SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  19
การติดต่อสื่อสารทาง
อินเทอร์เน็ต
ความหมายของ
อินเตอร์เน็ต
ความหมายของ
อินเตอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต ( Internet ) คือ เครือข่ายของ
คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ทั่วโลกเข้าด้วยกัน โดยอาศัยเครือข่าย
โทรคมนาคมเป็นตัวเชื่อมเครือข่าย ภายใต้มาตรฐาน
การเชื่อมโยงด้วยโปรโตคอลเดียวกันคือ TCP/IP
(Transmission Control Protocol / Internet
Protocol) เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องใน
อินเทอร์เน็ตสามารถสื่อสารระหว่างกันได้ นับว่าเป็น
เครือข่ายที่กว้างขวางที่สุดในปัจจุบัน เนื่องจากมีผู้
นิยมใช้ โปรโตคอลอินเทอร์เน็ตจากทั่วโลกมากที่สุด
อินเทอร์เน็ต ( Internet ) คือ เครือข่ายของ
คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ทั่วโลกเข้าด้วยกัน โดยอาศัยเครือข่าย
โทรคมนาคมเป็นตัวเชื่อมเครือข่าย ภายใต้มาตรฐาน
การเชื่อมโยงด้วยโปรโตคอลเดียวกันคือ TCP/IP
(Transmission Control Protocol / Internet
Protocol) เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องใน
อินเทอร์เน็ตสามารถสื่อสารระหว่างกันได้ นับว่าเป็น
เครือข่ายที่กว้างขวางที่สุดในปัจจุบัน เนื่องจากมีผู้
นิยมใช้ โปรโตคอลอินเทอร์เน็ตจากทั่วโลกมากที่สุด
ประวัติความเป็นมาของระบบเครือ
ข่ายอินเตอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของระบบเครือ
ข่ายอินเตอร์เน็ต
ในยุคแห่งสังคมข่าวสารเช่นปัจจุบัน การสื่อสารผ่านเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ยิ่งทวีความสำาคัญมาก เนื่องจากสามารถแลกเปลี่ยน
ข่าวสารระหว่างกันได้โดยง่าย ในปัจจุบันมี เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เชื่อมโยงไปทั่วโลก ผู้ใช้ในซีกโลกหนึ่งสามารถติดต่อกับผู้ใช้ใน
ซีกโลกหนึ่ง ได้อย่างรวดเร็วเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่รู้จักกันในชื่อ
ของ "อินเทอร์เน็ต” (Internet) เป็นเครือข่ายที่มีบทบาทสำาคัญที่สุด
ในยุคของสังคมข่าวสารปัจจุบัน อินเทอร์เน็ตมีขอบข่ายครอบ คลุม
พื้นที่แทบทุกมุม
โลกสมาชิกในอินเทอร์เน็ตสามารถใช้คอมพิวเตอร์ที่ตั้งอยู่ที่จุด
ใด ๆ เพื่อส่งข่าวสารและข้อมูลระหว่างกันได้บริการข้อมูลใน
อินเทอร์เน็ตมีหลากรูปแบบและมีผู้นิยมใช้ ้้เพิ่มมากขึ้นทุกวัน จาก
การคาดการณ์โดยประมาณแล้วปัจจุบันมีเครือข่ายทั่วโลกที่เชื่อม
เข้าเป็น อินเทอร์เน็ตราว 45,000 เครือข่าย จำานวนคอมพิวเตอร์
ในทุกเครือข่ายรวมกันคาดว่ามีประมาณ 4 ล้านเครื่อง หรือหาก
ประมาณจำานวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั่วโลกคาดว่ามีประมาณ 25 ล้าน
คน และ มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น กล่าวได้ว่า อินเทอร์เน็ตเป็นเครือ
ข่ายมหึมาที่ครอบคลุมพื้นที่กว้างขวาง ที่สุด มีการขยายตัวสูงที่สุด
และมีสมาชิกมากที่สุดเมื่อเทียบกับเครือข่ายอื่นที่ปรากฏอยู่ใน
ปัจจุบัน พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตมิได้เป็นเครือข่าย
ที่เกิดขึ้นโดยเฉพาะเจาะจงหากแต่มี ประวัติความเป็นมาและมีการ
ในยุคแห่งสังคมข่าวสารเช่นปัจจุบัน การสื่อสารผ่านเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ยิ่งทวีความสำาคัญมาก เนื่องจากสามารถแลกเปลี่ยน
ข่าวสารระหว่างกันได้โดยง่าย ในปัจจุบันมี เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เชื่อมโยงไปทั่วโลก ผู้ใช้ในซีกโลกหนึ่งสามารถติดต่อกับผู้ใช้ใน
ซีกโลกหนึ่ง ได้อย่างรวดเร็วเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่รู้จักกันในชื่อ
ของ "อินเทอร์เน็ต” (Internet) เป็นเครือข่ายที่มีบทบาทสำาคัญที่สุด
ในยุคของสังคมข่าวสารปัจจุบัน อินเทอร์เน็ตมีขอบข่ายครอบ คลุม
พื้นที่แทบทุกมุม
โลกสมาชิกในอินเทอร์เน็ตสามารถใช้คอมพิวเตอร์ที่ตั้งอยู่ที่จุด
ใด ๆ เพื่อส่งข่าวสารและข้อมูลระหว่างกันได้บริการข้อมูลใน
อินเทอร์เน็ตมีหลากรูปแบบและมีผู้นิยมใช้ ้้เพิ่มมากขึ้นทุกวัน จาก
การคาดการณ์โดยประมาณแล้วปัจจุบันมีเครือข่ายทั่วโลกที่เชื่อม
