SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  82
Télécharger pour lire hors ligne
Primary Care & Aging
                               พัฒนาระบบดูแลผูสงวัย
                                              ู้
                      หัวใจอยูทชมชนและบริการปฐมภูม
                              ่ ี่ ุ               ิ




journal PCFM.indd 1                              6/27/09 7:10:34 PM
วารสารระบบบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว
          The
Thai
Journal
of
Primary
Care
and
Family
Medicine
          
          เป็นวารสารราย	 4	 เดือน	 จัดทำโดยสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนและภาคีร่วมพัฒนาบริการปฐมภูมิและ	
                                                                                                             
          เวชศาสตร์ครอบครัว	เพื่อเผยแพร่ผลงานวิชาการและงานวิจัยด้านบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว	

          คณะผู้จัดทำ
          
          คณะที่ปรึกษา
          	       รองศาสตราจารย์	แพทย์หญิงจันทพงษ์		วะสี					                 	
          	       รองศาสตราจารย์	นายแพทย์สุรเกียรติ		อาชานานุภาพ		
          	       รองศาสตราจารย์	นายแพทย์สีลม		แจ่มอุลิตรัตน์		               	
          	       หัวหน้าภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว	คณะแพทยศาสตร์	โรงพยาบาลรามาธิบดี	            	
          	       หัวหน้าภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว	คณะแพทยศาสตร์	มหาวิทยาลัยเชียงใหม่		
          	       หัวหน้าภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน	คณะแพทยศาสตร์	มหาวิทยาลัยขอนแก่น	
          	       หัวหน้าภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว	คณะแพทยศาสตร์	มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์	 	
          	       หัวหน้าภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว	คณะแพทยศาสตร์	มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์	
          	       หัวหน้าภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน	ครอบครัว	และอาชีวเวชศาสตร์	คณะแพทยศาสตร์	มหาวิทยาลัยนเรศวร	
          	       ประธานราชวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวแห่งประเทศไทย	
          	       ประธานสมาคมกายภาพบำบัดแห่งประเทศไทย	                        นายกสภาการพยาบาล	 	                	          	        	      	
          	       นายกทันตแพทย์สภา	                                           นายกสภาเภสัชกรรม	
          	       นายกสภาเทคนิคการแพทย์		                                     นายกสภากายภาพบำบัด		 	
          	       ประธานชมรมแพทย์ชนบท	                                        ประธานชมรมทันตสาธารณสุขภูธร		 	
          	       ประธานชมรมพยาบาลชุมชนแห่งประเทศไทย		                        ประธานชมรมเภสัชกรรมชนบท	
          	       ประธานชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศไทย	                           ประธานชมรมอาจารย์แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว		
          
          บรรณาธิการ
          	       แพทย์หญิงสุพัตรา		ศรีวณิชชากร	
          
          รองบรรณาธิการ
          	       แพทย์หญิงอรวรรณ		ตะเวทิพงศ์		                               	
          
          กองบรรณาธิการ 
          	       ผู้ช่วยศาสตราจารย์	แพทย์หญิงสายพิณ		หัตถีรัตน์		            ผู้ช่วยศาสตราจารย์	นายแพทย์พีระศักดิ์		เลิศตระการนนท์		
          	       ผู้ช่วยศาสตราจารย์	นายแพทย์ปัตพงษ์		เกษสมบูรณ์				          นายแพทย์ไกรสร		วรดิถี		
          	       นายแพทย์วิโรจน์		วรรณภิระ		                                 นายแพทย์นิพัธ		กิตติมานนท์		
          	       นายแพทย์สุรสิทธิ์		จิตรพิทักษ์เลิศ		                        นายแพทย์พงษ์เทพ		วงศ์วัชรไพบูลย์		
          	       นายแพทย์พณพัฒน์		โตเจริญวานิช	                              นายแพทย์สุภัทร		ฮาสุวรรณกิจ	
          	       นายแพทย์สุวัฒน์		วิริยะพงษ์สุกิจ	                           นายแพทย์กฤษณะ		สุวรรณภูมิ	         	
          	       แพทย์หญิงดาริน		จตุรภัทรพร		                                นายแพทย์สตางค์		ศุภผล	 	
          	       นายแพทย์จตุภูมิ		นีละศรี	                                   นายแพทย์ธีรภาพ		ลิ่วลักษณ์	        	
          	       นายแพทย์ก้องภพ		สีละพัฒน์	                                  นายแพทย์โรจนศักดิ์		ทองคำเจริญ	 	
          	       ผู้แทนสภาการพยาบาล			                                       ผู้แทนสภาเทคนิคการแพทย์			         	
          	       ผู้แทนชมรมเภสัชกรรมชุมชน	                                   ผู้แทนชมรมแพทย์ชนบท	
          	       นางจรรยาวัฒน์		ทับจันทร์		                                  นางสุมนา	ตัณฑเศรษฐี	
          	       นางสาวสุมาลี		ประทุมนันท์		                                 	
          
          ฝ่ายจัดการ 
          	       นางสาวสายใจ		วอนขอพร	                                       นางทัศนีย์		ญาณะ	
          	       นางสาวผการัตน์		ฤทธิ์ศรีบุญ	                                นางนงลักษณ์		ตรงศีลสัตย์		
          	       ทพญ.สุวรรณา		เอื้ออรรถการุณ	                                นายสุรศักดิ์		อธิคมานนท์	 	        	
          
       
          
          สนับสนุนการผลิตโดย
          	       โครงการสนับสนุนการปฏิรูประบบบริการสาธารณสุข		(Thai-European	Health	Care	Reform	Project)	
          
          สถานที่ติดต่อ
          	          สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน	
          	          อาคาร	3	ชั้น	7	ตึกสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข	
          	          ถนนติวานนท์		อำเภอเมือง		จังหวัดนนทบุรี		11000	
          	          โทรศัพท์	02-5901851-2		โทรสาร		02-5901839	
          
          ดาวน์โหลดเนื้อหาของวารสารได้ท
   ี่
          	          www.thaiichr.org	
          	          www.hcrp.or.th	
          
          
          
          
          
          
journal PCFM.indd 2                                                                                                                      6/27/09 7:10:35 PM
สารบัญ

                      เปิดเล่ม                                                                            4	–	6
                      ‹
 มิติที่ต้องพิจารณาใหม่ในการจัดระบบดูแลผู้สูงอายุ	                                  4
                      นิพนธ์ต้นฉบับ                                                                       7–31	
                      ‹
 การสร้างและหาประสิทธิผลวิธีสอนเรื่องรายการอาหารแลกเปลี่ยนไทย	                     6
                      	 หมวดผักสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน		
                      ‹	 การพัฒนาแนวทางและรูปแบบการจัดการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่เป็นโรคเรื้อรังเชิงรุก	    13

                      ‹
 รูปแบบการดูแลสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุในระยะยาวโดยชุมชน	                             22
                      บทความปริทัศน์                                                                      32–40
                      ‹
 การประเมินสุขภาพผู้สูงอายุแบบองค์รวม	                                             32
                      	 กับทิศทางการเปลี่ยนแปลงระบบบริการปฐมภูมิสำหรับผู้สูงอายุในปัจจุบัน		
                      ‹
 การบริการสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุไทยในระดับปฐมภูมิ	                                 37
                      บทความพิเศษ                                                                         41–47
                      ‹
 จริงหรือไม่?	ระบบหลักประกันสุขภาพของไทยอาจล้มละลายจากปัญหาผู้สูงอายุในอนาคต	      41
                      	 บทวิเคราะห์และทางเลือกเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ	
                      บทความ                                                                              48–52	
                      ‹
 พัฒนาระบบดูแลผู้สูงอายุ	คำตอบอยู่ที่ชุมชน	                                        48
                      ‹
 RCFPT	-	really	promoting	family	medicine?	                                        52
                      Case
Report

                                                                       53–61
                      ‹	 เวชศาสตร์ครอบครัวกับการดูแลผู้สูงอายุ	บทบาทที่ท้าทายในงานปฐมภูมิ	                 53
                      ‹
 ประสบการณ์ดูแลผู้ป่วยเบาหวานแบบคนไข้เป็นศูนย์กลาง	                                57
                      บ้านเขาบ้านเรา                                                                      62–69	
                      ‹
 เรียนรู้ดูงานระบบบริการสุขภาพประเทศอังกฤษ	                                        62
                      	 สู่…	การพัฒนาในประเทศไทย	(ตอนที่	2)	
                      เรื่องเล่าจากเครือข่าย                                                              70–75	
                      ‹
 2	แพทย์เวชศาสตร์ไทยคว้าทุนสูงสุด	ITS	                                             70
                      ‹
 การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการด้านเวชศาสตร์ครอบครัว	                                     72
                      
 (5	weekend	Workshop	in	Family	Medicine)	เวทีดีๆ	เพื่อพัฒนาเวชศาสตร์ครอบครัวไทย	
                      ‹
 ตามไปดูผู้สูงอายุในญี่ปุ่น	                                                       74
                      มองด้วยใจ                                                                             
                      ความจำสั้น	แต่รักฉันยาว			                                                           76
                      แนะให้อ่าน                                                                           78




journal PCFM.indd 3                                                                                               6/27/09 7:10:36 PM
เ
ปิ
ด
เ
ล่
ม


                                                                                         มิตทตองพิจารณาใหม่
                                                                                            ิ ี่ ้
                                                                                    ในการจัดระบบดูแลผูสงอายุ
                                                                                                      ้ ู


                              	         วารสารฉบับนี้เป็นฉบับที่สอง	 หลังจากที่ออกไปแล้วหนึ่งเล่มในเรื่อง	 partnership	 ฉบับนี
                          	
                                                                                                                                                         ้
                              มีเนื้อหาหลักคือ	 ผู้สูงอายุ	 ซึ่งถือว่าเป็นประเด็นสำคัญสำหรับสังคมยุคปัจจุบันและสังคมในอนาคต		                              
                              ทีไทยมีแนวโน้มเป็น	aging	society	หมายถึง	สัดส่วนของผูสงอายุสงมากกว่าร้อยละ	10	รวมทังการดูแล
                                 ่                                                                        ้ ู     ู                            ้
                              ผู้สูงอายุเป็นประเด็นสำคัญสำหรับคนทำงานบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว	 ที่จะมีบทบาทร่วม
                              ในการพัฒนาระบบการดูแลประชากรกลุมนีให้มคณภาพชีวตทีด	
                                                                                ่ ้ ี ุ                  ิ ่ ี
                              	         การทำงานกับผูสงอายุนน	 มีเรืองราวทีตองทำความเข้าใจในหลายประเด็น	 เริมตังแต่เรืองสำคัญ
                                                        ้ ู       ั้          ่          ่ ้                                           ่ ้       ่
                              คือแนวคิด	 ทันคติการทำงาน	 ขยายต่อไปถึงการเข้าใจสถานการณ์จริงของผู้สูงอายุในสังคมไทย	 ที่มี
                                   ศักยภาพและปัญหาทังทีเหมือนและต่างจากประเทศกำลังพัฒนา	 รวมทังการมีทกษะการดูแลเพิมเติม
                                                       ้ ่                                                            ้           ั                  ่
                                       ในด้านสังคม	 ด้านการแพทย์	 ด้านกายและด้านจิตใจทีมประเด็นการดูแลแตกต่างไปจากการดูแล
                                                                                                              ่ ี
                                         ประชากรกลุมอืน			
                                                    ่ ่
                                        	       แนวคิด	 มุมมองต่อผู้สูงอายุในปัจจุบัน	 มีทั้งที่เห็นว่าผู้สูงอายุคือกลุ่มที่มีปัญหาสุขภาพ
                                        หลายอย่าง	 มีความเสื่อมทางร่างกายมากที่ต้องดูแลเป็นการเฉพาะ	 ซึ่งเป็นมุมมองในลักษณะที่
                                                          เป็นความเสือมทางร่างกายของผูสงอายุและเป็นภาระทีสงคมต้องดูแลช่วยเหลือ	
                                                                          ่                             ้ ู                   ่ ั
                                                             ในขณะที่อีกมุมมองหนึ่งคือ	 ผู้สูงอายุเป็นผู้ที่มีประสบการณ์ชีวิตมายาวนาน	
                                                              มี ค วามรู้ แ ละภู มิ ปั ญ ญาที่ ส ะสมอยู่ ใ นตนเอง	 เป็ น กลุ่ ม ที่ มี คุ ณ ค่ า ต่ อ
                                                                  ครอบครัวและสังคม	 ทั้งในด้านการเป็นบุคคลที่เคารพนับถือ	 เป็นที่ยึด
                                                                            เหนียวจิตใจของลูกหลานและเป็นบุคคลทีมความรู	 มีฝมอ	ทักษะที่
                                                                                  ่                                         ่ ี          ้ ี ื
                                                                             ติดตัว	 สามารถถ่ายทอดให้แก่คนรุ่นใหม่ได้	 มุมมองที่ต่างกันนี้
                                                                                เป็นได้ทั้งมุมที่ผู้สูงอายุมองตนเอง	 และกลุ่มคนอื่นมองผู้สูงอายุ	
                                                                       อันมีผลกระทบอย่างมากต่อแนวทางการพัฒนาและการจัดระบบที่
                                                                  เกียวกับผูสงอายุ	 บุคลากรทางการแพทย์มกจะมองผูสงอายุในส่วนทีเป็น
                                                                     ่              ้ ู                                 ั            ้ ู               ่
                                                                     ปัญหาสุขภาพ	และมองทางด้านร่างกาย	ทำให้มองแบบเป็นกลุมบุคคล                     ่
                                                                       ที่ต้องช่วยเหลือ	 โดยละเลยการกระตุ้นศักยภาพที่มีอยู่ในผู้สูงอายุ	
                                                                            ทำให้การดูแลขาดมิติการเสริมพลังอำนาจของผู้สูงอายุที่มีความ
                                                                             สำคัญไม่น้อยกว่ากัน	 การจัดระบบบริการสุขภาพและสวัสดิการ
                                                                             ทางสังคมสำหรับผู้สูงอายุสามารถจัดได้ทั้งที่ใช้ศักยภาพของผู้สูงอายุ
                                                                                อย่ า งเต็ ม ที	 เพื่ อ การดู แ ลตนเอง	 ดู แ ลกั น เอง	 และให้ คุ ณ ค่ า		
                                                                                               ่                                                           
                                                                                 ศักดิ์ศรีแก่ผู้สูงอายุ	 แต่ก็ไม่ละเลยที่ต้องค้นหาหรือดูแลกลุ่ม	         
                                                                                 ผู้สูงอายุที่ดูแลตนเองไม่ได้อย่างเต็มที่	 หากเราเข้าใจและมีมุมมอง	      
                                                                                 ที่เห็นลักษณะสองด้านของผู้สูงอายุ	 ก็จะทำให้มิติการจัดการ
                                                                                 เกี่ยวกับผู้สูงอายุมีลักษณะที่หลากหลาย	 ไม่เหมือนกันหมด	                
                                                                                  ทุกคน	 และมีการจัดการทีมากกว่าการสงคราะห์ชวยเหลือ	 แต่
                                                                                                                    ่                      ่
                                                                                  มีการเสริมศักยภาพ	เสริมพลังอำนาจของผูสงอายุรวมด้วย	
                                                                                                                                    ้ ู      ่

