่                               ่
(ริมนำ้าแม่ปง) และถนนเลี่ยงเมืองแนวทางที่ 2 (ฝั่งตะวันตก) มีศักยภาพ
              ิ
ทีจะเป็นทางผ่านเพื่อเป็นแหล่งรองรับสำาหรับการท่องเที่ยวในอำาเภอ ทัง
   ่                                                                                    ้
ศาสนาสถานและศิปลวัฒนธรรม
……………………………………………………………………………………………
…………………..
       2.3.4 แนวโน้มและทิศทางการขยายตัวของชุมชน
                ทางด้านที่อยู่อาศัย
                บริ เ วณพื้ น ที่ ที่ เ หมาะสมสำา หรั บ การอยู่ อ าศั ย ของชุ ม ชนเป็ น
พื้นที่บริเวณชุมชนเดิมและพื้นที่ต่อเนื่องจากชุมชนเดิม เนื่องจากมีความ
พร้ อ มในด้ า นสาธารณู ป โภคและสาธารณู ป การอยู่ แ ล้ ว ได้ แ ก่ บริ เ วณ
ถนน........................................................................................
........................................................ฯลฯ
               ทางด้านพาณิชยกรรม
               บริ เ วณพื้ น ที่ ที่ มี ค วามเห มาะ สม คื อ บริ เ ว ณทา งแยก
ทางหลวงแผ่ น ดิ น หมายเลข.............บรรจบกั บ ทางหลวงแผ่ น ดิ น
หมายเลข...............เนื่องจากเป็นพื้นที่พาณิชยกรรมที่มีอยู่เดิมมีการเข้า
ถึงสะดวก มีความพร้อมในด้านสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ และ
อยู่ ย่ า นใจกลางชุ ม ชนเมื อ ง จึ ง มี ค วามเหมาะสมในการพั ฒ นาเป็ น ย่ า น
พ า ณิ ช ย ก ร ร ม ห ลั ก ข อ ง
ชุมชน..........................................................................
..............................................................................................
.....................................................................ฯลฯ

            ทางด้านอุตสาหกรรม
            บริเวณพื้นที่ที่มีความเหมาะสมอยู่บริเวณด้าน ............ ของ
ชุ ม ชน เนื่ อ งจากมี ค วามสะดวกในการเข้ า ถึ ง สำา หรั บ การพั ฒ นา
อุ ต สาหกรรมในบริ เ วณนี้ เ ป็ น อุ ต สาหกรรม............. (ประเภท ชนิ ด
ฯลฯ..............) โดยเฉพาะอุ ต สาหกรรมเกี่ ย วกั บ ...........................
...ส่วนอุตสาหกรรมที่มีขั้นตอนการผลิตที่ซับซ้อน หรืออาจมีมลพิษต่อ
ชุมชนและสิ่งแวดล้อมจะไม่สนับสนุนให้มีการจัดตั้งในชุมชน ควรจะอยู่
นอกชุมชน
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5
ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5

Contenu connexe

Tendances

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงRitthinarongron School
 
แก้อสมการ 2
แก้อสมการ 2แก้อสมการ 2
แก้อสมการ 2suwanpinit
 
แบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็ม
แบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็มแบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็ม
แบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็มAena_Ka
 
ข้อสอบจำนวนจริง
ข้อสอบจำนวนจริงข้อสอบจำนวนจริง
ข้อสอบจำนวนจริงkruaunpwk
 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสามSomporn Amornwech
 
การคูณและการหารเลขยกกำลัง
การคูณและการหารเลขยกกำลังการคูณและการหารเลขยกกำลัง
การคูณและการหารเลขยกกำลังทับทิม เจริญตา
 
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนaoynattaya
 
สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรง
สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรงสมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรง
สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรงทับทิม เจริญตา
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือSomporn Amornwech
 
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ม.3 พื้นฐาน
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่  1   ปีการศึกษา  2555   ม.3 พื้นฐานข้อสอบกลางภาคเรียนที่  1   ปีการศึกษา  2555   ม.3 พื้นฐาน
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ม.3 พื้นฐานkurpoo
 
ลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิตลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิตaoynattaya
 
สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1krutew Sudarat
 
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปรกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปรJiraprapa Suwannajak
 

Tendances (20)

การแก้อสมการเชิงเส้น1
การแก้อสมการเชิงเส้น1การแก้อสมการเชิงเส้น1
การแก้อสมการเชิงเส้น1
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
 
แก้อสมการ 2
แก้อสมการ 2แก้อสมการ 2
แก้อสมการ 2
 
แบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็ม
แบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็มแบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็ม
แบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็ม
 
การแก้อสมการเชิงเส้น3
การแก้อสมการเชิงเส้น3การแก้อสมการเชิงเส้น3
การแก้อสมการเชิงเส้น3
 
ข้อสอบจำนวนจริง
ข้อสอบจำนวนจริงข้อสอบจำนวนจริง
ข้อสอบจำนวนจริง
 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
 
การคูณและการหารเลขยกกำลัง
การคูณและการหารเลขยกกำลังการคูณและการหารเลขยกกำลัง
การคูณและการหารเลขยกกำลัง
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
 
สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรง
สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรงสมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรง
สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรง
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
 
ข้อสอบพหุนาม
ข้อสอบพหุนามข้อสอบพหุนาม
ข้อสอบพหุนาม
 
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ม.3 พื้นฐาน
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่  1   ปีการศึกษา  2555   ม.3 พื้นฐานข้อสอบกลางภาคเรียนที่  1   ปีการศึกษา  2555   ม.3 พื้นฐาน
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ม.3 พื้นฐาน
 
การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
ลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิตลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิต
 
สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1
 
แยกเรื่อง 05-ฟังก์ชัน
แยกเรื่อง 05-ฟังก์ชันแยกเรื่อง 05-ฟังก์ชัน
แยกเรื่อง 05-ฟังก์ชัน
 
31202 mid512
31202 mid51231202 mid512
31202 mid512
 
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปรกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
 

Similaire à ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5

ผังเมืองรวมเมืองท่าโขลง คลองหลวง-รังสิต จังหวัดปทุมธานี พ.ศ.2552
ผังเมืองรวมเมืองท่าโขลง คลองหลวง-รังสิต จังหวัดปทุมธานี พ.ศ.2552ผังเมืองรวมเมืองท่าโขลง คลองหลวง-รังสิต จังหวัดปทุมธานี พ.ศ.2552
ผังเมืองรวมเมืองท่าโขลง คลองหลวง-รังสิต จังหวัดปทุมธานี พ.ศ.2552ดิเรก ดวงเพ็ชร์
 
หลังวัดราชนัดดา 58 pdf
หลังวัดราชนัดดา 58 pdfหลังวัดราชนัดดา 58 pdf
หลังวัดราชนัดดา 58 pdfWathar Warashanon
 
ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐
ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐
ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐dtschool
 
โครงการรักษ์ไทยรักษ์ถิ่น โรงเรียนต้นแบบโครงการรักชาติถูกทางเสริมสร้างความซื่อ...
โครงการรักษ์ไทยรักษ์ถิ่น โรงเรียนต้นแบบโครงการรักชาติถูกทางเสริมสร้างความซื่อ...โครงการรักษ์ไทยรักษ์ถิ่น โรงเรียนต้นแบบโครงการรักชาติถูกทางเสริมสร้างความซื่อ...
โครงการรักษ์ไทยรักษ์ถิ่น โรงเรียนต้นแบบโครงการรักชาติถูกทางเสริมสร้างความซื่อ...พงษ์ขจร บุญพงษ์
 
โครงการสำรวจและออกแบบระบบป้องกันน้ำท่วมพื้นที่ชุมชนจังหวัดปทุมธานี
โครงการสำรวจและออกแบบระบบป้องกันน้ำท่วมพื้นที่ชุมชนจังหวัดปทุมธานีโครงการสำรวจและออกแบบระบบป้องกันน้ำท่วมพื้นที่ชุมชนจังหวัดปทุมธานี
โครงการสำรวจและออกแบบระบบป้องกันน้ำท่วมพื้นที่ชุมชนจังหวัดปทุมธานีyahapop
 
ความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียง
ความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียงความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียง
ความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียงFURD_RSU
 

Similaire à ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5 (8)

ผังเมืองรวมเมืองท่าโขลง คลองหลวง-รังสิต จังหวัดปทุมธานี พ.ศ.2552
ผังเมืองรวมเมืองท่าโขลง คลองหลวง-รังสิต จังหวัดปทุมธานี พ.ศ.2552ผังเมืองรวมเมืองท่าโขลง คลองหลวง-รังสิต จังหวัดปทุมธานี พ.ศ.2552
ผังเมืองรวมเมืองท่าโขลง คลองหลวง-รังสิต จังหวัดปทุมธานี พ.ศ.2552
 
ท่าวัง 58 pdf
ท่าวัง 58 pdfท่าวัง 58 pdf
ท่าวัง 58 pdf
 
หลังวัดราชนัดดา 58 pdf
หลังวัดราชนัดดา 58 pdfหลังวัดราชนัดดา 58 pdf
หลังวัดราชนัดดา 58 pdf
 
ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐
ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐
ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐
 
โครงการรักษ์ไทยรักษ์ถิ่น โรงเรียนต้นแบบโครงการรักชาติถูกทางเสริมสร้างความซื่อ...
โครงการรักษ์ไทยรักษ์ถิ่น โรงเรียนต้นแบบโครงการรักชาติถูกทางเสริมสร้างความซื่อ...โครงการรักษ์ไทยรักษ์ถิ่น โรงเรียนต้นแบบโครงการรักชาติถูกทางเสริมสร้างความซื่อ...
โครงการรักษ์ไทยรักษ์ถิ่น โรงเรียนต้นแบบโครงการรักชาติถูกทางเสริมสร้างความซื่อ...
 