เข้าเป็น อินเทอร์เน็ตราว 45,000 เครือข่าย จำานวนคอมพิวเตอร์
ในทุกเครือข่ายรวมกันคาดว่ามีประมาณ 4 ล้านเครื่อง หรือหาก
ประมาณจำานวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั่วโลกคาดว่ามีประมาณ 25 ล้าน
คน และ มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น กล่าวได้ว่า อินเทอร์เน็ตเป็นเครือ
ข่ายมหึมาที่ครอบคลุมพื้นที่กว้างขวาง ที่สุด มีการขยายตัวสูงที่สุด
และมีสมาชิกมากที่สุดเมื่อเทียบกับเครือข่ายอื่นที่ปรากฏอยู่ใน
ปัจจุบัน พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตมิได้เป็นเครือข่าย
ที่เกิดขึ้นโดยเฉพาะเจาะจงหากแต่มี ประวัติความเป็นมาและมีการ
พื้นฐานการทำางานของระบบ
อินเตอร์เน็ต
พื้นฐานการทำางานของระบบ
อินเตอร์เน็ต
การสื่อสารทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์นั้นเป็นการรับ-ส่งข้อมูลหรือที่
เรียกว่า การสื่อสารข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยกัน ซึ่งเครื่อง
คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อและต้องการสื่อสารข้อมูลกับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่นๆ
ในเครือข่าย อาจจะมีฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ที่แตกต่างกัน ดังนั้น เพื่อให้
สามารถสื่อสารข้อมูลถึงกันแลแปลความหมายได้ตรงกัน จึงต้องมีการกำาหนด
ระเบียบวิธีการติดต่อให้ตรงกันซึ่งเรียกว่า โพรโทคอล (Protocol)
                โพรโทคอล คือ ระเบียบวิธีที่กำาหนดขึ้นสำาหรับการสื่อสารข้อมูล
โดยสามารถส่งข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไปยังปลายทางได้อย่าง
ถูกต้อง โดยโพรโทคอลนั้น มีหลายชนิด เช่น โพรโทคอล IPX/SPX โพรโท
คอล NetBEUI และโพรโทคอล Apple Talk ซึ่งออกแบบมาเพื่อใช้งานต่าง
กัน ดังนั้น การสื่อสารระบบอินเทอร์เน็ตซึ่งเป็นการสื่อสารทางเครือข่าย
คอมพิวเตอร์จึงต้องใช้ข้อตกลงโพรโทคอลเช่นเดียวกันซึ่งโพรโทคอลที่นิยม
ใช้ในการสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตในปัจจุบัน เป็นโพรโทคอลทีซีไอพีเป็นหลัก
                 จุดเด่นของโพรโทคอล ทีซีพีไอพี (TCP/IP) คือเมื่อการเชื่อมต่อ
เครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปการณ์ใดๆ เข้าสู่ระบบเครือข่ายที่เป็นทีซีพีไอ
พี (TCP/IP) นั้น คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องหรืออุปกรณ์ที่ติดต่อสื่อสารร่วมกันจะ
ต้องมีหมายเลขที่ใช้ในระบบเครือข่ายกำากับเสมอ เพื่อระบุแหล่งที่มาของ
ข้อมูลต้นทางและนำาข้อมูลไปยังเครือข่ายเครื่องปลายทางที่ถูกต้อง ดังนั้น
เครื่องคอมพิวเตอร์ที่สื่อสารจะต้องมีการระบุหมายเลขขอเครื่องต่างๆ ที่ไม่ซำ้า
การสื่อสารทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์นั้นเป็นการรับ-ส่งข้อมูลหรือที่
เรียกว่า การสื่อสารข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยกัน ซึ่งเครื่อง
คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อและต้องการสื่อสารข้อมูลกับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่นๆ
ในเครือข่าย อาจจะมีฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ที่แตกต่างกัน ดังนั้น เพื่อให้
สามารถสื่อสารข้อมูลถึงกันแลแปลความหมายได้ตรงกัน จึงต้องมีการกำาหนด
ระเบียบวิธีการติดต่อให้ตรงกันซึ่งเรียกว่า โพรโทคอล (Protocol)
                โพรโทคอล คือ ระเบียบวิธีที่กำาหนดขึ้นสำาหรับการสื่อสารข้อมูล
โดยสามารถส่งข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไปยังปลายทางได้อย่าง
ถูกต้อง โดยโพรโทคอลนั้น มีหลายชนิด เช่น โพรโทคอล IPX/SPX โพรโท
คอล NetBEUI และโพรโทคอล Apple Talk ซึ่งออกแบบมาเพื่อใช้งานต่าง
กัน ดังนั้น การสื่อสารระบบอินเทอร์เน็ตซึ่งเป็นการสื่อสารทางเครือข่าย
คอมพิวเตอร์จึงต้องใช้ข้อตกลงโพรโทคอลเช่นเดียวกันซึ่งโพรโทคอลที่นิยม
ใช้ในการสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตในปัจจุบัน เป็นโพรโทคอลทีซีไอพีเป็นหลัก
                 จุดเด่นของโพรโทคอล ทีซีพีไอพี (TCP/IP) คือเมื่อการเชื่อมต่อ
เครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปการณ์ใดๆ เข้าสู่ระบบเครือข่ายที่เป็นทีซีพีไอ
พี (TCP/IP) นั้น คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องหรืออุปกรณ์ที่ติดต่อสื่อสารร่วมกันจะ
ต้องมีหมายเลขที่ใช้ในระบบเครือข่ายกำากับเสมอ เพื่อระบุแหล่งที่มาของ
ข้อมูลต้นทางและนำาข้อมูลไปยังเครือข่ายเครื่องปลายทางที่ถูกต้อง ดังนั้น
เครื่องคอมพิวเตอร์ที่สื่อสารจะต้องมีการระบุหมายเลขขอเครื่องต่างๆ ที่ไม่ซำ้า
Domain Name คือชื่อที่ใช้ในการอ้างอิงเพื่อไป
ยัง Website ต่างๆ ที่อยู่บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตชื่อที่ใช้ต้องเป็น
ชื่อที่ไม่มีใครในโลกใช้เพราะถ้ามีคนใช้ชื่อใดแล้วเราจะไปจดชื่อ
ซำ้าไม่ได้ ชื่อ Domain Name จะเป็นตัวอักษรพิมพ์ใหญ่หรือพิมพ์
เล็ก ไม่แตกต่างกันเพราะ ระบบอินเตอร์เน็ตจะรับรู้ตัวอักษรเป็นตัว
เล็กทั้งหมด เช่นITTradefair.com และ ittradefair.com ถือว่า
เป็นชื่อเดียวกัน 
Domain Name ทำางานอย่างไร
        ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ต จะใช้กลุ่มตัวเลข 4 กลุ่มที่คั่น
ด้วยจุด (ตัวเลขในแต่ละกลุ่มจะมีค่าได้ตั้งแต่ 0-
255) เช่น 203.33.192.255 หรือที่รู้จักกันในชื่อของ IP
Address ในการระบุตำาแหน่งของ Website ต่างๆ เพื่อให้รู้ว่าอยู่
บนเครื่องใดและอยู่ในเครือข่ายใด แต่เนื่องจาก IP Address อยู่
ในรูปของตัวเลขซึ่งยากแก่การจดจำาดังนั้นจึงเป็นการสะดวกกว่าที่
จะใช้ชื่อหรือกลุ่มของตัวอักษร ซึ่งก็คือ Domain Name ในการ
อ้างอิงแทน โดยจะอาศัย DNS Server มาช่วยจับคู่ IP
Address และ Domain name เข้าด้วยกัน ดังนั้นเมื่อมีผู้ต้องการ
ที่จะเรียกดู Website ของท่าน ไม่ว่าจะทราบ IP
Address หรือ Domain name เพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง ก็จะ
Domain Name คือชื่อที่ใช้ในการอ้างอิงเพื่อไป
ยัง Website ต่างๆ ที่อยู่บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตชื่อที่ใช้ต้องเป็น
ชื่อที่ไม่มีใครในโลกใช้เพราะถ้ามีคนใช้ชื่อใดแล้วเราจะไปจดชื่อ
ซำ้าไม่ได้ ชื่อ Domain Name จะเป็นตัวอักษรพิมพ์ใหญ่หรือพิมพ์
เล็ก ไม่แตกต่างกันเพราะ ระบบอินเตอร์เน็ตจะรับรู้ตัวอักษรเป็นตัว
เล็กทั้งหมด เช่นITTradefair.com และ ittradefair.com ถือว่า
เป็นชื่อเดียวกัน 
Domain Name ทำางานอย่างไร
        ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ต จะใช้กลุ่มตัวเลข 4 กลุ่มที่คั่น
ด้วยจุด (ตัวเลขในแต่ละกลุ่มจะมีค่าได้ตั้งแต่ 0-
255) เช่น 203.33.192.255 หรือที่รู้จักกันในชื่อของ IP
Address ในการระบุตำาแหน่งของ Website ต่างๆ เพื่อให้รู้ว่าอยู่
บนเครื่องใดและอยู่ในเครือข่ายใด แต่เนื่องจาก IP Address อยู่
ในรูปของตัวเลขซึ่งยากแก่การจดจำาดังนั้นจึงเป็นการสะดวกกว่าที่
จะใช้ชื่อหรือกลุ่มของตัวอักษร ซึ่งก็คือ Domain Name ในการ
อ้างอิงแทน โดยจะอาศัย DNS Server มาช่วยจับคู่ IP
Address และ Domain name เข้าด้วยกัน ดังนั้นเมื่อมีผู้ต้องการ
ที่จะเรียกดู Website ของท่าน ไม่ว่าจะทราบ IP
Address หรือ Domain name เพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง ก็จะ
บริการต่างๆใน
อินเตอร์เน็ต
บริการต่างๆใน
อินเตอร์เน็ต
               
1.ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail : E-Mail)
                    เป็นการรับ – ส่งจดหมายถึงกันผ่านเครือข่าย อินเตอร์เน็ต การส่งเอกสารข้อความมี
ลักษณะเหมือนการส่งจดหมาย แต่ระบบคอมพิวเตอร์ทำางานให้เองโดยอัตโนมัติทำาให้เกิดความสะดวก
รวดเร็ว สามารถติดต่อกันได้อย่างทั่วถึงทุกภูมิภาคที่ใช้เครือข่ายอินเตอร์เน็ต ผู้ใช้จดหมาย
อิเล็กทรอนิกส์จะต้องมีที่อยู่ (E-mail address)
                 2.การถ่ายโอนข้อมูล (File Transfer Protocol : FTP)
                   เป็นบริการถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล ข่าวสาร บทความ รวมถึงแฟ้มข้อมูลจากเครื่อง
คอมพิวเตอร์หนึ่งสู่คอมพิวเตอร์อีกเครื่องหนึ่งในกรณีที่โอนย้ายข้อมูลจากคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นบน
