SlideShare a Scribd company logo
1 of 49
1
บทที่ 3
ระบบเลข และการแทนรหัส
ข้อมูล
ระบบเลขฐานต่างๆ (เน้น ฐาน 2 ฐาน 8
และ ฐาน 16)
การแปลงเลขฐาน
ความสัมพันธ์ของเลขฐาน 2 ฐาน 8 และ
ฐาน 16
การคำานวณทางคณิตศาสตร์ในระบบเลข
ฐาน
การแทนรหัสข้อมูลในระบบ BCD,
EBCDIC, ASCII
2
ระบบเลขฐาน (ฐาน 2,8,10,16)
Place Value: ระบบเลขที่แต่ละหลักมีค่า
ประจำาหลัก
ค่าประจำาหลัก คือ ค่าของเลขฐานนั้นๆ ยก
กำาลังตามตำาแหน่งหลักเริ่ม จาก ศูนย์
Least significant digit : คือเลขที่มีค่า
ประจำาหลักน้อย
Most significant digit : คือเลขที่มีค่า
ประจำาหลักสูง
การเขียนเลขฐานต้องมีค่าฐานกำากับ
3
ตัวเลขในฐานต่างๆ
ฐาน 2 มีเลข 0,1
ฐาน 8 มีเลข 0,1,2,3,4,5,6,7
ฐาน 10 มีเลข 0,1,2,3,4,5,6,7,8,9
ฐาน 16 มีเลข
0,1,2,3,4,5,6,7,8,9,A,B,C,D,E,F
4
การแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐานใดๆ เป็น ฐาน 10
การแปลงเลขฐาน 10 เป็น ฐานใดๆ
การแปลงเลขฐาน 2 เป็น ฐาน 8 ฐาน 16
การแปลงเลขฐาน 8 ฐาน 16 เป็น ฐาน 2
5
การแปลงเลขฐานใดๆเป็น
ฐาน 10
อาศัยค่าประจำา
หลัก คูณตัวเลข
แต่ละหลัก นำาผล
คูณที่ได้มารวมกัน
ต.ย. 11012 = ( )10
ค่าประจำาหลัก คือ
23
22
21
20
(1*8)+(1*4)+(0*2)+(1*1) = 13
6
การแปลงเลขฐาน 10 เป็นฐาน
ใดๆ
กรณี เลขจำานวนเต็ม
ใช้หลัก MODULO คือ
เลขฐาน 10 เป็นตัวตั้ง หารด้วยเลขฐานที่กำาลังจะ
แปลง
ให้เก็บเศษจากการหาร
หารเลขต่อไปจนกระทั้งไม่สามารถหารได้
นำาเศษของการหารมาวางต่อกัน เศษตัวสุดท้ายเป็น
Most significant
7
ตัวอย่างการแปลงเลขฐาน 10
เป็นฐานใดๆ
เลขจำานวนเต็ม
132
2 6 1
2 3 0
1 1
1310 = ( )2
ตอบ 11012
1310 = ( ) 4
4 13
3 1
ตอบ 314
8
การแปลงเลขฐาน 10 เป็นฐาน
ใดๆ
กรณี เลขจำานวนจริง: การแปลงแบ่งเป็น
2 ส่วน
ส่วนหน้าจุดทศนิยมใช้วิธี MODULO
ส่วนเลขหลังจุดทศนิยม
คูณเลขหลังจุดด้วยฐานที่จะไป บันทึกเฉพาะ
เลขหน้าจุด
ส่วนเลขหลังจุดนำามาคูณต่อ จนครบจำานวน
ตำาแหน่งหลังจุดที่ต้องการ
9
ตัวอย่างการแปลงเลขฐาน 10
เป็นฐานใดๆ
เลขจำานวนจริง
132
2 6 1
2 3 0
1 1
13.4 10 = ( )2
.4 * 2 = 0 .8
.8 * 2 = 1 .6
.6 * 2 = 1 .2
.2 * 2 = 0 .4
Ans: 1101.01102
10
การแปลงเลขฐาน 2 เป็น ฐาน
8 ฐาน 16
หลักการใช้การจัดกลุ่มบิท
เลขฐาน 2 เป็น ฐาน 8 จัดกลุ่มละ 3 บิท
เลขฐาน 2 เป็น ฐาน 16 จัดกลุ่มละ 4 บิท
โดยเริ่มจากบิทที่อยู่ใกล้จุดทศนิยม หากกลุ่ม
สุดท้ายไม่ครบเติม 0
11
ตัวอย่างการแปลงเลขฐาน 2
เป็นฐาน 8
จำานวนเต็ม 111112= ( 37 ) 8
0 1 1
(0*4)+(1*2)+(1*1)
3 7
1 1 1
(1*4)+(1*2)+(1*1)
12
ตัวอย่างการแปลงเลขฐาน 2
เป็นฐาน 16
เลขจำานวนจริง 0001.112 = (1.C )16
1 1 0 0
(1*8)+(1*4)+(0*2)+(0*1)(0*8)+(0*4)+(0*2)+(1*1)
1
12
C
0 0 0 1 0 0
13
การแปลงเลขฐาน 8 ฐาน 16
เป็น ฐาน 2
ใช้หลักการกระจายเลขแต่ละหลักออกเป็น
บิท
