SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  144
ประวัติศาสตร์มนุษยชาติ 
1.สมัยก่อนประวัติศาสตร์ (Prehistoric Age ) 
1.1 ยุคหินเก่า (Old Stone) 2,000,000 
- 8,000 B.C. 
- ภาษาพูด 
- เครื่องมือ 
1.2 ยุคหินใหม่ (New Stone Age) 
8,000-4,000 B.C. 
- การเพาะปลูก 
- การทำาเครื่องปั้นดินเผา 
- การค้าขาย
ประวัติศาสตร์มนุษยชาติ 
1.3 ยุคโลหะ (Copper Age) 
4,000-2,500 B.C. 
- การใช้ทองแดงและสำาริด 
- การสร้างระบบชลประทาน 
- เมืองเป็นศูนย์กลางขอฃการกสิกรรม 
- การเกิดชนชั้น 
1.4 สมัยก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย 
- วัฒนธรรมบ้านเก่า อ.เมือง 
จ.กาญจนบุรี 
- วัฒนธรรมบ้านเชียง อ.หนองหาน
ประวัติศาสตร์มนุษยชาติ 
2.สมัยประวัติศาสตร์และอารยธรรมโลก 
2.1 อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ 
2.1.1 อารยธรรมอียิปต์ : ของขวัญจากแมน่ำ้าไนล์ 
2.1.2 อารยธรรมเมโสโปเตเมยี : ดินแดน 
พระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์ 
2.1.3 อารยธรรมของกลุ่มชนในตะวันออกกลาง : 
ฟีนีเชีย ฮีบรู และเปอร์เซีย 
2.1.4 อารยธรรมกรีก : นักธรรมชาตินิยมและ 
มนุษยนิยม 
2.1.5 อารยธรรมโรมนั : นักรบและนักปกครองผู้ 
ยิ่งใหญ่
สมัยประวัติศาสตร์และอารยธรรม 
โลก (ต่อ) 
2.2 อารยธรรมตะวันออกยุคโบราณ 
2.2.1 อารยธรรมอินเดีย : อนุทวีป 
ที่น่าทึ่ง 
2.2.2 อารยธรรมจีน : ดินแดนแห่ง 
ลัทธิประเพณี 
2.3 อารยธรรมยุคกลาง 
2.3.1 อารยธรรมยุโรปยุคกลาง : 
ยุคแห่งศรัทธา 
2.3.2 อารยธรรมอิสลาม : แหล่ง 
ความรู้และความเจริญในยุคกลาง
สมัยประวัติศาสตร์และอารยธรรม 
โลก (ต่อ) 
2.4 อารยธรรมยุคใหม่ 
2.4.1 การฟื้นฟูศิลปวิทยา 
2.4.2 การปฏิรูปศาสนา 
2.4.3 การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ 
2.4.4 การปฏิวัติอุตสาหกรรม 
2.4.5 การปฏิวัติประชาธิปไตย 
2.4.6 สงครามโลกครั้งที่ 1 
2.4.7 สงครามโลกครั้งที่ 2 
2.4.8 โลกหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
สมัยประวัติศาสตร์ 
1.ยุคโบราณ (Early 
Civilizations) 
3,500 ปีก่อนค.ศ. - ค.ศ.476 
2.ยุคกลาง (Middle Ages) 
ค.ศ.800 - ศตวรรษที่ 15 
3.ยุคใหม่ (Modern Times) 
ศตวรรษที่ 15 - ตน้ศตวรรษที่ 
20 (World War I) 
4.ยุคปจัจุบัน (Contemporary 
World) 
กลางศตวรรษที่ 20 
(หลังWorld War II) - ปัจจุบัน
ยุค 
โบราณ 
จีน 
กลุ่มชนใน 
ตะวันออก 
กลาง 
โรมัน 
อารยธ 
รรม 
ตะวัน 
ออก 
อารยธ 
รรม 
ตะวัน 
ตก 
กรีก 
อียิปต์ 
อินเดีย 
เมโสโป 
เตเมีย
อารยธรร 
ม 
ยุคกลาง 
ยุโรปยุค 
กลาง อิสลาม
อารยธรร 
ม 
ยุคใหม่ 
การปฏิวัติ 
ทาง 
วิทยาศาส 
ตร์ 
การ 
ปฏิวัติ 
อุตสาหก 
รรม 
การ 
ปฏิรูป 
ศาสนา 
การฟื้นฟู 
ศิลปวิทย 
า 
สงครามโ 
ลกครั้งที่ 
1 
การปฏิวัติ 
ประชาธิป 
ไตย
โลกร่วม 
สมัย 
(ยุค 
ปัจจุบัน) 
โลกหลัง 
สงครามโลก 
ครั้งที่ 2 
สงครามโล 
กครั้งที่ 2 
เกิดภาวะ 
สงคราม 
เย็น 
ทุกประเทศ 
ในยุโรป 
ร่วมมือกัน 
สร้าง 
สันติภาพ
อารยธรรมยุโรปยุคกลาง : ยุคแห่ง 
ศรัทธา 
อารยธรรมอิสลาม : แหล่งความรู้และ 
ความเจริญในยุคกลาง
อารยธรรมยุโรปยุคกลาง : ยุคแห่ง 
ศรัทธา หรือ ยุคมดื 
C.5-C.15 
- เกิดขึ้นหลังจากจักรวรรดิโรมันตะวันตกล่ม 
สลายเพราะถูก 
อานารยชนเผ่าเยอรมันรุกราน 
- รูปแบบการปกครองสมัยนี้เรียกว่า ระบบ 
ฟิวดัล(Feudalism) 
หรือ ศักดินาสวามิภักดิ์ 
- คริสต์ศาสนาเรืองอำานาจ เหนือชีวิตของทุก 
คนในยุคกลาง 
- ผลดีและผลเสยีของระบบฟิวดัล
จักรวรรดิโรมันตะวันตกทำาให้เกิด 
ยุคกลางของยุโรป 
- อานารยชนเผ่าเยอรมันรุกราน และโจรผู้ร้าย 
ชุกชุม ชาวนาจึงเกิดความหวาดกลัวจนต้องยก 
ที่ดินของตนให้ผู้มีอำานาจเพื่อขอความคุ้มครอง 
โดยยอมเปลี่ยนสภาพเป็นผู้เช่าที่ดินของลอร์ด 
- ทำาให้เกิดระบบฟิวดัล ซึ่งเป็นพื้นฐานการ 
ปกครอง เศรษฐกิจ และสังคมของสมัยนี้ 
- อำานาจการปกครองกระจาย 
(decentralization) ไปตามส่วนต่างๆที่ 
ขุนนางเป็นใหญ่ 
- เศรษฐกิจเป็นแบบพอเพียง เลี้ยงตัวเอง (self - 
sufficience)
รูปแบบการปกครองระบบ 
ฟิวดัล(Feudalism) 
หรือ ศักดินาสวามภิักดิ์ 
- มีการสวามิภักดิ์ และสง่ส่วยกันเป็นทอดๆ 
ระหว่างข้า(vassal)กับเจ้าเหนือหัว (Lord) โดย 
เจ้าเหนือหัวจะต้องให้ความคุ้มครองและความ 
ยุติธรรมแก่ข้า 
- เศรษฐกิจในสมัยนี้ เรียกว่า ระบบ 
แมนเนอร์(Manorial system) ซึ่งมีความ 
สมบูรณ์ด้านการเกษตรในตัวเอง การค้าขาย 
แทบไม่มีเลย
รูปแบบการปกครองระบบ 
ฟิวดัล(Feudalism) 
หรือ ศักดินาสวามิภักดิ์ (ต่อ) 
การยึดครองที่ดินในระบบแมนเนอร์แบ่งออก 
เป็น 2 พวกคือ 
1.ดีมีนส์ เป็นไร่นาส่วนที่ดีที่สุด 
2.วิลเลนเนเจียม เป็นที่ดินของขุนนางที่ให้ 
ชาวนาและทาสติดที่ดินไป เพาะปลูก 
การทำานาในระบบแมนเนอร์เป็นนาเปิด 
(open – field system)
รูปแบบการปกครองระบบ 
ฟิวดัล(Feudalism) 
หรือ ศักดินาสวามิภักดิ์ (ต่อ) 
- ชาวนามีทั้งที่เป็นเสรีชน (villein) และไพร่ติด 
ที่ดิน (serve) 
- ขุนนางมีบรรดาศักดิ์ลดหลั่นกันลงมา เช่น 
Duke, Earl, Lord และ Baron 
- กษัตริย์เป็นหัวหน้าขอบเขตขัณฑสีมา แต่ 
อำานาจที่แท้จริงอยู่กับขุนนางตามแคว้นต่างๆ 
กษัตริย์จึงได้ฉายาว่า “First among the 
equals” 
- ขุนนางจะต้องฝึกฝนการรบพุ่งและสถาปนาเป็น 
อัศวินในขั้นต้น ส่วนอีกประเภทหนึ่งคือขุนนาง 
ที่สืบทอดจากบรรพบุรุษ
Pyramid-like feudal social hierarchy
Manor
Manor System 
ภาพภายในแมนเนอร์
ในยามสงครามบรรดาอัศวินที่มีอยู่ตาม 
ปราสาทจะทำาการรบเพื่อพิทักษ์นายของตน
ชีวิตการทำางานของชาวนาในยุโรป 
สมัยกลาง ซึ่งใช้แรงงานทั้งชายและหญิง
ภายในเมือง การค้าและการผลิตสนิคา้ 
จะมสีมาคมชา่ง (Guild) คอยควบคมุการ 
ผลิตใหมี้คุณภาพ และราคายุติธรรม
Bew Castle, Bewcastle 
church, and Demesne Farm.
Narbonne Gate, the main entrance to the fortress. The gatehouse, or barbican, 
is open at the top, so defenders could attack it from the towers. How to greet unwelcome 
guests? With arrows, rocks, boiling water, and molten lead, of course.
A side view of the Narbonne Gate. Much of the castle was built during 
the 12th and 13th centuries.
The Tower of Justice, one of 53 towers. In the background is the 
Basilica of St. Nazaire.
A final view of Carcassonne, from across the Aude River.
Sunset on the walls of Chateau Comtal, the heart of the castle.
In 1853, work began to restore Carcassonne to its former glory, 
led by architect Viollet-Le-Duc. He devoted the next decades of his life to 
the castle, and it became his masterpiece.
Carcassonne Castle, France: Fortress Ruined and Reborn
ปราสาทนอยชวานสไตน์ เป็นปราสาท 
ต้นแบบปราสาทในการ์ตูนของวอลล์ดิสนีย์ 
ตั้งอยทูี่่ประเทศเยอรมนี ติดกับเทือกเขา 
แอลป์ สร้างขึ้นโดยพระเจ้าลุดวิกที่ 2
Medieval Village
Medieval Village - Puy du Fou 
A reconstruction of a typical Medieval village within the walls 
includes a moat too. There are shops with craftsmen going about their 
business, an inn as well as animals roaming about.
คริสต์ศาสนาเรืองอำานาจในยุคกลาง 
- คริสต์ศาสนา มีอิทธิพลเหนือชีวิตและจิตใจของ 
คนในแมนเนอร์ โดยมีสันตะปาปาเป็นประมุข 
- เชอื่ใน Doctrine of Predestination ชีวิต 
ถูกพระเจ้าลิขิตไว้แล้ว 
- เน้นความสุขในโลกหน้า โดยยอมทุกข์ยากใน 
โลกนี้ ชีวิตจิตใจ ถูก 
ครอบงำาโดยศาสนจักร เพื่อขึ้นสวรรค์ในโลก 
หน้า 
- ศาสนาคริสต์มีพิธีกรรมต่างๆที่ศาสนิกชนต้อง 
ปฏิบัติหลายอย่าง ตั้งแต่เกิดจนตาย
คริสต์ศาสนาเรืองอำานาจในยุคกลาง 
(ต่อ) 
- เครื่องมือที่สนับสนุนฝ่ายศาสนจักรให้อยู่เหนือ 
ฝ่ายอาณาจักร หรือวิธีการลงโทษผู้ที่ไม่เชื่อฟัง 
หรือพวกนอกรีต โดยการทำาบัพพาชนียกรรม 
หมายถึง การตัดขาดจากศาสนา 
- พระมีการศึกษามากกว่าขุนนางและคนธรรมดา 
- พระเป็นผู้วางนโยบายเศรษฐกิจในสังคมยุค 
กลาง ฐานะของพระจึงมั่งคงั่ 
มีอำานาจ มีความรู้ และมีทรัพย์สมบัติ (ที่ดินและ 
เงิน) 
- อาราม(Monastery) ให้การศึกษาชนชั้นสูง 
ในยุโรปยุคกลาง
15th century painting of Pope Urban II at the Council of Clermont, 
where he preached an impassioned sermon to take back the Holy Land.
พระสันตะปาปาฟรานซิสที่ 1
Soft and radiant light bathes the altar of the Basilica.
Christianity led to the dark ages and held 
back human progress for about 1,000 years.
The Monastery of Tatev - Armenia
พระซึ่งมีบทบาทในสังคมยุคกลางของ 
ยุโรป ได้ตระเวนสงั่สอนประชาชนในที่ต่างๆ
สันตะปาปาเลโอที่ 3 สวมมงกุฎจักรพรรดิแด่ 
พระเจ้าชาร์ลมาญ
Monasteries and churches throughout the empire were financed 
by the emperor and by wealthy citizens. The architecture of many of these 
buildings, like this one in Greece, showed the influence of Constantinople.
การเรียนในมหาวิทยาลัยของยุโรปสมัย 
กลางอยใู่นอาราม 
มีพระเปน็อาจารย์ โดยผู้ปกครองต้องมอบถุง 
เงินแก่เจ้าอาราม 
เพื่อเป็นค่าเล่าเรียนบุตรของตน
Cambridge and many other universities were founded in the Middle Age.
Oxford University
Sorbonne University
University of Bologna
มหาวิหาร นอร์ 
ทดาม 
แห่งปารีส 
(Notre Dame 
De Paris) เป็น 
มหาวิหารโรมัน 
คาธอลิค 
ตัวอย่างของ 
สถาปัตยกรรม 
โกธคิ-ฝรั่งเศส ที่ดี 
ที่สุด
ฮาเยียโซเฟีย หรือ ฮาเจียโซเฟยี 
(Hagia Sophia) 
สิ่งมหัศจรรย์ของโลกยุคกลาง แห่ง 
ยุคไบแซนไทน์
นครวาติกัน (Vatican City) 
ประเทศอิตาลี
Westminster Abbey
ผลดีของระบบฟิวดัล 
- เกิดลัทธิวีรคติ ได้แก่ ความสุภาพอ่อนโยนใน 
การประพฤติต่อผู้อื่น 