อินเตอร์เน็ต มาลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ของเราเรียกว่า ดาวน์โหลด  (download) ส่วนกระบวนการ
นำาข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องหนึ่ง ไปไว้ยังเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นบนอินเตอร์เน็ตเรียก
ว่า อัพโหลด (upload)
                 3. การเรียกใช้งานบนเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น (telnet)
                    ผู้ใช้งานสามารถเข้าถึงเครื่องคอมพิวเตอร์ระบบอื่นๆในที่ห่างไกล ช่วยให้ผู้ใช้ ไม่ต้อง
เดินทางไปที่เครื่องนั้นๆ 
                 4.โกเฟอร์ (gopher)
                    บริการค้นหาไฟล์และฐานข้อมูลเป็นบริการที่คล้ายกับ FTP แต่การจัดเก็บสารบบ
รายการแฟ้มข้อมูล และไอคอนของโกเฟอร์จะมีความเป็นระเบียบและแสดงรายละเอียดได้ดี
กว่า FTP ซึ่งเสมือนกับตู้บัตรคำาในห้องสมุดที่สามารถค้นหาข้อมูล โดยการระบุชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง ชื่อที่
เกี่ยวข้อง
                 5.การสนทนา (chat) และข่าวสาร (Usenet)
                   เป็นการจัดเก็บข่าวสารที่ส่งไปไว้ในคอมพิวเตอร์ที่เป็นศูนย์กลาง โดยที่
ทุกคนสามารถเข้าไปอ่านข่าวสาร มีการจัดกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนทัศนะและแสดง ความคิดเห็นในหัวข้อ
ต่างๆผ่านทางอินเตอร์เน็ต 
6.เวิร์ลไวด์เว็บ  (World  Wide  Web : WWW)
                   เป็นเครือข่ายที่เชื่อมโยงแหล่งข้อมูลข่าวสารเข้าหากันและครอบคลุมทั่วโลก ลักษณะ
ของข้อมูล ที่สืบค้นได้จะเป็นเอกสารไฮเปอร์เท็กซ์ที่สร้างด้วยภาษา HTML (Hypertext Markup
Language) ซึ่งประกอบด้วย ข้อความ ภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว บริการนี้ได้รับความนิยมอย่างแพร่
หลายในปัจจุบัน เนื่องจากสร้างและแก้ไขง่าย ผู้คนหรือหน่วยงานต่างๆ จึงนิยมนำาเสนอข้อมูลหรือขาย
1.ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail : E-Mail)
                    เป็นการรับ – ส่งจดหมายถึงกันผ่านเครือข่าย อินเตอร์เน็ต การส่งเอกสารข้อความมี
ลักษณะเหมือนการส่งจดหมาย แต่ระบบคอมพิวเตอร์ทำางานให้เองโดยอัตโนมัติทำาให้เกิดความสะดวก
รวดเร็ว สามารถติดต่อกันได้อย่างทั่วถึงทุกภูมิภาคที่ใช้เครือข่ายอินเตอร์เน็ต ผู้ใช้จดหมาย
อิเล็กทรอนิกส์จะต้องมีที่อยู่ (E-mail address)
                 2.การถ่ายโอนข้อมูล (File Transfer Protocol : FTP)
                   เป็นบริการถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล ข่าวสาร บทความ รวมถึงแฟ้มข้อมูลจากเครื่อง
คอมพิวเตอร์หนึ่งสู่คอมพิวเตอร์อีกเครื่องหนึ่งในกรณีที่โอนย้ายข้อมูลจากคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นบน
อินเตอร์เน็ต มาลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ของเราเรียกว่า ดาวน์โหลด  (download) ส่วนกระบวนการ
นำาข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องหนึ่ง ไปไว้ยังเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นบนอินเตอร์เน็ตเรียก
ว่า อัพโหลด (upload)
                 3. การเรียกใช้งานบนเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น (telnet)
                    ผู้ใช้งานสามารถเข้าถึงเครื่องคอมพิวเตอร์ระบบอื่นๆในที่ห่างไกล ช่วยให้ผู้ใช้ ไม่ต้อง
เดินทางไปที่เครื่องนั้นๆ 
                 4.โกเฟอร์ (gopher)
                    บริการค้นหาไฟล์และฐานข้อมูลเป็นบริการที่คล้ายกับ FTP แต่การจัดเก็บสารบบ
รายการแฟ้มข้อมูล และไอคอนของโกเฟอร์จะมีความเป็นระเบียบและแสดงรายละเอียดได้ดี
กว่า FTP ซึ่งเสมือนกับตู้บัตรคำาในห้องสมุดที่สามารถค้นหาข้อมูล โดยการระบุชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง ชื่อที่
เกี่ยวข้อง
                 5.การสนทนา (chat) และข่าวสาร (Usenet)
                   เป็นการจัดเก็บข่าวสารที่ส่งไปไว้ในคอมพิวเตอร์ที่เป็นศูนย์กลาง โดยที่