Persontalk 20121018191110
Persontalk 20121018191110Persontalk 20121018191110
Persontalk 20121018191110
 
โครงการสำรวจและออกแบบระบบป้องกันน้ำท่วมพื้นที่ชุมชนจังหวัดปทุมธานี
โครงการสำรวจและออกแบบระบบป้องกันน้ำท่วมพื้นที่ชุมชนจังหวัดปทุมธานีโครงการสำรวจและออกแบบระบบป้องกันน้ำท่วมพื้นที่ชุมชนจังหวัดปทุมธานี
โครงการสำรวจและออกแบบระบบป้องกันน้ำท่วมพื้นที่ชุมชนจังหวัดปทุมธานี
 
ความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียง
ความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียงความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียง
ความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียง
 

ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง5

  • 1. -ขอบเขตงานสำารวจ- ผังเมืองชุมชนเทศบาล จอมทอง อำาเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ โดย กองช่างเทศบาลตำาบลจอมทอง อำาเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ สำานักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดเชียงใหม่ สำานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงใหม่ สำานักงานท้องถิ่นจังหวัดเชียงใหม่ สำานักงานประปาจังหวัดเชียงใหม่
  • 2. คำานำา ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทองนี้ ได้รับการวางและจัดทำาขึ้นโดย เทศบาลตำาบลจอมทองร่วมกับกรมโยธาธิการและผังเมือง โดยสำานักงาน โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดเชียงใหม่ และร่วมสนับสนุนโดย สำานักงาน พัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงใหม่ สำา นักงานท้อ งถิ่น จังหวัดเชี ยงใหม่ และ สำานักงานประปาจังหวัดเชียงใหม่ ภายใต้โครงการ“พลังชุมชนสร้างสรรค์ ชุมชนอยู่เย็นเป็นสุข” ซึ่งมีแนวคิดให้ประชาชนพึ่งพาตนเองและสามารถ แก้ไขปัญหาส่วนตัวและส่วนรวม รวมทั้งการยังชีพตนเองและประโยชน์ ให้แก่ผู้อื่นด้วย จึงนำา ไปสู่นโยบายกระทรวงมหาดไทยในการบูร ณา การภารกิ จ ของ 4 หน่ว ยงาน ได้ แ ก่ กรมการพั ฒ นาชุ ม ชน (จั ดทำา แผน ชุ ม ชน) กรมส่ ง เสริม การปกครองท้ อ งถิ่ น (จั ดทำา แผนพั ฒ นา อปท.) กรมโยธาธิการและผังเมือง (จัดทำาผังชุมชน) และการประปาส่วนภูมิภาค (จั ด ทำา ประปาคุ ณ ภาพได้ ม าตรฐาน) ภายใต้ โ ครงการนี้ การจั ด ทำา ผั ง ชุ ม ชนจะมุ่ ง เน้ น การบริ ห ารจั ด การการใช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิ น ในชุ ม ชน การ อนุ รั ก ษ์ พั ฒ นาและฟื้ น ฟู ท รั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม และการ ปรับโครงสร้างพื้นฐานของชุมชนเพื่อแก้ไขปัญหาหรือเพิ่มศักยภาพทาง กายภาพของชุมชน บนหลักการพื้นฐานการมีส่วนร่วมของประชาชนให้ เกิดเป็น “ทุนโครงสร้างของชุมชน” ซึ่งเกิดจากการวางแผนร่วมกันใน ชุมชน การวางและจัดทำาผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทองนี้ มีวัตถุประสงค์ ที่สอดคล้องกั บหลักการดั งกล่าวซึ่ง จะได้ใ ช้เ ป็น แนวทางในการพัฒ นา ชุ ม ชน ใน ด้ า นการใช้ ป ระ โยชน์ ที่ ดิ น การ คม นา คม ขน ส่ ง กา ร สาธารณูปโภค การบริการสาธารณะ และการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ที่มี ป ระสิ ท ธิ ภาพสอดคล้ อ งกั บ สภาพของชุ ม ชนและแนวโน้ ม การเจริ ญ เติบโตของชุมชนต่อไปในอนาคต เทศบาลตำาบลจอมทอง ตุลาคม 2552
  • 3. สารบัญ หน้า บทที่ 1 สภาพโดยทั่วไป 1.1 สภาพโดยทัวไปของอำาเภอ ่ 1-1 1.1.1 ประวัติความเป็นมา 1-1 1.1.2 ทีตั้งและอาณาเขตการปกครอง ่ 1-1 1.1.3 สภาพทางกายภาพ 1-1 1.1.4 สภาพทางสังคมและประชากร 1-2 1.1.5 สภาพทางเศรษฐกิจ 1-2 1.2 สภาพโดยทัวไปของชุมชนเทศบาล ่ 1-2 1.2.1 ทีตั้งและอาณาเขตการปกครอง ่ 1-2 1.2.2 สภาพทางกายภาพ 1-3 1.2.3 การตั้งถิ่นฐานและการใช้ประโยชน์ที่ดินปัจจุบัน 1-3 1.2.4 สภาพทางสังคมและประชากร 1-4 1.2.5 สภาพทางเศรษฐกิจ 1-5 1.2.6 โครงสร้างพื้นฐาน 1-5 บทที่ 2 แนวโน้มและทิศทางการขยายตัวของชุมชนเทศบาล ในอนาคต 2-1 2.1 บทบาทและหน้าที่ของชุมชน 2-1 2.2 แนวโน้มการขยายตัวด้านประชากร 2-1 2.3 แนวโน้มทิศทางการขยายตัวของชุมชนในอนาคต 2-2 2.3.1 ปัญหาของชุมชน 2-2 2.3.2 ข้อจำากัดของชุมชน 2-3 2.2.3 ศักยภาพของชุมชน 2-3 2.3.4 แนวโน้มและทิศทางการขยายตัวของชุมชน 2-3
  • 4. หน้า บทที่ 3 แนวทางการพัฒนา 3.1 แนวทางการควบคุมการใช้ประโยชน์ที่ดินในอนาคต 3-1 3.2 แนวทางการพัฒนาระบบคมนาคมและขนส่ง 3-2 3.3 โครงการพัฒนา 3-3 3.3.1 โครงการพัฒนาระบบคมนาคมและขนส่ง 3-3 3.3.2 โครงการแก้ไขปัญหาและปรับปรุงการจราจร 3-4 3.3.3 โครงการปรับปรุงวิธีการจัดเก็บและกำาจัดขยะ 3-5 3.3.4 โครงการจัดสร้างโรงฆ่าสัตว์เทศบาล 3-5 3.3.5 โครงการสงวนรักษาและใช้ประโยชน์พื้นที่ของราชการ 3-6 3.3.6 โครงการปรับปรุงระบบระบายนำ้าของชุมชนและจัด เตรียม 3-6 พื้นที่เพื่อการบำาบัดนำ้าเสีย 3.3.7 โครงการปรับปรุงและขยายการให้บริการประปา3-7 3.3.8 โครงการปรับปรุงและขยายการให้บริการโทรศัพท์3-8 3.3.9 โครงการอนุรักษ์พื้นทีริมนำ้าโดยกันไว้เป็นเขตรักษา ่ 3-9 สภาพแวดล้อมในระยะที่เหมาะสม 3.3.10 โครงการจัดสร้างสวนสาธารณะ สวนสุขภาพ และ สนามเด็กเล่น 3-9 ของชุมชน ภาคผนวก - ตัวอย่างผังเมืองชุมชน (เทศบาล) ผ-1 - ตัวอย่างข้อกำาหนดผังเมืองชุมชนจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ผ-2 - รายการประกอบแผนผังการใช้ประโยชน์ที่ดิน ผ-7 - ข้อเสนอแนะโครงข่ายคมนาคมและขนส่ง ผ-8 - แบบถนนมาตรฐานขนาดเขตทาง 12.00 เมตร ผ-9 - แบบถนนมาตรฐานขนาดเขตทาง 16.00 เมตร ผ-10
  • 5. - แบบถนนมาตรฐานขนาดเขตทาง 20.00 เมตร ผ-11 - แบบถนนมาตรฐานขนาดเขตทาง 40.00 เมตร ผ-12 - แบบถนนมาตรฐานขนาดเขตทาง 60.00 เมตร ผ-13 - การกำาจัดขยะมูลฝอย ผ-14 - โรงฆ่าสัตว์ ผ-19 - สวนสาธารณะ ผ-23 - ระบบบำาบัดนำ้าเสีย ผ-28 สารบัญตาราง หน้า ตารางที่ 1.1 แสดงการใช้ประโยชน์ที่ดิน พ.ศ. 2551 1-4 ผังเมืองชุมชนเทศบาลตำาบลจอมทอง อำาเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ตารางที่ 2.1 แสดงการคาดประมาณจำานวนประชากรในอนาคต ใน การวางผังเมืองชุมชน 2-2 สารบัญแผนที่ แผนที่ 1.1 แสดงเขตการปกครองและเส้นทางคมนาคม 1-1ก แผนที่ 1.2 แสดงการใช้ประโยชน์ที่ดินปัจจุบน พ.ศ. 2551 1-2ก ั แผนที่ 3.4 แสดงประเภทถนนและมาตรฐานสัญลักษณ์ 3-4ก แผนที่ 3.5 แสดงประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดินและมาตรฐาน สัญลักษณ์ 3-5ก สารบัญแผนผัง แผนผังที่ 3.1 แสดงการใช้ประโยชน์ที่ดินในอนาคต 3-1ก แผนผังที่ 3.2 แสดงโครงการคมนาคมและขนส่ง 3-2ก แผนผังที่ 3.3 แสดงที่ตั้งโครงการพัฒนา 3-3ก