เลขฐาน 8 หนึ่งหลัก กระจายเป็นเลขฐาน
2 ได้ 3 บิท
เลขฐาน 16 หนึ่งหลัก กระจายเป็นเลขฐาน
2 ได้ 4 บิท
14
ตัวอย่างการแปลงเลขฐาน 8
ฐาน 16 เป็น ฐาน 2
กรณี เลขจำานวนเต็ม
738 =( )2
7 3
1 1 1 0 1 1
A316 = ( ) 2
10 3
1 0 1 0 0 0 1 1
Ans: 1110112
Ans: 1010000116
15
ตัวอย่างการแปลงเลขฐาน 8
ฐาน 16 เป็น ฐาน 2
กรณี เลขจำานวนจริง
7.38 =( )2
7 . 3
1 1 1 0 1 1
A3.B16 = ( ) 2
10 3 . 11
1 0 1 0 0 0 1 1
Ans: 111 . 0112
Ans: 10100001.101116
1 0 1 1
16
การคำานวณเลขฐาน
การบวกเลขฐาน
การลบเลขฐาน
การลบเลขฐาน แบบ Complement
17
การบวกเลขฐาน
การบวก
1101.112
+
0111.012
10101.00 2
5345
+
1235
คำานวณไม่ได้
เพราะไม่มีเลข
5 ในฐาน 5
F31C16
+
235016
1266C16
18
การลบเลขฐาน
การลบเลข
4325
-
1435
2345
1011.0112
-
0111.1012
0011.1102
19
การหาคอมพลีเมนท์
(Complement)
Complement ของฐานใดๆ (ให้ R แทนฐาน) มี
2 ประเภท คือ Complement R และ
Complement R-1
ฐาน R-1’ Comp. R’ Comp
2 1’ Comp 2’ Comp.
8 7’ Comp 8’ Comp
10 9’ Comp 10’ Comp
20
การหาค่าคอมพลีเมนท์
การหาคอมพลีเมนท์ ที่ R-1 ของเลขใดๆ
นำาค่าสูงสุดของเลขนั้นๆลบด้วยเลขนั้น
ผลที่ได้คือ คอมพลีเมนท์ของเลขจำานวน
นั้น
เลข 2910 มีค่าสูงสุด คือ 99
9’ Comp : 99 -29 = 70
เลข 101.112มีค่าสูงสุดคือ 111.11
1 ‘Comp : 111.11 - 101.11 = 010.00
21
การหาค่าคอมพลีเมนท์์
การหาคอมพลีเมนท์ ที่ R ของเลขใดๆ
นำาค่าสูงสุดของเลขนั้นบวกด้วยเลขที่ทำาให้
เกิดการ เปลี่ยนหลัก ของค่าสูงสุด แล้วจึงลบ
ด้วย เลขจำานวนนั้นอีกที่หนึ่ง
เลข 2910มี คอมพลีเมนท์ เป็น
10 ‘ Comp : (99 + 1) - 29 = 71
เลข 101.112มีคอมพลีเมนทเป็น
2 ‘Comp: (111.11 + .01) - 101.11 = 0010.01
22
ข้อสังเกตุเกี่ยวกับคอมพลีเม
นท์์
การหา R-1 Complement คือ การนำา
เลขจำานวนนั้นลบออกจากเลขสูงสุด
1’ Complement ในเลขฐาน 2 คือ การ
เปลี่ยนค่าของแต่ละบิทให้ตรงกันข้าม
ค่า R-1 Complement มีค่าน้อยกว่า R
Complement อยู่ 1 เสมอ ณ หลักขวามือ
สุด
2’Comp = 1’ Comp + 1 ที่หลักขวามือสุด
23
การลบเลขแบบคอมพลีเมนท์
นำาเลขตัวลบไปหาคอมพลีเมนท์
นำาคอมพลีเมนท์ที่หาได้ บวก กับเลขตัวตั้ง
ผลลัพธ์ที่ได้ถ้ามีเลขเกินหลัก
กรณี R’ Comp. ให้ตัดทิ้ง
กรณี R-1’ Comp. ให้นำาเลขที่เกินหลัก บวก
กับผลลัพธ์
ผลที่ได้คือคำาตอบ
24
ตัวอย่างการลบเลขแบบคอม
พลีเมนท์
R-1’ Comp.
4325 - 1435 = ?
1) 444 - 143 = 301
2) 432 +
301
1 233 +
1
234
1011.011 2- 111.1012 = ?
1) 111.111 - 111.101= 000.010
2) 1011.011 +
1000.010
1 0011.101 +
1
0011.110
1 0 1
25
ตัวอย่างการลบเลขแบบคอม
พลีเมนท์์
คอมพลีเมนท์ ที่ R
4325 - 1435 = ?
1) 1000 - 143 = 302
2) 432 +
302
1 234
1011.011 2- 111.1012 = ?
1) 10000.000 - 0111.101=1000.011
2) 1011.011 +
1000.011