ทุกคนสามารถเข้าไปอ่านข่าวสาร มีการจัดกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนทัศนะและแสดง ความคิดเห็นในหัวข้อ
ต่างๆผ่านทางอินเตอร์เน็ต 
6.เวิร์ลไวด์เว็บ  (World  Wide  Web : WWW)
                   เป็นเครือข่ายที่เชื่อมโยงแหล่งข้อมูลข่าวสารเข้าหากันและครอบคลุมทั่วโลก ลักษณะ
ของข้อมูล ที่สืบค้นได้จะเป็นเอกสารไฮเปอร์เท็กซ์ที่สร้างด้วยภาษา HTML (Hypertext Markup
Language) ซึ่งประกอบด้วย ข้อความ ภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว บริการนี้ได้รับความนิยมอย่างแพร่
หลายในปัจจุบัน เนื่องจากสร้างและแก้ไขง่าย ผู้คนหรือหน่วยงานต่างๆ จึงนิยมนำาเสนอข้อมูลหรือขาย
การเชื่อมต่อ
อินเตอร์เน็ต
การเชื่อมต่อ
อินเตอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแบบใช้สาย (Wire Internet)
         1. การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตรายบุคคล (Individual
Connection) การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตรายบุคคล คือ การเชื่อมต่อ
อินเตอร์เน็ตจากที่บ้าน (Home user) ซึ่งยังต้องอาศัยคู่สายโทรศัพท์ในการเข้าสู่เครือ
ข่ายอินเตอร์เน็ต ผู้ใช้ต้องสมัครเป็นสมาชิกกับ
ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตก่อน จากนั้นจะได้เบอร์โทรศัพท์ของผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต
รหัสผู้ใช้ (User name) และรหัสผ่าน
(Password) ผู้ใช้จะเข้าสู่ระบบอินเตอร์เน็ตได้โดยใช้โมเด็มที่เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์
ของผู้ใช้หมุนไปยังหมายเลขโทรศัพท์ของผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต จากนั้นจึงสามารถใช้ งาน
อินเตอร์เน็ตได้
องค์ประกอบของการใช้อินเตอร์เน็ตรายบุคคล
              1. โทรศัพท์
              2. เครื่องคอมพิวเตอร์
              3. ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต ซึ่งจะให้เบอร์โทรศัพท์ รหัสผู้ใช้และรหัสผ่าน
              4. โมเด็ม (Modem)
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแบบใช้สาย (Wire Internet)
         1. การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตรายบุคคล (Individual
Connection) การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตรายบุคคล คือ การเชื่อมต่อ
อินเตอร์เน็ตจากที่บ้าน (Home user) ซึ่งยังต้องอาศัยคู่สายโทรศัพท์ในการเข้าสู่เครือ
ข่ายอินเตอร์เน็ต ผู้ใช้ต้องสมัครเป็นสมาชิกกับ
ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตก่อน จากนั้นจะได้เบอร์โทรศัพท์ของผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต
รหัสผู้ใช้ (User name) และรหัสผ่าน
(Password) ผู้ใช้จะเข้าสู่ระบบอินเตอร์เน็ตได้โดยใช้โมเด็มที่เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์
ของผู้ใช้หมุนไปยังหมายเลขโทรศัพท์ของผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต จากนั้นจึงสามารถใช้ งาน
อินเตอร์เน็ตได้
องค์ประกอบของการใช้อินเตอร์เน็ตรายบุคคล
              1. โทรศัพท์
              2. เครื่องคอมพิวเตอร์
              3. ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต ซึ่งจะให้เบอร์โทรศัพท์ รหัสผู้ใช้และรหัสผ่าน
              4. โมเด็ม (Modem)
          2. การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตแบบองค์กร (Corporate
Connection) การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแบบองค์กรนี้จะพบได้ทั่วไปตามหน่วย
งานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน หน่วยงานต่างๆ เหล่านี้จะมีเครือข่ายท้องถิ่น
(Local Area Network : LAN) เป็นของตัวเอง ซึ่งเครือข่าย LAN นี้เชื่อมต่อ
อินเตอร์เน็ตตลอดเวลา ผ่านสายเช่า (Leased line) ดังนั้น บุคลากรในหน่วย
งานจึงสามารถใช้อินเตอร์เน็ตได้ตลอดเวลา การใช้อินเตอร์เน็ตผ่าน
ระบบ LAN ไม่มีการสร้างการเชื่อมต่อ(Connection) เหมือนผู้ใช้รายบุคคลที่
ยังต้องอาศัยคู่สายโทรศัพท์ในการเข้าสู่เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