  • 6. บทที่ 1 สภาพโดยทั่วไป 1.1 สภาพโดยทัวไปของอำาเภอ ่ 1.1.1 ประวัติความเป็นมา อำาเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ มีประวัตเกียวพันกับตำานานวัด ิ ่ พระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร เดิมทีตงของวัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร มี ่ ั้ ลักษณะเป็นเนินเขาเล็ก ๆ คล้ายจอมปลวก หรือหลังเต่า มีปาไม้ทองกวาว ่ หรือทองหลาง อยูบนเนิน จึงเรียกว่า “ดอยจอมทอง” ตามตำานานดังกล่าว ่ เมือพระพุทธเจ้าเสด็จปรินพพานแล้ว พระเจ้าอโศกมหาราชได้เสด็จมาที่ ่ ิ ดอยแห่งนีและอันเชิญพระทักษิณโมลีธาตุ (พระเศียรเบืองขวาของ ้ ้ พระพุทธเจ้า) มีขนาดโตเท่าเมล็ดถัวเขียว เมล็ดข้าวโพด มีสณฐานกลม ่ ั เกลียง มีสคล้ายดอกพิกล หรือคล้ายทองดอกบวบ รวมพระบรมธาตุยอยอีก ้ ี ุ ่ เจ็ดองค์เข้าสูโกศเพชรและอันเชิญประดิษฐานไว้ในคูหาใต้พนดอยจอมทอง ่ ื้ และในปี พ.ศ. 1995 ได้มการก่อสร้างวัดขึนบนดอยจอมทอง แล้วเรียกชือว่า ี ้ ่ “วัดพระธาตุจอมทอง” ซึงได้ยกฐานะเป็นพระอารามหลวง พ.ศ.2506 ได้ ่ เปลียนชือเป็น “วัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร “ ่ ่ เมือ พ.ศ. 2443 ทางราชการได้ตง “ อำาเภอจอมทอง ” ขึน ่ ั้ ้ โดยใช้ชอเรียกตามตำานานวัด ื่ พระธาตุศรีจอมทอง เดิมทีตงอำาเภอจอมทองอยูทบานท่าศาลา หมูที่ 3 ่ ั้ ่ ี่ ้ ่ ตำาบลข่วงเปา ห่างจากทีวาการอำาเภอจอมทองในปัจจุบน 2 กิโลเมตร ่ ่ ั ประมาณ พ.ศ. 2476 ทางราชการได้ยายทีวาการอำาเภอไปสร้างทางทิศ ้ ่ ่ ตะวันตกเฉียงใต้ของวัดพระธาตุศรีจอมอทองวรวิหาร และต่อมากรมการ ปกครอง ได้อนุมตจดสรรงบประมาณให้กอสร้างอาคารทีวาการอำาเภอหลัง ั ิ ั ่ ่ ่ ใหม่ เป็นแบบสองชัน แทนอาคารหลังเก่าซึงเป็นไม้ชนเดียว และทรุดโทรม ้ ่ ั้ ด้วยงบประมาณ 2,844,200 บาท ซึงไม่เพียงพอในการก่อสร้างใน ่
  • 7. สภาวการณ์ขณะนัน อำาเภอจอมทอง จึงได้ขอความร่วมมือจากผูมจตศรัทธา ้ ้ ี ิ สมทบในการก่อสร้างได้จำานวนเงิน 495,868 บาท โดยเฉพาะอย่างยิงได้รบ ่ ั ความเมตตาจากพระคุณเจ้าพระญาณวิรยาจารย์ บริจาคเงินจำานวน 500,000 ิ บาท โดยได้เริมก่อสร้างตังแต่วนที่ 13 สิงหาคม 2533 และแล้วเสร็จเมือวัน ่ ้ ั ่ ที่ 19 มิถนายน 2534 หลังจากนันได้มพธเปิดทีวาการอำาเภอจอมทองหลัง ุ ้ ี ิ ี ่ ่ ใหม่ เมือวันที่ 26 สิงหาคม 2534 เป็นท้องถินทีมประวัตความเป็นมาที่ ่ ่ ่ ี ิ ยาวนาน มีอายุครบ 108 ปี ในปีพทธศักราช 2552 ุ 1-2 1.1.2 ที่ตั้งและอาณาเขตการปกครอง อำาเภอจอมทอง ตังอยูหางจากตัวจังหวัดเชียงใหม่ไปทางทิศใต้ ้ ่ ่ ประมาณ 58 กิโลเมตร ตามทางหลวงถนนสายเชียงใหม่– ฮอด มีพนที่ ื้ ทังหมดประมาณ 864.83 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 1.38 ไร่ คิด ้ เป็นร้อยละ 4.37 ของพืนทีจงหวัดเชียงใหม่ อำาเภอจอมทอง แบ่งเขต ้ ่ ั การปกครอง ตามพระราชบัญญัตลกษณะปกครองท้องที่ พ.ศ. 2457 แบ่ง ิ ั เป็นองค์การบริหารส่วนตำาบล จำานวน 6 ตำาบล คือตำาบลบ้านหลวง , ตำาบลข่วงเปา, ตำาบลดอยแก้ว , ตำาบลสบเตียะ , ตำาบลแม่สอย , ตำาบล ๊ บ้านแปะ มีจำานวนหมูบาน 103 หมูบาน เทศบาลตำาบล 1 แห่ง คือ ่ ้ ่ ้ เทศบาลตำาบลจอมทอง โดยมีอาณาเขตการปกครองต่อไปนี. ้ ทิศเหนือ ติดต่อกับอำาเภอดอยหล่อ จังหวัดเชียงใหม่ ทิศตะวันออก ติดต่อกับอำาเภอบ้านโฮ่งและอำาเภอเวียง หนองล่อง (จังหวัดลำาพูน) ทิศใต้ ติดต่อกับอำาเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่ ทิศตะวันตก ติดต่อกับอำาเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ 1.1.3 สภาพทางกายภาพ อำาเภอจอมทอง มีลักษณะภูมิประเทศ พอสรุปได้ดังนี้
  • 8. ลักษณะพื้นที่อำาเภอจอมทอง ส่วนใหญ่เป็นที่ราบริมฝั่งแม่นำ้า ปิง นำ้าแม่กลาง พื้นที่หุบเขา เชิงเขาซึ่งใช้ประโยชน์ในการทำานา ทำา สวน ทำาไร่ ปลูกไม้ยืนต้น เช่นลำาไย สำาหรับบริเวณภูเขาเป็นแหล่งต้นนำ้า ลำาธารและที่อยู่อาศัย สภาพพื้นที่ พื้นที่สูงทางตอนกลางทีราบลุ่มทางทิศ ่ เหนือ และพื้นที่ภูเขาสูงหรือเนินเขาอยู่ด้านตะวันตก มีเทือกเขาอินทน นท์ซึ่งมียอดเขาที่สูงที่สุดในประเทศไทย คือ สูงจากระดับนำ้าทะเลปาน กลาง 2,565.3341 เมตร กั้นเขตแดนระหว่างอำาเภอจอมทองและอำาเภอ แม่แจ่มโดยตลอด ภูมิอากาศ ลักษณะภูมอากาศเป็นแบบมรสุม มี 3 ฤดู ฤดูฝน เริ่ม ิ ตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคม จนถึงเดือนตุลาคม โดยได้รับอิทธิพลจาก ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน ไปจนถึง กลางเดือนกุมภาพันธ์ โดยได้รับอิทธิพลจาก ลมมรสุมตะวันออกเฉียง เหนือ ซึ่งพัดพาเอาความหนาวเย็นจากประเทศจีนลงมาปกคลุม ประเทศไทยตอนบน ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ ถึงกลางเดือน พฤษภาคม ซึ่งอยู่ภายใต้อิทธิพลของ ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ และลม ฝ่ายใต้ สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไป อากาศมรสุมเมืองร้อน ช่วง พฤษภาคม - กันยายน มีฝนตกชุก ช่วงเดือนพฤศจิกายน - กุมภาพันธ์ มี อากาศหนาวและแห้งแล้ง อุณหภูมิประมาณ ٩.٧ องศา สูงสุดประมาณ ٣ ٩.٦ องศา 1-3 แหล่งนำ้า แหล่งนำ้าของอำาเภอ ทีใช้ประโยชน์ในการเกษตรกรรม อุปโภค และ ่ บริโภคทีสำาคัญ ได้แก่ ลำานำ้าปิง ลำานำ้าแม่กลาง ลำานำ้าแม่แจ่ม ลำานำ้าแม่ ่ เตียะ ลำานำ้าแม่แต๊ะ และลำานำ้าแม่สอย อ่างเก็บนำ้า ได้แก่ หนองด้าง หนอง ๊ หลวง และห้วยตันตึง สำาหรับแหล่งนำ้าใต้ดนของอำาเภอ ได้มการขุดเจาะ ิ ี เพือนำามาใช้อปโภค บริโภค นำ้าเพือการอุปโภคใช้นำ้าประปาจากแม่นำ้าปิง ่ ุ ่ ประชาชนชนบท นำ้ากรองได้ไม่สะอาดเนืองจากใช้มานานแล้ว และขาดการ ่ บำารุงรักษาเครืองกรองนำ้าทีใช้สวนร่วม บางหมูบาน ขาดนำ้าใช้ในช่วงเดือน ่ ่ ่ ่ ้ กุมภาพันธ์ - พฤษภาคม ของทุกปี ในส่วนการใช้นำ้าเพือบริโภค ประชาชน ่ ร้อยละ 70 ซือนำ้าดืมเกือบตลอดปี ส่วนทีเหลือจะบริโภคจากบ่อบาดาล ้ ่ ่ บ่อนำ้าตืน และประปาจากแม่นำ้าปิง และไม่มภาชนะรองรับนำ้าฝนครบทุกครัว ้ ี เรือน สำาหรับนำ้าเพือการเกษตร ส่วนใหญ่ปญหาเกิดในฤดูแล้ง จะขาดแคลน ่ ั นำ้าสำาหรับการประกอบอาชีพและจะต้องใช้เครืองสูบนำ้าพลังงานไฟฟ้าจาก ่