    4 วารสารระบบบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว

journal PCFM.indd 4                                                                                                                                 6/27/09 7:10:37 PM
สถานการณ์จริงของผูสงอายุในประเทศไทย	คือ	ผูสงอายุสามารถดูแลตนเองได้	ไม่ตองมีคนดูแล
                                                                     ้ ู                                                   ้ ู                                                      ้
                      มีจำนวนร้อยละ	 88	 มีคนดูแลร้อยละ	 11	 และทีตองการคนดูแลแต่ไม่ม	 ร้อยละ	 1	 (ศิรวรรณ	 ศิรบญ	
                                                                                                          ่ ้                                         ี                        ิ                     ิ ุ
                      2552)	 ผูสงอายุไทยส่วนใหญ่ยงอยูในความดูแลของลูกหลาน	 บุคคลในครอบครัวยังมีบทบาทหลักในการ
                                  ้ ู                                   ั ่
                      ดูแลทังในด้านการเงิน	 และการดูแลทางสังคม	 ระบบอืนในสังคมยังมีบทบาทน้อยซึงแตกต่างจากประเทศ
                              ้                                                                                      ่                                               ่
                      ทางตะวันตก			
                      	          ผูสงอายุมลกษณะทีหลากหลาย	และแตกต่างกันในแต่ละบุคคล	ปัจจุบนสามารถแบ่งผูสงอายุได้
                                   ้ ู            ีั              ่                                                                                           ั                         ้ ู
                      หลายลักษณะคือ	แบ่งตามอายุวย	ได้แก่	 รุนเยาว์	 (60-75	ปี)	รุนกลาง	(75-85	ปี)	รุนใหญ่	 (มากกว่า	
                                                                           ั                 ่                                     ่                                       ่
                      85	ปี)	หรือตามสภาวะสุขภาพ	ได้แก่	 กลุมทีสขภาพดี	 กลุมทีมโรคเรือรัง	และ/มีภาวะทุพพลภาพ	และ
                                                                                            ่ ่ ุ                            ่ ่ ี              ้
                      กลุมทีหง่อม/งอม/บอบบาง	(frail	elderly)	และตามสภาพการพึงพิง	คือ	กลุมพึงตนเองได้ดไม่ตองพึงพา
                          ่ ่                                                                                                    ่                          ่ ่                  ี ้ ่
                      เลย	 กลุมทีตองพึงพาบางส่วน	 กลุมทีตองพึงพาทังหมด	 และกลุมทีตดเตียง	 ผูสงอายุในแต่ละกลุมย่อม
                                ่ ่ ้ ่                                           ่ ่ ้ ่                  ้                         ่ ่ ิ                      ้ ู                             ่
                      ต้องการการดูแลที่ไม่เหมือนกัน	 บทบาทของบุคลากรทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขย่อมต้องมี
                      บทบาทแตกต่างกัน	 อาทิเช่น	 กลุ่มที่พึ่งตนเองได้ด	 เจ้าหน้าที่ควรมีบทบาทเพียงกระตุ้น	 เสริมให้ดูแล
                                                                                                               ี
                      ตนเองได้อย่างเหมาะสม	และมีบทบาทช่วยเหลือคนอืนได้	 ส่วนกลุมทีมปญหาสุขภาพมาก	เจ้าหน้าทียอม   ่                    ่ ่ ี ั                                                      ่ ่
                      ต้องมีบทบาทลงไปดูแลช่วยเหลืออย่างเต็มที	 แต่ก็ไม่ละเลยที่กระตุ้น	 เสริมพลัง	 หรือศักยภาพที่ดีของ	
                                                                                                    ่                                                                                                    
                      ผูสงอายุคนนันๆ	และครอบครัวด้วย			
                        ้ ู               ้
                      	          สภาวะของผูสงอายุมลกษณะทีเปลียนไปทังทางด้านร่างกาย	 ด้านจิตใจ	 และด้านสังคมแวดล้อม	
                                                        ้ ู         ี ั               ่ ่                    ้
                      มีความซับซ้อนของปัญหาสุขภาพทางกายทีทรุดหนักได้งายกว่าประชากรทัวไป	 มีสภาพจิตใจทีสะสมและ
                                                                                          ่                            ่                                ่
                      ได้รับผลกระทบจากสภาพชีวิตที่เกี่ยวพันมายาวนาน	 มีแนวโน้มต่อภาวะซึมเศร้าได้มาก	 และมีสภาพ
                      แวดล้อมที่มีบทบาทในการทำงาน	 ในการหาเลี้ยงชีวิตที่เปลี่ยนไป	 ทำให้ความรู้สึกต่อคุณค่าของตนเอง
                      เปลียนไป	 และบุคคลรอบข้างมีมมมองต่อผูสงอายุเปลียนไป	 ทำให้ลกษณะสุขภาพโดยรวมของผูสงอายุมี
                            ่                                                ุ                 ้ ู                 ่                      ั                                                ้ ู
                      ความซับซ้อนและมีความแตกต่างกันในแต่ละบุคคลอย่างมาก	 จำเป็นทีเจ้าหน้าทีสขภาพในระดับปฐมภูม	                                   ่              ่ ุ                                     ิ
                      จะต้องมีความเข้าใจและมีความรู้	 ทักษะในการประเมินสภาวะและการดูแลผู้สูงอายุได้อย่างเท่าทันและ
                      เหมาะสม						
                      	          การทีปจจัยเกียวข้องกับผูสงอายุมมากมาย	หลายมิต	 และซับซ้อน	การจัดการพัฒนาระบบดูแล
                                             ่ ั          ่                    ้ ู      ี                                      ิ
                      ผู้สูงอายุจึงไม่สามารถจัดการได้โดยบุคลากรทางด้านสาธารณสุขแต่เพียงส่วนเดียว	 ฉะนั้นการประสาน
                      ความร่วมมือกับภาคีหน่วยต่างๆ	 จึงเป็นเรื่องที่สำคัญมากเรื่องหนึ่งที่ละเลยไม่ได้	 เพื่อเป้าหมายคือ
                      คุณภาพชีวตทีดของผูสงอายุ			
                                    ิ ่ ี              ้ ู
                      	          ขณะเดียวกันสังคมไทยที่กำลังก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ	 ลักษณะครอบครัวก็มีลักษณะที่เปลี่ยนไป
                      เป็นสังคมเดียวมากขึน	 วิถชวตทางสังคมก็เปลียนไป	 ความสัมพันธ์ทางสังคมเปลียนไป	 ระบบทางสังคม
                                       ่             ้        ี ีิ                                      ่                                                          ่
                      จึงต้องมีการปรับตัว	และพัฒนาเพือรองรับลักษณะประชากรใหม่ทกำลังเปลียนไปอย่างรวดเร็วนี			
                                                                                ่                                                      ี่                 ่                           ้
                      	          เนือหาในวารสารฉบับนี		ได้เสนอเนือหาในด้านต่างๆ	ของผูสงอายุ	แต่เน้นทีการจัดการผูสงอายุ
                                     ้                                   ้                            ้                                     ้ ู                        ่                       ้ ู
                      ในเชิงระบบเป็นหลัก	 โดยเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับการดูแลในชุมชน	 และการดูแลโดยหน่วยบริการปฐมภูม	                                                                                          ิ
                      นำเสนอแนวคิด	 มุมมองใหม่ในการทำงาน	 การจัดระบบผู้สูงอายุในชุมชน	 ทางเลือกการจัดระบบหลัก
                      ประกันสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ	 การประเมินทางคลินิก	 บทเรียนการดูแลผู้ป่วยที่เป็นผู้สูงอายุ	 บทเรียน
                      การจัดการผูสงอายุในต่างประเทศ	ได้แก่	ญีปน	ซึงหวังว่าจะเป็นส่วนหนึงของการกระตุนให้มแนวทางการ
                                         ้ ู                                                      ่ ุ่ ่                                            ่                    ้        ี
                      พัฒนาระบบดูแสผูสงอายุทเหมาะสมกับสังคมไทยต่อไป	 แต่วารสารนีกยงมีเนือหาสาระอืนๆ	 ทีเป็นสาระ
                                                 ้ ู           ี่                                                                             ้ ็ ั ้                        ่           ่
                      ประจำของวารสาร	ได้แก่ขาวคราวความเคลือนไหวของเพือนสมาชิกในเครือข่ายต่างๆ
 
                                                            ่                                   ่                        ่

                                                                                                                                                           พญ.สุพตรา		ศรีวณิชชากร
                                                                                                                                                                 ั




                                                                                                             The Thai Journal of Primary Care and Family Medicine 5


journal PCFM.indd 5                                                                                                                                                                               6/27/09 7:10:37 PM
การสร้างและหาประสิทธิผลวิธสอนเรืองรายการอาหารแลกเปลียนไทย
                                    ี     ่                     ่
                                            หมวดผักสำหรับผูปวยเบาหวาน
                                                           ้ ่
                                    The
Construction
and
Efficacy
of
Educational
Method
on

                                         Thai
Vegetable
Exchange
Lists
for
Diabetes
Patient
                                                                                                                                                              
                                                                                                                       นพ.โภคิน ศักรินทร์กล
                                                                                                                                          ุ
                                               พ.บ.,ว.ว.เวชศาสตร์ครอบครัว กลุมงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลลำพูน
                                                                             ่
                             Pokin Sakarinkhul MD, RCFPT Department of Social Medicine, Lamphun Hospital
                              