มีความกล้าหาญ เสียสละ ช่วยเหลือสตรีและเด็ก 
ให้เกียรติกับศัตรูที่ 
ยอมแพ้ เหล่านี้เป็นระเบียบที่ใช้อบรมสุภาพ 
บุรุษในยุโรปยุคกลาง 
จนถึงปัจจุบัน 
- ขุนนางเป็นผู้อุปถัมภ์และเก็บรวบรวมศิลปกรรม 
และวรรณกรรม 
- ชาวไร่ชาวนาไม่อดตาย มีที่ดินทำากินตลอด 
เวลา และอยู่ในความอุปถัมภ์
According to the History of Knights the young man was made a 
knight at the age of 21. This was an occasion of elaborate ceremony and 
solemn vows. After a purification bath, the candidate for knighthood knelt or 
stood all night in prayer before the altar on which lay the precious armor he 
would don on the morrow.
ผลเสียของระบบฟิวดัล 
- สมัยฟิวดัลมีการรบพุ่งระหว่างขุนนางอยู่ตลอด 
เวลา ทำาให้เสยีทรัพย์สนิ 
และชีวิตผคู้น รวมทั้งความเจริญต่างๆหยุด 
ชะงัก อีกทั้งยังเป็นอุปสรรค 
ต่อการค้าขาย 
- แต่ละแมนเนอร์อยู่เป็นอิสระ ไม่ติดต่อกัน ไม่ 
นิยมการค้าขาย ทำาให้ 
ความเจริญมักมีอยู่เป็นถิ่นๆ 
- ขุนนางมีอำานาจและทำาการปกครองเป็น 
หย่อมๆ ทำาให้การรวมอำานาจ 
เข้าสู่ศูนย์กลางไม่สะดวก
ผลเสียของระบบฟิวดัล (ต่อ) 
- ศาสนจักรสั่งสอนผู้คนเชื่อฟังและปฏิบัติตามโดย 
ไม่กล้านอกรีต เพราะกลัวจะตกนรก 
- เศรษฐกิจซบเซา เนอื่งจากชนชั้นกลางที่เป็น 
พ่อค้าไม่สามารถค้าขายได้อย่างสะดวกและ 
ปลอดภัย
ความเสื่อมของระบบฟิวดัล 
1.ปฏิวัติทางการค้า ตั้งแต่ศตวรรษที่ 11 
เป็นต้นมา 
- การฟื้นฟูการค้ากับตะวันออกใกล้ 
- เกิดหัวเมืองการค้า และถนนหนทาง 
- มีความต้องการสินค้ามากขึ้นนับตั้งแต่สงคราม 
ครูเสดเป็นต้นมา 
- จึงเกิดชนชั้นกลางที่รำ่ารวย 
2.กาฬโรคระบาด ในศตวรรษที่ 14 
- ผู้คนล้มตายเป็นจำานวนมาก แรงงานหายาก 
- ทาสติดที่ดิน เป็นเสรีชนมากขึ้น 
3.สงครามครูเสด ศตวรรษที่ 11-13
สงครามครูเสด 
สาเหตุของสงครามครูเสด 
- สงครามครูเสดเกิดจากความขัดแย้งระหว่างค 
ริสตจักรในยุโรปกับอาณาจักรมุสลิมเติร์กใน 
เอเชียไมเนอร์ หรือเอเชียตะวันตก ที่บุกมา 
ประชิดจักรวรรดิโรมันตะวันออก 
- ผู้แสวงบุญชาวคริสต์ได้หลั่งไหลเข้าไปยังนคร 
เยรูซาเล็ม ซึ่งถูกยึดครองโดยพวกเติร์ก แต่ถูก 
ปล้นสดมภ์หรือได้รับการปฏิบัติไม่ดี
สาเหตุของสงครามครูเสด (ต่อ) 
- พวกขุนนางและกษัตริย์ต่างก็ชอบรบพุ่งทำา 
สงครามซึ่งกันและกัน การยกย่องความกล้า 
หาญและความเป็นนักรบ ทำาให้ประชาชนชาว 
คริสต์สมัครเข้าเป็นทหารกันมาก พวกสงัฆราช 
ได้ยุยงให้ประชาชนฮึกเหิมเพื่อส่งเสริมให้คน 
เหล่านี้ไปรบกับพวกมุสลิมเติร์กแทน โดยอ้างว่า 
จะได้บุญกุศล และเพื่อชิงนครเยรูซาเล็มอัน 
ศักดิ์สิทธิ์กลับคืนมา 
- สันตะปาปาเออร์บานที่ 2 ได้เรียกประชุมชาว 
คริสต์ เพื่อทำาสงครามกับชาวมุสลิมเติร์ก จึงเกิด 
เป็นสงครามครูเสด ตั้งแต่ ค.ศ.1096 ถึง ค.ศ.
สาเหตุของสงครามครูเสด (ต่อ) 
- การค้าในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนตกอยู่ในความ 
ควบคุมของชาวมุสลิม พวกพ่อค้าต่างชาติโดย 
เฉพาะพ่อค้าจากเวนิซ ปิซา และเจนัว ต่างก็มี 
ผลประโยชน์ทางการค้าอยู่ในแถบนี้ แต่ถูกปิด 
กั้นเสน้ทาง ดังนั้นผลประโยชน์ทางการค้าจึงมี 
บทบาทสำาคัญอยู่ในสงครามครูเสด 
- สาเหตุที่ได้ชอื่ว่าสงครามครูเสด เพราะ 
สันตะปาปานำาเครื่องหมายกางเขนสีแดง แจก 
จ่ายแก่ผไู้ปรบ ไม้กางเขนจึงเป็นสัญลักษณ์ของ 
สงครามครูเสด
ผลของสงครามครูเสด 
- ยุโรปได้มีการติดต่ออย่างใกล้ชิดกับโลกมุสลิม 
ดังนนั้ จึงเกิดการค้าขายแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม 
และศิลปวิทยาการทุกแขนงระหว่างดินแดนทั้ง 
สองนี้ 
- ส่งผลให้เศรษฐกิจยุโรปเจริญยิ่งขึ้นหลัง 
สงครามครูเสด 
- นำามาซึ่งการฟื้นฟูศิลปวิทยาการ 
(Renaissance) ในยุโรป ในเวลาต่อมา
ผลของสงครามครูเสด (ต่อ) 
- ผลจากสงครามครูเสดและสงครามในยุโรปใน 
เวลาต่อมา ทำาให้อัศวินและขุนนางตายเป็น 
จำานวนมาก ระบบศักดินาสวามิภักดิ์จึงอ่อนแอ 
ลง 
- พ่อค้ารำ่ารวยจากการค้าขายระหว่างตะวันออก 
กับตะวันตก โดยมีคาบสมุทรอิตาลีเป็นหัวเมือง 
การค้าที่สำาคัญ เป็นที่มาของ Renaissance 
- กษัตริย์ได้รับการสนับสนุนจากพ่อค้าและชนชั้น 
กลางที่รำ่ารวย ทำาให้เกิดเป็นรัฐชาติที่กษัตริย์ 
รวมอำานาจเข้าสู่ศูนย์กลางได้สำาเร็จ
Map of the First Crusade
สงครามครู 
เสด
The capture of Jerusalem in the First Crusade
Snowy Dome of the Rock - 
Jerusalem, Palestine
อารยธรรมอิสลาม: แหล่งความรู้และ 
- ศาสนาอคิสลวาามมกเำาจเนริดิญขใึ้นน ใยนุคบกริเลวณางคาบสมุทรอา 
ระเบีย 
ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 7 โดยมีพระมุฮัมมัดเป็นผู้ 
ประกาศศาสนา 
- ได้รับอิทธิพลของศาสนายูดาห์และศาสนาคริสต์ 
ในการนับถือ 
พระเจ้าองค์เดียว คือ อัลเลาะห์ 
- การขยายตัวของศาสนาและจักรวรรดิอิสลาม 
สมัยอุมัยยัด ศูนย์กลางอำานาจอยู่ที่กรุง 
ดามัสกัส (ซีเรีย) 
สมัยอับบาสดิ (ค.ศ.750- ค.ศ.1258)
เมืองหลวงของราชวงศ์อุมัยยัด
เมืองหลวงของราชวงศ์อับบาสิด
อารยธรรมอิสลาม: แหล่งความรู้และ 
ความเจริญในยุคกลาง (ตอ่) 
- หลังคริสต์ศตวรรษที่ 9 จักรวรรดิอิสลามเริ่ม 
เสื่อมลง มีการแยกตัวเป็น 
อิสระ เช่น สเปน โมรอคโค ตูนีเซีย และอียิปต์ 
- ต่อมาจักรวรรดิถูกรุกรานโดยเตอร์กและ 
มองโกล ทำาให้แตกแยกออกเป็นรัฐเล็กรัฐน้อย 
และรวมเป็นจักรวรรดิออตโตมนั ใน คริสต์ 
ศตวรรษที่ 14 
- อารยธรรมอิสลามเป็นแหล่งสะสมความรู้ความ 
เจริญของดินแดนต่างๆที่เคยอยู่ใต้จักรวรรดิ
คาบสมุทรอาระเบีย
Age of the Caliphs 
Expansion under the Prophet Mohammad, 622-632 
Additions during the Patriarchal Caliphate, 632-661 
Additions during the Umayyad Caliphate, 661-750
Rituals of the Hajj (pilgrimage) include walking seven times 
around the Kaaba in Mecca.
Map showing distribution of Shia and Sunni Muslims in Africa, Asia and Europe 
(ผู้ที่นับถือนิกายชิอะห์ มเีพียงประมาณ 1 ใน 10 ของมสุลิมทวั่ 
โลก)
โดมแห่งศิลา (Dome of the Rock) 
ก่อสร้างในคริสต์ศตวรรษที่ 7 ได้ชอื่ว่าเป็น 
สงิ่ปลูกสร้างของอิสลามที่เก่าแก่ที่สดุในโลก 
และเป็นสเุหร่าศักดิ์สทิธสิ์ำาหรับชาวมุสลิม 
โดมแห่งนี้ตกแต่งด้วยลวดลายเรขาคณิตและ 
ลายดอกไม้งดงาม
ความเจริญทางอารยธรรมอิสลาม 
- ความเจริญทางด้านการแพทย์ 
- ความเจริญทางด้านวิทยาศาสตร์ ได้แก่ 
คณิตศาสตร์ ฟิสกิส์ ดาราศาสตร์ เคมี 
- ความเจริญทางการค้าขายและการเข้าไป 
ปกครองดินแดนต่างๆ ทำาให้วิชาภูมิศาสตร์ 
เจริญก้าวหน้า 
- ความเจริญของศิลปะอิสลาม
ความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์ของมุสลิม 
ในกรุงแบกแดด ซึ่งเน้นสขุภาพอนามยั และ 
การรักษาด้วยยาชนิดต่างๆ
ตำาราการปรุงยาทแี่บกแดด แสดงความ 
ก้าวหน้าทางการแพทย์ของมุสลิม
มุสลิมศึกษาค้นคว้าวิทยาศาสตร์แขนง 
ต่างๆซึ่งส่วนใหญ่รับมาจากกรีกและ 
อินเดีย
มุสลิมศึกษาค้นคว้าวิทยาศาสตร์แขนงต่างๆ ทั้ง 
คณิตศาสตร ฟิสกิส์ และเคมี ที่มีชอื่เสียงมากคือ 
คณิตศาสตร์ ซึ่งสว่นใหญ่รับมาจากกรีกและ 
อินเดีย
ตัวเลขซึ่งใช้แพร่หลายในโลกปัจจุบัน และ 
เรียกกันว่า ตัวเลขอารบิกนั้น 9 ตัวแรก (1-9) ได้ 
มาจากเลขของชาวฮินดู ที่สำาคัญคือการประดิษฐ์ 
เลข 0 ซึ่งเข้าใจว่ามุสลิมเป็นผปู้ระดิษฐ์ขึ้น
ชาวมสุลิมสว่นมากสนใจในวิชาดาราศาสตร์ 
และยังปรับปรุงเครื่องมือสำาหรับใชใ้นวิชานี้ 
โดยเฉพาะอย่างยิ่งกล้องส่องดูดาว
กองคาราวาน พ่อคา้อาหรับเดินทางคา้ขาย 
ต่างแดน ซึ่งเปน็ที่มาอย่างหนึ่งของความ 
เจริญก้าวหน้าทางอารยธรรม
Mosque of Cordova ในประเทศ 
สเปน 
ซึ่งมลีักษณะเด่น คือ การใช้โค้งรูป 
เกอืกมา้
อิทธิพลของศิลปะมุสลิมในโลกตะวันออกที่ 
มีชื่อเสยีง 
คอื Taj Mahal ในประเทศอินเดีย ซึ่งมีการ 
ใช้โดม เปน็ส่วนใหญ่
อารยธรรมยุคใหม่ (ศตวรรษที่ 15 
- ต้นศตวรรษที่ 20) 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (C.15-C.17) 
- Renaissance คือ การฟื้นฟู 
อารยธรรมคลาสสคิของกรีก 
และโรมันขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง 
-จุดเริ่มตน้คือ หัวเมืองการค้าใน 
คาบสมุทรอิตาลี เชน่ 
ฟลอเรนซ์ เจนัว เวนิซ
ลักษณะของ Renaissance 
- ยกย่องความสามารถของมนุษย์ 
(มนุษยนิยม) 
- มองโลกในแงดี่ ชื่นชมชวีิตปัจจุบัน 
- ไม่ยอมจำานนต่ออำานาจศาสนา 
- เน้นความเป็นปัจเจกชน 
- มีผลงานหลายด้าน เช่น วรรณคดี 
ศิลปะ สถาปัตยกรรม การเมือง ศาสนา 
วิทยาศาสตร์ 
- วิชาความรู้แพร่หลายโดยการพิมพ์ 
ที่ใช้แท่นพิมพ์เคลื่อนที่ 
- ขยายตัวจากคาบสมุทรอิตาลี ไปยัง
แท่นพิมพ์เคลื่อนททีี่่โยฮันน์ กูเตนเบริ์ก 
ประดิษฐข์ึ้น 
ได้เผยแพร่อย่างรวดเร็วในคริสต์ศตวรรษที่ 
15
ภาพนี้คือ โรงพิมพ์แห่งหนึ่งในเมืองนูเร็ม 
เบิร์ก ที่ใช้แท่นพมิพ์เคลื่อนที่ของโยฮันน์ กู 
เตนเบิร์ก
นกัมนษุยนิยมสมยั Renaissance 
1.อิตาลี – 
Petrarch,Boccaccio,Machiavelli 
2.ฝรั่งเศส – 
Rabelais,Ronsard,Michel de 
Montaigne 
3.สเปน – Michael de 
Cervantes,Erasmus 
4.อังกฤษ – Sir Thomas More , 
Shakespeare,Bacon
Francesco Petrarca 
บิดาทางวรรณคดีสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา 
การ 
เพทราคเห็นว่ามนุษย์เป็นสิ่งทสี่ำาคัญที่สุด เป็นผล 
งานชิ้นเอกของพระผเู้ป็นเจ้า จงึมีค่าควรแก่การ 
สนใจศึกษา งานเขียนของเพทราคแสดงถึง 
เจตนารมณ์ และอุดมคติของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา 
การ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องของโลก
Giovanni 
Boccaccio 
ตัวแทนของชนชั้นกลาง 
ยุคใหม่ในอิตาลี 
บอคคาชิโอ มคีวาม 
สามารถในการล้อเลียน 
เยาะเย้ย และเสียดสีสังคม 
โดยเฉพาะสังคมในสมัย 
กลาง ขณะเดียวกันเขาก็ 
ปลูกฝังทัศนคติใหม่ๆให้แก่ 
ชนชั้นกลาง ทเี่ริ่มก่อตัว 
ขึ้นในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา 
การ โดยเน้นการแสวงหา 