  • 9. แม่นำ้าปิง บางพืนทีทอส่งนำ้ายังไปไม่ทวถึง และเพียงพอ ต้องอาศัยนำ้าจาก ้ ่ ่ ั่ การขุดเจาะบาดาลและแหล่งนำ้าธรรมชาติทวไป ั่ 1.1.4 สภาพทางสังคมและประชากร อำา เภอจอมทอง จำา นวนประชากรทั้ง สิ้น 65,675 คน ( สำา นักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง) มากเป็น อัน ดับ ที่ 14 ของ จังหวัดเชียงใหม่ มีพื้นที่รวมทั้งอำา เภอประมาณ 864 ตารางกิโลเมตร มี ความหนาแน่นของประชากรโดยเฉลี่ย 76 คนต่อตารางกิโลเมตรหรือ 1 คนต่อไร่ โดยตำาบล บ้านหลวง จำานวน 13,437 คน มีประชากรมากที่สุด ประมาณร้อยละ 20.46 ของอำาเภอ รองลงมาคือ ตำาบลสบเตี้ยะ จำานวน 12,628 คน มี ป ระชากร ร้ อ ยละ 19.23 ของอำา เภอ ส่ ว นตำา บลที่ มี ประชากรน้อยที่สุด คือตำา บลดอยแก้ว จำา นวน 3,555 คน คิดเป็นร้อย ละ 5.41 ของอำาเภอ การนับถือศาสนา อำาเภอจอมทอง เป็นอำาเภอที่มีความ เกี่ยวข้องผูกพันกับสถาบันทางศาสนา มาตั้งแต่ต้นโดยเฉพาะอย่างยิง ชื่อของอำาเภอตั้งและเรียกตามตำานานวัด ่ พระธาตุศรีจอมทอง มีสถาบัน / องค์การทางศาสนาตั้งอยู่ จำานวน 55 แห่ง ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ จำาแนกตามการนับถือศาสนา ดังนี้ (ที่มา จปฐ.ปี 2551) - ศาสนาพุทธ จำานวน 50,419 คน คิด เป็น 91.83 % - ศาสนาคริสต์ จำานวน 4,377 คน คิด เป็น 7.98 % - ศาสนาอิสลาม,ซิกข์และอื่นๆ จำานวน 108 คน คิด เป็น 0.19% - ประเพณี ที่ สำา คั ญ เฉพาะประเพณี แ ห่ ไ ม้ คำ้า โพธิ์ แ ละ ประเพณีสรงนำ้าพระธาตุ/เดือนเก้าเป็ง 1. ประเพณีแห่ไม้คำ้าโพธิ์ ประมาณ เดือน เมษายน 2. ประเพณีสรงนำ้าพระธาตุ/เดือนเก้าเป็ง ประมาณ เดือน มิถุนายน 1-4 - เชื้อสายของประชากร เป็นชาวเผ่ากระเหรียงและม้ง ่ ประชากรส่วนใหญ่จะอาศัยหนาแน่นอยู่ทางตอนกลาง และด้านตะวันออก
  • 10. ของอำาเภอ เนื่องสภาพภูมิประเทศ เหมาะสมสำาหรับการทำาเกษตรด้าน ตะวันตกมีประชากรอาศัยอยู่เบาบาง เนื่องจากพื้นที่เป็นภูเขา การบริการด้านสังคม การบริการด้านสังคม ประกอบด้วย.-  ด้านสาธารณสุข ด้านสาธารณสุขของอำาเภอ มีสถานทีให้บริการด้าน ่ สาธารณสุขทีมศกยภาพในการพัฒนา ่ ี ั คุณภาพชีวตด้านสุขภาพอนามัย ให้กบประชาชนชาวอำาเภอจอมทองและ ิ ั ใกล้เคียง โดยกระทรวงสาธารณสุขได้ยกระดับโรงพยาบาลจอมทอง ให้ เป็นโรงพยาบาลระดับจังหวัด รองจากโรงพยาบาลนครพิงค์ และมี สำานักงานสาธารณสุข 1 แห่ง  ด้านการศึกษา ด้านการศึกษา เป็นพื้นที่ตั้งสำานักงานพื้นที่การศึกษา เชียงใหม่ เขตที่ 6 มีสถานที่ให้บริการด้านการศึกษา ตั้งแต่ก่อนประถม ศึกษา จนถึงระดับอุดมศึกษา เป็นที่ตั้ง วิทยาการอาชีพจอมทอง และ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา วิทยาเขตเทคนิคภาคพายัพ (อินทนนท์) และการให้บริการระบบการศึกษานอกโรงเรียนของศูนย์การ ศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ข้อมูลประชากรจำาแนกตามระดับการศึกษา (ที่มา จปฐ.2551) - ไม่เคยศึกษา – ตำ่า จำานวน 11,691 คิดเป็น 21.26% กว่า ป. 4 คน - ป. 4 - ป. 6 จำานวน 24,022 คิดเป็น 43.75% คน - ม. 1 – 6 , ม.ศ 1-5 จำานวน 11,231 คิดเป็น 20.45% คน - ปวช. – ปวส. จำานวน 2,125 คิดเป็น 3.87% คน - ระดับปริญญา จำานวน 3,006 คิดเป็น 5.48% คน - อื่นๆ ไม่ระบุ จำานวน 2,829 คิดเป็น 5.16 % คน  ด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ด้านความปลอดภัยในชีวตและทรัพย์สนของอำาเภอ ิ ิ จอมทอง ในการสร้างความปลอดภัยในชีวตและทรัพย์สนของประชาชน ิ ิ
  • 11. อำาเภอจอมทอง มีหน่วยงาน กลุม/องค์กร ทีสามารถสร้างความสงบสุขแก่ ่ ่ ประชาชน อาทิ เช่น สถานีตำารวจภูธรจอมทอง , เจ้าหน้าทีฝายปกครอง ( ่ ่ ทีทำาการปกครองอำาเภอ, กำานัน / ผูใหญ่บาน , อาสาสมัครพลังมวลชน) , ่ ้ ้ ศูนย์ตอสูเพือเอาชนะยาเสพติด (สตส.อ.) ่ ้ ่ 1-5 1.1.5 สภาพทางเศรษฐกิจ โครงสร้างทางเศรษฐกิจหลักของอำาเภอจอมทอง ส่วนใหญ่ ประกอบอาชี พ เกษตรกรรม ได้ แ ก่ การปลู ก ลำา ไย ข้ า ว หอมแดง กระเทียม ฯลฯ รองลงมาได้แก่พาณิชยกรรม ได้แก่รานขายของชำา และ ้ ของใช้เบ็ดเตล็ด ร้านขายอาหารและเครืองดืม ่ ่  พาณิชยกรรม จำานวน 450 แห่งลั กษณะกิ จการค้ าและ บริ การที่ มี อยู่ ในชุ มชน ส่ วนใหญ่ เป็ นประเภทการค้ าและบริ การพื้นฐานที่ จำาเป็นสำาหรับผู้ที่พักอาศัยอยู่ในเขตเทศบาลและบริเวณโดยรอบ เป็นร้าน ค้าขนาดเล็ก ซึ่งได้แก่ ร้านค้าปลีกประเภทร้านขายอาหารและเครื่องดื่ม ร้านขายของชำาและของใช้เบ็ดเตล็ด และสถานบริการอื่นๆ เป็นต้น  อุ ต สาหกรรม จำา นวน 900 แห่ ง กิ จ การส่ ว นใหญ่ กิจการที่เกี่ยวกับประเภทซ่อมรถยนต์ และรถจักรยานยนต์ รองลงมา ได้แก่ กิจการโรงสีข้าว และรับจ้างทำาดอกไม้  เกษตรกรรม จากพื้นที่ทั้งหมด 470,956 ไร่ เป็น เ นื้ อ ที่ ถื อ ค ร อ ง ท า ง ก า ร เ ก ษ ต ร 79,097 ไ ร่ คิ ด เ ป็ น ร้ อ ย ล ะ 16.80 เนื่องจากพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นแหล่งต้นนำ้า ทำาให้มีพื้นที่หลายจุดตามแนว เชิงเขาสามารถสร้างอ่างเก็บนำ้า เพื่อเป็นต้นทุนให้กับระบบชลประทาน ราษฎร์หรือระบบเหมืองฝาย แม่นำ้าปิดทีไหล่ผ่านตลอดแนว 1.2 สภาพโดยทัวไปของชุมชนเทศบาล ่ 1.2.1 ที่ตั้งและอาณาเขตการปกครอง เทศบาลตำาบลจอมทอง ตังอยูเลขที่ 299 หมูที่ 4 ้ ่ ่ ตำาบลบ้านหลวง อำาเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ อยูหางจากตัวจังหวัดเชียงใหม่ไปทางทิศใต้ประมาณ 60 ่ ่ กิโลเมตร ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 108 (ถนนเชียงใหม่ – ฮอด) มีพนทีทงหมด 3.82 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพืนทีบางส่วนของ 3 ื้ ่ ั้ ้ ่ ตำาบล คือตำาบลบ้านหลวง ตำาบลข่วงเปา และตำาบลดอยแก้ว รวม ทังหมด 10 หมูบาน เทศบาลจัดตังตาม ้ ่ ้ ้