                              บทคัดย่อ
                              	                โรคเบาหวานเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้คนไทยเสียชีวิตจากโรคหัวใจและหลอดเลือด	 แต่การปรับ
                              พฤติกรรมด้านการบริโภคกลับได้รบความสนใจน้อย	 ส่วนหนึงเกิดจากการทีผให้ความรูเบาหวานขาดสือที่
                                                                           ั                        ่                     ่ ู้          ้              ่
                              เหมาะสมในการสอนผู้ป่วย	 การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและหาประสิทธิผลวิธีสอนเรื่องรายการอาหาร
                              แลกเปลียนไทยหมวดผักสำหรับผูปวยเบาหวาน	กลุมตัวอย่างจำนวน	59	คน	ซึงรับการรักษาในเครือข่าย
                                             ่                       ้ ่               ่                                          ่
                              ศูนย์แพทย์ชมชนตำบลมะเขือแจ้	และผ่านเกณฑ์การคัดเลือก	ถูกสุมแบ่งออกเป็น	3	กลุม	เพือรับการให้
                                                  ุ                                                        ่                              ่ ่
                              ความรูขณะมารับยาเบาหวานกับแพทย์	 โดยกลุมที	 1	จำนวน	20	คน	เป็นกลุมควบคุมทีได้รบการรักษา
                                          ้                                         ่ ่                                         ่          ่ ั
                              ตามขันตอนปกติ	กลุมที	2	จำนวน	21	คน	ได้รบการสอนโดยผูให้ความรูอานบัตรให้ความรูเรืองผักให้ฟง	
                                      ้                    ่ ่                       ั                   ้             ้่                    ้ ่               ั
                              และกลุมที	3	จำนวน	18	คน	ได้รบการสอนโดยใช้จวแจ๋วโมเดล	(Jiw	Jaw	Mini	Food	Model)	จากนัน
                                            ่ ่                          ั               ิ๋                                                                ้
                              กลุมตัวอย่างทุกคนต้องตอบแบบสอบถามและแบบทดสอบทีถกสร้างขึน	 และผ่านการหาค่าความเชือมัน
                                    ่                                                              ่ ู         ้                                    ่ ่
                              โดยวิธหาค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์อลฟาของ	 Cronbach	 ได้คาความเชือมันเท่ากับ	 0.88	 นำข้อมูลทีได้
                                        ี                    ์                 ั                       ่             ่ ่                                 ่
                              มาวิเคราะห์โดยโปรแกรมสถิตสำเร็จรูป	 พบว่า	 คะแนนจากการทำแบบทดสอบเรืองผักให้พลังงานในกลุม
                                                                   ิ                                                                ่                        ่
                              ที	 2	 ซึ่งสอนโดยใช้บัตรให้ความรู้เรื่องผักให้พลังงานมีค่าสูงกว่าการรักษาตามขั้นตอนปกติอย่างมีนัย
                                  ่
                              สำคัญทางสถิตทระดับ	0.05	และผลคะแนนจากการทำแบบทดสอบเรืองผักให้พลังงานในกลุมที	 3	ซึงใช้
                                                      ิ ี่                                                       ่                            ่ ่    ่
                              จิวแจ๋วโมเดลมีคาสูงกว่าการรักษาตามขันตอนปกติอย่างมีนยสำคัญทางสถิตทระดับ	 0.05	 แต่คะแนนที่
                                ๋                       ่                         ้              ั                         ิ ี่
                              ได้จากการทำแบบทดสอบเรื่องผักให้พลังงานในกลุ่มที	 3	 ซึ่งใช้จิ๋วแจ๋วโมเดลมีค่ามากกว่ากลุ่มที	 2	 ซึ่ง
                                                                                              ่                                                   ่
                              สอนโดยใช้บตรให้ความรูเรืองผักให้พลังงานอย่างไม่มนยสำคัญทางสถิต	 ฉะนันการใช้สอทีมเนือหาเฉพาะ
                                                    ั          ้ ่                          ี ั                    ิ        ้         ื่ ่ ี ้
                              เจาะจงและมีความน่าสนใจจะทำให้ผปวยเบาหวานมีความรูเพิมมากขึนได้	
                                                                             ู้ ่               ้ ่          ้
          
          Abstract
          	        This	study	compared	efficacy	of	paper-assisted	vs.	model-assisted	method	of	vegetable	education	for	
          diabetes	 patient	 in	 improving	 dietary	 knowledge.	 Fifty-nine	 persons	 with	 noninsulin-dependent	 diabetes	 were	
          randomly	 divided	 into	 3	 groups;	 routine,	 paper-assisted	 and	 model-assisted	 educational	 methods.	 Self-
          administrated	questionnaire	and	test	were	built	and	used	to	collect	personal	data	and	to	evaluate	knowledge	
          about	 Thai	 vegetable	 exchange	 lists.	 Score	 in	 paper-assisted	 and	 model-assisted	 educational	 method	 were	
          significant	greater	than	routine	method	(p<0.05).	Despite	the	score	in	model-assisted	group	were	greater	than	
          paper-assisted	 group,	 few	 differences	 were	 seen	 (p=	 0.3).	 Diabetic	 educator	 need	 to	 have	 enough	 proper	
          resources	to	fulfill	diabetes	educational	programs.		

    6 วารสารระบบบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว

journal PCFM.indd 6                                                                                                                                      6/27/09 7:10:38 PM
ประเด็นสำคัญ                                                                Keywords 



                      เบาหวาน	                                                                    Diabetes	 				
                      การให้ความรู	
                                  ้                                                               Instruction,	nutrition	education	methods	                          				
                      รายการอาหารแลกเปลียน	
                                        ่                                                         Exchange	lists	 				
                      ลำพูน	                                                                      Lamphun	 

                              
                              บทนำ
                              	            โรคหัวใจและหลอดเลือด1	คือโรคเรือรังประจำตัวอันดับ	1	ของคนไทย	โดยร้อยละ	28	ของคน
                                                                                           ้
                              ไทยป่วยด้วยโรคดังกล่าว	และโรคในกลุมหัวใจหลอดเลือด	ไม่วาจะเป็นโรคหัวใจขาดเลือด	และโรคสมอง
                                                                                         ่                                   ่
                              ขาดเลือดจากหลอดเลือดตีบหรือหลอดเลือดแตก 	 โรคเหล่านี้ได้คร่าชีวิตคนไทยรวมปีละกว่า	 65,000	
                                                                                                        1

                              คน1	 ปัจจัยเสียงอย่างหนึงทีทำให้เกิดภาวะดังกล่าวคือ	 เบาหวาน	 แต่จากข้อมูลการสำรวจสภาวะสุขภาพ
                                               ่               ่ ่
                              อนามัยของประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครังที	 3	 พ.ศ.	 2547	 กลับพบว่า	 ผูปวยเบาหวานร้อยละ	
                                                                                                       ้ ่                                            ้ ่
                              1.9	 ในเพศชาย	 ร้อยละ	 1.7	 ในเพศหญิงได้รบการวินจฉัย	 แต่ไม่ได้รบการรักษา 	 แต่ถงแม้จะได้รบการ
                                                                                               ั                  ิ               ั                2
                                                                                                                                                            ึ               ั
                              รักษาด้วยยาลดไขมันหรือยาฉีดอีนซูลนแล้ว	ผูปวยเบาหวานร้อยละ	24.1	ในเพศชาย	และร้อยละ	33.9	
                                                                                       ิ         ้ ่
                              ในเพศหญิงก็ยังไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลหลังอดอาหารให้เหมาะสมได้2	 ซึ่งจากการประเมินระบบ
                              การดูแลผู้ป่วยเบาหวานของเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิซึ่งเป็นหน่วยที่ผู้ป่วยสามารถเข้าถึงได้โดย
                              สะดวก	 พบว่าการปฏิบตตวของผูปวยเบาหวานด้านการรักษา	 การดูแลสุขภาพทัวไปส่วนใหญ่อยูในระดับ
                                                             ั ิ ั         ้ ่                                                                   ่                ่
                              ดี	 แต่ในด้านบริโภคกลับมีระดับดีนอยกว่าด้านอืน 	 ทังนีแนวเวชปฏิบตโครงการบริหารจัดการดูแลรักษา	
                                                                               ้                     ่  3
                                                                                                                 ้ ้             ั ิ                                            
                              ผู้ป่วยเบาหวานและภาวะที่เกี่ยวข้องกับเบาหวานอย่างครบวงจรในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติได้
                              ระบุว่า	 เนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับโภชนบำบัดเป็นเนื้อหาความรู้ที่จำเป็นและเป็นมาตรฐานที่ต้องให้สำหรับ
                                               	
                              ผู้ป่วยเบาหวานในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 	 แต่ผู้ให้บริการอาจมีข้อจำกัดบางประการทำให้
                                                                                                                    4
                                                                                                                                                                                	
                              ไม่สามารถให้ความรูดงกล่าวได้	เช่น	การขาดสือการให้ความรูทเหมาะสม
                                                        ้ ั                                  ่                        ้ ี่
                              	            การที่ผู้ป่วยจะเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อรักษาสุขภาพตนเองได้นั้น	 ปัจจัยหนึ่งคือการมีความรู้
                                              	
                              ความเข้าใจในโรคของตนเอง 	 โดยเฉพาะอย่างยิ่งความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารให้เหมาะสม	 แต่ใน	
                                                                       5
                                                                                                                                                                                
                              เวชปฏิบัติประจำวัน	 การให้ความรู้ดังกล่าวอย่างครอบคลุมอาจทำได้ยาก	 และบางครั้งอาจเพียงบอกแก่ผู้ป่วย	                                              
                              ว่าให้รับประทานผักแต่ไม่ได้จำเพาะเจาะจงว่าเป็นผักประเภทใด	 ซึ่งสำหรับผู้ป่วยเบาหวานแล้วการเข้าใจ
                              เรืองอาหารโรคเบาหวาน	(Diabetes	mellitus	diet)	คุณค่าอาหารแลกเปลียนโรคเบาหวาน	หรือรายการ
                                    ่                                                                                                    ่
                              อาหารแลกเปลียนไทย	(Thai	Food	Exchange	List) 	เป็นสิงสำคัญทีจะช่วยให้เกิดการปรับปรุงสภาวะ
                                                 ่                                                              6,7
                                                                                                                           ่         ่
                              โภชนาการของผู้ป่วย	 น้ำหนักตัวของผู้ป่วยอยู่ในเกณฑ์ที่ควรจะเป็น	 ระดับน้ำตาลในเลือดมีค่าใกล้เคียง
                              กับภาวะปกติ	 และป้องกันหรือชะลอการเกิดโรคแทรกซ้อน7	 การบอกให้ผู้ป่วยรับประทานผักโดยไม่ได้
                              ชีแจงถึงประเภทของผัก	อาจทำให้ผปวยหันไปรับประทานผักประเภท	ข.	ทีให้พลังงาน	25	กิโลแคลลอรี
                                ้                                                ู้ ่                                                      ่
                              ต่อส่วน 	เพียงอย่างเดียวโดยไม่ได้ตงใจ		เป็นผลให้ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ดพอ	
                                         6,7
                                                                                    ั้                                                                    ี
                              	            แม้สมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย	 (Thai	 Dietetic	 Association)	 ได้จดทำหุนจำลอง                                   ั   ่
                              อาหาร	 (Food	 Model)	 เพื่อใช้เป็นสื่อในการสอนแก่ผู้ป่วย	 แต่ราคาของสื่อชุดเล็ก	 25	 ชิ้น	 ซึ่งอยู่ท	                                             ี่
                              9,000	บาท	ชุดกลาง	50	ชิน	18,000	บาท	และชุดใหญ่	 75	ชิน	27,000	บาท	หากรวมกระเป๋าบรรจุ
                                                                       ้                                                       ้
                              โมเดลจะมีราคาถึง	12,500	บาท	22,500	บาท	และ	35,000	บาท	ตามลำดับ	(ราคาสำรวจเมือเดือน                                                          ่
                              มีนาคม	 พ.ศ.	 2552)	 อาจเป็นอุปสรรคแก่สถานบริการปฐมภูมิที่ต้องการสื่อชนิดนี้ได้	 นอกจากนี
                                                        	  ้
                              หุนจำลองอาหารดังกล่าวไม่ได้มรายละเอียดติดไว้ทตวสือ	จำเป็นต้องจัดทำรายละเอียดเพิมเติมเมือวางสือ
                                  ่                                      ี                                ี่ ั ่                                              ่       ่       ่
                              ไว้ให้ผปวยและผูทสนใจศึกษาได้ดวยตนเอง	 การวิจยครังนีจงได้สร้าง	 “จิวแจ๋วโมเดล (Jiw Jaw Mini
                                      ู้ ่         ้ ี่                     ้                               ั ้ ้ึ                     ๋
                              Food
Model)”	เพือเป็นสือทางเลือกในการให้ความรูเรืองรายการอาหารแลกเปลียนไทยพร้อมทังดำเนิน
                                                         ่         ่                                            ้ ่                                 ่                   ้
                              การหาประสิทธิผลวิธสอนเรืองรายการอาหารแลกเปลียนไทยหมวดผักสำหรับผูปวยเบาหวานด้วย	
                                                           ี         ่                                        ่                              ้ ่
                                                                                                     The Thai Journal of Primary Care and Family Medicine 7


journal PCFM.indd 7                                                                                                                                                         6/27/09 7:10:39 PM
วัตถุประสงค์
                              
                              1.	 จัดทำสือทางเลือกในการให้ความรูเรืองรายการอาหารแลกเปลียนไทย	
                                         ่                      ้ ่                    ่
                              2.	หาประสิทธิผลวิธสอนเรืองรายการอาหารแลกเปลียนไทยหมวดผักสำหรับผูปวยเบาหวาน	
                                                  ี    ่                     ่                ้ ่
                              