ความรู้ ความขัยนหมนั่ 
เพียรในการทำางาน ความ 
เชื่อมนั่ในตนเอง และไม่
Machiavelli 
ผู้เขียนเรื่อง “เจ้านคร” 
(The Princ e ห)นังสือทมี่ชีื่อเสียงของมาคิ 
อาเวลลี คือเรื่อง The Prince 
เขาเสนอว่าผู้ปกครองต้องแยก 
เรื่องการเมอืง การปกครอง 
ออกจากศีลธรรมทางศาสนา 
อย่างเด็ดขาด งานเขียนของ 
เขาสะท้อนความคิดทางโลก 
และมมีนุษย์เป็นจุดศูนย์กลาง 
The Prince มีอิทธิพลอย่าง 
ยิ่งต่อแนวความคิดทางการ 
เมอืงสมยัใหมข่องยุโรป 
บรรดากษัตริย์และเจ้าผู้ครอง
Rabelais 
นักเขียนชาวฝรั่งเศสสมัยเรเนสซอง 
ส์ 
ราเบอเล่ส ์เป็นบาทหลวงททีิ่้งวัด 
เป็นแพทย์ทไี่ม่ได้รักษาพยาบาลเป็นอาชีพ 
และเป็นนักศึกษาที่ซาบซึ้งต่อวิทยาการสมัยคโดยเฉพาะวรรณคดี ทำาใหเ้ขาเป็นนักเขียนทชื่อเสียงเด่น ราเบอเล่สไ์ด้ชื่อว่า เป็นผู้ใหก้ำาเนิร้อยแก้วฝรั่งเศสสมยัใหม่ โดยเน้นการผละออความเข้มงวดทางศีลธรรม มาสู่ความเป็นมนุษ
Ronsard 
นักเขียนชาวฝรั่งเศสสมัยเรเนสซอง 
ส์
Michel de Montaigne 
ได้ชอื่ว่าเป็นผู้วางรากฐานของยุคแห่งเหตุผล ซึ่งมี 
อิทธิพลในศตวรรษที่ 18 
มงแตนญ์ เป็นนักกฎหมายทลี่ะทงิ้วิชาชีพ 
เพื่อใช้ชีวิตทั้งชีวิตในการศึกษาวิทยาการสมัยคผลงานทสี่ำาคัญ คือ ความเรียง (Essays) มงแตผู้ที่สงสัยไมย่อมเชื่ออะไรทั้งสิ้น เขาเชื่อว่า เพอื่จะถึงความจริงอันถูกต้องแน่แท้ คนจะต้องทำาตัวให้ 
ปลอดจากอคติของศาสนา เขาเชื่อว่า เป้าหมายทของชีวิตคือการแสวงหาความรื่นรมย์ อันเกิดจาก 
ภมูปิัญญา เขามอีิทธิพลอย่างมากต่อบรรดานักคินักเขียนรุ่นหลังๆ
Miguel de Cervantes 
งานชิ้นเอกของเซอร์บันเตส 
คือ Don Quixote ซงึ่นัก 
วิจารณ์วรรณคดียกย่องว่าเป็น 
นวนิยายทยี่งิ่ใหญท่สีุ่ดทเี่คยมมีา 
เป็นเรื่องราวของอัศวินที่คิด 
ฟุ้งซ่านในเรื่องของความกล้า 
หาญและเกียรติยศตามประเพณี 
สมยักลาง เขากบัผู้ติดตามได้เดิน 
ทางผจญภยัไปทวั่สเปน ด้วย 
ลีลาการเขียนที่สละสลวย งดงาม 
แฝงด้วยความขบขันอย่าง 
ละเมยีดละไม แสดงถึงชีวิตความ 
เป็นอยู่ของสเปนในสมัยคริสต์ 
ศตวรรษที่16 โดยผู้เขียน
Desiderius Erasmus 
นักมนุษยนิยมคนสำาคัญที่มีอิทธิพล 
ต่อการปฏิรูปศาสนา 
อีรัสมสั นักบวชชาว 
ฮอลแลนด์ ผู้ทไี่ด้รับสมญาว่า 
“เจ้าแห่งนักมนุษยนิยม” เขา 
เป็นผู้ที่มีอิทธิพลในด้านความ 
คิดอย่างลึกซึ้งและกว้างขวาง 
ทสีุ่ดในคริสต์ศตวรรษที่ 16 
งานทสี่ำาคัญที่สุดของเขาคือ 
The Praise of Folly ซึ่ง 
เขียนเยาะเย้ยเสียดสีการ 
ปฏบิัติตนของคนในสมยันนั้ 
ซงึ่เต็มไปด้วยความโง่เขลา 
ความหลงเชื่อในไสยศาสตร์
William Shakespeare 
เป็นกวีและนักเขียนบทละครชาวอังกฤษที่มีชื่อเสียง 
และอิทธิพลที่สุดในโลก 
งานประพันธ์ของเชคสเปียร์ 
แสดงใหเ้ห็นแง่มมุต่างๆ ในทางโลก 
เขาได้แสดงบุคลิกภาพต่างๆของ 
มนุษย์ออกมาในตัวละคร อีกทงั้ยัง 
ได้วิเคราะหอ์ารมณ์ แรงบันดาลใจ 
ความขัดแย้งในเชิงจิตวิทยาของ 
มนุษย์ได้อย่างลึกซึ้ง เขายกย่อง 
มนุษย์ให้เป็นผู้กำาโชคชะตาของ 
ตนเอง มนุษย์จึงเป็นศูนย์กลางของ 
ทกุสงิ่ทุกอย่าง บทละครของเชคส 
เปียร์ยังสะท้อนอารยธรรมกรีกและ 
โรมนัโบราณ การค้นพบดินแดน 
ใหม่การค้นคว้าวิทยาศาสตร์
Sir Thomas More 
เซอร์ ทอมสั มอร์ นักคิดและ 
นักเขียนแนวมนุษยนิยมที่สำาคัญ 
ทสีุ่ดคนหนงึ่ของอังกฤษ ในต้น 
คริสต์ศตวรรษที่ 16 งานชิ้น 
สำาคัญคือ Utopia ซงึ่เป็นดิน 
แดนในจินตนาการที่เป็นแบบ 
สังคมนิยมทแี่ทจ้ริง ไมมี่ 
ทรัพย์สินหรือผลประโยชน์ส่วน 
บุคคล ทกุสิ่งเป็นของส่วนรวม 
ประชาชนทุกคนมีเสรีภาพใน 
การนับถือศาสนา สงครามถือว่า 
ผิดกฎหมาย เหล็กมคี่ามากกว่า 
ทอง เพราะมปีระโยชน์มากกว่า 
Utopia เป็นงานเขียนที่เกี่ยว
Sir Francis Bacon 
นักวิทยาศาสตร์ที่ทำาให้ชาวยุโรปหันมามาสนวิทยาศาสตร์ของโลกยุคใหม่
ด้านสถาปัตยกรรม 
เปลี่ยนจาก Gothic เป็น Baroque
ศิลปะ Gothic ยุคกลาง
ศิลปะแบบ Gothic ยุคกลาง
มหาวิหารเซนต์ปีเตอร์ ศิลปะแบบ 
Baroque
ภายในมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์
จิตรกรเอกในสมัยเรอเนสซองส์เน้นความงามที่ 
เป็นจริงตามธรรมชาติ 
Michael Angelo 
ไมเคิล แองเจโร เป็นประติมากร 
ชาวเมอืงฟลอเรนซ์ ผู้มีความ 
สามารถเป็นเลิศ ในการลอกเลียน 
แบบประติมากรรมกรีกและโรมัน 
โบราณ ผลงานชิ้นสำาคัญ คือ รูป 
แกะสลักDavid ซึ่งมชีีวิตจิตใจ 
และอารมณ์ ความรู้สึก เขายังได้ 
วาดภาพจิตรกรรม 
บนเพดานของโบสถ์ซิสทีนในกรุง 
โรม เช่น ภาพการสร้างโลกของ 
พระเจ้า การเกดิของอดัมและอีวา 
โดยเน้นความสำาคัญของมนุษย์ 
และปัจเจกบุคคล เขาสามารถ
Pieta
The Creation of Adam 
อยู่ในโบสถ์ซิสทีน ที่กรุงวาติกัน
โบสถ์ซิสทีน (Sistine 
chapel) 
เป็นที่พำานักของพระ 
สนัตปาปา 
เป็นโบสถ์ที่มีชื่อเสียง 
ด้านสถาปัตยกรรม 
สมัยเรเนสซอง 
โดยศิลปินที่มีชอื่เสยีง 
อย่าง 
ไมเคิล แองเจโล และ 
อีกหลายท่าน
Raffaello Sanzio 
ราฟาแอล เป็นศิลปินชาว 
เมอืงฟลอเรนซ์ ทมี่คีวาม 
สามารถแสดงออกถึง “ความ 
งามในอุดมคติ” จากผลงานที่ 
มชีื่อว่า Madonna and 
Child with John-Baptist 
เขายังได้วาดภาพจิตรกรรมฝา 
ผนังในห้องสมุดของ 
สันตะปาปาจูเลียสที่ 2 ทชีื่่อว่า 
School of Athens โดยได้ 
ทำางานร่วมกบัไมเคิล แองเจโร 
ในกรุงวาติกัน ภาพของราฟา 
แอลจะมีลักษณะสวยงามแบบ
ภาพ Madonna and Child โดย 
Raffaello Sanzio
School of Athens
Alessandro Botticelli 
บอตติเชลลี ชาวเมอืงฟลอเรนซ์ ผู้มผีลงาจิตรกรรมชื่อว่า Birth of Venus ซึ่งได้รับทางความคิดจากนักมนุษยนิยม โดยการศึกจากธรรมชาติ และกายวิภาคของมนุษย์อย่าเปิดเผย ซงึ่แต่เดิมนนั้คริสต์ศาสนาจะไมย่อรูปเปลือยแบบต่างๆ ทำาใหเ้มอืงฟลอเรนซ์กเป็นแหล่งรวมงานศิลปะและความคิดด้าน 
มนุษยนิยมและธรรมชาตินิยม
Birth of Venus
Gianlorenzo Bernini
Sculpture of Daphne and Apollo 
โดย Gianlorenzo Bernini
Leonardo da Vinci 
ดาวินชีเป็นจิตรกรผู้ 
มชีื่อเสียง ชาวอิตาลี มี 
ความสามารถทั้งด้าน 
ประติมากรรม 
สถาปัตยกรรม เป็นนัก 
คณิตศาสตร์ นักปรัชญา 
นักประดิษฐ์ นัก 
พฤกษศาสตร์ เป็นผู้ 
ชำานาญด้านกายวิภาค 
เป็นนักธรณีวิทยา และ 
วิศวกร 
ภาพจิตรกรรมที่มีชื่อ 
เสียงโด่งดัง คือ
The Last Supper เป็นผลงานที่คณะสงฆ์ 
ในเมืองมิลาน ได้จ้างให้ลีโอนาโด วาดบนฝาผนัง 
โบสถ์ ภาพนี้มีชอื่เสยีงในเรื่องของการ 
จัดPerspective ซึ่งเหมือนภาพลวงตา ทำาให้รู้สึก 
ว่าห้องดูลึกกว่าของจริง โดยมีวิวทิวทัศน์และ 
ท้องฟ้าอยู่เบื้องหลัง
Mona Lisa 
ภาพ Monalisa ซงึ่มชีื่อ 
เสียงในเรื่องแสงเงา กายวิภาค 
และเทคนิคต่างๆ ในการสร้างที่ 
ว่าง (space) ซึ่งทำาใหภ้าพมี 
ความสมดุลและกลมกลืนกันอีก 
ประการหนึ่งก็คือ ศิลปินไม่ 
จำาเป็นต้องสร้างภาพ หรือ ผล 
งานให้ออกมาในรูปแมพ่ระ 
หรือเทพธิดาเทา่นนั้ 
เพราะMonalisa เป็นเพียง 
สภุาพสตรีชาวเมอืงฟลอเรนซ์ 
ธรรมดาคนหนงึ่เท่านนั้
การปฏิรูปศาสนาในศตวรรษที่ 16 
สาเหตุของการปฏิรูปศาสนา 
1.เศรษฐกิจ - ชนชั้นกลาง และ 
ทุนนิยมเฟื่องฟู 
2.การเมือง - การตนื่ตัวทางเสรีภาพ 
และความเสมอภาค 
3.แนวคดิ - อิทธิพลของลัทธิมนุษย 
นิยม 
4.ศาสนา - เสื่อมจากการขายใบ 
ไถ่บาปและความบกพร่องภายใน
ผู้ปฏิรูปศาสนา 
1.มาร์ตนิ ลูเธอร์ (ประเทศ 
เยอรมนี) 
2.สวิงกลิ (ประเทศ 
สวิสเซอร์แลนด์) 
3.จอห์น คลัวนิ (ประเทศฝรั่งเศส) 
4.พระเจ้าเฮนรีที่ 8 (ประเทศ 
อังกฤษ)
Martin Luther 
ผู้ก่อตั้งโปรเตสแตนท์ นิกายลูเธอร์ 
มาร์ติน ลูเธอร์ เป็นพระชาว 
เยอรมัน 
ผู้นำาในการปฏริูปศาสนา โดย 
ยึดข้อความในคัมภีร์ไบเบิลเป็น 
หลักแต่เพียงอย่างเดียว โดยตัด 
เรื่องขนบธรรมเนียมประเพณี 
ของศาสนจักรออกไป เหลือ 
เพียง 2 ประการ คือ การทำาพิธี 
ล้างบาป และการรับศีลมหาสนิท 
เขาต่อต้านอภิสิทธิ์ของคณะ 
สงฆ์ ในฐานะตัวกลางระหว่าง 
สวรรค์กับโลกมนุษย์ และถอืว่า
Zwingli 
ก่อตั้งนิกายสวิงกลีใน 
สวิสเซอร์แลนด์ 
สวิงลี เป็นบาทหลวงชาว 
สวิสเซอร์แลนด์ ผู้ทำาการปฏริูป 
ศาสนาในสวิสเซอร์แลนด์ เริ่ม 
ด้วยการประท้วง การขายใบ 
ไถบ่าป เช่นเดียวกับลูเธอร์ และ 
โจมตีสถาบันสันตะปาปา โดยเน้น 
การตีความจากพระคัมภรี์โดยตรง
John Calvin 
ก่อตั้งนิกายเคลวินในเจนีวา 
จอห์น เคลวิน เป็นนัก 
ปฏริูปศาสนาชาวฝรั่งเศส 
ได้รับอิทธิพลของลูเธอร์ 
โดยยึดเอาพระคัมภีร์เป็น 
สำาคัญ เคลวินต้องการให้ 
ศาสนามีบทบาทในการ 
ปกครองให้วัดและพระสงฆ์ 
เป็นผู้นำาชุมชน ดูแลความ 
ควบคุมความประพฤติและ 
การศึกษา ใหเ้ลิกความ 
สนุกสนาน และความ 
ฟมุ่เฟือยต่างๆ เน้นการ
HENRY VIII 
ก่อตั้งนิกาย Church of 
England ห รื อ พ รAะเnจ้าgเฮlนiรcีทaี่ 8n ทรง 
เป็นผู้นำาการปฏิรูปศาสนา 
ในประเทศอังกฤษ โดยทรง 
ก่อตั้งนิกาย Anglican 
เนื่องจากทรงต้องการจะ 
หย่าขาดกับพระนางแคทเธอ 
รีน เพราะทรงโปรดปราน 
นางพระกำานัลชื่อ Anne 
Boleyne แต่พระ 
สันตะปาปา Clementที่7 
ไม่ยอมอนุมัติการหย่า และ 
เนื่องจากพระองค์ต้องการ
หลักของโปรเตสแตนท์ 
1.ศึกษาพระคมัภีร์ด้วยตนเอง แปลออก 
เป็นภาษาต่างๆ ไม่มีพระ 
2.ไม่ยอมรับพระสันตะปาปาเป็นประมุข 
ของศาสนา 
ประมุขของรัฐเป็นประมุขศาสนา 
3.ไม่เน้นรูปเคารพ และพธิกีรรม 
4.ส่งเสริมการประกอบสัมมาชีพ 
5.ส่งเสริมหลักประชาธิปไตย
- ลูเธอร์ได้ถูกบัพพาชนียกรรมโดย 
สนัตะปาปา โดยมีเจ้าผู้ครอง นครรัฐแซก 
โซนี และรัฐเยอรมันอื่นๆสนับสนุน เพอื่หา 
โอกาสยึดศาสนสมบัติและตัดทอนอำานาจ 
ของพวกพระ 
- ลูเธอร์ได้ทำาการแปลพระคัมภีร์ภาคพันธ 
สัญญาใหม่จากภาษาละตินเป็นภาษา 
เยอรมนั
- สนธิสัญญาอ๊อกซเบิร์ก(ค.ศ.1555) เป็นสนธิ 
สญัญาที่ยุติสงครามศาสนา ทำาให้เจ้าผู้ครองรัฐ 
มีอำานาจที่จะเลือกศาสนาให้แก่ราษฎรในรัฐของ 
ตน และยอมรับรองนิกายลูเธอร์ว่าเป็นสาขาหนึ่ง 
ของนิกายโปรเตสแตนท์ 
- การต่อต้านการปฏิรูปศาสนาของนิกาย 
โรมันคาทอลิก ในกลางศตวรรษที่ 14 โดยคณะ 
บาทหลวงเยซูอิต นิกายคาทอลิกจึงฟื้นฟูและมี 
คนนับถือแพร่หลาย