          2. การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตแบบองค์กร (Corporate
Connection) การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแบบองค์กรนี้จะพบได้ทั่วไปตามหน่วย
งานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน หน่วยงานต่างๆ เหล่านี้จะมีเครือข่ายท้องถิ่น
(Local Area Network : LAN) เป็นของตัวเอง ซึ่งเครือข่าย LAN นี้เชื่อมต่อ
อินเตอร์เน็ตตลอดเวลา ผ่านสายเช่า (Leased line) ดังนั้น บุคลากรในหน่วย
งานจึงสามารถใช้อินเตอร์เน็ตได้ตลอดเวลา การใช้อินเตอร์เน็ตผ่าน
ระบบ LAN ไม่มีการสร้างการเชื่อมต่อ(Connection) เหมือนผู้ใช้รายบุคคลที่
ยังต้องอาศัยคู่สายโทรศัพท์ในการเข้าสู่เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
         1. การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตแบบไร้สายผ่านเครื่องโทรศัพท์บ้านเคลื่อนที่ PCT เป็นการเชื่อม
ต่ออินเทอร์เน็ตผ่านคอมพิวเตอร์
โน้ตบุ๊ก (Note book) และคอมพิวเตอร์แบบพกพา (Pocket PC) ผู้ใช้จะต้องมี โมเด็ม
ชนิด PCMCIA ของ PCT ผู้ใช้สามารถใช้อินเทอร์เน็ตไร้ได้ ในเขตกรุงเทพ และปริมณฑลได้
         2. การใช้งานอินเตอร์เน็ตผ่านโทรศัพท์มือถือโดยตรง (Mobile Internet)
            1. WAP (Wireless Application Protocol) เป็นโปรโตคอลมาตรฐานของอุปกรณ์ไร้
สายที่ใช้งานบนอินเตอร์เน็ต ใช้ภาษา WML (Wireless Markup Language) ในการพัฒนาขึ้น
มา แทนการใช้ภาษา HTML (Hypertext markup Language) ที่พบใน www โทรศัพท์มือถือ
ปัจจุบัน หลายๆยี่ห้อ จะสนับสนุนการใช้ WAP เพื่อท่องอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีความเร็วในการรับส่ง
ข้อมูลที่ 9.6 kbps และการใช้ WAP ท่องอินเตอร์เน็ตนั้น จะมีการคิดอัตราค่าบริการเป็นนาทีซึ่ง
ยังมีราคาแพง
            2. GPRS (General Packet Radio Service)    เป็นเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นเพื่อให้
โทรศัพท์มือถือสามารถเชื่อมต่อกับ
อินเตอร์เน็ตด้วยความเร็วสูง และสามารถส่งข้อมูลได้ในรูปแบบของมัลติมีเดีย ซึ่งประกอบด้วย
ข้อความ ภาพกราฟิก เสียง และวีดิโอ ความเร็วในการรับส่งข้อมูลด้วยโทรศัพท์ที่
สนับสนุน GPRS อยู่ที่ 40 kbps ซึ่งใกล้เคียงกับโมเด็มมาตรฐานซึ่งมีความเร็ว 56 kbps อัตรา
ค่าใช้บริการคิดตามปริมาณข้อมูลที่รับ-ส่ง ตามจริง ดังนั้นจึงทำาให้ประหยัดกว่าการใช้ WAP และ
ยังสื่อสารได้รวดเร็วขึ้นด้วย
           3. โทรศัพท์ระบบ CDMA (Code Division Multiple Access) ระบบ CDMA นั้น
สามารถรองรับการสื่อสารไร้สาย
ความเร็วสูงได้เป็นอย่างดี โดยสามารถทำาการรับส่งข้อมูลได้สูงสุด 153 Kbpsซึ่งมากกว่าโมเด็มที่
ใช้กับโทรศัพท์ตามบ้านที่เชื่อมต่อ
         1. การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตแบบไร้สายผ่านเครื่องโทรศัพท์บ้านเคลื่อนที่ PCT เป็นการเชื่อม
ต่ออินเทอร์เน็ตผ่านคอมพิวเตอร์
โน้ตบุ๊ก (Note book) และคอมพิวเตอร์แบบพกพา (Pocket PC) ผู้ใช้จะต้องมี โมเด็ม
ชนิด PCMCIA ของ PCT ผู้ใช้สามารถใช้อินเทอร์เน็ตไร้ได้ ในเขตกรุงเทพ และปริมณฑลได้
         2. การใช้งานอินเตอร์เน็ตผ่านโทรศัพท์มือถือโดยตรง (Mobile Internet)
            1. WAP (Wireless Application Protocol) เป็นโปรโตคอลมาตรฐานของอุปกรณ์ไร้
สายที่ใช้งานบนอินเตอร์เน็ต ใช้ภาษา WML (Wireless Markup Language) ในการพัฒนาขึ้น
มา แทนการใช้ภาษา HTML (Hypertext markup Language) ที่พบใน www โทรศัพท์มือถือ
ปัจจุบัน หลายๆยี่ห้อ จะสนับสนุนการใช้ WAP เพื่อท่องอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีความเร็วในการรับส่ง
ข้อมูลที่ 9.6 kbps และการใช้ WAP ท่องอินเตอร์เน็ตนั้น จะมีการคิดอัตราค่าบริการเป็นนาทีซึ่ง
ยังมีราคาแพง
            2. GPRS (General Packet Radio Service)    เป็นเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นเพื่อให้
โทรศัพท์มือถือสามารถเชื่อมต่อกับ
อินเตอร์เน็ตด้วยความเร็วสูง และสามารถส่งข้อมูลได้ในรูปแบบของมัลติมีเดีย ซึ่งประกอบด้วย