                              ประโยชน์ทคาดว่าจะได้รบ
                                       ี่          ั
                              
                                                                                                                          
                              1.	 ได้สื่อทางเลือกในการให้ความรู้เรื่องรายการอาหารแลกเปลี่ยนไทยที่มีราคาถูกและผู้ป่วยสามารถ	
                              	 เรียนรูได้ดวยตนเอง	
                                         ้ ้
                              2.	ทราบถึงประสิทธิผลวิธสอนเรืองรายการอาหารแลกเปลียนไทยหมวดผักสำหรับผูปวยเบาหวาน	
                                                      ี     ่                     ่                      ้ ่
                              
                              นิยามศัพท์
                              	 	 ผู้ป่วยเบาหวาน	 คือ	 ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยตามเกณฑ์ของสำนักบริหารจัดการโรคเฉพาะ	
                              สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ4	และไม่มขอยกเว้นดังต่อไปนี	
                                                                          ี้               ้
                              1.	 เจ็บป่วยด้วยโรคหรือภาวะทีเป็นอุปสรรคต่อการมองเห็น	การได้ยน	และการเข้าใจภาษา	
                                                           ่                                 ิ
                              2.	ไม่สามารถอ่านและเขียนหนังสือได้	
                              3.	ไม่สมัครใจเข้าร่วมโครงการและหรือไม่ลงลายมือชือให้ความยินยอมเข้าร่วมโครงการ	
                                                                              ่
                              
                              วิธการดำเนินวิจย
                                 ี           ั
                              
         สร้างเครืองมือทีใช้ในการสอน	ประกอบไปด้วยเครืองมือสองชนิดคือ	
                                                 ่       ่                               ่
                              
         เครืองมือชนิดที่ 1
บัตรให้ความรูเรืองผักให้พลังงาน
                                              ่                           ้ ่
                              	         สุมอย่างง่าย	(Simple	random)	เพือเลือกตัวอย่างผักประเภท	ก.	และผักประเภท	ข.	มาอย่าง
                                          ่                                 ่
                              ละ	5	ชนิด	นำมาพิมพ์เป็นบัตรทีมขอความว่า	“ผักมีหลายชนิด ให้พลังงานแตกต่างกัน จัดแบ่งเป็น 2
                                                                     ่ ี้
                              ประเภท ได้แก่ ประเภท ก. ผัก 1 ส่วนคือผักดิบ 1 ขีดหรือ 70-100 กรัมให้พลังงานต่ำมาก ได้แก่
                              กะหล่ำปลี มะเขือเทศ ฟักเขียว ผักกาดสลัด ดอกกะหล่ำ ประเภท ข. ผัก 1 ส่วนคือผักดิบ 1 ขีดหรือ
                              70-100 กรัม ให้พลังงาน 25 กิโลแคลอรี ได้แก่ ฟักทอง แครอท เห็ดนางรม บร๊อกโคลี่ ถัวฟักยาว”
                                                                                                                   ่
                              สำหรับผูให้ความรูอานให้แก่ผปวยฟัง	
                                      ้            ้่           ู้ ่
                              
         เครืองมือชนิดที่ 2
จิวแจ๋วโมเดล (Jiw Jaw Mini Food Model)	ประดิษฐ์ตามขันตอนดังต่อไปนี
                                            ่                 ๋                                                ้             ้
                              	         1.	 ตัดกระดาษแข็งเพือทำเป็นฐานกว้าง	10	ซม.	ยาว	10	ซม.	
                                                                   ่
                              	         2.	 จัดพิมพ์ขอมูลทีจำเป็นลงบนกระดาษกาว	(รูปที	1)
                                                      ้     ่                              ่
                              

                                          
                 ถัวฝักยาว
                                                              ่                              ชืออาหาร
                                                                                               ่

                                                ผัก (ข)     1 ขีด
    25
                    คุณลักษณะของอาหาร
                                                          (70-100	กรัม)   กิโลแคลอรี	(			)

                                                ประเภท       ปริมาณ           พลังงาน
                                                             รูปที่ 1	ตัวอย่างคำบรรยายโมเดล	

    8 วารสารระบบบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว

journal PCFM.indd 8                                                                                                      6/27/09 7:10:40 PM
3.		นำโมเดลจิวมาติดกับแผ่นกระดาษแข็ง	และนำกระดาษกาวทีมขอมูลมาติด	(รูปที	2)	
                                             ๋                                       ่ ี้              ่
                      
                      
                                                     ฐานกระดาษกว้าง 10 cm




                                                                                                                 โมเดลจิว
                                                                                                                        ๋
                                    ฐานกระดาษยาว 10 cm
                      

                      
                      
                                                          ถัวฝักยาว
                                                                                   ่
                                                                      ผัก        1 ขีด
    25
                                                                      (ข)      (70-100	กรัม) กิโลแคลอรี	(			)



                                                                                คำบรรยายโมเดล
                                                                 รูปที่ 2		ตัวอย่างโมเดลทีประกอบเสร็จ	
                                                                                          ่

                      
                      	         จากนัน	นำโมเดลทีประดิษฐ์เสร็จมาประกอบการให้ความรู	โดยกล่าวเนือหาให้เหมือนกับทีอยูใน
                                             ้                    ่                                              ้           ้           ่ ่
                      บัตรให้ความรูเรืองผักให้พลังงาน	
                                            ้ ่
                      
         คัดเลือกประชากรและกลุ่มตัวอย่าง	 ได้แก่	 ผู้ป่วยเบาหวานตามนิยามศัพท์จำนวน	 59	 คน
                      ทีทำการรักษาเบาหวานกับแพทย์ทศนย์แพทย์ชมชนตำบลมะเขือแจ้	 อ.เมือง	จ.ลำพูน	หรือเครือข่ายศูนย์
                        ่                                                   ี่ ู         ุ
                      สุขภาพชุมชนข้างเคียง	
                      
         ทำการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล
                      	         กลุมตัวอย่างถูกแบ่งออกเป็น	 3	 กลุมโดยวิธสมอย่างง่าย	 (Simple	 random)	 และได้รบความรู้
                                    ่                                                  ่              ี ุ่                         ั
                      โดยวิธแตกต่างกัน	3	วิธได้แก่	
                              ี                              ี
                      
         กลุมที่ 1	 กลุมควบคุม	จำนวน	20	คน	ได้รบการรักษาตามขันตอนปกติ	
                                      ่                  ่                                          ั                  ้
                      
         กลุมที่ 2	 กลุมตัวอย่างทีได้รบการสอนโดยใช้บตรให้ความรูเรืองผักให้พลังงาน	 จำนวน	 21	 คน	
                                        ่              ่                   ่ ั                             ั       ้ ่
                      ได้รบการสอนโดยผูให้ความรูอานบัตรให้ความรูเรืองผักให้ฟง	
                           ั                      ้                 ้่                     ้ ่                 ั
                      
         กลุมที่ 3	กลุ่มตัวอย่างที่ได้รับการสอนโดยใช้จิ๋วแจ๋วโมเดล	 (Jiw	 Jaw	 Mini	 Food	 Model)	
                                          ่
                      จำนวน	 18	 คน	 ได้รับการสอนโดยผู้ให้ความรู้กล่าวเนื้อหาให้เหมือนกับที่อยู่ในบัตรให้ความรู้เรื่องผักให้
                      พลังงาน	 ประกอบกับชีจวแจ๋วโมเดล	 จำนวน	 10	 ชิน	 ซึงถูกแบ่งออกเป็น	 2	 ด้าน	 ด้านละ	 5	 ชินตาม
                                                           ้ ิ๋                                    ้ ่                                 ้
                      ประเภท	โดยผักประเภท	ก.	อยูทางซ้ายมือของผูปวย	และผักประเภท	ข.	อยูทางขวามือของผูปวย	
                                                                         ่                   ้ ่                           ่   ้ ่
                      	         ทั้งสามกลุ่มได้รับการตรวจรักษาโดยแพทย์คนเดียวกัน	 และได้รับวิธีการให้ความรู้ตามกลุ่มที
                      	
                                                                                                                                             ่
                      ถูกเลือก	 ระหว่างรอรับยาจะได้รบการทดสอบความรูจากแบบสอบถามแบบกรอกเอง	 (Self	 administrated
                                                                       ั                         ้
                      questionnaire)	ซึงแบ่งออกเป็น	2	ส่วนคือ	
                                                ่
                      
         ส่วนที่ 1	 ข้อมูลทัวไป	ได้แก่	ชือ	นามสกุล	ทีอยู	เพศ	อายุ	
                                                                ่                ่                      ่ ่
                      
         ส่วนที่ 2	 แบบทดสอบความรู้เรื่องผักให้พลังงานจำนวน	 10	 ข้อ	 มี	 2	 ตัวเลือก	 (2-choice	
                      questionnaire)	 ให้ผปวยเลือกตอบว่า	 ผักทียกตัวอย่าง	 1	 ส่วนให้พลังงานน้อยมากหรือให้พลังงาน	 25	
                                                    ู้ ่                             ่
                      กิโลแคลลอรี	หากตอบถูกคิดเป็น	1	คะแนน	ถ้าไม่ตอบหรือตอบผิดจะไม่ได้คะแนน	
                      	         ทำการหาค่าความเชือมันโดยวิธหาค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์อลฟาของ	 Cronbach8	 ได้คาความ
                                                                    ่ ่            ี                         ์           ั           ่
                      เชือมันเท่ากับ	0.88	 	
                          ่ ่
                      
                                                                                The Thai Journal of Primary Care and Family Medicine 9


journal PCFM.indd 9                                                                                                                    6/27/09 7:10:41 PM
การวิเคราะห์ขอมูล
                                           ้
                              ผูวจยนำข้อมูลทีได้มาประมวลผลและวิเคราะห์โดยใช้โปรแกรมทางสถิตสำเร็จรูป		
                                ้ิั           ่                                           ิ
                              1.	 วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปและคะแนนจากการทำแบบทดสอบโดยสถิติเชิงพรรณนา	 คือ	 การแจกแจง	
                                                                                                                 
                              	 ความถีและคำนวณเป็นร้อยละ		
                                        ่
                              2.	ทดสอบความแตกต่างค่าเฉลียของคะแนนระหว่างกลุมโดยใช้สถิต	t-test8
                                                           ่                   ่       ิ
                              
                              ผลการวิจย
                                      ั
                              
        ตารางที่ 1	แสดงข้อมูลเพศและอายุของกลุมตัวอย่าง	
                                                                            ่
                                                กลุม
                                                   ่               กลุมที่ 1
                                                                      ่                กลุมที่ 2
                                                                                          ่            กลุมที่ 3
                                                                                                          ่
                                                                                                             รวม
                                                               รักษาตามขัน บัตรให้ความรูเรือง
                                                                         ้              ้ ่
                                              สือทีใช้สอน
                                                ่ ่                                           จิวแจ๋วโมเดล สามกลุม
                                                                                                ๋                 ่
                                                                 ตอนปกติ     ผักให้พลังงาน
                                              จำนวน	(คน)	           20	            21	             18	       59		
                                             เพศ	       ชาย
        6	              3	              5	        14	
                                            (คน)	 หญิง	             14	            18	             13	       	45			
                                                       ต่ำสุด
      44	            41	             44	        41	
                                             อายุ	 สูงสุด	          75	           80	               71	       80	
                                             (ปี)	     เฉลีย	
                                                           ่       59.0	         60.5	            57.8	     59.2	
                                                        SD	        9.17	         9.37	            8.61	     8.99	
                                       

                              จากตารางพบว่า	ผูปวยในกลุมที	 1,	2	และ	3	มีจำนวน	20,	21	และ	18	คน	ตามลำดับ	โดยในแต่ละ
                                                 ้ ่          ่ ่
                              กลุมมีผปวยเพศหญิงมากกว่าเพศชาย	 อายุเฉลียของแต่ละกลุมอยูท	 59.0,	 60.5	 และ	 57.8	 ปี	 ตาม
                                 ่ ู้ ่                                   ่           ่ ่ ี่
                              ลำดับ	ทังนีอายุเฉลียของผูปวยทีเข้าร่วมโครงการทังหมดคือ	59.2	ปี	
                                      ้ ้         ่       ้ ่ ่              ้
                              