Contenu connexe

Tendances

พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางPannaray Kaewmarueang
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมFemale'PiAtip BoOn Paeng
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันPannaray Kaewmarueang
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)พัน พัน
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกพัน พัน
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)พัน พัน
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลางอิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลางOmm Suwannavisut
 
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือhackinteach
 
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณบทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณSupicha Ploy
 
กษัตริย์ไทยสมัยธนบุรีกับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยธนบุรีกับการพัฒนาชาติไทยกษัตริย์ไทยสมัยธนบุรีกับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยธนบุรีกับการพัฒนาชาติไทยคุณครูเกตุชัย ปิ่นทอง
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นTaraya Srivilas
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทยJulPcc CR
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2Taraya Srivilas
 
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22phornphan1111
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2Taraya Srivilas
 

Tendances (20)

พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยม
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมัน
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
 
ปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนาปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนา
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลางอิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
 
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณบทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
 
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
 
ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทย
 
กษัตริย์ไทยสมัยธนบุรีกับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยธนบุรีกับการพัฒนาชาติไทยกษัตริย์ไทยสมัยธนบุรีกับการพัฒนาชาติไทย
กษัตริย์ไทยสมัยธนบุรีกับการพัฒนาชาติไทย
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย
 
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรมการปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
 

En vedette

อารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตกอารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตกChanapa Youngmang
 
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)Heritagecivil Kasetsart
 
มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลกมรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลกHeritagecivil Kasetsart
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติWarinthorn Limpanakorn
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)sudoooooo
 
ข้อสอบ O net 49 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net  49 สังคม ม 6ข้อสอบ O net  49 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 49 สังคม ม 6บ่ะ โบ๊ต
 
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่Mind Mmindds
 
ประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลางประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลางRose Mary
 
ศิลปะตะวันออก lol
ศิลปะตะวันออก lolศิลปะตะวันออก lol
ศิลปะตะวันออก lolHeritagecivil Kasetsart
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียToey Songwatcharachai
 
O net English 03 e
O net English 03 eO net English 03 e
O net English 03 eMarreea Mk
 
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 05. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0Preeyaporn Chamnan
 