  • 12. ประกาศกระทรวงมหาดไทยในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 117 ตอนที่ 84 ก ลงวันที่ 11 กันยายน 2543 โดยมีเขตดังต่อไปนี้ ทิศเหนือ จดหลักกิโลเมตรที่ 1 หน้าวัดข่วงเปา ทิศใต้ จดหลักกิโลเมตรที่ 60 ถนน สายเชียงใหม่ - ฮอด ทิศตะวันออก ติดบ้านสันป่าซาง ม. 9 ต.ข่วง เปา และบ้านแท่นคำา หมู่ 1 ต. บ้านหลวง ทิศตะวันตก จดลำานำ้าแม่กลาง 1-6 1.2.2 สภาพทางกายภาพ เทศบาลตำาบลจอมทอง พืนทีสวนใหญ่ของเทศบาลเป็น ้ ่ ่ ทีราบลุมแม่นำ้า มีทราบสูงอยุทางทิศตะวันตกเลียบตามลำานำ้าแม่กลาง ่ ่ ี่ ่ ซึงเป็นแม่นำ้าสายสำาคัญ ใช้ประโยชน์ทงการเกษตรกรรมและการอุปโภค ่ ั้ บริโภค บริเวณชุมชนมีถนนสายสำาคัญผ่านคือเส้นทางทีสามารถติดต่อกับ ่ อำาเภอบ้านโฮ่ง จังหวัดลำาพูน ทางด้านตะวันออก และเส้นทางสูนำ้าตกแม่ ่ ยะ ทางด้านตะวันตกของชุมชน สำาหรับถนนทีเชือมต่อพืนทีตางๆ ของชุมชน ่ ่ ้ ่ ่ เข้าด้วยกัน จะมีโครงข่ายทีคอนข้างจะทัวถึงเกือบทังหมดอยูในพืนทีชมชน ่ ่ ่ ้ ่ ้ ่ ุ ด้านตะวันตก 1.2.3 การตั้งถิ่นฐานและการใช้ประโยชน์ที่ดินปัจจุบัน การตั้งถิ่นฐานของประชากรในเขตเทศบาลตำาบลจอมทอง มี ลักษณะการตั้งถิ่นฐานกระจายตัวอยู่ทั่วไป แต่จะหนาแน่นสองข้างทาง ของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 108 บริเวณรอบนอกหรือพื้นที่ด้าน หลังทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 108 จะมีการตั้งถิ่นฐานของประชากร ทีเบาบาง สามารถจำาแนกการใช้ประโยชน์ที่ดินได้ดังต่อไปนี้ (ตารางที่ ่ 1.1) - การใช้ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัย จะกระจายตัวอยู่โดยทั่วไป ในชุมชนบริเวณด้านตะวันตกของถนนสายหลัก ซึ่งเป็นพื้นที่ดอนระหว่าง แม่นำ้า แม่กลางและแม่นำ้า แม่ปิง ลักษณะของพื้นที่อยู่อาศัยจะสะท้อนถึง วิถีชีวิตและลักษณะทางสังคมของกลุ่มชนในพื้นที่ คือ มีการตั้งบ้านเรือน เป็นกลุ่มเครือญาติ ในพื้นที่แต่ละแปลงโดยเฉลี่ยจะมีบ้านปะมาณ 3-4 หลังคาเรือน แต่ละหลังคาเรือนจะมียุ้งข้าวของตนเอง
  • 13. ในปัจจุบนลักษณะการใช้ทดนประเภททีอยูอาศัยจะมี 2 ั ี่ ิ ่ ่ ลักษณะ คือเพือทีอยูอาศัยและประกอบธุรกิจการค้าในอาคารเดียวกัน โดย ่ ่ ่ ชันล่างหรือบางส่วนของอาคารใช้เพือประกอบธุรกิจการค้า ส่วนชันบนใช้ ้ ่ ้ เป็นทีอยูอาศัย โดยมากอยูในบริเวณถนนสายหลักทางหลวงแผ่นดิน ่ ่ ่ หมายเลข 108 - การใช้ทดนประเภทพาณิชยกรรม ลักษณะการใช้ทดน ี่ ิ ี่ ิ ประเภทพาณิชยกรรมในเขตเทศบาล ตำาบล ส่วนใหญ่เป็นร้านค้าขายของชำาและของใช้เบ็ดเตล็ด จำานวน 96 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 23.19 รองลงมาเป็นร้านขายอาหารและเครืองดืม ่ ่ จำานวน 61 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 14.73 ของจำานวนสถานประกอบการ ในเขตเทศบาล นอกนันก็เป็นกิจการอืนๆ ทีให้บริการแก่ประชากรในพืนที่ ้ ่ ่ ้ การพาณิชยกรรมและการบริการ 1) สถานประกอบการด้านพาณิชยกรรม - ร้านขายของชำาและของใช้เบ็ดเตล็ด 96 แห่ง - ร้านขายอาหารและเครื่องดื่ม 61 แห่ง - ร้านขายเสื้อผ้าสำาเร็จรูป 43 แห่ง - ร้านเสริมสวย/ ตัดผม 43 แห่ง - สถานีบริการนำ้ามัน 6 แห่ง 1-7 - ร้านจำาหน่ายวัสดุก่อสร้าง 5 แห่ง - ร้ า น ค้ า อื่ น ๆ 160 แห่ง 2) สถานประกอบการเทศพาณิชย์ โรงฆ่าสัตว์ (ของเทศบาล) 1 แห่ง 3) สถานประกอบการด้านบริการ ก. ธนาคาร 6 แห่ง ข. สถานที่จำาหน่ายอาหาร ตาม พ.ร.บ. สาธารณสุข 64 แห่ง
  • 14. - การใช้ทดนประเภทอุตสาหกรรม มีจำานวนโรงงาน ี่ ิ ทังสิน 51 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 26.29 ส่วนใหญ่เป็นกิจการประเภทซ่อม ้ ้ รถยนต์และรถจักรยานยนต์ จำานวน 15 แห่ง จักสานตะกร้า จำานวน 9 แห่ง นอกจากนันเป็นกิจการอุตสาหกรรมซึงมีจำานวนไม่มากนัก ้ ่ - การใช้ทดนประเภทสถาบันการศึกษา จำานวน 4 ี่ ิ แห่ง ได้แก่ โรงเรียนระดับมัธยมศึกษา ประถมศึกษา จำานวน 2 แห่ง คือ โรงเรียนชุมชนศรีจอมทอง โรงเรียนชุมชนบ้านข่วงเปาเหนือและโรงเรียน เอกชน จำานวน 2 แห่ง คือ โรงเรียนไชยจีนะวิทยา และโรงเรียนสุทธิวงศ์ ดำารงวิทย์ ซึงตังอยูในเขตชุมชนทางด้านตะวันตก ของทางหลวงแผ่นดิน ่ ้ ่ หมายเลข 108 - การใช้ทดนประเภทสถาบันศาสนา จำานวน 4 วัด ี่ ิ ได้แก่ วัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร วัดข่วงเปาอยูทางด้านเหนือ วัดดอย ่ แก้วอยูทางใต้ของชุมชน และวัดพุทธนิมต มีโบสถ์คริสต์ จำานวน 3 ่ ิ แห่ง ประกอบด้วย คริสตจักรลามันคาทอลิก คริสต์จกรคริสเตียนบ้านทุง ั ่ รวงทองและคริสตจักรคริสเตียนข่วงเปา วัดจีน (ศาลเจ้า) 2 แห่ง - การใช้ทดนประเภทสวนสาธารณะและทีพกผ่อน ี่ ิ ่ ั หย่อนใจ ในเทศบาลตำาบลจอมทอง มีสนามกีฬาเอนกประสงค์ จำานวน 12 แห่ง แบ่งเป็นสนามกีฬาเอนกประสงค์ 2 แห่ง สนามฟุตบอล 2 แห่ง สนามบาสเกตบอล 2 แห่ง สนามตะกร้อ 5 แห่ง และสนามเด็ก เล่น 1 แห่ง - การใช้ที่ดินประเภทสถาบันราชการ ทางการ สาธารณูปโภคและสาธารณูปการ บริเวณสถานทีราชการทีสำาคัญ ่ ่ ได้แก่สำานักงานเทศบาลตำาบลจอมทอง โรงเรียน โรงพยาบาล ส่วนใหญ่ จะอยูตอนกลางของชุมชนใกล้ทวาการอำาเภอ ส่วนโรงพยาบาลอยูดานใต้ ่ ี่ ่ ่ ้ ของชุมชน - การใช้ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม ได้แก่พนทีโดยรอบชุมชนทังพืนทีชนบททัวไปและบริเวณทีเกษตรกรรมเพือ ื้ ่ ้ ้ ่ ่ ่ ่ สวนลำาไย จะอยูตดกับพืนทีชมชน ทังนีเนืองจากเจ้าของหรือเกษตรกร ่ ิ ้ ่ ุ ้ ้ ่ สามารถดูแลได้สะดวก ส่วนบริเวณทีลมและห่างจากทีอยูอาศัย จะเป็นพืนที่ ่ ุ่ ่ ่ ้ ทำานา 1-8 ตารางที่ 1.1 แสดงการใช้ที่ดิน พ.ศ. 2551 ผังเมือง
  • 15. ชุมชนเทศบาลตำาบลจอมทอง อำาเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ผังเมืองชุมชนเทศบาล ประเภท พื้นที่ (ไร่) ร้อยละ - ทีอยู่อาศัย ่ 1,476.50 61.84 - พาณิชยกรรม 135.00 5.65 - อุตสาหกรรม 10.00 0.42 - ชนบทและเกษตรกรรม 700.00 29.32 - สวนสาธารณะ สถานที่พักผ่อน 1.00 0.04 หย่อนใจ 30.00 1.26 - สถาบันการศึกษา - สถาบันศาสนา 44.00 1.84 - สถาบันราชการ สาธารณูปโภค - - และสาธารณูปการ - ถนน ซอย แม่นำ้า ห้วย หนอง บึง รวม 2,387.50 100.00 3.82 ตร.กม. 100.00 ทีมา : สำานักงานเทศบาลตำาบลจอมทอง ่ 1.2.4 สภาพทางสังคมและประชากร ข้อมูลจากสำา นักบริหารการทะเบียน เมือเดือนธันวาคม พ.ศ. ่ 255 ١ เขตเทศบาลตำาบลจอมทอง มีจำานวนประชากร ٩,٣٠٢ คน เพศ ชาย 4,419 คน เพศหญิ ง 4,٨٨٣ คน มีความหนาแน่ น ของประชากร โดยเฉลี่ ย ประมาณ 2,435 คนต่ อ ตารางกิ โ ลเมตร มี จำา นวนบ้ า น 3,598 หลัง คาเรื อน ขนาดครั ว เรื อ นโดยเฉลี่ ย 3 คนต่ อ ครั ว เรื อ น อั ต ราส่ ว น ระหว่ า งเพศเท่ า กั บ 47.50 : 52.50 เมื่ อ พิ จ ารณาโครงสร้ า งด้ า นอายุ ของประชากรปรากฏว่ า ประชากรในหมวดอายุ 50-54 ปี มี จำา นวนมาก ที่สุดคิ ดเป็ น ร้ อยละ ٩.76 ของประชากรในเขตเทศบาลตำา บลจอมทอง ทั้ง หมด รองลงมาเป็ นประชากรในหมวดอายุ ٥5 – ٥9 ปี , ٤٩ - ٤٥ ปี และ ٢٩ - ٢٥ ปี คิดเป็นร้อยละ ٨.٥٣, 8.11 , และ 7.64 ของประชากร ในเขตเทศบาลตำาบลจอมทองตามลำาดับ จะเห็นได้ว่าประชากรส่วนใหญ่ อยูในวัยทำางาน กล่าวคือ ประชากรที่มีอายุระหว่าง ٥٩ - ١٥ ปี มีจำานวน ่