                              
        ตารางที่ 2	ค่าเฉลียและค่าความเบียงเบนมาตรฐานของคะแนนทีได้จากการทำแบบทดสอบ		
                                                            ่          ่                      ่
                              	        	            ของผูปวยเบาหวานทีสอนด้วยวิธตางๆ		
                                                         ้ ่         ่         ี ่
                                              กลุม
                                                 ่             สือทีใช้สอน
                                                                 ่ ่                 จำนวน ค่าเฉลีย ค่าความเบียงเบนมาตรฐาน
                                                                                                  ่           ่
                                                                                       N       X                SD
                                            กลุมที	1		
                                               ่ ่            ได้รบการรักษา	
                                                                     ั                 20	   2.90	              3.01	
                                          (กลุมควบคุม)	
                                              ่              ตามขันตอนปกติ	
                                                                       ้
                                            กลุมที	2		
                                               ่ ่             บัตรให้ความรู	้        21	      5.90	               3.10	
                                         (กลุมทดลอง	1)	
                                             ่              เรืองผักให้พลังงาน	
                                                               ่
                                            กลุมที	3		
                                               ่ ่               จิวแจ๋วโมเดล	
                                                                   ๋                  18	      6.94	               3.10	
                                         (กลุมทดลอง	2)	 (Jiw
Jaw
Mini
Food
Model)	
                                             ่
                                              รวม	                 59	               5.20	     3.47	                 
                              


   10 วารสารระบบบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว

journal PCFM.indd 10                                                                                                         6/27/09 7:10:42 PM
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย

Contenu connexe

Tendances

58210401213 งาน 1 ss
58210401213 งาน 1 ss58210401213 งาน 1 ss
58210401213 งาน 1 sspravina Chayopan
 
โครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทยโครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทยSurasak Tumthong
 
การพัฒนารูปแบบและระบบบริการปฐมภูมิเขตเมือง
การพัฒนารูปแบบและระบบบริการปฐมภูมิเขตเมืองการพัฒนารูปแบบและระบบบริการปฐมภูมิเขตเมือง
การพัฒนารูปแบบและระบบบริการปฐมภูมิเขตเมืองThira Woratanarat
 
ความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพคู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพUtai Sukviwatsirikul
 
Newsletterphlibv2n3
Newsletterphlibv2n3Newsletterphlibv2n3
Newsletterphlibv2n3Yuwadee
 
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุอยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุVorawut Wongumpornpinit
 
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสานแนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสานVorawut Wongumpornpinit
 
การดูแลผู้ป่วยระยะท้ายที่บ้าน, End of life care
การดูแลผู้ป่วยระยะท้ายที่บ้าน, End of life careการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายที่บ้าน, End of life care
การดูแลผู้ป่วยระยะท้ายที่บ้าน, End of life careKhanawut Nitikul
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์Apichat kon
 
โรงเรียนผู้สูงอายุ
โรงเรียนผู้สูงอายุโรงเรียนผู้สูงอายุ
โรงเรียนผู้สูงอายุgel2onimal
 
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓dentyomaraj
 
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพgel2onimal
 
ผลการเคลือบหลุมร่องฟัน คลินิกเขต 6
ผลการเคลือบหลุมร่องฟัน คลินิกเขต 6ผลการเคลือบหลุมร่องฟัน คลินิกเขต 6
ผลการเคลือบหลุมร่องฟัน คลินิกเขต 6yimsodsai
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสานแนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสานVorawut Wongumpornpinit
 
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปีคู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปีUtai Sukviwatsirikul
 

Tendances (19)

58210401213 งาน 1 ss
58210401213 งาน 1 ss58210401213 งาน 1 ss
58210401213 งาน 1 ss
 
โครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทยโครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทย
 
การพัฒนารูปแบบและระบบบริการปฐมภูมิเขตเมือง
การพัฒนารูปแบบและระบบบริการปฐมภูมิเขตเมืองการพัฒนารูปแบบและระบบบริการปฐมภูมิเขตเมือง
การพัฒนารูปแบบและระบบบริการปฐมภูมิเขตเมือง
 
ความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพ
 
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพคู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ
 
Newsletterphlibv2n3
Newsletterphlibv2n3Newsletterphlibv2n3
Newsletterphlibv2n3
 
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุอยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
 
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสานแนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
 
การดูแลผู้ป่วยระยะท้ายที่บ้าน, End of life care
การดูแลผู้ป่วยระยะท้ายที่บ้าน, End of life careการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายที่บ้าน, End of life care
การดูแลผู้ป่วยระยะท้ายที่บ้าน, End of life care
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
 
โรงเรียนผู้สูงอายุ
โรงเรียนผู้สูงอายุโรงเรียนผู้สูงอายุ
โรงเรียนผู้สูงอายุ
 
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
 
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
 
ผลการเคลือบหลุมร่องฟัน คลินิกเขต 6
ผลการเคลือบหลุมร่องฟัน คลินิกเขต 6ผลการเคลือบหลุมร่องฟัน คลินิกเขต 6
ผลการเคลือบหลุมร่องฟัน คลินิกเขต 6
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสานแนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแพทย์ผสมผสาน
 
11
1111
11
 
11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ
11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ
11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ
 
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปีคู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
 

En vedette

โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)Chuchai Sornchumni
 
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
์Needs of Elderly long term care medical services for hospitalDMS Library
 
Elderly ppt and suggested essay outline
Elderly ppt and suggested essay outlineElderly ppt and suggested essay outline
Elderly ppt and suggested essay outlinepepperleejy
 
Commom problems in trauma of elderly
Commom problems in trauma of elderlyCommom problems in trauma of elderly
Commom problems in trauma of elderlyKrongdai Unhasuta
 
Innovation and robotic for aging society
Innovation and robotic for aging societyInnovation and robotic for aging society
Innovation and robotic for aging societypantapong
 
Rehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for ElderlyRehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for Elderlytaem
 
Event @ AICare Hub (15 Feb) - Falls Prevention and Home Safety for the Elderly
Event @ AICare Hub (15 Feb) - Falls Prevention and Home Safety for the ElderlyEvent @ AICare Hub (15 Feb) - Falls Prevention and Home Safety for the Elderly
Event @ AICare Hub (15 Feb) - Falls Prevention and Home Safety for the ElderlySingapore Silver Pages
 
Preventing Patient Falls in Acute Care Hospitals
Preventing Patient Falls in Acute Care HospitalsPreventing Patient Falls in Acute Care Hospitals
Preventing Patient Falls in Acute Care HospitalsJoe Tomsic
 
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านคู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านUtai Sukviwatsirikul
 
12Oct16 - Housing in an Ageing Society
12Oct16 - Housing in an Ageing Society12Oct16 - Housing in an Ageing Society
12Oct16 - Housing in an Ageing SocietyILC- UK
 
Adult inequalities in lifespan
Adult inequalities in lifespanAdult inequalities in lifespan
Adult inequalities in lifespanILC- UK
 

En vedette (14)

โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
 
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
 
Elderly ppt and suggested essay outline
Elderly ppt and suggested essay outlineElderly ppt and suggested essay outline
Elderly ppt and suggested essay outline
 
Commom problems in trauma of elderly
Commom problems in trauma of elderlyCommom problems in trauma of elderly
Commom problems in trauma of elderly
 
Innovation and robotic for aging society
Innovation and robotic for aging societyInnovation and robotic for aging society
Innovation and robotic for aging society
 
Rehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for ElderlyRehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for Elderly
 
Review literature in nursing
Review literature in nursingReview literature in nursing
Review literature in nursing
 
Event @ AICare Hub (15 Feb) - Falls Prevention and Home Safety for the Elderly
Event @ AICare Hub (15 Feb) - Falls Prevention and Home Safety for the ElderlyEvent @ AICare Hub (15 Feb) - Falls Prevention and Home Safety for the Elderly
Event @ AICare Hub (15 Feb) - Falls Prevention and Home Safety for the Elderly
 
Balance in elderly
Balance in elderlyBalance in elderly
Balance in elderly
 
Preventing Patient Falls in Acute Care Hospitals
Preventing Patient Falls in Acute Care HospitalsPreventing Patient Falls in Acute Care Hospitals
Preventing Patient Falls in Acute Care Hospitals
 
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านคู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน
คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน
 
Falls Prevention Introduction
Falls Prevention IntroductionFalls Prevention Introduction
Falls Prevention Introduction
 
12Oct16 - Housing in an Ageing Society
12Oct16 - Housing in an Ageing Society12Oct16 - Housing in an Ageing Society
12Oct16 - Housing in an Ageing Society
 
Adult inequalities in lifespan
Adult inequalities in lifespanAdult inequalities in lifespan
Adult inequalities in lifespan
 

Similaire à พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย

แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตsivapong klongpanich
 
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ โปรตอน บรรณารักษ์
 
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตนำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตGob Chantaramanee
 
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทยสถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทยMickey Toon Luffy
 
คู่มือ PCA เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้าคู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA เล่มฟ้าDr.Suradet Chawadet
 
Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2557แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2557Utai Sukviwatsirikul
 
Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4taem
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนCAPD AngThong
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยsoftganz
 
แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557
แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557
แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557Utai Sukviwatsirikul
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3taem
 
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณีหลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณีTuang Thidarat Apinya
 
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นKomsan Iemthaisong
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1taem
 

Similaire à พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย (20)

แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
 
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตนำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
 
Epilepsy
EpilepsyEpilepsy
Epilepsy
 
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทยสถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย
 
คู่มือ PCA เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้าคู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA เล่มฟ้า
 
Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy
 
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2557แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2557
 
Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
 
Primary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao TPrimary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao T
 
Alter medpart2 n
Alter medpart2 n Alter medpart2 n
Alter medpart2 n
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
 
แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557
แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557
แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3
 
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณีหลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
หลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับ พยาบาลผู้จัดการรายกรณี
 