7วิชาสามัญ คณิต
7วิชาสามัญ คณิต7วิชาสามัญ คณิต
7วิชาสามัญ คณิตFlookBoss Black
 
7 สามัญ ภาษาไทย
7 สามัญ ภาษาไทย7 สามัญ ภาษาไทย
7 สามัญ ภาษาไทยFlookBoss Black
 
7วิชาสามัญ สังคม
7วิชาสามัญ สังคม7วิชาสามัญ สังคม
7วิชาสามัญ สังคมFlookBoss Black
 
7วิชาสามัญ ชีววิทยา
7วิชาสามัญ ชีววิทยา7วิชาสามัญ ชีววิทยา
7วิชาสามัญ ชีววิทยาFlookBoss Black
 

En vedette (20)

อารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตกอารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตก
 
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)
 
มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลกมรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลก
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติ
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
ข้อสอบ O net 49 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net  49 สังคม ม 6ข้อสอบ O net  49 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 49 สังคม ม 6
 
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
ประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลางประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลาง
 
ศิลปะตะวันออก lol
ศิลปะตะวันออก lolศิลปะตะวันออก lol
ศิลปะตะวันออก lol
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
O net English 03 e
O net English 03 eO net English 03 e
O net English 03 e
 
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 05. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
 
Law6 050258-7
Law6 050258-7Law6 050258-7
Law6 050258-7
 
7วิชาสามัญ คณิต
7วิชาสามัญ คณิต7วิชาสามัญ คณิต
7วิชาสามัญ คณิต
 
7 สามัญ ภาษาไทย
7 สามัญ ภาษาไทย7 สามัญ ภาษาไทย
7 สามัญ ภาษาไทย
 
Physic
PhysicPhysic
Physic
 
7วิชาสามัญ สังคม
7วิชาสามัญ สังคม7วิชาสามัญ สังคม
7วิชาสามัญ สังคม
 
Eng
EngEng
Eng
 
7วิชาสามัญ ชีววิทยา
7วิชาสามัญ ชีววิทยา7วิชาสามัญ ชีววิทยา
7วิชาสามัญ ชีววิทยา
 

Similaire à อารยธรรมยุคกลาง ยุคใหม่(อัพเดท2557)

พัฒนาการยุโรป
พัฒนาการยุโรปพัฒนาการยุโรป
พัฒนาการยุโรปKittayaporn Changpan
 
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลางJitjaree Lertwilaiwittaya
 
อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)Heritagecivil Kasetsart
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2Arom Chumchoengkarn
 
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่Phudittt
 
ประวัติศาสตร์สากล
ประวัติศาสตร์สากลประวัติศาสตร์สากล
ประวัติศาสตร์สากลSompak3111
 
ประวัติศาสตร์สากล
ประวัติศาสตร์สากลประวัติศาสตร์สากล
ประวัติศาสตร์สากลSompak3111
 
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมืองAniwat Suyata
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการการฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการChatimon Simngam
 

Similaire à อารยธรรมยุคกลาง ยุคใหม่(อัพเดท2557) (14)

พัฒนาการยุโรป
พัฒนาการยุโรปพัฒนาการยุโรป
พัฒนาการยุโรป
 
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
 
ศิลปะตะวันตก
ศิลปะตะวันตกศิลปะตะวันตก
ศิลปะตะวันตก
 
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
 
อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)
 
Humanities integration_1
Humanities integration_1Humanities integration_1
Humanities integration_1
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2
 
Content04
Content04Content04
Content04
 
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
 
ประวัติศาสตร์สากล
ประวัติศาสตร์สากลประวัติศาสตร์สากล
ประวัติศาสตร์สากล
 
ประวัติศาสตร์สากล
ประวัติศาสตร์สากลประวัติศาสตร์สากล
ประวัติศาสตร์สากล
 
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง
018 neo–classic พรหมพิเชฐ สนธิเมือง
 
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรมUnit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการการฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
 

Plus de Heritagecivil Kasetsart

มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลก มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลก Heritagecivil Kasetsart
 
มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์)
มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์) มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์)
มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์) Heritagecivil Kasetsart
 
มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลกมรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลกHeritagecivil Kasetsart
 
มรดกอารยธรรมโลกเพิ่มเติม ปี 2557
มรดกอารยธรรมโลกเพิ่มเติม ปี 2557มรดกอารยธรรมโลกเพิ่มเติม ปี 2557
มรดกอารยธรรมโลกเพิ่มเติม ปี 2557Heritagecivil Kasetsart
 
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)Heritagecivil Kasetsart
 

Plus de Heritagecivil Kasetsart (20)

มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลก มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลก
 
The heritages of world civilization
The heritages of world civilization The heritages of world civilization
The heritages of world civilization
 
01999031 western music romantic
01999031 western music romantic01999031 western music romantic
01999031 western music romantic
 
01999031 western music baroque.
01999031 western music baroque.01999031 western music baroque.
01999031 western music baroque.
 
01999031 western music classical.
01999031 western music classical.01999031 western music classical.
01999031 western music classical.
 
Man lg
Man lgMan lg
Man lg
 
Man lg handout s
Man lg handout sMan lg handout s
Man lg handout s
 
Man lg eng hndout
Man lg eng hndoutMan lg eng hndout
Man lg eng hndout
 
World history
World historyWorld history
World history
 
World major religion
World major religionWorld major religion
World major religion
 
Reasoning
ReasoningReasoning
Reasoning
 
Philosophy history
Philosophy historyPhilosophy history
Philosophy history
 
Philosophy and religion
Philosophy and religionPhilosophy and religion
Philosophy and religion
 
Introduction of philosophy
Introduction of philosophyIntroduction of philosophy
Introduction of philosophy
 
Philosophy and religion
Philosophy and religionPhilosophy and religion
Philosophy and religion
 
Introduction of philosophy
Introduction of philosophyIntroduction of philosophy
Introduction of philosophy
 
มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์)
มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์) มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์)
มรดกอารยธรรมโลก(อ.ไพรินทร์)
 
มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลกมรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลก
 
มรดกอารยธรรมโลกเพิ่มเติม ปี 2557
มรดกอารยธรรมโลกเพิ่มเติม ปี 2557มรดกอารยธรรมโลกเพิ่มเติม ปี 2557
มรดกอารยธรรมโลกเพิ่มเติม ปี 2557
 
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)
 

อารยธรรมยุคกลาง ยุคใหม่(อัพเดท2557)