  • 16. 6,١٠٥ คน คิ ดเป็น ร้อยละ 65.62 ของจำา นวนประชากรในเขตเทศบาล ตำาบลจอมทอง 1-9 จากโครงสร้างประชากรในเขตเทศบาลตำา บลจอมทอง ได้ ศึก ษาอัตราส่ว นผู้ เป็ นภาระ โดยศึก ษาจากจำา นวนประชากรที่มี อายุ ตำ่า กว่ า ١٥ ปี (١٤ -٠ ปี ) ซึ่ ง มี จำา นวน 1,٢٢١ คน และประชากรที่ มี อ ายุ ตังแต่ ٦٠ ปีขนไป ١,977 คน ต่อจำานวนประชากรทีมอายุระหว่าง ٥٩ – ١٥ ้ ึ้ ่ ี ปี ซึ่ง มีจำา นวน ٦,١٠٥ คนจะได้อัตราส่ว นผู้เ ป็น ภาระเท่า กับ 52 คนซึ่ง หมายถึงว่าประชากรในวัยทำางาน ١٠٠ คน ต้องรับภาระเลี้ยงดูเด็กและคน ชรา ٥٢ คน - ลักษณะทางสังคม ประชากรส่วนใหญ่ นับถือศาสนา พุทธ ร้อยละ 83 ของจำานวนประชากรทั้งหมด โดยมีศาสนสถาน 4 แห่ง ความสัมพันธ์ของคนในสังคมแบบเครือญาติ มีวฒนธรรมและ ั ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีงามสืบต่อกันมา ฯลฯ เช่น ประเพณีแห่ไม้คำ้า โพธิ์ ประมาณเดือนเมษายน และประเพณีสรงนำ้าพระธาตุ/เดือนเก้าเป็ง ประมาณเดือนมิถุนายน 1.2.5 สภาพทางเศรษฐกิจ โครงสร้างทางเศรษฐกิจหลัก ของเทศบาลตำาบลจอมทอง ส่วนใหญ่เป็นกิจกรรมด้านการเกษตรกรรมและรับจ้างทัวไปและการพาณิช ่ ยกรรม ทางด้านการเกษตรกรรมส่วนใหญ่จำาทำานา ทำาสวน พืนทีทำานานันมี ้ ่ ้ นำ้าใช้เพียงพอตลอดปี สามารถทำาการเพาะปลูกได้ปละ 3 ครัง มีการปลูก ี ้ พืชไร่ และไม้ผลไม้ยนต้น เช่น ถัวเหลือง หอมแดง กระเทียม ลำาไย ื ่ มะม่วง เป็นต้น - พาณิชยกรรมและบริการ ในเขตเทศบาลตำาบลจอมทอง มี ส ถานประกอบกิ จ การค้ า และบริ ก ารทั้ ง หมด จำา นวน 414 แห่ ง ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น กิ จ กรรมประเภท กิ จ การค้ า และบริ ก าร (ข้ อ มู ล จาก สำา นักงานสถิติแห่งชาติ โดยการสำา มะโน ในปี พ.ศ. ٢٥٥٠) ส่วนใหญ่ จำานวน 96 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ ٢٣.١٩ ของจำานวนสถานประกอบ การในเขตเทศบาลเป็น ร้านขายของชำา และของใช้ เบ็ ดเตล็ ด รองลงมา เป็นร้านขายอาหารและเครื่องดื่ม จำานวน 61 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ ١ ٤.٧٣ ของจำานวนสถานประกอบการในเขตเทศบาล นอกนั้นก็เป็นกิจกา รอื่นๆ ที่ให้บริการแก่ประชากรในพื้นที่
  • 17. - อุตสาหกรรม ในเขตเทศบาลตำา บลจอมทอง มี จำา นวน โรงงานทั้ งสิ้ นจำา นวน ٥١ แห่ ง หรื อคิ ดเป็ นร้ อยละ ٢٦.٢٩ ของจำา นวน สถานประกอบกิ จ การอุ ต สาหกรรมทั้ งหมด ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น กิ จ การ ประเภทซ่อมรถยนต์ และรถจักรยานยนต์ จำานวน 15 แห่ง และจักสาน ตะกร้า จำานวน 9 แห่ง นอกนั้นเป็นกิจการอุตสาหกรรมประเภทอื่นๆ ซึ่ง มีจำานวนไม่มากนัก - เกษตรกรรม จากพื้ น ที่ ทั้ ง หมดของเทศบาลตำา บล จอมทอง จำานวน 2,387.5 ไร่ เป็นเนื้อที่ถือครองทางการเกษตร 700 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 29.32 ของเทศบาล พื้นที่ทำา นานั้นมีนำ้า ใช้เพียงพอ ตลอดปี สามารถทำา การเพาะปลูกได้ปีละ 3 ครั้ง พื้นที่ทำานานั้นมีนำ้า ใช้ เพียงพอตลอดปี สามารถทำาการเพาะปลูกได้ปีละ 3 ครั้ง มีการปลูกพืช ไร่ และไม้ผลไม้ยืนต้น พืชเศรษฐกิจหลักที่สำาคัญได้แก่ ลำาไย ถัวเหลือง ่ หอมแดง กระเทียม มันฝรั่ง 1-10 1.2.6 โครงสร้างพื้นฐาน ก. การคมนาคมและขนส่ง 1.) สภาพถนนปัจจุบัน เทศบาลตำาบลจอมทอง สามารถ ติดต่อระหว่างชุมชนได้สะดวก โดยมีเส้นทางคมนาคมสายสำาคัญ ดังนี้ - ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 108 (ถนนเชียงใหม่ – ฮอด) เชื่อมต่อเขตเมืองเชียงใหม่ กับอำาเภอต่างๆ ทางด้านใต้ และสามารถ ติดต่อกับเขตจังหวัดลำาพูนและแม่ฮ่องสอนได้ โดยผ่านอำาเภอ สันป่าตอง- จอมทอง –ฮอด - ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1009 แยกจากทางหลวงแผ่น ดินหมายเลข 108 ทางด้านเหนือของชุมชนบ้านหลวง อำาเภอจอมทอง ไปทางทิศตะวันตกเชื่อมต่อนำ้าตกแม่กลาง และอุทยานแห่งชาติดอย อิน ทนนท์ ในส่วนของปัญหาทางด้านคมนาคมและขนส่ง เป็นปัญหาของ ระบบและโครงข่ายถนนในปัจจุบัน ตลอดจนปัญหาการจราจรและ อุบัติเหตุต่าง ๆ ทีเกิดจากการคมนาคมและขนส่ง ่ สภาพถนน โดยส่วนใหญ่พื้นผิวจราจรบนถนนสายหลักอยู่ ในสภาพดี บริเวณที่มีปัญหาได้แก่ถนนภายในชุมชน ซึ่งมีขนาดเขต ทางคับแคบ ไม่มีท่อระบายนำ้าอย่างเป็นระบบ และถนนบางแห่งมีสภาพ ผิวจราจรถนนชำารุดทรุดโทรม จึงควรได้รับการพัฒนาต่อไป ระบบและโครงข่ายถนน การเชื่อมโยงการจราจรระหว่างถนน แต่ ล ะสาย ในปั จ จุ บั น ยั ง ขาดความต่ อ เนื่ อ งที่ ดี ในอนาคตควรมี ก าร
  • 18. ปรั บ ปรุ ง ระบบถนน โดยกำา หนดแนวทางเพื่ อ รองรั บ และเชื่ อ มต่ อ การ คมนาคม ให้เป็นระบบและมีโครงข่ายที่ดียงขึ้นิ่ 2.) การขนส่งผู้โดยสาร ปัจจุบนเทศบาลตำาบลจอมทอง ั มีถนนสายสำาคัญทีใช้ตดต่อกับ ่ ิ หน่วยงานอืน ๆ คือ ถนน สายเชียงใหม่ – ฮอด และถนนสายนำ้าตกแม่ ่ กลาง ซึงอยูในความ รับผิดชอบของกรมทางหลวง ถนนทีอยูในความรับผิด ่ ่ ่ ่ ชอบของเทศบาลตำาบลจอมทอง มี 72 สาย ความยาว 18.432 กิโล กิโลเมตร ถนนกว้างประมาณ 3 – 6 เมตร ถนน คสล.และ ถนน คสม. ยาวรวม 2.65 กิโลเมตร ถนนลาดยาง ยาวรวม 8.872 กิโลเมตร ถนนดินลูกรัง ยาวรวม 18.423 กิโลเมตร ถนนที่มปัญหาด้านการจราจร ี 2 แห่ง มีทางแยก 10 แห่ง ทางแยกที่มีสัญญาณไฟจราจร 1 แห่ง สะพาน จำานวน 7 แห่ง เป็นสะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก 7 แห่ง สะพานไม้ – แห่ง การจราจรใช้ทงถนนทางหลวงแผ่นดินและถนนของเทศบาล ั้ ในการสัญจรซึ่ งยังมีปญหาในเรืองของถนนคับแคบในย่านชุมชน ไม่ ั ่ สามารถขยายถนนได้ เนืองจากมีการก่อสร้างอาคารพาณิชย์ใกล้กบถนน ่ ั ทำาให้ยานพาหนะทีสญจรไปมาในเวลาเร่งด่วนไม่คล่องตัว และตามจุด ่ ั แยกบางแห่งยังขาดสัญญาณเตือนภัย ไม่มี 1-11 ทีจอดรถโดยเฉพาะต่างหาก เพราะไม่มพนทีและพืนทีถนนก็คบแคบ การ ่ ี ื้ ่ ้ ่ ั ควบคุมการจราจรอยูในความรับผิดชอบของสถานีตำารวจภูธรอำาเภอจอมทอง ่ การจัดการขนส่งมวลชน - มีรถโดยสารประจำาทาง รถเมล์ธรรมดา สายเชียงใหม่ – ฮอด - รถยนต์โดยสารสองแถวเล็ก เชียงใหม่ – จอมทอง - รถยนต์โดยสารสองแถวเล็ก จอมทอง – แม่แจ่ม - รถยนต์โดยสารสองแถวเล็ก จอมทอง – ฮอด - รถมอเตอร์ไซด์รับจ้าง - มอเตอร์ไซด์พ่วงรับจ้าง ข. การสาธารณูปโภค 1.) การประปา ปัจจุบันการประปาภายในเทศบาลตำาบล จอมทอง รับผิดชอบและดำาเนินการโดยการประปาส่วนภูมิภาค จำานวน 1 แห่ง ประปาหมู่บาน 1 แห่ง นำ้าประปาที่ผลิตได้ จำานวน 2,100 ้