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
 
Dm thai guideline
Dm thai guidelineDm thai guideline
Dm thai guideline
 

พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย

  • 1.
  • 2. Primary Care & Aging พัฒนาระบบดูแลผูสงวัย ู้ หัวใจอยูทชมชนและบริการปฐมภูม ่ ี่ ุ ิ journal PCFM.indd 1 6/27/09 7:10:34 PM
  • 3. วารสารระบบบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว The Thai Journal of Primary Care and Family Medicine เป็นวารสารราย 4 เดือน จัดทำโดยสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนและภาคีร่วมพัฒนาบริการปฐมภูมิและ เวชศาสตร์ครอบครัว เพื่อเผยแพร่ผลงานวิชาการและงานวิจัยด้านบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว คณะผู้จัดทำ คณะที่ปรึกษา รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิงจันทพงษ์ วะสี รองศาสตราจารย์ นายแพทย์สุรเกียรติ อาชานานุภาพ รองศาสตราจารย์ นายแพทย์สีลม แจ่มอุลิตรัตน์ หัวหน้าภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี หัวหน้าภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หัวหน้าภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น หัวหน้าภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หัวหน้าภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หัวหน้าภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน ครอบครัว และอาชีวเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ประธานราชวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวแห่งประเทศไทย ประธานสมาคมกายภาพบำบัดแห่งประเทศไทย นายกสภาการพยาบาล นายกทันตแพทย์สภา นายกสภาเภสัชกรรม นายกสภาเทคนิคการแพทย์ นายกสภากายภาพบำบัด ประธานชมรมแพทย์ชนบท ประธานชมรมทันตสาธารณสุขภูธร ประธานชมรมพยาบาลชุมชนแห่งประเทศไทย ประธานชมรมเภสัชกรรมชนบท ประธานชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศไทย ประธานชมรมอาจารย์แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว บรรณาธิการ แพทย์หญิงสุพัตรา ศรีวณิชชากร รองบรรณาธิการ แพทย์หญิงอรวรรณ ตะเวทิพงศ์ กองบรรณาธิการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ แพทย์หญิงสายพิณ หัตถีรัตน์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์พีระศักดิ์ เลิศตระการนนท์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์ นายแพทย์ไกรสร วรดิถี นายแพทย์วิโรจน์ วรรณภิระ นายแพทย์นิพัธ กิตติมานนท์ นายแพทย์สุรสิทธิ์ จิตรพิทักษ์เลิศ นายแพทย์พงษ์เทพ วงศ์วัชรไพบูลย์ นายแพทย์พณพัฒน์ โตเจริญวานิช นายแพทย์สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ นายแพทย์สุวัฒน์ วิริยะพงษ์สุกิจ นายแพทย์กฤษณะ สุวรรณภูมิ แพทย์หญิงดาริน จตุรภัทรพร นายแพทย์สตางค์ ศุภผล นายแพทย์จตุภูมิ นีละศรี นายแพทย์ธีรภาพ ลิ่วลักษณ์ นายแพทย์ก้องภพ สีละพัฒน์ นายแพทย์โรจนศักดิ์ ทองคำเจริญ ผู้แทนสภาการพยาบาล ผู้แทนสภาเทคนิคการแพทย์ ผู้แทนชมรมเภสัชกรรมชุมชน ผู้แทนชมรมแพทย์ชนบท นางจรรยาวัฒน์ ทับจันทร์ นางสุมนา ตัณฑเศรษฐี นางสาวสุมาลี ประทุมนันท์ ฝ่ายจัดการ นางสาวสายใจ วอนขอพร นางทัศนีย์ ญาณะ นางสาวผการัตน์ ฤทธิ์ศรีบุญ นางนงลักษณ์ ตรงศีลสัตย์ ทพญ.สุวรรณา เอื้ออรรถการุณ นายสุรศักดิ์ อธิคมานนท์ สนับสนุนการผลิตโดย โครงการสนับสนุนการปฏิรูประบบบริการสาธารณสุข (Thai-European Health Care Reform Project) สถานที่ติดต่อ สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน อาคาร 3 ชั้น 7 ตึกสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ถนนติวานนท์ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 โทรศัพท์ 02-5901851-2 โทรสาร 02-5901839 ดาวน์โหลดเนื้อหาของวารสารได้ท ี่ www.thaiichr.org www.hcrp.or.th journal PCFM.indd 2 6/27/09 7:10:35 PM
  • 4. สารบัญ เปิดเล่ม 4 – 6 ‹ มิติที่ต้องพิจารณาใหม่ในการจัดระบบดูแลผู้สูงอายุ 4 นิพนธ์ต้นฉบับ 7–31 ‹ การสร้างและหาประสิทธิผลวิธีสอนเรื่องรายการอาหารแลกเปลี่ยนไทย 6 หมวดผักสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน ‹ การพัฒนาแนวทางและรูปแบบการจัดการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่เป็นโรคเรื้อรังเชิงรุก 13 ‹ รูปแบบการดูแลสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุในระยะยาวโดยชุมชน 22 บทความปริทัศน์ 32–40 ‹ การประเมินสุขภาพผู้สูงอายุแบบองค์รวม 32 กับทิศทางการเปลี่ยนแปลงระบบบริการปฐมภูมิสำหรับผู้สูงอายุในปัจจุบัน ‹ การบริการสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุไทยในระดับปฐมภูมิ 37 บทความพิเศษ 41–47 ‹ จริงหรือไม่? ระบบหลักประกันสุขภาพของไทยอาจล้มละลายจากปัญหาผู้สูงอายุในอนาคต 41 บทวิเคราะห์และทางเลือกเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ บทความ 48–52 ‹ พัฒนาระบบดูแลผู้สูงอายุ คำตอบอยู่ที่ชุมชน 48 ‹ RCFPT - really promoting family medicine? 52 Case Report 53–61 ‹ เวชศาสตร์ครอบครัวกับการดูแลผู้สูงอายุ บทบาทที่ท้าทายในงานปฐมภูมิ 53 ‹ ประสบการณ์ดูแลผู้ป่วยเบาหวานแบบคนไข้เป็นศูนย์กลาง 57 บ้านเขาบ้านเรา 62–69 ‹ เรียนรู้ดูงานระบบบริการสุขภาพประเทศอังกฤษ 62 สู่… การพัฒนาในประเทศไทย (ตอนที่ 2) เรื่องเล่าจากเครือข่าย 70–75 ‹ 2 แพทย์เวชศาสตร์ไทยคว้าทุนสูงสุด ITS 70 ‹ การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการด้านเวชศาสตร์ครอบครัว 72 (5 weekend Workshop in Family Medicine) เวทีดีๆ เพื่อพัฒนาเวชศาสตร์ครอบครัวไทย ‹ ตามไปดูผู้สูงอายุในญี่ปุ่น 74 มองด้วยใจ ความจำสั้น แต่รักฉันยาว 76 แนะให้อ่าน 78 journal PCFM.indd 3 6/27/09 7:10:36 PM
  • 5. เ ปิ ด เ ล่ ม มิตทตองพิจารณาใหม่ ิ ี่ ้ ในการจัดระบบดูแลผูสงอายุ ้ ู วารสารฉบับนี้เป็นฉบับที่สอง หลังจากที่ออกไปแล้วหนึ่งเล่มในเรื่อง partnership ฉบับนี ้ มีเนื้อหาหลักคือ ผู้สูงอายุ ซึ่งถือว่าเป็นประเด็นสำคัญสำหรับสังคมยุคปัจจุบันและสังคมในอนาคต ทีไทยมีแนวโน้มเป็น aging society หมายถึง สัดส่วนของผูสงอายุสงมากกว่าร้อยละ 10 รวมทังการดูแล ่ ้ ู ู ้ ผู้สูงอายุเป็นประเด็นสำคัญสำหรับคนทำงานบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว ที่จะมีบทบาทร่วม ในการพัฒนาระบบการดูแลประชากรกลุมนีให้มคณภาพชีวตทีด ่ ้ ี ุ ิ ่ ี การทำงานกับผูสงอายุนน มีเรืองราวทีตองทำความเข้าใจในหลายประเด็น เริมตังแต่เรืองสำคัญ ้ ู ั้ ่ ่ ้ ่ ้ ่ คือแนวคิด ทันคติการทำงาน ขยายต่อไปถึงการเข้าใจสถานการณ์จริงของผู้สูงอายุในสังคมไทย ที่มี ศักยภาพและปัญหาทังทีเหมือนและต่างจากประเทศกำลังพัฒนา รวมทังการมีทกษะการดูแลเพิมเติม ้ ่ ้ ั ่ ในด้านสังคม ด้านการแพทย์ ด้านกายและด้านจิตใจทีมประเด็นการดูแลแตกต่างไปจากการดูแล ่ ี ประชากรกลุมอืน ่ ่ แนวคิด มุมมองต่อผู้สูงอายุในปัจจุบัน มีทั้งที่เห็นว่าผู้สูงอายุคือกลุ่มที่มีปัญหาสุขภาพ หลายอย่าง มีความเสื่อมทางร่างกายมากที่ต้องดูแลเป็นการเฉพาะ ซึ่งเป็นมุมมองในลักษณะที่ เป็นความเสือมทางร่างกายของผูสงอายุและเป็นภาระทีสงคมต้องดูแลช่วยเหลือ ่ ้ ู ่ ั ในขณะที่อีกมุมมองหนึ่งคือ ผู้สูงอายุเป็นผู้ที่มีประสบการณ์ชีวิตมายาวนาน มี ค วามรู้ แ ละภู มิ ปั ญ ญาที่ ส ะสมอยู่ ใ นตนเอง เป็ น กลุ่ ม ที่ มี คุ ณ ค่ า ต่ อ ครอบครัวและสังคม ทั้งในด้านการเป็นบุคคลที่เคารพนับถือ เป็นที่ยึด เหนียวจิตใจของลูกหลานและเป็นบุคคลทีมความรู มีฝมอ ทักษะที่ ่ ่ ี ้ ี ื ติดตัว สามารถถ่ายทอดให้แก่คนรุ่นใหม่ได้ มุมมองที่ต่างกันนี้ เป็นได้ทั้งมุมที่ผู้สูงอายุมองตนเอง และกลุ่มคนอื่นมองผู้สูงอายุ อันมีผลกระทบอย่างมากต่อแนวทางการพัฒนาและการจัดระบบที่ เกียวกับผูสงอายุ บุคลากรทางการแพทย์มกจะมองผูสงอายุในส่วนทีเป็น ่ ้ ู ั ้ ู ่ ปัญหาสุขภาพ และมองทางด้านร่างกาย ทำให้มองแบบเป็นกลุมบุคคล ่ ที่ต้องช่วยเหลือ โดยละเลยการกระตุ้นศักยภาพที่มีอยู่ในผู้สูงอายุ ทำให้การดูแลขาดมิติการเสริมพลังอำนาจของผู้สูงอายุที่มีความ สำคัญไม่น้อยกว่ากัน การจัดระบบบริการสุขภาพและสวัสดิการ ทางสังคมสำหรับผู้สูงอายุสามารถจัดได้ทั้งที่ใช้ศักยภาพของผู้สูงอายุ อย่ า งเต็ ม ที เพื่ อ การดู แ ลตนเอง ดู แ ลกั น เอง และให้ คุ ณ ค่ า ่ ศักดิ์ศรีแก่ผู้สูงอายุ แต่ก็ไม่ละเลยที่ต้องค้นหาหรือดูแลกลุ่ม ผู้สูงอายุที่ดูแลตนเองไม่ได้อย่างเต็มที่ หากเราเข้าใจและมีมุมมอง ที่เห็นลักษณะสองด้านของผู้สูงอายุ ก็จะทำให้มิติการจัดการ เกี่ยวกับผู้สูงอายุมีลักษณะที่หลากหลาย ไม่เหมือนกันหมด ทุกคน และมีการจัดการทีมากกว่าการสงคราะห์ชวยเหลือ แต่ ่ ่ มีการเสริมศักยภาพ เสริมพลังอำนาจของผูสงอายุรวมด้วย ้ ู ่ 4 วารสารระบบบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว journal PCFM.indd 4 6/27/09 7:10:37 PM