  • 1.
  • 2.
  • 3. ประวัติศาสตร์มนุษยชาติ 1.สมัยก่อนประวัติศาสตร์ (Prehistoric Age ) 1.1 ยุคหินเก่า (Old Stone) 2,000,000 - 8,000 B.C. - ภาษาพูด - เครื่องมือ 1.2 ยุคหินใหม่ (New Stone Age) 8,000-4,000 B.C. - การเพาะปลูก - การทำาเครื่องปั้นดินเผา - การค้าขาย
  • 4. ประวัติศาสตร์มนุษยชาติ 1.3 ยุคโลหะ (Copper Age) 4,000-2,500 B.C. - การใช้ทองแดงและสำาริด - การสร้างระบบชลประทาน - เมืองเป็นศูนย์กลางขอฃการกสิกรรม - การเกิดชนชั้น 1.4 สมัยก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย - วัฒนธรรมบ้านเก่า อ.เมือง จ.กาญจนบุรี - วัฒนธรรมบ้านเชียง อ.หนองหาน
  • 5. ประวัติศาสตร์มนุษยชาติ 2.สมัยประวัติศาสตร์และอารยธรรมโลก 2.1 อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ 2.1.1 อารยธรรมอียิปต์ : ของขวัญจากแมน่ำ้าไนล์ 2.1.2 อารยธรรมเมโสโปเตเมยี : ดินแดน พระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์ 2.1.3 อารยธรรมของกลุ่มชนในตะวันออกกลาง : ฟีนีเชีย ฮีบรู และเปอร์เซีย 2.1.4 อารยธรรมกรีก : นักธรรมชาตินิยมและ มนุษยนิยม 2.1.5 อารยธรรมโรมนั : นักรบและนักปกครองผู้ ยิ่งใหญ่
  • 6. สมัยประวัติศาสตร์และอารยธรรม โลก (ต่อ) 2.2 อารยธรรมตะวันออกยุคโบราณ 2.2.1 อารยธรรมอินเดีย : อนุทวีป ที่น่าทึ่ง 2.2.2 อารยธรรมจีน : ดินแดนแห่ง ลัทธิประเพณี 2.3 อารยธรรมยุคกลาง 2.3.1 อารยธรรมยุโรปยุคกลาง : ยุคแห่งศรัทธา 2.3.2 อารยธรรมอิสลาม : แหล่ง ความรู้และความเจริญในยุคกลาง
  • 7. สมัยประวัติศาสตร์และอารยธรรม โลก (ต่อ) 2.4 อารยธรรมยุคใหม่ 2.4.1 การฟื้นฟูศิลปวิทยา 2.4.2 การปฏิรูปศาสนา 2.4.3 การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ 2.4.4 การปฏิวัติอุตสาหกรรม 2.4.5 การปฏิวัติประชาธิปไตย 2.4.6 สงครามโลกครั้งที่ 1 2.4.7 สงครามโลกครั้งที่ 2 2.4.8 โลกหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
  • 8. สมัยประวัติศาสตร์ 1.ยุคโบราณ (Early Civilizations) 3,500 ปีก่อนค.ศ. - ค.ศ.476 2.ยุคกลาง (Middle Ages) ค.ศ.800 - ศตวรรษที่ 15 3.ยุคใหม่ (Modern Times) ศตวรรษที่ 15 - ตน้ศตวรรษที่ 20 (World War I) 4.ยุคปจัจุบัน (Contemporary World) กลางศตวรรษที่ 20 (หลังWorld War II) - ปัจจุบัน
  • 9. ยุค โบราณ จีน กลุ่มชนใน ตะวันออก กลาง โรมัน อารยธ รรม ตะวัน ออก อารยธ รรม ตะวัน ตก กรีก อียิปต์ อินเดีย เมโสโป เตเมีย
  • 10. อารยธรร ม ยุคกลาง ยุโรปยุค กลาง อิสลาม
  • 11. อารยธรร ม ยุคใหม่ การปฏิวัติ ทาง วิทยาศาส ตร์ การ ปฏิวัติ อุตสาหก รรม การ ปฏิรูป ศาสนา การฟื้นฟู ศิลปวิทย า สงครามโ ลกครั้งที่ 1 การปฏิวัติ ประชาธิป ไตย
  • 12. โลกร่วม สมัย (ยุค ปัจจุบัน) โลกหลัง สงครามโลก ครั้งที่ 2 สงครามโล กครั้งที่ 2 เกิดภาวะ สงคราม เย็น ทุกประเทศ ในยุโรป ร่วมมือกัน สร้าง สันติภาพ
  • 13. อารยธรรมยุโรปยุคกลาง : ยุคแห่ง ศรัทธา อารยธรรมอิสลาม : แหล่งความรู้และ ความเจริญในยุคกลาง
  • 14. อารยธรรมยุโรปยุคกลาง : ยุคแห่ง ศรัทธา หรือ ยุคมดื C.5-C.15 - เกิดขึ้นหลังจากจักรวรรดิโรมันตะวันตกล่ม สลายเพราะถูก อานารยชนเผ่าเยอรมันรุกราน - รูปแบบการปกครองสมัยนี้เรียกว่า ระบบ ฟิวดัล(Feudalism) หรือ ศักดินาสวามิภักดิ์ - คริสต์ศาสนาเรืองอำานาจ เหนือชีวิตของทุก คนในยุคกลาง - ผลดีและผลเสยีของระบบฟิวดัล
  • 15.
  • 16. จักรวรรดิโรมันตะวันตกทำาให้เกิด ยุคกลางของยุโรป - อานารยชนเผ่าเยอรมันรุกราน และโจรผู้ร้าย ชุกชุม ชาวนาจึงเกิดความหวาดกลัวจนต้องยก ที่ดินของตนให้ผู้มีอำานาจเพื่อขอความคุ้มครอง โดยยอมเปลี่ยนสภาพเป็นผู้เช่าที่ดินของลอร์ด - ทำาให้เกิดระบบฟิวดัล ซึ่งเป็นพื้นฐานการ ปกครอง เศรษฐกิจ และสังคมของสมัยนี้ - อำานาจการปกครองกระจาย (decentralization) ไปตามส่วนต่างๆที่ ขุนนางเป็นใหญ่ - เศรษฐกิจเป็นแบบพอเพียง เลี้ยงตัวเอง (self - sufficience)
  • 17. รูปแบบการปกครองระบบ ฟิวดัล(Feudalism) หรือ ศักดินาสวามภิักดิ์ - มีการสวามิภักดิ์ และสง่ส่วยกันเป็นทอดๆ ระหว่างข้า(vassal)กับเจ้าเหนือหัว (Lord) โดย เจ้าเหนือหัวจะต้องให้ความคุ้มครองและความ ยุติธรรมแก่ข้า - เศรษฐกิจในสมัยนี้ เรียกว่า ระบบ แมนเนอร์(Manorial system) ซึ่งมีความ สมบูรณ์ด้านการเกษตรในตัวเอง การค้าขาย แทบไม่มีเลย
  • 18. รูปแบบการปกครองระบบ ฟิวดัล(Feudalism) หรือ ศักดินาสวามิภักดิ์ (ต่อ) การยึดครองที่ดินในระบบแมนเนอร์แบ่งออก เป็น 2 พวกคือ 1.ดีมีนส์ เป็นไร่นาส่วนที่ดีที่สุด 2.วิลเลนเนเจียม เป็นที่ดินของขุนนางที่ให้ ชาวนาและทาสติดที่ดินไป เพาะปลูก การทำานาในระบบแมนเนอร์เป็นนาเปิด (open – field system)
  • 19. รูปแบบการปกครองระบบ ฟิวดัล(Feudalism) หรือ ศักดินาสวามิภักดิ์ (ต่อ) - ชาวนามีทั้งที่เป็นเสรีชน (villein) และไพร่ติด ที่ดิน (serve) - ขุนนางมีบรรดาศักดิ์ลดหลั่นกันลงมา เช่น Duke, Earl, Lord และ Baron - กษัตริย์เป็นหัวหน้าขอบเขตขัณฑสีมา แต่ อำานาจที่แท้จริงอยู่กับขุนนางตามแคว้นต่างๆ กษัตริย์จึงได้ฉายาว่า “First among the equals” - ขุนนางจะต้องฝึกฝนการรบพุ่งและสถาปนาเป็น อัศวินในขั้นต้น ส่วนอีกประเภทหนึ่งคือขุนนาง ที่สืบทอดจากบรรพบุรุษ
  • 20.
  • 22. Manor
  • 24.
  • 27. ภายในเมือง การค้าและการผลิตสนิคา้ จะมสีมาคมชา่ง (Guild) คอยควบคมุการ ผลิตใหมี้คุณภาพ และราคายุติธรรม
  • 28. Bew Castle, Bewcastle church, and Demesne Farm.
  • 29.
  • 30. Narbonne Gate, the main entrance to the fortress. The gatehouse, or barbican, is open at the top, so defenders could attack it from the towers. How to greet unwelcome guests? With arrows, rocks, boiling water, and molten lead, of course.
  • 31. A side view of the Narbonne Gate. Much of the castle was built during the 12th and 13th centuries.
  • 32. The Tower of Justice, one of 53 towers. In the background is the Basilica of St. Nazaire.
  • 33. A final view of Carcassonne, from across the Aude River.
  • 34. Sunset on the walls of Chateau Comtal, the heart of the castle.
  • 35. In 1853, work began to restore Carcassonne to its former glory, led by architect Viollet-Le-Duc. He devoted the next decades of his life to the castle, and it became his masterpiece.
  • 36. Carcassonne Castle, France: Fortress Ruined and Reborn
  • 37. ปราสาทนอยชวานสไตน์ เป็นปราสาท ต้นแบบปราสาทในการ์ตูนของวอลล์ดิสนีย์ ตั้งอยทูี่่ประเทศเยอรมนี ติดกับเทือกเขา แอลป์ สร้างขึ้นโดยพระเจ้าลุดวิกที่ 2
  • 39. Medieval Village - Puy du Fou A reconstruction of a typical Medieval village within the walls includes a moat too. There are shops with craftsmen going about their business, an inn as well as animals roaming about.
  • 40. คริสต์ศาสนาเรืองอำานาจในยุคกลาง - คริสต์ศาสนา มีอิทธิพลเหนือชีวิตและจิตใจของ คนในแมนเนอร์ โดยมีสันตะปาปาเป็นประมุข - เชอื่ใน Doctrine of Predestination ชีวิต ถูกพระเจ้าลิขิตไว้แล้ว - เน้นความสุขในโลกหน้า โดยยอมทุกข์ยากใน โลกนี้ ชีวิตจิตใจ ถูก ครอบงำาโดยศาสนจักร เพื่อขึ้นสวรรค์ในโลก หน้า - ศาสนาคริสต์มีพิธีกรรมต่างๆที่ศาสนิกชนต้อง ปฏิบัติหลายอย่าง ตั้งแต่เกิดจนตาย
  • 41. คริสต์ศาสนาเรืองอำานาจในยุคกลาง (ต่อ) - เครื่องมือที่สนับสนุนฝ่ายศาสนจักรให้อยู่เหนือ ฝ่ายอาณาจักร หรือวิธีการลงโทษผู้ที่ไม่เชื่อฟัง หรือพวกนอกรีต โดยการทำาบัพพาชนียกรรม หมายถึง การตัดขาดจากศาสนา - พระมีการศึกษามากกว่าขุนนางและคนธรรมดา - พระเป็นผู้วางนโยบายเศรษฐกิจในสังคมยุค กลาง ฐานะของพระจึงมั่งคงั่ มีอำานาจ มีความรู้ และมีทรัพย์สมบัติ (ที่ดินและ เงิน) - อาราม(Monastery) ให้การศึกษาชนชั้นสูง ในยุโรปยุคกลาง
  • 42. 15th century painting of Pope Urban II at the Council of Clermont, where he preached an impassioned sermon to take back the Holy Land.
  • 44. Soft and radiant light bathes the altar of the Basilica.
  • 45. Christianity led to the dark ages and held back human progress for about 1,000 years.
  • 46. The Monastery of Tatev - Armenia
  • 47.
  • 48.
  • 51. Monasteries and churches throughout the empire were financed by the emperor and by wealthy citizens. The architecture of many of these buildings, like this one in Greece, showed the influence of Constantinople.
  • 52. การเรียนในมหาวิทยาลัยของยุโรปสมัย กลางอยใู่นอาราม มีพระเปน็อาจารย์ โดยผู้ปกครองต้องมอบถุง เงินแก่เจ้าอาราม เพื่อเป็นค่าเล่าเรียนบุตรของตน
  • 53. Cambridge and many other universities were founded in the Middle Age.
  • 57. มหาวิหาร นอร์ ทดาม แห่งปารีส (Notre Dame De Paris) เป็น มหาวิหารโรมัน คาธอลิค ตัวอย่างของ สถาปัตยกรรม โกธคิ-ฝรั่งเศส ที่ดี ที่สุด
  • 58. ฮาเยียโซเฟีย หรือ ฮาเจียโซเฟยี (Hagia Sophia) สิ่งมหัศจรรย์ของโลกยุคกลาง แห่ง ยุคไบแซนไทน์
  • 59. นครวาติกัน (Vatican City) ประเทศอิตาลี