1 0011.110
ตัดทิ้ง
26
ผลลัพธ์ที่ได้เป็นค่าติดลบมีวิธีลบ มีขั้น
ตอนดังนี้
นำาตัวตั้งบวกด้วยคอมพลีเมนต์ของตัว
ลบ
หากผลบวกมีจำานวนหลักเท่าเดิมแส
ดงว่าผลการบวกจะยังไม่เป็น
ผลลัพธ์ของการลบที่ต้องการ
นำาผลบวกที่ได้ไปหาค่าคอมพลีเมนต์
เมนท์์
***กรณีที่ตัวตั้งมีค่าน้อยกว่าตัวลบ
27
ตัวอย่างการลบเลขแบบคอมพลี
เมนท์์
***กรณีที่ตัวตั้งมีค่านอยกว่าตัวลบ
ตัวอย่าง 10112-11002= ?
1011+
0011
1110
2
1111-1110 = 0001-3
1111-1100= 00111
ลองลบดวยวิธี
R-1 complement
ขอแตกต่างจาก R comp.
28
ผลลัพธที่ไดเปนค่าติดลบมีวิธีลบ มีขั้น
ตอนดังนี้
นําตัวตั้งบวกดวยคอมพลีเมนตของตัว
ลบ
หากผลบวกมีจํานวนหลักเท่าเดิมแส
ดงว่าผลการบวกจะยังไม่เปน
ผลลัพธของการลบที่ตองการ
นําผลบวกที่ไดไปหาค่าคอมพลีเมนต
ตัวอย่างการลบเลขแบบคอมพลี
เมนท์์
***กรณีที่ตัวตั้งมีค่านอยกว่าตัวลบ
29
ตัวอย่างการลบเลขแบบคอมพลี
เมนท์์
***กรณีที่ตัวตั้งมีค่านอยกว่าตัวลบ
ตัวอย่าง 10112-11002= ?
1011+
0100
1111
2
10000-1111 = 0001-3
10000-1100= 01001
คําถาม : ใชวิธีลบแบบใด
อยู่
R-1 หรือ R
complement ?ดูจาก
30
การแทนรหัสขอมูลในหน่วย
ความจํา
Data Representation
การแทนรหัสขอมูลที่เปนอักขระ
(Alphanumeric Data Representation)
การแทนรหัสขอมูลที่เปนจํานวนเลข
(Numeric Data Representation)
เลขจํานวนเต็ม (Integer Representation)
เลขที่มีจุดทศนิยม (Floating Point
Representation)
31
การแทนขอมูลที่เปนอักขระ
รหัส BCD : Binary Coded Decimal Code
รหัส EBCDIC: Extended Binary Coded
Decimal Interchange Code
รหัส ASCII : American Standard Code
for Information Interchange
32
รหัส BCD
ใช 6 บิทแทนอักขระ 1 ตัว
ระบบนี้แทนอักขระได 64 ตัว ( 26
รูป
แบบ)
C B A 8 4 2 1
Digit bit
Zone bit
Check bit/ Parity bit
33
รหัส BCD
การแทนรหัส BCD
อักขระแบบตัวเลข (0 - 9) Zone Bit จะ
เปน 00
อักขระแบบตัวอักษร หรือ สัญลักษณ
พิเศษ Zone bit เปน 11
34
รหัส EBCDIC
ใช 8 บิทแทนอักขระ 1 ตัว
ระบบนี้แทนอักขระได 256 ตัว ( 28
รูป
แบบ)
C B A 8 4 2 1
Digit bit
Zone bit
Check bit/ Parity bit
35
รหัส EBCDIC
การบันทึกขอมูลในระบบ EBCDIC มี 2
แบบ
การบันทึกแบบ Zone Decimal
การบันทึกแบบ Packed Decimal
การบันทึกแบบตัวเลข Zone bit มีค่าเปน
1111 สําหรับเลขที่ไม่มีเครื่องหมายนําหนา
( 15 ,F) 1100 สําหรับเลขที่มี
เครื่องหมายบวก และ (+,12 ,C)
36
การแทนขอมูลแบบ Packed
Decimal
เปนการเปลี่ยนลักษณะการเก็บรหัส
EBCDIC ใหใชในการคํานวณ
การเปลี่ยนนี้จํานวนหลักสามารถยืดหยุ่น
ได
ไม่ใชกับตัวเลขที่เปนจุดทศนิยม
37
วิธีการ PACK
“-123”
สลับส่วน Zone bit และ Digit bit ของไบท
ขวาสุด
ตัด Zone bit ของไบท ที่เหลือ
บีบขอมูลซึ่งเปน Digit Bit เขามา
มักทําอยู่ในเลขฐาน 16 (123D)16