  • 6. สถานการณ์จริงของผูสงอายุในประเทศไทย คือ ผูสงอายุสามารถดูแลตนเองได้ ไม่ตองมีคนดูแล ้ ู ้ ู ้ มีจำนวนร้อยละ 88 มีคนดูแลร้อยละ 11 และทีตองการคนดูแลแต่ไม่ม ร้อยละ 1 (ศิรวรรณ ศิรบญ ่ ้ ี ิ ิ ุ 2552) ผูสงอายุไทยส่วนใหญ่ยงอยูในความดูแลของลูกหลาน บุคคลในครอบครัวยังมีบทบาทหลักในการ ้ ู ั ่ ดูแลทังในด้านการเงิน และการดูแลทางสังคม ระบบอืนในสังคมยังมีบทบาทน้อยซึงแตกต่างจากประเทศ ้ ่ ่ ทางตะวันตก ผูสงอายุมลกษณะทีหลากหลาย และแตกต่างกันในแต่ละบุคคล ปัจจุบนสามารถแบ่งผูสงอายุได้ ้ ู ีั ่ ั ้ ู หลายลักษณะคือ แบ่งตามอายุวย ได้แก่ รุนเยาว์ (60-75 ปี) รุนกลาง (75-85 ปี) รุนใหญ่ (มากกว่า ั ่ ่ ่ 85 ปี) หรือตามสภาวะสุขภาพ ได้แก่ กลุมทีสขภาพดี กลุมทีมโรคเรือรัง และ/มีภาวะทุพพลภาพ และ ่ ่ ุ ่ ่ ี ้ กลุมทีหง่อม/งอม/บอบบาง (frail elderly) และตามสภาพการพึงพิง คือ กลุมพึงตนเองได้ดไม่ตองพึงพา ่ ่ ่ ่ ่ ี ้ ่ เลย กลุมทีตองพึงพาบางส่วน กลุมทีตองพึงพาทังหมด และกลุมทีตดเตียง ผูสงอายุในแต่ละกลุมย่อม ่ ่ ้ ่ ่ ่ ้ ่ ้ ่ ่ ิ ้ ู ่ ต้องการการดูแลที่ไม่เหมือนกัน บทบาทของบุคลากรทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขย่อมต้องมี บทบาทแตกต่างกัน อาทิเช่น กลุ่มที่พึ่งตนเองได้ด เจ้าหน้าที่ควรมีบทบาทเพียงกระตุ้น เสริมให้ดูแล ี ตนเองได้อย่างเหมาะสม และมีบทบาทช่วยเหลือคนอืนได้ ส่วนกลุมทีมปญหาสุขภาพมาก เจ้าหน้าทียอม ่ ่ ่ ี ั ่ ่ ต้องมีบทบาทลงไปดูแลช่วยเหลืออย่างเต็มที แต่ก็ไม่ละเลยที่กระตุ้น เสริมพลัง หรือศักยภาพที่ดีของ ่ ผูสงอายุคนนันๆ และครอบครัวด้วย ้ ู ้ สภาวะของผูสงอายุมลกษณะทีเปลียนไปทังทางด้านร่างกาย ด้านจิตใจ และด้านสังคมแวดล้อม ้ ู ี ั ่ ่ ้ มีความซับซ้อนของปัญหาสุขภาพทางกายทีทรุดหนักได้งายกว่าประชากรทัวไป มีสภาพจิตใจทีสะสมและ ่ ่ ่ ได้รับผลกระทบจากสภาพชีวิตที่เกี่ยวพันมายาวนาน มีแนวโน้มต่อภาวะซึมเศร้าได้มาก และมีสภาพ แวดล้อมที่มีบทบาทในการทำงาน ในการหาเลี้ยงชีวิตที่เปลี่ยนไป ทำให้ความรู้สึกต่อคุณค่าของตนเอง เปลียนไป และบุคคลรอบข้างมีมมมองต่อผูสงอายุเปลียนไป ทำให้ลกษณะสุขภาพโดยรวมของผูสงอายุมี ่ ุ ้ ู ่ ั ้ ู ความซับซ้อนและมีความแตกต่างกันในแต่ละบุคคลอย่างมาก จำเป็นทีเจ้าหน้าทีสขภาพในระดับปฐมภูม ่ ่ ุ ิ จะต้องมีความเข้าใจและมีความรู้ ทักษะในการประเมินสภาวะและการดูแลผู้สูงอายุได้อย่างเท่าทันและ เหมาะสม การทีปจจัยเกียวข้องกับผูสงอายุมมากมาย หลายมิต และซับซ้อน การจัดการพัฒนาระบบดูแล ่ ั ่ ้ ู ี ิ ผู้สูงอายุจึงไม่สามารถจัดการได้โดยบุคลากรทางด้านสาธารณสุขแต่เพียงส่วนเดียว ฉะนั้นการประสาน ความร่วมมือกับภาคีหน่วยต่างๆ จึงเป็นเรื่องที่สำคัญมากเรื่องหนึ่งที่ละเลยไม่ได้ เพื่อเป้าหมายคือ คุณภาพชีวตทีดของผูสงอายุ ิ ่ ี ้ ู ขณะเดียวกันสังคมไทยที่กำลังก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ ลักษณะครอบครัวก็มีลักษณะที่เปลี่ยนไป เป็นสังคมเดียวมากขึน วิถชวตทางสังคมก็เปลียนไป ความสัมพันธ์ทางสังคมเปลียนไป ระบบทางสังคม ่ ้ ี ีิ ่ ่ จึงต้องมีการปรับตัว และพัฒนาเพือรองรับลักษณะประชากรใหม่ทกำลังเปลียนไปอย่างรวดเร็วนี ่ ี่ ่ ้ เนือหาในวารสารฉบับนี ได้เสนอเนือหาในด้านต่างๆ ของผูสงอายุ แต่เน้นทีการจัดการผูสงอายุ ้ ้ ้ ้ ู ่ ้ ู ในเชิงระบบเป็นหลัก โดยเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับการดูแลในชุมชน และการดูแลโดยหน่วยบริการปฐมภูม ิ นำเสนอแนวคิด มุมมองใหม่ในการทำงาน การจัดระบบผู้สูงอายุในชุมชน ทางเลือกการจัดระบบหลัก ประกันสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ การประเมินทางคลินิก บทเรียนการดูแลผู้ป่วยที่เป็นผู้สูงอายุ บทเรียน การจัดการผูสงอายุในต่างประเทศ ได้แก่ ญีปน ซึงหวังว่าจะเป็นส่วนหนึงของการกระตุนให้มแนวทางการ ้ ู ่ ุ่ ่ ่ ้ ี พัฒนาระบบดูแสผูสงอายุทเหมาะสมกับสังคมไทยต่อไป แต่วารสารนีกยงมีเนือหาสาระอืนๆ ทีเป็นสาระ ้ ู ี่ ้ ็ ั ้ ่ ่ ประจำของวารสาร ได้แก่ขาวคราวความเคลือนไหวของเพือนสมาชิกในเครือข่ายต่างๆ ่ ่ ่ พญ.สุพตรา ศรีวณิชชากร ั The Thai Journal of Primary Care and Family Medicine 5 journal PCFM.indd 5 6/27/09 7:10:37 PM
  • 7. การสร้างและหาประสิทธิผลวิธสอนเรืองรายการอาหารแลกเปลียนไทย ี ่ ่ หมวดผักสำหรับผูปวยเบาหวาน ้ ่ The Construction and Efficacy of Educational Method on Thai Vegetable Exchange Lists for Diabetes Patient นพ.โภคิน ศักรินทร์กล ุ พ.บ.,ว.ว.เวชศาสตร์ครอบครัว กลุมงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลลำพูน ่ Pokin Sakarinkhul MD, RCFPT Department of Social Medicine, Lamphun Hospital บทคัดย่อ โรคเบาหวานเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้คนไทยเสียชีวิตจากโรคหัวใจและหลอดเลือด แต่การปรับ พฤติกรรมด้านการบริโภคกลับได้รบความสนใจน้อย ส่วนหนึงเกิดจากการทีผให้ความรูเบาหวานขาดสือที่ ั ่ ่ ู้ ้ ่ เหมาะสมในการสอนผู้ป่วย การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและหาประสิทธิผลวิธีสอนเรื่องรายการอาหาร แลกเปลียนไทยหมวดผักสำหรับผูปวยเบาหวาน กลุมตัวอย่างจำนวน 59 คน ซึงรับการรักษาในเครือข่าย ่ ้ ่ ่ ่ ศูนย์แพทย์ชมชนตำบลมะเขือแจ้ และผ่านเกณฑ์การคัดเลือก ถูกสุมแบ่งออกเป็น 3 กลุม เพือรับการให้ ุ ่ ่ ่ ความรูขณะมารับยาเบาหวานกับแพทย์ โดยกลุมที 1 จำนวน 20 คน เป็นกลุมควบคุมทีได้รบการรักษา ้ ่ ่ ่ ่ ั ตามขันตอนปกติ กลุมที 2 จำนวน 21 คน ได้รบการสอนโดยผูให้ความรูอานบัตรให้ความรูเรืองผักให้ฟง ้ ่ ่ ั ้ ้่ ้ ่ ั และกลุมที 3 จำนวน 18 คน ได้รบการสอนโดยใช้จวแจ๋วโมเดล (Jiw Jaw Mini Food Model) จากนัน ่ ่ ั ิ๋ ้ กลุมตัวอย่างทุกคนต้องตอบแบบสอบถามและแบบทดสอบทีถกสร้างขึน และผ่านการหาค่าความเชือมัน ่ ่ ู ้ ่ ่ โดยวิธหาค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์อลฟาของ Cronbach ได้คาความเชือมันเท่ากับ 0.88 นำข้อมูลทีได้ ี ์ ั ่ ่ ่ ่ มาวิเคราะห์โดยโปรแกรมสถิตสำเร็จรูป พบว่า คะแนนจากการทำแบบทดสอบเรืองผักให้พลังงานในกลุม ิ ่ ่ ที 2 ซึ่งสอนโดยใช้บัตรให้ความรู้เรื่องผักให้พลังงานมีค่าสูงกว่าการรักษาตามขั้นตอนปกติอย่างมีนัย ่ สำคัญทางสถิตทระดับ 0.05 และผลคะแนนจากการทำแบบทดสอบเรืองผักให้พลังงานในกลุมที 3 ซึงใช้ ิ ี่ ่ ่ ่ ่ จิวแจ๋วโมเดลมีคาสูงกว่าการรักษาตามขันตอนปกติอย่างมีนยสำคัญทางสถิตทระดับ 0.05 แต่คะแนนที่ ๋ ่ ้ ั ิ ี่ ได้จากการทำแบบทดสอบเรื่องผักให้พลังงานในกลุ่มที 3 ซึ่งใช้จิ๋วแจ๋วโมเดลมีค่ามากกว่ากลุ่มที 2 ซึ่ง ่ ่ สอนโดยใช้บตรให้ความรูเรืองผักให้พลังงานอย่างไม่มนยสำคัญทางสถิต ฉะนันการใช้สอทีมเนือหาเฉพาะ ั ้ ่ ี ั ิ ้ ื่ ่ ี ้ เจาะจงและมีความน่าสนใจจะทำให้ผปวยเบาหวานมีความรูเพิมมากขึนได้ ู้ ่ ้ ่ ้ Abstract This study compared efficacy of paper-assisted vs. model-assisted method of vegetable education for diabetes patient in improving dietary knowledge. Fifty-nine persons with noninsulin-dependent diabetes were randomly divided into 3 groups; routine, paper-assisted and model-assisted educational methods. Self- administrated questionnaire and test were built and used to collect personal data and to evaluate knowledge about Thai vegetable exchange lists. Score in paper-assisted and model-assisted educational method were significant greater than routine method (p<0.05). Despite the score in model-assisted group were greater than paper-assisted group, few differences were seen (p= 0.3). Diabetic educator need to have enough proper resources to fulfill diabetes educational programs. 6 วารสารระบบบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว journal PCFM.indd 6 6/27/09 7:10:38 PM
  • 8. ประเด็นสำคัญ Keywords เบาหวาน Diabetes การให้ความรู ้ Instruction, nutrition education methods รายการอาหารแลกเปลียน ่ Exchange lists ลำพูน Lamphun บทนำ โรคหัวใจและหลอดเลือด1 คือโรคเรือรังประจำตัวอันดับ 1 ของคนไทย โดยร้อยละ 28 ของคน ้ ไทยป่วยด้วยโรคดังกล่าว และโรคในกลุมหัวใจหลอดเลือด ไม่วาจะเป็นโรคหัวใจขาดเลือด และโรคสมอง ่ ่ ขาดเลือดจากหลอดเลือดตีบหรือหลอดเลือดแตก โรคเหล่านี้ได้คร่าชีวิตคนไทยรวมปีละกว่า 65,000 1 คน1 ปัจจัยเสียงอย่างหนึงทีทำให้เกิดภาวะดังกล่าวคือ เบาหวาน แต่จากข้อมูลการสำรวจสภาวะสุขภาพ ่ ่ ่ อนามัยของประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครังที 3 พ.