  • 61. ผลดีของระบบฟิวดัล - เกิดลัทธิวีรคติ ได้แก่ ความสุภาพอ่อนโยนใน การประพฤติต่อผู้อื่น มีความกล้าหาญ เสียสละ ช่วยเหลือสตรีและเด็ก ให้เกียรติกับศัตรูที่ ยอมแพ้ เหล่านี้เป็นระเบียบที่ใช้อบรมสุภาพ บุรุษในยุโรปยุคกลาง จนถึงปัจจุบัน - ขุนนางเป็นผู้อุปถัมภ์และเก็บรวบรวมศิลปกรรม และวรรณกรรม - ชาวไร่ชาวนาไม่อดตาย มีที่ดินทำากินตลอด เวลา และอยู่ในความอุปถัมภ์
  • 62. According to the History of Knights the young man was made a knight at the age of 21. This was an occasion of elaborate ceremony and solemn vows. After a purification bath, the candidate for knighthood knelt or stood all night in prayer before the altar on which lay the precious armor he would don on the morrow.
  • 63. ผลเสียของระบบฟิวดัล - สมัยฟิวดัลมีการรบพุ่งระหว่างขุนนางอยู่ตลอด เวลา ทำาให้เสยีทรัพย์สนิ และชีวิตผคู้น รวมทั้งความเจริญต่างๆหยุด ชะงัก อีกทั้งยังเป็นอุปสรรค ต่อการค้าขาย - แต่ละแมนเนอร์อยู่เป็นอิสระ ไม่ติดต่อกัน ไม่ นิยมการค้าขาย ทำาให้ ความเจริญมักมีอยู่เป็นถิ่นๆ - ขุนนางมีอำานาจและทำาการปกครองเป็น หย่อมๆ ทำาให้การรวมอำานาจ เข้าสู่ศูนย์กลางไม่สะดวก
  • 64. ผลเสียของระบบฟิวดัล (ต่อ) - ศาสนจักรสั่งสอนผู้คนเชื่อฟังและปฏิบัติตามโดย ไม่กล้านอกรีต เพราะกลัวจะตกนรก - เศรษฐกิจซบเซา เนอื่งจากชนชั้นกลางที่เป็น พ่อค้าไม่สามารถค้าขายได้อย่างสะดวกและ ปลอดภัย
  • 65. ความเสื่อมของระบบฟิวดัล 1.ปฏิวัติทางการค้า ตั้งแต่ศตวรรษที่ 11 เป็นต้นมา - การฟื้นฟูการค้ากับตะวันออกใกล้ - เกิดหัวเมืองการค้า และถนนหนทาง - มีความต้องการสินค้ามากขึ้นนับตั้งแต่สงคราม ครูเสดเป็นต้นมา - จึงเกิดชนชั้นกลางที่รำ่ารวย 2.กาฬโรคระบาด ในศตวรรษที่ 14 - ผู้คนล้มตายเป็นจำานวนมาก แรงงานหายาก - ทาสติดที่ดิน เป็นเสรีชนมากขึ้น 3.สงครามครูเสด ศตวรรษที่ 11-13
  • 66. สงครามครูเสด สาเหตุของสงครามครูเสด - สงครามครูเสดเกิดจากความขัดแย้งระหว่างค ริสตจักรในยุโรปกับอาณาจักรมุสลิมเติร์กใน เอเชียไมเนอร์ หรือเอเชียตะวันตก ที่บุกมา ประชิดจักรวรรดิโรมันตะวันออก - ผู้แสวงบุญชาวคริสต์ได้หลั่งไหลเข้าไปยังนคร เยรูซาเล็ม ซึ่งถูกยึดครองโดยพวกเติร์ก แต่ถูก ปล้นสดมภ์หรือได้รับการปฏิบัติไม่ดี
  • 67. สาเหตุของสงครามครูเสด (ต่อ) - พวกขุนนางและกษัตริย์ต่างก็ชอบรบพุ่งทำา สงครามซึ่งกันและกัน การยกย่องความกล้า หาญและความเป็นนักรบ ทำาให้ประชาชนชาว คริสต์สมัครเข้าเป็นทหารกันมาก พวกสงัฆราช ได้ยุยงให้ประชาชนฮึกเหิมเพื่อส่งเสริมให้คน เหล่านี้ไปรบกับพวกมุสลิมเติร์กแทน โดยอ้างว่า จะได้บุญกุศล และเพื่อชิงนครเยรูซาเล็มอัน ศักดิ์สิทธิ์กลับคืนมา - สันตะปาปาเออร์บานที่ 2 ได้เรียกประชุมชาว คริสต์ เพื่อทำาสงครามกับชาวมุสลิมเติร์ก จึงเกิด เป็นสงครามครูเสด ตั้งแต่ ค.ศ.1096 ถึง ค.ศ.
  • 68. สาเหตุของสงครามครูเสด (ต่อ) - การค้าในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนตกอยู่ในความ ควบคุมของชาวมุสลิม พวกพ่อค้าต่างชาติโดย เฉพาะพ่อค้าจากเวนิซ ปิซา และเจนัว ต่างก็มี ผลประโยชน์ทางการค้าอยู่ในแถบนี้ แต่ถูกปิด กั้นเสน้ทาง ดังนั้นผลประโยชน์ทางการค้าจึงมี บทบาทสำาคัญอยู่ในสงครามครูเสด - สาเหตุที่ได้ชอื่ว่าสงครามครูเสด เพราะ สันตะปาปานำาเครื่องหมายกางเขนสีแดง แจก จ่ายแก่ผไู้ปรบ ไม้กางเขนจึงเป็นสัญลักษณ์ของ สงครามครูเสด
  • 69. ผลของสงครามครูเสด - ยุโรปได้มีการติดต่ออย่างใกล้ชิดกับโลกมุสลิม ดังนนั้ จึงเกิดการค้าขายแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม และศิลปวิทยาการทุกแขนงระหว่างดินแดนทั้ง สองนี้ - ส่งผลให้เศรษฐกิจยุโรปเจริญยิ่งขึ้นหลัง สงครามครูเสด - นำามาซึ่งการฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance) ในยุโรป ในเวลาต่อมา
  • 70. ผลของสงครามครูเสด (ต่อ) - ผลจากสงครามครูเสดและสงครามในยุโรปใน เวลาต่อมา ทำาให้อัศวินและขุนนางตายเป็น จำานวนมาก ระบบศักดินาสวามิภักดิ์จึงอ่อนแอ ลง - พ่อค้ารำ่ารวยจากการค้าขายระหว่างตะวันออก กับตะวันตก โดยมีคาบสมุทรอิตาลีเป็นหัวเมือง การค้าที่สำาคัญ เป็นที่มาของ Renaissance - กษัตริย์ได้รับการสนับสนุนจากพ่อค้าและชนชั้น กลางที่รำ่ารวย ทำาให้เกิดเป็นรัฐชาติที่กษัตริย์ รวมอำานาจเข้าสู่ศูนย์กลางได้สำาเร็จ
  • 71. Map of the First Crusade
  • 73. The capture of Jerusalem in the First Crusade
  • 74. Snowy Dome of the Rock - Jerusalem, Palestine
  • 75. อารยธรรมอิสลาม: แหล่งความรู้และ - ศาสนาอคิสลวาามมกเำาจเนริดิญขใึ้นน ใยนุคบกริเลวณางคาบสมุทรอา ระเบีย ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 7 โดยมีพระมุฮัมมัดเป็นผู้ ประกาศศาสนา - ได้รับอิทธิพลของศาสนายูดาห์และศาสนาคริสต์ ในการนับถือ พระเจ้าองค์เดียว คือ อัลเลาะห์ - การขยายตัวของศาสนาและจักรวรรดิอิสลาม สมัยอุมัยยัด ศูนย์กลางอำานาจอยู่ที่กรุง ดามัสกัส (ซีเรีย) สมัยอับบาสดิ (ค.ศ.750- ค.ศ.1258)
  • 78. อารยธรรมอิสลาม: แหล่งความรู้และ ความเจริญในยุคกลาง (ตอ่) - หลังคริสต์ศตวรรษที่ 9 จักรวรรดิอิสลามเริ่ม เสื่อมลง มีการแยกตัวเป็น อิสระ เช่น สเปน โมรอคโค ตูนีเซีย และอียิปต์ - ต่อมาจักรวรรดิถูกรุกรานโดยเตอร์กและ มองโกล ทำาให้แตกแยกออกเป็นรัฐเล็กรัฐน้อย และรวมเป็นจักรวรรดิออตโตมนั ใน คริสต์ ศตวรรษที่ 14 - อารยธรรมอิสลามเป็นแหล่งสะสมความรู้ความ เจริญของดินแดนต่างๆที่เคยอยู่ใต้จักรวรรดิ
  • 80. Age of the Caliphs Expansion under the Prophet Mohammad, 622-632 Additions during the Patriarchal Caliphate, 632-661 Additions during the Umayyad Caliphate, 661-750
  • 81.
  • 82.
  • 83. Rituals of the Hajj (pilgrimage) include walking seven times around the Kaaba in Mecca.
  • 84. Map showing distribution of Shia and Sunni Muslims in Africa, Asia and Europe (ผู้ที่นับถือนิกายชิอะห์ มเีพียงประมาณ 1 ใน 10 ของมสุลิมทวั่ โลก)
  • 85. โดมแห่งศิลา (Dome of the Rock) ก่อสร้างในคริสต์ศตวรรษที่ 7 ได้ชอื่ว่าเป็น สงิ่ปลูกสร้างของอิสลามที่เก่าแก่ที่สดุในโลก และเป็นสเุหร่าศักดิ์สทิธสิ์ำาหรับชาวมุสลิม โดมแห่งนี้ตกแต่งด้วยลวดลายเรขาคณิตและ ลายดอกไม้งดงาม
  • 86. ความเจริญทางอารยธรรมอิสลาม - ความเจริญทางด้านการแพทย์ - ความเจริญทางด้านวิทยาศาสตร์ ได้แก่ คณิตศาสตร์ ฟิสกิส์ ดาราศาสตร์ เคมี - ความเจริญทางการค้าขายและการเข้าไป ปกครองดินแดนต่างๆ ทำาให้วิชาภูมิศาสตร์ เจริญก้าวหน้า - ความเจริญของศิลปะอิสลาม
  • 90. มุสลิมศึกษาค้นคว้าวิทยาศาสตร์แขนงต่างๆ ทั้ง คณิตศาสตร ฟิสกิส์ และเคมี ที่มีชอื่เสียงมากคือ คณิตศาสตร์ ซึ่งสว่นใหญ่รับมาจากกรีกและ อินเดีย
  • 91. ตัวเลขซึ่งใช้แพร่หลายในโลกปัจจุบัน และ เรียกกันว่า ตัวเลขอารบิกนั้น 9 ตัวแรก (1-9) ได้ มาจากเลขของชาวฮินดู ที่สำาคัญคือการประดิษฐ์ เลข 0 ซึ่งเข้าใจว่ามุสลิมเป็นผปู้ระดิษฐ์ขึ้น
  • 93. กองคาราวาน พ่อคา้อาหรับเดินทางคา้ขาย ต่างแดน ซึ่งเปน็ที่มาอย่างหนึ่งของความ เจริญก้าวหน้าทางอารยธรรม
  • 94. Mosque of Cordova ในประเทศ สเปน ซึ่งมลีักษณะเด่น คือ การใช้โค้งรูป เกอืกมา้
  • 95. อิทธิพลของศิลปะมุสลิมในโลกตะวันออกที่ มีชื่อเสยีง คอื Taj Mahal ในประเทศอินเดีย ซึ่งมีการ ใช้โดม เปน็ส่วนใหญ่
  • 96. อารยธรรมยุคใหม่ (ศตวรรษที่ 15 - ต้นศตวรรษที่ 20) การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (C.15-C.17) - Renaissance คือ การฟื้นฟู อารยธรรมคลาสสคิของกรีก และโรมันขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง -จุดเริ่มตน้คือ หัวเมืองการค้าใน คาบสมุทรอิตาลี เชน่ ฟลอเรนซ์ เจนัว เวนิซ
  • 97. ลักษณะของ Renaissance - ยกย่องความสามารถของมนุษย์ (มนุษยนิยม) - มองโลกในแงดี่ ชื่นชมชวีิตปัจจุบัน - ไม่ยอมจำานนต่ออำานาจศาสนา - เน้นความเป็นปัจเจกชน - มีผลงานหลายด้าน เช่น วรรณคดี ศิลปะ สถาปัตยกรรม การเมือง ศาสนา วิทยาศาสตร์ - วิชาความรู้แพร่หลายโดยการพิมพ์ ที่ใช้แท่นพิมพ์เคลื่อนที่ - ขยายตัวจากคาบสมุทรอิตาลี ไปยัง
  • 98. แท่นพิมพ์เคลื่อนททีี่่โยฮันน์ กูเตนเบริ์ก ประดิษฐข์ึ้น ได้เผยแพร่อย่างรวดเร็วในคริสต์ศตวรรษที่ 15
  • 99. ภาพนี้คือ โรงพิมพ์แห่งหนึ่งในเมืองนูเร็ม เบิร์ก ที่ใช้แท่นพมิพ์เคลื่อนที่ของโยฮันน์ กู เตนเบิร์ก
  • 100. นกัมนษุยนิยมสมยั Renaissance 1.อิตาลี – Petrarch,Boccaccio,Machiavelli 2.ฝรั่งเศส – Rabelais,Ronsard,Michel de Montaigne 3.สเปน – Michael de Cervantes,Erasmus 4.อังกฤษ – Sir Thomas More , Shakespeare,Bacon
  • 101.
  • 102. Francesco Petrarca บิดาทางวรรณคดีสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา การ เพทราคเห็นว่ามนุษย์เป็นสิ่งทสี่ำาคัญที่สุด เป็นผล งานชิ้นเอกของพระผเู้ป็นเจ้า จงึมีค่าควรแก่การ สนใจศึกษา งานเขียนของเพทราคแสดงถึง เจตนารมณ์ และอุดมคติของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา การ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องของโลก
  • 103. Giovanni Boccaccio ตัวแทนของชนชั้นกลาง ยุคใหม่ในอิตาลี บอคคาชิโอ มคีวาม สามารถในการล้อเลียน เยาะเย้ย และเสียดสีสังคม โดยเฉพาะสังคมในสมัย กลาง ขณะเดียวกันเขาก็ ปลูกฝังทัศนคติใหม่ๆให้แก่ ชนชั้นกลาง ทเี่ริ่มก่อตัว ขึ้นในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา การ โดยเน้นการแสวงหา ความรู้ ความขัยนหมนั่ เพียรในการทำางาน ความ เชื่อมนั่ในตนเอง และไม่