ข้อความ ภาพกราฟิก เสียง และวีดิโอ ความเร็วในการรับส่งข้อมูลด้วยโทรศัพท์ที่
สนับสนุน GPRS อยู่ที่ 40 kbps ซึ่งใกล้เคียงกับโมเด็มมาตรฐานซึ่งมีความเร็ว 56 kbps อัตรา
ค่าใช้บริการคิดตามปริมาณข้อมูลที่รับ-ส่ง ตามจริง ดังนั้นจึงทำาให้ประหยัดกว่าการใช้ WAP และ
ยังสื่อสารได้รวดเร็วขึ้นด้วย
           3. โทรศัพท์ระบบ CDMA (Code Division Multiple Access) ระบบ CDMA นั้น
สามารถรองรับการสื่อสารไร้สาย
ความเร็วสูงได้เป็นอย่างดี โดยสามารถทำาการรับส่งข้อมูลได้สูงสุด 153 Kbpsซึ่งมากกว่าโมเด็มที่
ใช้กับโทรศัพท์ตามบ้านที่เชื่อมต่อ
 การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตแบบไร้สาย
(Wireless Internet)
การใช้บริการสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตด้วย
จดหมายอิเล็กทรอนิกส์
การใช้บริการสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตด้วย
จดหมายอิเล็กทรอนิกส์
1.การขอมีบัญชีจดหมายอิเล็กทรอนิกส์
ในการขอมีบัญชีจดหมายอิเล็กทรอนิกส์หรือ E-mail นั้น
ทำาได้โดยง่ายเพียงแค่กรอกรายละเอียดและชื่อผู้ใช้ที่
ต้องการ จากนั้นทำาการยืนยัน
1.การขอมีบัญชีจดหมายอิเล็กทรอนิกส์
ในการขอมีบัญชีจดหมายอิเล็กทรอนิกส์หรือ E-mail นั้น
ทำาได้โดยง่ายเพียงแค่กรอกรายละเอียดและชื่อผู้ใช้ที่
ต้องการ จากนั้นทำาการยืนยัน
2.การเขียนและส่งจดหมายในบัญชีจดหมายอิเล็กทรอนิกส์
เมื่อเข้าสู่ระบบแล้วจะพามายังหน้ากล่องจดหมาย ซึ่งประกอบด้วยฟังก์ชั่นมา
กมาย มีองค์ประกอบที่
สำาคัญดังนี้
 เมนูด้านซ้าย : กดลิงค์ กล่องจดหมายที่เมนูด้านซ้าย เมนูด้านซ้ายนี้เป็นส่วน
ที่เป็นโครงสร้างของบัญชีในการจัดเก็บข้อมูล นอกจากกล่องจดหมาย แล้วยังมี
กลุ่มของจดหมายดังนี้
- ติดดาว: คือรายการจดหมายที่เลือกให้ติดดาวไว้เพื่อจัดแยกหมวดหมู่ของ
จดหมาย
- การแชท: คือรายการการสนทนาผ่าน Google Talk ที่ผ่านมาแล้ว
- จดหมายที่ส่งแล้ว: คือรายการจดหมายที่ถูกส่งออกไปแล้ว
- ร่างจดหมาย: คือรายการจดหมายที่เขียนและบันทึกเป็นร่างจดหมายไว้
- จดหมายทั้งหมด: คือรายการจดหมายทั้งหมดรวมทั้งที่เก็บลงฐาน
ข้อมูล(Archive)ไว้ด้วย
- จดหมายขยะ: คือรายการจดหมายที่ถูกตรวจสอบจากระบบว่าเป็น SPAM
- ถังขยะ: คือรายการจดหมายที่ถูกลบ
การค้นหา: แบ่งออกเป็น 2 แบบ ดังนี้
- ค้นหาจดหมาย: สามารถใช้ฟังก์ชั่นเพื่อค้นหาจดหมายได้โดยข้อความที่
เฉพาะเจาะจงในการค้นหาแล้
ปุ่ม ‘ค้นหาจดหมาย’
- ค้นหาในเว็บ: สามารถใช้ฟังก์ชั่นเพื่อค้นหาข้อมูลในเว็บได้โดยใส่
ข้อความที่เฉพาะเจาะจงในการค้นหาแล้วกดปุ่ม ‘ค้นหาในเว็บ’
2.การเขียนและส่งจดหมายในบัญชีจดหมายอิเล็กทรอนิกส์
เมื่อเข้าสู่ระบบแล้วจะพามายังหน้ากล่องจดหมาย ซึ่งประกอบด้วยฟังก์ชั่นมา
กมาย มีองค์ประกอบที่
สำาคัญดังนี้
 เมนูด้านซ้าย : กดลิงค์ กล่องจดหมายที่เมนูด้านซ้าย เมนูด้านซ้ายนี้เป็นส่วน
ที่เป็นโครงสร้างของบัญชีในการจัดเก็บข้อมูล นอกจากกล่องจดหมาย แล้วยังมี
กลุ่มของจดหมายดังนี้
- ติดดาว: คือรายการจดหมายที่เลือกให้ติดดาวไว้เพื่อจัดแยกหมวดหมู่ของ
จดหมาย
- การแชท: คือรายการการสนทนาผ่าน Google Talk ที่ผ่านมาแล้ว
- จดหมายที่ส่งแล้ว: คือรายการจดหมายที่ถูกส่งออกไปแล้ว
- ร่างจดหมาย: คือรายการจดหมายที่เขียนและบันทึกเป็นร่างจดหมายไว้
- จดหมายทั้งหมด: คือรายการจดหมายทั้งหมดรวมทั้งที่เก็บลงฐาน
ข้อมูล(Archive)ไว้ด้วย
- จดหมายขยะ: คือรายการจดหมายที่ถูกตรวจสอบจากระบบว่าเป็น SPAM
- ถังขยะ: คือรายการจดหมายที่ถูกลบ
การค้นหา: แบ่งออกเป็น 2 แบบ ดังนี้
- ค้นหาจดหมาย: สามารถใช้ฟังก์ชั่นเพื่อค้นหาจดหมายได้โดยข้อความที่
เฉพาะเจาะจงในการค้นหาแล้
ปุ่ม ‘ค้นหาจดหมาย’
- ค้นหาในเว็บ: สามารถใช้ฟังก์ชั่นเพื่อค้นหาข้อมูลในเว็บได้โดยใส่
ข้อความที่เฉพาะเจาะจงในการค้นหาแล้วกดปุ่ม ‘ค้นหาในเว็บ’
การใช้บริการทางอินเทอร์เน็ตแบบเครือข่าย
สังคม (Social Network)
การใช้บริการทางอินเทอร์เน็ตแบบเครือข่าย
สังคม (Social Network)
เครือข่ายสังคมที่มีผู้ใช้จำานวนมากและเป็นที่รู้จัก มีดังนี้
                1.เฟซบุ๊ก (อังกฤษ: Facebook) เป็นบริการเครือข่ายสังคมและ