วิธี Unpack ทําตรงกันขาง กับการ Pack
1101 0001 1101 0010 1101 0011
38
รหัส ASCII
มี 2 ชนิด คือ 7 บิท กับ 8 บิท กําหนดให
ตัวเลขมีค่านอยกว่าตัวอักษรเปนรหัสที่
นิยมในปัจจุบัน
ลักษณะคลาย EBCDIC มี Zone bit เปน
สําหรับตัวเลข 0101 และ 011
สําหรับตัวอักษร 1010 และ 100
39
Parity bit หรือ Check bit
เปนบิทที่ใชตรวจ
สอบการแทนรหัส มี
2 ระบบ
Even Parity ระบบ
จํานวนคู่ ระบบนี้ตองมี
บิทที่เปนเลข 1 ทั้งหมด
มีจํานวนเปนเลขคู่
Odd Parity ระบบ
จํานวนคี่ ระบบนี้ตองมี
บิทที่เปนเลข 1 ทั้งหมด
1 1 1 0 0 0 1
0 1 1 0 1 0 1
0 1 1 0 0 0 1
1 1 1 0 1 0 1
40
การแทนรหัสข้อมูลที่เป็น
ตัวเลข
การแทนข้อมูลแบบนี้ กำาหนดเนื้อที่ใน
หน่วยความจำามีขนาดตายตัว (Fixed
length word) สำาหรับแทนตัวเลข 1 จำานวน
half-word ใช้เนื้อที่ 2 ไบท์
Full-word ใช้เนื้อที่ 4 ไบท์
Double-word ใช้เนื้อที่ 8 ไบท์
41
การแทนเลขจำานวนเต็ม
Sign Magnitude / Pure binary
code
2’ Complement
1’ Complement
42
Sign Magnitude
ระบบนี้บิทซ้ายสุดแทนเครื่องหมายเรียกว่า
Sign bit ที่เหลือแทนขนาดของจำานวนเลข
เรียกว่า Magnitude
Sign
bit Magnitude
MSB LSB
1 แทน ลบ
0 แทน บวก 1 Word = 4 Byte = 32 Bit
43
แสดงการแทนค่า
แบบ Sign Magnitude
1 Word = 4 Byte = 32 bit
31 32 2 1 0
25=1100120 0 0 0 1 1 0 0 1.........................
-251 0 0 ......................... 0 1 1 0 0 1
44
แสดงการแทนค่า
แบบ 2’ Complement
เป็นระบบที่นิยมใช้
การแสดงจำานวนเลขในระบบนี้
เลขบวก แทนเหมือนระบบ Sign
Magnitude
เลขลบ แทนด้วยค่า 2’ Complement
ของเลขจำานวนนั้น
45
ตัวอย่าง การแทนค่า 2’
Complement
เช่น 28 = 111002
MSB LSB
0 000000.............0000000000 1 1 1 0 0
1 111111.............1111111111 0 0 0 1 1
+
1
1 111111.............1111111111 0 0 1 0 0
46
Floating Point Representation
R = + - M * B+- E
Sign Exponent Mantissa
31 30 24 0
Sign แทนเครื่องหมาย บวก ลบ ของจำานวนเล
Exponent ส่วนที่ยกกำาลัง
M Mantissa เลขที่อยู่หลังจุด
47
ขั้นตอนการทำา Floating point
เปลี่ยนเลขไปเป็นฐาน 16
Normalization เลขฐาน 16 (มีเลขหลังจุด
และ ยกกำาลัง)
เปลี่ยน Sign, Exponent, Mantissa เป็นเลข
ฐาน 2
Sign : 1 แทนค่าลบ 0 แทนค่าบวก
Mantissa : เปลี่ยนเป็นฐาน 2 เติมเลขจากขวา
มา ซ้ายที่เหลือเติมศูนย์
48
ขั้นตอนการทำา Floating point
Exponent เป็นได้ทั้งค่าบวก หรือ ลบ จึง
ต้องใช้วิธี Excess 64
exponent 16 = 4016 + true
exponent16
exponent16 ----> exponent 2
49
ตัวอย่าง ทำา Floating point
28 ----> 1C16
1C16 = (+.1C * 102
)16
Sign ----> 0
Mantissa ----> 0001 11002
Exponent ----> 4016 + 216 = 42 16
-----> 100 00102
0 100 0010 0001 11000000..........................