  • 19. ลูกบาศก์เมตรต่อวัน นำ้าประปาที่ใช้เฉลี่ย 1,950 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน จำานวนครัวเรือนที่มีผู้ใช้นำ้าประปามีจำานวนทั้งสิ้น 2,120 ครัวเรือน คิด เป็นร้อยละ 55.69 ของประชากรทั้งหมด แหล่งนำ้าดิบที่ใช้ผลิตนำ้าประปา คือแม่นำ้าปิง และนำ้าแม่กลาง นอกจากนี้ยังมีแหล่งนำ้าดิบสำารองคือ อ่าง เก็บนำ้าหนองด้าง และอ่างเก็บนำ้าห้วยต้นตึง เพื่อให้บริการแก่ผู้ใช้นำ้า ประปาในเขตเทศบาลตำาบลจอมทอง นอกจากนี้ยังมีการใช้นำ้าเพื่อการ อุปโภคบริโภคจากนำ้าบาดาลบ่อนำ้าตื้นด้วย 2.) การไฟฟ้า รับผิดชอบและดำาเนินการโดยการไฟฟ้าส่วน ภูมิภาคอำาเภอจอมทอง ในปัจจุบันสามารถให้บริการได้ครอบคลุมทัวทั้งเทศบาลตำาบลจอมทอง ่ จำานวนครัวเรือนที่ใช้ไฟฟ้า 3,162ครัวเรือน ไฟฟ้าสาธารณะมีประมาณ 300 จุด ครอบคลุมถนน 70 สาย 3.) การสื่อสาร ในเขตเทศบาลมีททำาการไปรษณีย์โทรเลข ี่ จำานวน 1 แห่ง โทรศัพท์ส่วน บุคคลจำานวน 1,500 หมายเลข โทรศัพท์สาธารณะ จำานวน 60 หมายเลข หน่วยงานข่ายวิทยุสื่อสาร จำานวน 7 หน่วยงาน และสถานีวทยุชุมชน จำานวน 2 แห่ง ิ ค. การสาธารณูปการ 1.) การศึกษา ในพื้นที่ผังเมืองชุมชนเทศบาลจอมทอง มี ตั้งแต่การศึกษาระดับก่อนประถมศึกษา ถึงประถมศึกษาตอนปลาย โดย มีโรงเรียนสังกัดสำานักงานพื้นที่การศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ เขต 6 จำานวน 2 แห่ง ได้แก่ - โรงเรียนชุมชนศรีจอมทอง นักเรียน 1,141 คน จำานวนครู 42 คน - โรงเรียนชุมชนบ้านข่วงเปาเหนือ นักเรียน 240 คน จำานวนครู 13 คน โรงเรียนเอกชน จำานวน 2 แห่ง ได้แก่โรงเรียนไชยจีนะวิทยา นักเรียน 148 คน จำานวนครู 8 คน และโรงเรียนสุทธิวงศ์ดำารงวิทย์ นักเรียน 379 คน จำานวนครู 16 คน 1-12 2.) การสาธารณสุข การให้บริการทางด้านสาธารณสุข มี สำานักงานสาธารณสุขอำาเภอ จำานวน 1 แห่ง คลินิกเอกชน จำานวน 10 แห่ง อยู่ในเขตพื้นที่เทศบาลตำาบลจอมทอง 3.) การศาสนา ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธร้อยละ 83 มีวัด 4 แห่ง คือวัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร วัดข่วงเปา วัดดอย แก้ว และวัดพุทธนิคม มีโบสถ์คริสต์ จำานวน 3 แห่ง ได้แก่คริสตจักร
  • 20. ลามันคาทอลิก คริสต์จักรคริสเตียนบ้านทุ่งรวงทอง และคริสต์จักร คริสเตียนข่วงเปา 4.) การดับเพลิงและป้องกันอัคคีภัย ดำาเนินการโดยฝ่าย บรรเทาสาธารณภัยซึ่งมีที่ตั้งในเขตเทศบาลตำาบลจอมทอง รถดับเพลิง 3 คัน บรรจุนำ้าได้ 52 ลูกบาศก์ลิตร รถบรรทุกนำ้า 20 ลูกบาศก์ลิตร มีพนักงานดับเพลิง จำานวน 3 คน อาสาสมัครป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย จำานวน 120 คน 5.) ตลาดสด ภายในเทศบาลมีตลาดสดของเทศบาลตำาบล จอมทอง มีจำานวน 8 แห่ง ตั้งอยู่บริเวณย่านชุมชนในเขตเทศบาลฯ และบริเวณรอบๆ หมู่บานในเขตเทศบาลฯ ้ 6.) โรงฆ่าสัตว์ เทศบาล มีโรงฆ่าสัตว์ 1 .แห่ง ตั้งอยู่ บริเวณเขตเทศบาลตำาบลจอมทอง 7.) การกำาจัดขยะ เทศบาลตำาบลจอมทองมีปริมาณขยะ 10 ตันต่อวัน รถยนต์ที่ใช้กำาจัดขยะมี 2 คัน ขนาดความจุ 6,400 กิโลกรัม ขยะที่ขนได้ จำานวน 9.5 ตันต่อวัน ขยะที่กำาจัดได้ จำานวน 9.5 ตันต่อวัน (โดยวิธีทิ้งในหลุมขยะเพื่อรอการฝังกลบ) ทีดินสำาหรับ ่ ทิงขยะมี 2 แห่งได้แก่.- ้ 1. หมูที่ 4 ตำาบลข่วงเปา (นอกเขต ่ เทศบาล) จำานวน 20 ไร่ 2. หมูที่ 11 ตำาบลข่วงเปา จำานวน 600 ไร่ (ที่ดิน ่ สำารองที่เตรียมไว้สำาหรับกำาจัดขยะ) 8.) สนามเด็กเล่น สวนสาธารณะ และสวนสุขภาพ ภายใน เทศบาล มีจำานวน 12 แห่ง ได้แก่ สนามกีฬาเอนกประสงค์ จำานวน 2 แห่ง , สนามฟุตบอล จำานวน 2 แห่ง , สนามบาลเก็ตบอล จำานวน 2 แห่ง สนามตระกร้อ จำานวน 5 แห่ง สนามเด็กเล่น จำานวน 1 แห่ง
  • 21. บทที่ 2 แนวโน้มและทิศทางการขยายตัวของ ชุมชนเทศบาลในอนาคต จากลั ก ษณะการขยายตั ว ของเทศบาลจอมทองที่ ข าดการ วางแผน ทำา ให้บริเวณพื้นที่ชุมชนมีการใช้ที่ดินปะปนกัน ขาดรูปแบบที่ ชัดเจน ส่งผลให้การบริการสาธารณูปโภคต่าง ๆ เช่น ไฟฟ้า ประปา ถนน ระบบระบายนำ้า และการดับเพลิง ไม่สามารถให้บริการชุมชนได้ทั่วถึงและ มีประสิทธิภาพเพียงพอต่อความต้องการของชุมชนในอนาคต เมื่อชุมชน มีการขยายตัว ย่อมมีความต้องการการบริการในด้านต่าง ๆ มากขึ้นจึงควร มีการวางแผนรองรั บ การขยายตั ว เพื่ อ ให้ ชุม ชนมี แ นวทางเจริ ญ เติ บ โต และขยายตัวในทิศทางที่เหมาะสมตามลักษณะทางกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดล้อม 2.1 บทบาทและหน้าที่ของชุมชน จากผั ง ภาคและผั ง อนุ ภ าค ของกรมโยธาธิ ก ารและผั ง เมื อ ง กระทรวงมหาดไทย ได้ ศึ ก ษาโครงสร้ า งระบบชุ ม ชนของภาคพบว่ า บทบาทหน้ า ที่ ข องเทศบาลตำา บลจอมทอง ในปี พ.ศ. 2551 ผั ง ภาค และผั ง อนุ ภ าคได้ กำา หนดให้ เ ทศบาลตำา บลจอมทอง จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ เป็นชุมชนศูนย์กลางลำา ดับที่ 3 มีบทบาทเป็นศูนย์กลางในระดับอำา เภอ รวมทั้ ง อำา เภอใกล้ เ คี ย ง ในด้ า นบริ ก ารการเกษตรและอุ ต สาหกรรม การเกษตร สถาบั น การเงิ น การสาธารณสุ ข และศู น ย์ ก ลางการศึ ก ษา และในอนาคตปี พ.ศ. 2567 บทบาทและหน้ า ที่ ข องเทศบาลตำา บล จอมทองได้ถกกำาหนดให้เป็นชุมชนศูนย์กลางลำาดับที่ 2 ของผังภาคและ ู ผังอนุภาคและเป็นชุมชนศูนย์กลางลำาดับที่ 2 ของผังเมืองรวมจังหวัด เชียงใหม่ 2.2 แนวโน้มการขยายตัวด้านประชากร การขยายตั ว ของชุ ม ชน เป็ น ผลต่ อ เนื่ อ งมาจากการเพิ่ ม ขึ้ น ของ ประชากร ทำาให้เกิดความต้องการใช้พื้นที่เพื่อกิจกรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ในการคาดประมาณจำานวนประชากรในอนาคต จะต้องคำา นึงถึงปัจจัยที่มี ผลต่อการเปลี่ยนแปลงประชากร เช่น การอพยพย้ายถิ่นทั้งตามฤดูกาล และย้ายถิ่นถาวรตลอดจน การลงทุนทั้งภาครัฐและเอกชน อันอาจก่อให้ เกิดการจ้างงานในพื้นที่ ซึ่งหากไม่มีการเปลี่ยนแปลงจากปัจจุบันมากนัก คาดว่าประชากรจะเพิ่มมากขึ้นตามที่ได้คาดการณ์ไว้ การคาดประมาณจำา นวนประชากร ได้พิจารณาจากการคาดการณ์