  • 104. Machiavelli ผู้เขียนเรื่อง “เจ้านคร” (The Princ e ห)นังสือทมี่ชีื่อเสียงของมาคิ อาเวลลี คือเรื่อง The Prince เขาเสนอว่าผู้ปกครองต้องแยก เรื่องการเมอืง การปกครอง ออกจากศีลธรรมทางศาสนา อย่างเด็ดขาด งานเขียนของ เขาสะท้อนความคิดทางโลก และมมีนุษย์เป็นจุดศูนย์กลาง The Prince มีอิทธิพลอย่าง ยิ่งต่อแนวความคิดทางการ เมอืงสมยัใหมข่องยุโรป บรรดากษัตริย์และเจ้าผู้ครอง
  • 105.
  • 106. Rabelais นักเขียนชาวฝรั่งเศสสมัยเรเนสซอง ส์ ราเบอเล่ส ์เป็นบาทหลวงททีิ่้งวัด เป็นแพทย์ทไี่ม่ได้รักษาพยาบาลเป็นอาชีพ และเป็นนักศึกษาที่ซาบซึ้งต่อวิทยาการสมัยคโดยเฉพาะวรรณคดี ทำาใหเ้ขาเป็นนักเขียนทชื่อเสียงเด่น ราเบอเล่สไ์ด้ชื่อว่า เป็นผู้ใหก้ำาเนิร้อยแก้วฝรั่งเศสสมยัใหม่ โดยเน้นการผละออความเข้มงวดทางศีลธรรม มาสู่ความเป็นมนุษ
  • 108. Michel de Montaigne ได้ชอื่ว่าเป็นผู้วางรากฐานของยุคแห่งเหตุผล ซึ่งมี อิทธิพลในศตวรรษที่ 18 มงแตนญ์ เป็นนักกฎหมายทลี่ะทงิ้วิชาชีพ เพื่อใช้ชีวิตทั้งชีวิตในการศึกษาวิทยาการสมัยคผลงานทสี่ำาคัญ คือ ความเรียง (Essays) มงแตผู้ที่สงสัยไมย่อมเชื่ออะไรทั้งสิ้น เขาเชื่อว่า เพอื่จะถึงความจริงอันถูกต้องแน่แท้ คนจะต้องทำาตัวให้ ปลอดจากอคติของศาสนา เขาเชื่อว่า เป้าหมายทของชีวิตคือการแสวงหาความรื่นรมย์ อันเกิดจาก ภมูปิัญญา เขามอีิทธิพลอย่างมากต่อบรรดานักคินักเขียนรุ่นหลังๆ
  • 109.
  • 110. Miguel de Cervantes งานชิ้นเอกของเซอร์บันเตส คือ Don Quixote ซงึ่นัก วิจารณ์วรรณคดียกย่องว่าเป็น นวนิยายทยี่งิ่ใหญท่สีุ่ดทเี่คยมมีา เป็นเรื่องราวของอัศวินที่คิด ฟุ้งซ่านในเรื่องของความกล้า หาญและเกียรติยศตามประเพณี สมยักลาง เขากบัผู้ติดตามได้เดิน ทางผจญภยัไปทวั่สเปน ด้วย ลีลาการเขียนที่สละสลวย งดงาม แฝงด้วยความขบขันอย่าง ละเมยีดละไม แสดงถึงชีวิตความ เป็นอยู่ของสเปนในสมัยคริสต์ ศตวรรษที่16 โดยผู้เขียน
  • 111.
  • 112. Desiderius Erasmus นักมนุษยนิยมคนสำาคัญที่มีอิทธิพล ต่อการปฏิรูปศาสนา อีรัสมสั นักบวชชาว ฮอลแลนด์ ผู้ทไี่ด้รับสมญาว่า “เจ้าแห่งนักมนุษยนิยม” เขา เป็นผู้ที่มีอิทธิพลในด้านความ คิดอย่างลึกซึ้งและกว้างขวาง ทสีุ่ดในคริสต์ศตวรรษที่ 16 งานทสี่ำาคัญที่สุดของเขาคือ The Praise of Folly ซึ่ง เขียนเยาะเย้ยเสียดสีการ ปฏบิัติตนของคนในสมยันนั้ ซงึ่เต็มไปด้วยความโง่เขลา ความหลงเชื่อในไสยศาสตร์
  • 113.
  • 114. William Shakespeare เป็นกวีและนักเขียนบทละครชาวอังกฤษที่มีชื่อเสียง และอิทธิพลที่สุดในโลก งานประพันธ์ของเชคสเปียร์ แสดงใหเ้ห็นแง่มมุต่างๆ ในทางโลก เขาได้แสดงบุคลิกภาพต่างๆของ มนุษย์ออกมาในตัวละคร อีกทงั้ยัง ได้วิเคราะหอ์ารมณ์ แรงบันดาลใจ ความขัดแย้งในเชิงจิตวิทยาของ มนุษย์ได้อย่างลึกซึ้ง เขายกย่อง มนุษย์ให้เป็นผู้กำาโชคชะตาของ ตนเอง มนุษย์จึงเป็นศูนย์กลางของ ทกุสงิ่ทุกอย่าง บทละครของเชคส เปียร์ยังสะท้อนอารยธรรมกรีกและ โรมนัโบราณ การค้นพบดินแดน ใหม่การค้นคว้าวิทยาศาสตร์
  • 115. Sir Thomas More เซอร์ ทอมสั มอร์ นักคิดและ นักเขียนแนวมนุษยนิยมที่สำาคัญ ทสีุ่ดคนหนงึ่ของอังกฤษ ในต้น คริสต์ศตวรรษที่ 16 งานชิ้น สำาคัญคือ Utopia ซงึ่เป็นดิน แดนในจินตนาการที่เป็นแบบ สังคมนิยมทแี่ทจ้ริง ไมมี่ ทรัพย์สินหรือผลประโยชน์ส่วน บุคคล ทกุสิ่งเป็นของส่วนรวม ประชาชนทุกคนมีเสรีภาพใน การนับถือศาสนา สงครามถือว่า ผิดกฎหมาย เหล็กมคี่ามากกว่า ทอง เพราะมปีระโยชน์มากกว่า Utopia เป็นงานเขียนที่เกี่ยว
  • 116. Sir Francis Bacon นักวิทยาศาสตร์ที่ทำาให้ชาวยุโรปหันมามาสนวิทยาศาสตร์ของโลกยุคใหม่
  • 122. จิตรกรเอกในสมัยเรอเนสซองส์เน้นความงามที่ เป็นจริงตามธรรมชาติ Michael Angelo ไมเคิล แองเจโร เป็นประติมากร ชาวเมอืงฟลอเรนซ์ ผู้มีความ สามารถเป็นเลิศ ในการลอกเลียน แบบประติมากรรมกรีกและโรมัน โบราณ ผลงานชิ้นสำาคัญ คือ รูป แกะสลักDavid ซึ่งมชีีวิตจิตใจ และอารมณ์ ความรู้สึก เขายังได้ วาดภาพจิตรกรรม บนเพดานของโบสถ์ซิสทีนในกรุง โรม เช่น ภาพการสร้างโลกของ พระเจ้า การเกดิของอดัมและอีวา โดยเน้นความสำาคัญของมนุษย์ และปัจเจกบุคคล เขาสามารถ
  • 123. Pieta
  • 124. The Creation of Adam อยู่ในโบสถ์ซิสทีน ที่กรุงวาติกัน
  • 125. โบสถ์ซิสทีน (Sistine chapel) เป็นที่พำานักของพระ สนัตปาปา เป็นโบสถ์ที่มีชื่อเสียง ด้านสถาปัตยกรรม สมัยเรเนสซอง โดยศิลปินที่มีชอื่เสยีง อย่าง ไมเคิล แองเจโล และ อีกหลายท่าน
  • 126. Raffaello Sanzio ราฟาแอล เป็นศิลปินชาว เมอืงฟลอเรนซ์ ทมี่คีวาม สามารถแสดงออกถึง “ความ งามในอุดมคติ” จากผลงานที่ มชีื่อว่า Madonna and Child with John-Baptist เขายังได้วาดภาพจิตรกรรมฝา ผนังในห้องสมุดของ สันตะปาปาจูเลียสที่ 2 ทชีื่่อว่า School of Athens โดยได้ ทำางานร่วมกบัไมเคิล แองเจโร ในกรุงวาติกัน ภาพของราฟา แอลจะมีลักษณะสวยงามแบบ
  • 127. ภาพ Madonna and Child โดย Raffaello Sanzio
  • 129. Alessandro Botticelli บอตติเชลลี ชาวเมอืงฟลอเรนซ์ ผู้มผีลงาจิตรกรรมชื่อว่า Birth of Venus ซึ่งได้รับทางความคิดจากนักมนุษยนิยม โดยการศึกจากธรรมชาติ และกายวิภาคของมนุษย์อย่าเปิดเผย ซงึ่แต่เดิมนนั้คริสต์ศาสนาจะไมย่อรูปเปลือยแบบต่างๆ ทำาใหเ้มอืงฟลอเรนซ์กเป็นแหล่งรวมงานศิลปะและความคิดด้าน มนุษยนิยมและธรรมชาตินิยม
  • 132. Sculpture of Daphne and Apollo โดย Gianlorenzo Bernini
  • 133. Leonardo da Vinci ดาวินชีเป็นจิตรกรผู้ มชีื่อเสียง ชาวอิตาลี มี ความสามารถทั้งด้าน ประติมากรรม สถาปัตยกรรม เป็นนัก คณิตศาสตร์ นักปรัชญา นักประดิษฐ์ นัก พฤกษศาสตร์ เป็นผู้ ชำานาญด้านกายวิภาค เป็นนักธรณีวิทยา และ วิศวกร ภาพจิตรกรรมที่มีชื่อ เสียงโด่งดัง คือ
  • 134. The Last Supper เป็นผลงานที่คณะสงฆ์ ในเมืองมิลาน ได้จ้างให้ลีโอนาโด วาดบนฝาผนัง โบสถ์ ภาพนี้มีชอื่เสยีงในเรื่องของการ จัดPerspective ซึ่งเหมือนภาพลวงตา ทำาให้รู้สึก ว่าห้องดูลึกกว่าของจริง โดยมีวิวทิวทัศน์และ ท้องฟ้าอยู่เบื้องหลัง
  • 135. Mona Lisa ภาพ Monalisa ซงึ่มชีื่อ เสียงในเรื่องแสงเงา กายวิภาค และเทคนิคต่างๆ ในการสร้างที่ ว่าง (space) ซึ่งทำาใหภ้าพมี ความสมดุลและกลมกลืนกันอีก ประการหนึ่งก็คือ ศิลปินไม่ จำาเป็นต้องสร้างภาพ หรือ ผล งานให้ออกมาในรูปแมพ่ระ หรือเทพธิดาเทา่นนั้ เพราะMonalisa เป็นเพียง สภุาพสตรีชาวเมอืงฟลอเรนซ์ ธรรมดาคนหนงึ่เท่านนั้
  • 136. การปฏิรูปศาสนาในศตวรรษที่ 16 สาเหตุของการปฏิรูปศาสนา 1.เศรษฐกิจ - ชนชั้นกลาง และ ทุนนิยมเฟื่องฟู 2.การเมือง - การตนื่ตัวทางเสรีภาพ และความเสมอภาค 3.แนวคดิ - อิทธิพลของลัทธิมนุษย นิยม 4.ศาสนา - เสื่อมจากการขายใบ ไถ่บาปและความบกพร่องภายใน
  • 137. ผู้ปฏิรูปศาสนา 1.มาร์ตนิ ลูเธอร์ (ประเทศ เยอรมนี) 2.สวิงกลิ (ประเทศ สวิสเซอร์แลนด์) 3.จอห์น คลัวนิ (ประเทศฝรั่งเศส) 4.พระเจ้าเฮนรีที่ 8 (ประเทศ อังกฤษ)
  • 138. Martin Luther ผู้ก่อตั้งโปรเตสแตนท์ นิกายลูเธอร์ มาร์ติน ลูเธอร์ เป็นพระชาว เยอรมัน ผู้นำาในการปฏริูปศาสนา โดย ยึดข้อความในคัมภีร์ไบเบิลเป็น หลักแต่เพียงอย่างเดียว โดยตัด เรื่องขนบธรรมเนียมประเพณี ของศาสนจักรออกไป เหลือ เพียง 2 ประการ คือ การทำาพิธี ล้างบาป และการรับศีลมหาสนิท เขาต่อต้านอภิสิทธิ์ของคณะ สงฆ์ ในฐานะตัวกลางระหว่าง สวรรค์กับโลกมนุษย์ และถอืว่า
  • 139. Zwingli ก่อตั้งนิกายสวิงกลีใน สวิสเซอร์แลนด์ สวิงลี เป็นบาทหลวงชาว สวิสเซอร์แลนด์ ผู้ทำาการปฏริูป ศาสนาในสวิสเซอร์แลนด์ เริ่ม ด้วยการประท้วง การขายใบ ไถบ่าป เช่นเดียวกับลูเธอร์ และ โจมตีสถาบันสันตะปาปา โดยเน้น การตีความจากพระคัมภรี์โดยตรง
  • 140. John Calvin ก่อตั้งนิกายเคลวินในเจนีวา จอห์น เคลวิน เป็นนัก ปฏริูปศาสนาชาวฝรั่งเศส ได้รับอิทธิพลของลูเธอร์ โดยยึดเอาพระคัมภีร์เป็น สำาคัญ เคลวินต้องการให้ ศาสนามีบทบาทในการ ปกครองให้วัดและพระสงฆ์ เป็นผู้นำาชุมชน ดูแลความ ควบคุมความประพฤติและ การศึกษา ใหเ้ลิกความ สนุกสนาน และความ ฟมุ่เฟือยต่างๆ เน้นการ
  • 141. HENRY VIII ก่อตั้งนิกาย Church of England ห รื อ พ รAะเnจ้าgเฮlนiรcีทaี่ 8n ทรง เป็นผู้นำาการปฏิรูปศาสนา ในประเทศอังกฤษ โดยทรง ก่อตั้งนิกาย Anglican เนื่องจากทรงต้องการจะ หย่าขาดกับพระนางแคทเธอ รีน เพราะทรงโปรดปราน นางพระกำานัลชื่อ Anne Boleyne แต่พระ สันตะปาปา Clementที่7 ไม่ยอมอนุมัติการหย่า และ เนื่องจากพระองค์ต้องการ
  • 142. หลักของโปรเตสแตนท์ 1.ศึกษาพระคมัภีร์ด้วยตนเอง แปลออก เป็นภาษาต่างๆ ไม่มีพระ 2.ไม่ยอมรับพระสันตะปาปาเป็นประมุข ของศาสนา ประมุขของรัฐเป็นประมุขศาสนา 3.ไม่เน้นรูปเคารพ และพธิกีรรม 4.ส่งเสริมการประกอบสัมมาชีพ 5.ส่งเสริมหลักประชาธิปไตย
  • 143. - ลูเธอร์ได้ถูกบัพพาชนียกรรมโดย สนัตะปาปา โดยมีเจ้าผู้ครอง นครรัฐแซก โซนี และรัฐเยอรมันอื่นๆสนับสนุน เพอื่หา โอกาสยึดศาสนสมบัติและตัดทอนอำานาจ ของพวกพระ - ลูเธอร์ได้ทำาการแปลพระคัมภีร์ภาคพันธ สัญญาใหม่จากภาษาละตินเป็นภาษา เยอรมนั
  • 144. - สนธิสัญญาอ๊อกซเบิร์ก(ค.ศ.1555) เป็นสนธิ สญัญาที่ยุติสงครามศาสนา ทำาให้เจ้าผู้ครองรัฐ มีอำานาจที่จะเลือกศาสนาให้แก่ราษฎรในรัฐของ ตน และยอมรับรองนิกายลูเธอร์ว่าเป็นสาขาหนึ่ง ของนิกายโปรเตสแตนท์ - การต่อต้านการปฏิรูปศาสนาของนิกาย โรมันคาทอลิก ในกลางศตวรรษที่ 14 โดยคณะ บาทหลวงเยซูอิต นิกายคาทอลิกจึงฟื้นฟูและมี คนนับถือแพร่หลาย