More Related Content

What's hot

เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบหมุน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบหมุนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบหมุน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบหมุนWijitta DevilTeacher
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติWuttipong Tubkrathok
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติAon Narinchoti
 
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์  เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียงแผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์  เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียงSunanthaIamprasert
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหลWijitta DevilTeacher
 
ของไหล 1
ของไหล 1ของไหล 1
ของไหล 1luanrit
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent BondSaipanya school
 
เรื่องที่ 12 เสียง
เรื่องที่ 12  เสียงเรื่องที่ 12  เสียง
เรื่องที่ 12 เสียงthanakit553
 
สรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติสรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติThphmo
 
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมโรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีjirat266
 
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1Tangkwa Dong
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสงพัน พัน
 

What's hot (20)

เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบหมุน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบหมุนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบหมุน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
ข้อสอบ Pre o net คณิตม.3(2)
ข้อสอบ Pre o net  คณิตม.3(2)ข้อสอบ Pre o net  คณิตม.3(2)
ข้อสอบ Pre o net คณิตม.3(2)
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์  เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียงแผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์  เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
 
กรด เบส 7
กรด เบส 7กรด เบส 7
กรด เบส 7
 
ของไหล 1
ของไหล 1ของไหล 1
ของไหล 1
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
 
เรื่องที่ 12 เสียง
เรื่องที่ 12  เสียงเรื่องที่ 12  เสียง
เรื่องที่ 12 เสียง
 
คู่อันดับ
คู่อันดับคู่อันดับ
คู่อันดับ
 
Chemographics : Crystalstructure
Chemographics : CrystalstructureChemographics : Crystalstructure
Chemographics : Crystalstructure
 
สรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติสรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติ
 
โอเน็ตฟิสิกส์
โอเน็ตฟิสิกส์โอเน็ตฟิสิกส์
โอเน็ตฟิสิกส์
 
Sorting
SortingSorting
Sorting
 
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
เวกเตอร์
เวกเตอร์เวกเตอร์
เวกเตอร์
 
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสง
 

Viewers also liked

ความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐานความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐานjibjoy_butsaya
 
เลขฐาน
เลขฐานเลขฐาน
เลขฐานguest8d93e59
 
การหาเลขฐาน
การหาเลขฐานการหาเลขฐาน
การหาเลขฐานnoii pinyo
 
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์ASpyda Ch
 

Viewers also liked (6)

ความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐานความหมายเลขระบบฐาน
ความหมายเลขระบบฐาน
 