  • 22. ของ (สำานักพัฒนามาตรฐาน กรมโยธาธิการและผังเมือง) ประกอบกับ การเปลี่ ย นแปลงประชากรของเทศบาลตำา บลจอมทองในอดี ต (ปี พ.ศ.2546 – 2551) พบว่ามีอัตราการขยายตัวของประชากรลดลงร้อยละ 0.73 ดังนั้นการคาดการประชากรของผังเมืองรวมเทศบาลตำาบลจอมทอง จึงใช้ข้อมูลประชากรของอำาเภอจอมทองตั้งแต่ปี พ.ศ.2536-2551 (ระยะ เวลา 15 ปี) ซึ่งมีการเพิ่มขึ้นและลดลงในอัตราการขยายตัวของประชากร มี อั ต ราการเปลี่ ย นแปลงที่ ไ ม่ ม ากเท่ า ใดนั ก จึ ง ใช้ อั ต ราการเพิ่ ม ของ ประชากรเฉลี่ยร้อยละ 1.00 ต่อปี และนำามาคำา นวณประชากรในอนาคต ของชุมชนโดยใช้ฐานประชากรปัจ จุบั นปี พ.ศ.2551 มีประชากรภายใน เขตวางผั งเมื องชุ ม ชนรวมทั้ ง สิ้ น 9,302 คน และในอนาคตอี ก 20 ปี ข้างหน้า (พ.ศ. 2571) จะมีประชากรประมาณ 11,400 คน ตารางที่ 2.1 แสดงการคาดประมาณ จำานวนประชากรใน อนาคตในการวางผังเมืองชุมชน เทศบาลตำาบลจอมทอง จำานวนประชากร (คน) ปี พ.ศ. (อัตราการเปลี่ยนแปลงประชากรในอนาคต เฉลี่ยร้อยละ 1.00 ต่อปี) 2551 9,302 2556 9,800 2561 10,300 2566 10,800 2571 11,400 ที่มา : จากการคำานวณโดยวิธี Exponentia Rate of Growth 2.3 แนวโน้มและทิศทางการขยายตัวของชุมชนในอนาคต เมื่ อศึ กษาถึ ง สภาพทางกายภาพ เศรษฐกิ จ สั ง คม และประชากร ของชุม ชนทำา ให้ทราบถึ งปัญ หาทิ ศทาง และแนวโน้ม การขยายตัว ของ ชุมชน และสามารถนำามากำาหนดรูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดินในอนาคต ตลอดจนแนวทางการพัฒนาต่าง ๆ โดยให้สอดคล้ องและเหมาะสมกั บ บทบาทหน้าที่ของชุมชน 2.3.1 ปัญหาของชุมชน
  • 23. จากการสำารวจและวิเคราะห์สภาพทางกายภาพของ เทศบาลตำาบลจอมทอง และบริเวณพื้นที่ต่อเนื่อง สามารถสรุปสภาพ ปัญหาของชุมชนได้ ดังนี้ 1.) ปัญหาทางด้านกายภาพ - สภาพบริเวณและอาคารทรุดโทรมขาดสุขลักษณะและ บดบังทัศนียภาพ 2.) ปัญหาด้านการคมนาคมและขนส่ง - การจราจรคับคั่งบนทางหลวงในเขตเทศบาล เนื่องจากบริเวณทางหลวงแผ่นดินคับแคบเกินไป ไม่มีสัญญาณไฟ จราจร และถนนชำารุด 3.) ปัญหาด้านสาธารณูปโภค - โรงเรียนระดับอนุบาล - ประถมศึกษา ขาด อุปกรณ์การสอนทีทันสมัย ่ 4.) ปัญหาด้านสาธารณูปการ - ตู้โทรศัพท์สาธารณะมีน้อย 5.) ปัญหาด้านนันทนาการ 6.) ปัญหาด้านการใช้ที่ดิน - ภายในชุมชนมีลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินเป็นแบบผสม ผสาน และขาดการวางแผน โดยฉพาะที่ดินเพื่อการพักผ่อนหย่อน ใจมีน้อย โดยทางเทศบาลตำาบลจอมทองไม่มีที่ดินสาธารณะประโยชน์ เพื่อจัดสร้างสถานที่พักผ่อน สนามกีฬา สนามเด็กเล่น เป็นต้น 7.ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมชุมชน ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลต่อชุมชน ได้แก่ บ่อกำาจัดขยะ ทีใช้อยู่ในปัจจุบันไม่เพียงพอ ่ 2.3.2 ข้อจำากัดของชุมชน เนื่องจากสภาพโดยทั่วไปของเทศบาลตำาบลจอมทองมีพนที่ ื้ ส่วนใหญ่เป็นทีราบลุมแม่นำ้า มีทราบสูงอยุทางทิศตะวันตกเลียบตามลำานำ้า ่ ่ ี่ ่ แม่กลาง เมือชุมชนมีการขยายตัวเพือมากขึน แต่พนทีของเทศบาลตำาบลมี ่ ่ ้ ื้ ่ น้อย จึงทำาให้การขยายตัวของพื้นที่ชุมชน มีลักษณะกระจายตัวอยู่ ทัวไป แต่จะหนาแน่นสองข้างทางของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 108 ่ บริเวณรอบนอกหรือพื้นที่ด้านหลังทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 108 จะ มีการตั้งถิ่นฐานของประชากรที่เบาบาง 2.3.3 ศักยภาพของชุมชน
  • 24. - ชุมชนตั้งอยู่ในบริเวณทีราบลุมแม่นำ้า มีทราบสูงอยุทาง ่ ่ ี่ ่ ทิศตะวันตกเลียบตามลำานำ้าแม่กลาง สามารถใช้เป็นแหล่งนำ้าสำาหรับการ อุปโภค - บริโภค และการเกษตรกรรมในพืนทีในเขตเทศบาลได้ ้ ่ - ทีตั้งของชุมชนอยุ่ใกล้ถนนเลียงเมืองแนวทางที่ 1 ่ ่ (ริมนำ้าแม่ปง) และถนนเลี่ยงเมืองแนวทางที่ 2 (ฝั่งตะวันตก) มีศักยภาพ ิ ทีจะเป็นทางผ่านเพื่อเป็นแหล่งรองรับสำาหรับการท่องเที่ยวในอำาเภอ ทัง ่ ้ ศาสนาสถานและศิปลวัฒนธรรม …………………………………………………………………………………………… ………………….. 2.3.4 แนวโน้มและทิศทางการขยายตัวของชุมชน ทางด้านที่อยู่อาศัย บริ เ วณพื้ น ที่ ที่ เ หมาะสมสำา หรั บ การอยู่ อ าศั ย ของชุ ม ชนเป็ น พื้นที่บริเวณชุมชนเดิมและพื้นที่ต่อเนื่องจากชุมชนเดิม เนื่องจากมีความ พร้ อ มในด้ า นสาธารณู ป โภคและสาธารณู ป การอยู่ แ ล้ ว ได้ แ ก่ บริ เ วณ ถนน........................................................................................ ........................................................ฯลฯ ทางด้านพาณิชยกรรม บริ เ วณพื้ น ที่ ที่ มี ค วามเห มาะ สม คื อ บริ เ ว ณทา งแยก ทางหลวงแผ่ น ดิ น หมายเลข.............บรรจบกั บ ทางหลวงแผ่ น ดิ น หมายเลข...............เนื่องจากเป็นพื้นที่พาณิชยกรรมที่มีอยู่เดิมมีการเข้า ถึงสะดวก มีความพร้อมในด้านสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ และ อยู่ ย่ า นใจกลางชุ ม ชนเมื อ ง จึ ง มี ค วามเหมาะสมในการพั ฒ นาเป็ น ย่ า น พ า ณิ ช ย ก ร ร ม ห ลั ก ข อ ง ชุมชน.......................................................................... .............................................................................................. .....................................................................ฯลฯ ทางด้านอุตสาหกรรม บริเวณพื้นที่ที่มีความเหมาะสมอยู่บริเวณด้าน ............ ของ ชุ ม ชน เนื่ อ งจากมี ค วามสะดวกในการเข้ า ถึ ง สำา หรั บ การพั ฒ นา อุ ต สาหกรรมในบริ เ วณนี้ เ ป็ น อุ ต สาหกรรม............. (ประเภท ชนิ ด ฯลฯ..............) โดยเฉพาะอุ ต สาหกรรมเกี่ ย วกั บ ........................... ...ส่วนอุตสาหกรรมที่มีขั้นตอนการผลิตที่ซับซ้อน หรืออาจมีมลพิษต่อ ชุมชนและสิ่งแวดล้อมจะไม่สนับสนุนให้มีการจัดตั้งในชุมชน ควรจะอยู่ นอกชุมชน