ศ. 2547 กลับพบว่า ผูปวยเบาหวานร้อยละ ้ ่ ้ ่ 1.9 ในเพศชาย ร้อยละ 1.7 ในเพศหญิงได้รบการวินจฉัย แต่ไม่ได้รบการรักษา แต่ถงแม้จะได้รบการ ั ิ ั 2 ึ ั รักษาด้วยยาลดไขมันหรือยาฉีดอีนซูลนแล้ว ผูปวยเบาหวานร้อยละ 24.1 ในเพศชาย และร้อยละ 33.9 ิ ้ ่ ในเพศหญิงก็ยังไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลหลังอดอาหารให้เหมาะสมได้2 ซึ่งจากการประเมินระบบ การดูแลผู้ป่วยเบาหวานของเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิซึ่งเป็นหน่วยที่ผู้ป่วยสามารถเข้าถึงได้โดย สะดวก พบว่าการปฏิบตตวของผูปวยเบาหวานด้านการรักษา การดูแลสุขภาพทัวไปส่วนใหญ่อยูในระดับ ั ิ ั ้ ่ ่ ่ ดี แต่ในด้านบริโภคกลับมีระดับดีนอยกว่าด้านอืน ทังนีแนวเวชปฏิบตโครงการบริหารจัดการดูแลรักษา ้ ่ 3 ้ ้ ั ิ ผู้ป่วยเบาหวานและภาวะที่เกี่ยวข้องกับเบาหวานอย่างครบวงจรในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติได้ ระบุว่า เนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับโภชนบำบัดเป็นเนื้อหาความรู้ที่จำเป็นและเป็นมาตรฐานที่ต้องให้สำหรับ ผู้ป่วยเบาหวานในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ แต่ผู้ให้บริการอาจมีข้อจำกัดบางประการทำให้ 4 ไม่สามารถให้ความรูดงกล่าวได้ เช่น การขาดสือการให้ความรูทเหมาะสม ้ ั ่ ้ ี่ การที่ผู้ป่วยจะเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อรักษาสุขภาพตนเองได้นั้น ปัจจัยหนึ่งคือการมีความรู้ ความเข้าใจในโรคของตนเอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารให้เหมาะสม แต่ใน 5 เวชปฏิบัติประจำวัน การให้ความรู้ดังกล่าวอย่างครอบคลุมอาจทำได้ยาก และบางครั้งอาจเพียงบอกแก่ผู้ป่วย ว่าให้รับประทานผักแต่ไม่ได้จำเพาะเจาะจงว่าเป็นผักประเภทใด ซึ่งสำหรับผู้ป่วยเบาหวานแล้วการเข้าใจ เรืองอาหารโรคเบาหวาน (Diabetes mellitus diet) คุณค่าอาหารแลกเปลียนโรคเบาหวาน หรือรายการ ่ ่ อาหารแลกเปลียนไทย (Thai Food Exchange List) เป็นสิงสำคัญทีจะช่วยให้เกิดการปรับปรุงสภาวะ ่ 6,7 ่ ่ โภชนาการของผู้ป่วย น้ำหนักตัวของผู้ป่วยอยู่ในเกณฑ์ที่ควรจะเป็น ระดับน้ำตาลในเลือดมีค่าใกล้เคียง กับภาวะปกติ และป้องกันหรือชะลอการเกิดโรคแทรกซ้อน7 การบอกให้ผู้ป่วยรับประทานผักโดยไม่ได้ ชีแจงถึงประเภทของผัก อาจทำให้ผปวยหันไปรับประทานผักประเภท ข. ทีให้พลังงาน 25 กิโลแคลลอรี ้ ู้ ่ ่ ต่อส่วน เพียงอย่างเดียวโดยไม่ได้ตงใจ เป็นผลให้ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ดพอ 6,7 ั้ ี แม้สมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย (Thai Dietetic Association) ได้จดทำหุนจำลอง ั ่ อาหาร (Food Model) เพื่อใช้เป็นสื่อในการสอนแก่ผู้ป่วย แต่ราคาของสื่อชุดเล็ก 25 ชิ้น ซึ่งอยู่ท ี่ 9,000 บาท ชุดกลาง 50 ชิน 18,000 บาท และชุดใหญ่ 75 ชิน 27,000 บาท หากรวมกระเป๋าบรรจุ ้ ้ โมเดลจะมีราคาถึง 12,500 บาท 22,500 บาท และ 35,000 บาท ตามลำดับ (ราคาสำรวจเมือเดือน ่ มีนาคม พ.ศ. 2552) อาจเป็นอุปสรรคแก่สถานบริการปฐมภูมิที่ต้องการสื่อชนิดนี้ได้ นอกจากนี ้ หุนจำลองอาหารดังกล่าวไม่ได้มรายละเอียดติดไว้ทตวสือ จำเป็นต้องจัดทำรายละเอียดเพิมเติมเมือวางสือ ่ ี ี่ ั ่ ่ ่ ่ ไว้ให้ผปวยและผูทสนใจศึกษาได้ดวยตนเอง การวิจยครังนีจงได้สร้าง “จิวแจ๋วโมเดล (Jiw Jaw Mini ู้ ่ ้ ี่ ้ ั ้ ้ึ ๋ Food Model)” เพือเป็นสือทางเลือกในการให้ความรูเรืองรายการอาหารแลกเปลียนไทยพร้อมทังดำเนิน ่ ่ ้ ่ ่ ้ การหาประสิทธิผลวิธสอนเรืองรายการอาหารแลกเปลียนไทยหมวดผักสำหรับผูปวยเบาหวานด้วย ี ่ ่ ้ ่ The Thai Journal of Primary Care and Family Medicine 7 journal PCFM.indd 7 6/27/09 7:10:39 PM
  • 9. วัตถุประสงค์ 1. จัดทำสือทางเลือกในการให้ความรูเรืองรายการอาหารแลกเปลียนไทย ่ ้ ่ ่ 2. หาประสิทธิผลวิธสอนเรืองรายการอาหารแลกเปลียนไทยหมวดผักสำหรับผูปวยเบาหวาน ี ่ ่ ้ ่ ประโยชน์ทคาดว่าจะได้รบ ี่ ั 1. ได้สื่อทางเลือกในการให้ความรู้เรื่องรายการอาหารแลกเปลี่ยนไทยที่มีราคาถูกและผู้ป่วยสามารถ เรียนรูได้ดวยตนเอง ้ ้ 2. ทราบถึงประสิทธิผลวิธสอนเรืองรายการอาหารแลกเปลียนไทยหมวดผักสำหรับผูปวยเบาหวาน ี ่ ่ ้ ่ นิยามศัพท์ ผู้ป่วยเบาหวาน คือ ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยตามเกณฑ์ของสำนักบริหารจัดการโรคเฉพาะ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ4 และไม่มขอยกเว้นดังต่อไปนี ี้ ้ 1. เจ็บป่วยด้วยโรคหรือภาวะทีเป็นอุปสรรคต่อการมองเห็น การได้ยน และการเข้าใจภาษา ่ ิ 2. ไม่สามารถอ่านและเขียนหนังสือได้ 3. ไม่สมัครใจเข้าร่วมโครงการและหรือไม่ลงลายมือชือให้ความยินยอมเข้าร่วมโครงการ ่ วิธการดำเนินวิจย ี ั สร้างเครืองมือทีใช้ในการสอน ประกอบไปด้วยเครืองมือสองชนิดคือ ่ ่ ่ เครืองมือชนิดที่ 1 บัตรให้ความรูเรืองผักให้พลังงาน ่ ้ ่ สุมอย่างง่าย (Simple random) เพือเลือกตัวอย่างผักประเภท ก. และผักประเภท ข. มาอย่าง ่ ่ ละ 5 ชนิด นำมาพิมพ์เป็นบัตรทีมขอความว่า “ผักมีหลายชนิด ให้พลังงานแตกต่างกัน จัดแบ่งเป็น 2 ่ ี้ ประเภท ได้แก่ ประเภท ก. ผัก 1 ส่วนคือผักดิบ 1 ขีดหรือ 70-100 กรัมให้พลังงานต่ำมาก ได้แก่ กะหล่ำปลี มะเขือเทศ ฟักเขียว ผักกาดสลัด ดอกกะหล่ำ ประเภท ข. ผัก 1 ส่วนคือผักดิบ 1 ขีดหรือ 70-100 กรัม ให้พลังงาน 25 กิโลแคลอรี ได้แก่ ฟักทอง แครอท เห็ดนางรม บร๊อกโคลี่ ถัวฟักยาว” ่ สำหรับผูให้ความรูอานให้แก่ผปวยฟัง ้ ้่ ู้ ่ เครืองมือชนิดที่ 2 จิวแจ๋วโมเดล (Jiw Jaw Mini Food Model) ประดิษฐ์ตามขันตอนดังต่อไปนี ่ ๋ ้ ้ 1. ตัดกระดาษแข็งเพือทำเป็นฐานกว้าง 10 ซม. ยาว 10 ซม. ่ 2. จัดพิมพ์ขอมูลทีจำเป็นลงบนกระดาษกาว (รูปที 1) ้ ่ ่ ถัวฝักยาว ่ ชืออาหาร ่ ผัก (ข) 1 ขีด 25 คุณลักษณะของอาหาร (70-100 กรัม) กิโลแคลอรี ( ) ประเภท ปริมาณ พลังงาน รูปที่ 1 ตัวอย่างคำบรรยายโมเดล 8 วารสารระบบบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว journal PCFM.indd 8 6/27/09 7:10:40 PM
  • 10. 3. นำโมเดลจิวมาติดกับแผ่นกระดาษแข็ง และนำกระดาษกาวทีมขอมูลมาติด (รูปที 2) ๋ ่ ี้ ่ ฐานกระดาษกว้าง 10 cm โมเดลจิว ๋ ฐานกระดาษยาว 10 cm ถัวฝักยาว ่ ผัก 1 ขีด 25 (ข) (70-100 กรัม) กิโลแคลอรี ( ) คำบรรยายโมเดล รูปที่ 2 ตัวอย่างโมเดลทีประกอบเสร็จ ่ จากนัน นำโมเดลทีประดิษฐ์เสร็จมาประกอบการให้ความรู โดยกล่าวเนือหาให้เหมือนกับทีอยูใน ้ ่ ้ ้ ่ ่ บัตรให้ความรูเรืองผักให้พลังงาน ้ ่ คัดเลือกประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้ป่วยเบาหวานตามนิยามศัพท์จำนวน 59 คน ทีทำการรักษาเบาหวานกับแพทย์ทศนย์แพทย์ชมชนตำบลมะเขือแจ้ อ.เมือง จ.ลำพูน หรือเครือข่ายศูนย์ ่ ี่ ู ุ สุขภาพชุมชนข้างเคียง ทำการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล กลุมตัวอย่างถูกแบ่งออกเป็น 3 กลุมโดยวิธสมอย่างง่าย (Simple random) และได้รบความรู้ ่ ่ ี ุ่ ั โดยวิธแตกต่างกัน 3 วิธได้แก่ ี ี กลุมที่ 1 กลุมควบคุม จำนวน 20 คน ได้รบการรักษาตามขันตอนปกติ ่ ่ ั ้ กลุมที่ 2 กลุมตัวอย่างทีได้รบการสอนโดยใช้บตรให้ความรูเรืองผักให้พลังงาน จำนวน 21 คน ่ ่ ่ ั ั ้ ่ ได้รบการสอนโดยผูให้ความรูอานบัตรให้ความรูเรืองผักให้ฟง ั ้ ้่ ้ ่ ั กลุมที่ 3 กลุ่มตัวอย่างที่ได้รับการสอนโดยใช้จิ๋วแจ๋วโมเดล (Jiw Jaw Mini Food Model) ่ จำนวน 18 คน ได้รับการสอนโดยผู้ให้ความรู้กล่าวเนื้อหาให้เหมือนกับที่อยู่ในบัตรให้ความรู้เรื่องผักให้ พลังงาน ประกอบกับชีจวแจ๋วโมเดล จำนวน 10 ชิน ซึงถูกแบ่งออกเป็น 2 ด้าน ด้านละ 5 ชินตาม ้ ิ๋ ้ ่ ้ ประเภท โดยผักประเภท ก. อยูทางซ้ายมือของผูปวย และผักประเภท ข. อยูทางขวามือของผูปวย ่ ้ ่ ่ ้ ่ ทั้งสามกลุ่มได้รับการตรวจรักษาโดยแพทย์คนเดียวกัน และได้รับวิธีการให้ความรู้ตามกลุ่มที ่ ถูกเลือก ระหว่างรอรับยาจะได้รบการทดสอบความรูจากแบบสอบถามแบบกรอกเอง (Self administrated ั ้ questionnaire) ซึงแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ ่ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทัวไป ได้แก่ ชือ นามสกุล ทีอยู เพศ อายุ ่ ่ ่ ่ ส่วนที่ 2 แบบทดสอบความรู้เรื่องผักให้พลังงานจำนวน 10 ข้อ มี 2 ตัวเลือก (2-choice questionnaire) ให้ผปวยเลือกตอบว่า ผักทียกตัวอย่าง 1 ส่วนให้พลังงานน้อยมากหรือให้พลังงาน 25 ู้ ่ ่ กิโลแคลลอรี หากตอบถูกคิดเป็น 1 คะแนน ถ้าไม่ตอบหรือตอบผิดจะไม่ได้คะแนน ทำการหาค่าความเชือมันโดยวิธหาค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์อลฟาของ Cronbach8 ได้คาความ ่ ่ ี ์ ั ่ เชือมันเท่ากับ 0.88 ่ ่ The Thai Journal of Primary Care and Family Medicine 9 journal PCFM.indd 9 6/27/09 7:10:41 PM
  • 11. การวิเคราะห์ขอมูล ้ ผูวจยนำข้อมูลทีได้มาประมวลผลและวิเคราะห์โดยใช้โปรแกรมทางสถิตสำเร็จรูป ้ิั ่ ิ 1. วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปและคะแนนจากการทำแบบทดสอบโดยสถิติเชิงพรรณนา คือ การแจกแจง ความถีและคำนวณเป็นร้อยละ ่ 2. ทดสอบความแตกต่างค่าเฉลียของคะแนนระหว่างกลุมโดยใช้สถิต t-test8 ่ ่ ิ ผลการวิจย ั ตารางที่ 1 แสดงข้อมูลเพศและอายุของกลุมตัวอย่าง ่ กลุม ่ กลุมที่ 1 ่ กลุมที่ 2 ่ กลุมที่ 3 ่ รวม รักษาตามขัน บัตรให้ความรูเรือง ้ ้ ่ สือทีใช้สอน ่ ่ จิวแจ๋วโมเดล สามกลุม ๋ ่ ตอนปกติ ผักให้พลังงาน จำนวน (คน) 20 21 18 59 เพศ ชาย 6 3 5 14 (คน) หญิง 14 18 13 45 ต่ำสุด 44 41 44 41 อายุ สูงสุด 75 80 71 80 (ปี) เฉลีย ่ 59.0 60.5 57.8 59.2 SD 9.17 9.37 8.61 8.99 จากตารางพบว่า ผูปวยในกลุมที 1, 2 และ 3 มีจำนวน 20, 21 และ 18 คน ตามลำดับ โดยในแต่ละ ้ ่ ่ ่ กลุมมีผปวยเพศหญิงมากกว่าเพศชาย อายุเฉลียของแต่ละกลุมอยูท 59.0, 60.5 และ 57.8 ปี ตาม ่ ู้ ่ ่ ่ ่ ี่ ลำดับ ทังนีอายุเฉลียของผูปวยทีเข้าร่วมโครงการทังหมดคือ 59.2 ปี ้ ้ ่ ้ ่ ่ ้ ตารางที่ 2 ค่าเฉลียและค่าความเบียงเบนมาตรฐานของคะแนนทีได้จากการทำแบบทดสอบ ่ ่ ่ ของผูปวยเบาหวานทีสอนด้วยวิธตางๆ ้ ่ ่ ี ่ กลุม ่ สือทีใช้สอน ่ ่ จำนวน ค่าเฉลีย ค่าความเบียงเบนมาตรฐาน ่ ่ N X SD กลุมที 1 ่ ่ ได้รบการรักษา ั 20 2.90 3.01 (กลุมควบคุม) ่ ตามขันตอนปกติ ้ กลุมที 2 ่ ่ บัตรให้ความรู ้ 21 5.90 3.10 (กลุมทดลอง 1) ่ เรืองผักให้พลังงาน ่ กลุมที 3 ่ ่ จิวแจ๋วโมเดล ๋ 18 6.94 3.10 (กลุมทดลอง 2) (Jiw Jaw Mini Food Model) ่ รวม 59 5.20 3.47 10 วารสารระบบบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว journal PCFM.indd 10 6/27/09 7:10:42 PM