เลขฐาน
เลขฐานเลขฐาน
เลขฐาน
 
เลขฐาน
เลขฐานเลขฐาน
เลขฐาน
 
เลขฐาน
เลขฐานเลขฐาน
เลขฐาน
 
การหาเลขฐาน
การหาเลขฐานการหาเลขฐาน
การหาเลขฐาน
 
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
 

Similar to สอนเลขฐาน

การแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐานการแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐานพัน พัน
 
bit byte
bit bytebit byte
bit bytepaween
 
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)Patchara Wioon
 
ระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานPreecha Yeednoi
 
58210401117 งาน 1 ss
58210401117 งาน 1 ss58210401117 งาน 1 ss
58210401117 งาน 1 ssManunya Museanko
 
การแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐานการแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐานNakamaru Yuichi
 
การหาเลขฐานต่างๆ
การหาเลขฐานต่างๆการหาเลขฐานต่างๆ
การหาเลขฐานต่างๆNoii Kittiya
 
ระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานAkkradet Keawyoo
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริงPiyanouch Suwong
 
ระบบเลขฐานสอง
ระบบเลขฐานสองระบบเลขฐานสอง
ระบบเลขฐานสองNunnaphat Chadajit
 
ระบบเลขฐานสอง
ระบบเลขฐานสองระบบเลขฐานสอง
ระบบเลขฐานสองNunnaphat Chadajit
 
สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1krutew Sudarat
 
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์PumPui Oranuch
 

Similar to สอนเลขฐาน (20)

การแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐานการแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐาน
 
bit byte
bit bytebit byte
bit byte
 
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)
 
ระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐาน
 
ระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐาน
 
เลขฐานสิบหก (Hexadecimal)
เลขฐานสิบหก (Hexadecimal)เลขฐานสิบหก (Hexadecimal)
เลขฐานสิบหก (Hexadecimal)
 
58210401117 งาน 1 ss
58210401117 งาน 1 ss58210401117 งาน 1 ss
58210401117 งาน 1 ss
 
การแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐานการแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐาน
 
01
0101
01
 
เลขฐาน
เลขฐานเลขฐาน
เลขฐาน
 
การหาเลขฐานต่างๆ
การหาเลขฐานต่างๆการหาเลขฐานต่างๆ
การหาเลขฐานต่างๆ
 
ระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐาน
 
การแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐานการแปลงเลขฐาน
การแปลงเลขฐาน
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริง
 
ระบบเลขฐานสอง
ระบบเลขฐานสองระบบเลขฐานสอง
ระบบเลขฐานสอง
 
ระบบเลขฐานสอง
ระบบเลขฐานสองระบบเลขฐานสอง
ระบบเลขฐานสอง
 
Ch2
Ch2Ch2
Ch2
 
สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1
 
Pre 7-วิชา 3
Pre  7-วิชา 3Pre  7-วิชา 3
Pre 7-วิชา 3
 
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
 

More from mahasarakham university (20)

ความหมายขอบเขต
ความหมายขอบเขตความหมายขอบเขต
ความหมายขอบเขต
 
Flip album
Flip albumFlip album
Flip album
 
Corel video studio pro
Corel video studio proCorel video studio pro
Corel video studio pro
 
Mooc
MoocMooc
Mooc
 
Corel video studio pro
Corel video studio proCorel video studio pro
Corel video studio pro
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
Original cai
Original caiOriginal cai
Original cai
 
Regis hemmarat
Regis hemmaratRegis hemmarat
Regis hemmarat
 
Final
FinalFinal
Final
 
Final
FinalFinal
Final
 
Thana pbl
Thana pblThana pbl
Thana pbl
 
การพัฒนามอดูลแบบฐานสมรรถนะ
การพัฒนามอดูลแบบฐานสมรรถนะการพัฒนามอดูลแบบฐานสมรรถนะ
การพัฒนามอดูลแบบฐานสมรรถนะ
 
Thana pbl
Thana pblThana pbl
Thana pbl
 
Picasa tahoma
Picasa tahomaPicasa tahoma
Picasa tahoma
 
Picasa tahoma
Picasa tahomaPicasa tahoma
Picasa tahoma
 
Google calendar
Google calendarGoogle calendar
Google calendar
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
Search engine
Search engineSearch engine
Search engine
 
Internet search engine
Internet search engineInternet search engine
Internet search engine
 
Internet search engine
Internet search engineInternet search engine
Internet search engine
 

สอนเลขฐาน