เว็บไซต์ เปิดใช้งานเมื่อ 4 กุมภาพันธ์  . .ค ศ  2004 ดำาเนินงานและมีเจ้าของคือ บริษัท
เฟซบุ๊ก (Facebook, Inc.) จากข้อมูล 4 ตุลาคม 2555 เฟซบุ๊กมีผู้ใช้ประจำา พันล้าน
กว่าบัญชี หรือคิดเป็นอัตราส่วน 1 ใน 7 ของคนทั้งโลก ผู้ใช้สามารถสร้างข้อมูลส่วน
ตัว เพิ่มรายชื่อผู้ใช้อื่นในฐานะเพื่อนและ
 แลกเปลี่ยนข้อความ รวมถึงได้รับแจ้งโดยทันทีเมื่อพวกเขาปรับปรุงข้อมูลส่วนตัว
นอกจากนั้นผู้ใช้ยังสามารถร่วมกลุ่มความสนใจส่วนตัว จัดระบบตาม สถานที่ทำางาน
โรงเรียน มหาวิทยาลัย หรือ อื่น ๆ ชื่อของเฟซบุ๊กนั้นมาจากชื่อเรียกภาษาปากของ
สมุดที่ให้กับนักเรียนเมื่อเริ่มแรกเรียนในสถาบันอุดมศึกษา ที่มอบให้โดยคณะบริหาร
มหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกา เพื่อช่วยให้นักเรียนสามารถรู้จักผู้อื่นได้ดีมากขึ้น เฟ
ซบุ๊กอนุญาตให้ใครก็ได้เข้าสมัครลงทะเบียนกับเฟซบุ๊ก โดยต้องมีอายุมากกว่า 13 ปี
ขึ้นไป
เครือข่ายสังคมที่มีผู้ใช้จำานวนมากและเป็นที่รู้จัก มีดังนี้
                1.เฟซบุ๊ก (อังกฤษ: Facebook) เป็นบริการเครือข่ายสังคมและ
เว็บไซต์ เปิดใช้งานเมื่อ 4 กุมภาพันธ์  . .ค ศ  2004 ดำาเนินงานและมีเจ้าของคือ บริษัท
เฟซบุ๊ก (Facebook, Inc.) จากข้อมูล 4 ตุลาคม 2555 เฟซบุ๊กมีผู้ใช้ประจำา พันล้าน
กว่าบัญชี หรือคิดเป็นอัตราส่วน 1 ใน 7 ของคนทั้งโลก ผู้ใช้สามารถสร้างข้อมูลส่วน
ตัว เพิ่มรายชื่อผู้ใช้อื่นในฐานะเพื่อนและ
 แลกเปลี่ยนข้อความ รวมถึงได้รับแจ้งโดยทันทีเมื่อพวกเขาปรับปรุงข้อมูลส่วนตัว
นอกจากนั้นผู้ใช้ยังสามารถร่วมกลุ่มความสนใจส่วนตัว จัดระบบตาม สถานที่ทำางาน
โรงเรียน มหาวิทยาลัย หรือ อื่น ๆ ชื่อของเฟซบุ๊กนั้นมาจากชื่อเรียกภาษาปากของ
สมุดที่ให้กับนักเรียนเมื่อเริ่มแรกเรียนในสถาบันอุดมศึกษา ที่มอบให้โดยคณะบริหาร
มหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกา เพื่อช่วยให้นักเรียนสามารถรู้จักผู้อื่นได้ดีมากขึ้น เฟ
ซบุ๊กอนุญาตให้ใครก็ได้เข้าสมัครลงทะเบียนกับเฟซบุ๊ก โดยต้องมีอายุมากกว่า 13 ปี
ขึ้นไป
2.วิกิพีเดีย (wikipedia) เป็นโครงการสารานุกรม
เสรี ซึ่งร่วมกันสร้างขึ้นโดยผู้ใช้วิกิพีเดีย เป็นเว็บไซต์แบบ
พิเศษซึ่งได้รับการออกแบบมาเพื่อให้ลักษณะการร่วมมือ
กันแก้ไขเป็นไปได้อย่างง่ายดาย ซึ่งเรียกว่า วิกิ มีหลาย
คนร่วมปรับปรุงวิกิพีเดียอย่างสมำ่าเสมอ การเปลี่ยนแปลง
ทั้งหมดนั้นจะถูกบันทึกไว้ในประวัติของหน้าและหน้า
ปรับปรุงล่าสุด
2.วิกิพีเดีย (wikipedia) เป็นโครงการสารานุกรม
เสรี ซึ่งร่วมกันสร้างขึ้นโดยผู้ใช้วิกิพีเดีย เป็นเว็บไซต์แบบ
พิเศษซึ่งได้รับการออกแบบมาเพื่อให้ลักษณะการร่วมมือ
กันแก้ไขเป็นไปได้อย่างง่ายดาย ซึ่งเรียกว่า วิกิ มีหลาย
คนร่วมปรับปรุงวิกิพีเดียอย่างสมำ่าเสมอ การเปลี่ยนแปลง
ทั้งหมดนั้นจะถูกบันทึกไว้ในประวัติของหน้าและหน้า
ปรับปรุงล่าสุด
      
 
  3.ทวิตเตอร์ (Twitter) เป็นบริการเครือ
ข่ายสังคมออนไลน์จำาพวกไมโครบล็อก โดยผู้ใช้
สามารถส่งข้อความยาวไม่เกิน 140 ตัวอักษร ว่า
ตัวเองกำาลังทำาอะไรอยู่ หรือ ทวีต (tweet - เสียง
นกร้อง) ทวิตเตอร์ก่อตั้งขึ้นโดย แจ็ก คอร์ซีย์ ,บิซ
สโตน และ อีวาน วิลเลียมส์ เจ้าของ
บริษัท Obvious Corp ที่ซานฟรานซิส
โก สหรัฐอเมริกา เมื่อเดือนมีนาคม ค.ศ. 2006
  3.ทวิตเตอร์ (Twitter) เป็นบริการเครือ
ข่ายสังคมออนไลน์จำาพวกไมโครบล็อก โดยผู้ใช้
สามารถส่งข้อความยาวไม่เกิน 140 ตัวอักษร ว่า
ตัวเองกำาลังทำาอะไรอยู่ หรือ ทวีต (tweet - เสียง
นกร้อง) ทวิตเตอร์ก่อตั้งขึ้นโดย แจ็ก คอร์ซีย์ ,บิซ
สโตน และ อีวาน วิลเลียมส์ เจ้าของ
บริษัท Obvious Corp ที่ซานฟรานซิส
โก สหรัฐอเมริกา เมื่อเดือนมีนาคม ค.ศ. 2006
4.ยูทูบ ตามสำาเนียงอเมริกัน หรือ ยูทิวบ์ ตามสำาเนียง
บริเตนเป็นเว็บไซต์ที่ให้ผู้ใช้งานสามารถอัปโหลดและแลก
เปลี่ยนคลิปวิดีโอผ่านทางเว็บไซต์ ก่อตั้ง
เมื่อ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548โดย แชด เฮอร์ลีย์, สตีฟ
เชง และ ยาวีด คาริม อดีตพนักงานบริษัทเพย์พาล ใน
ปัจจุบันยูทูบมีพนักงาน 67 คนและมีสำานักงานอยู่ที่ซานบรู
โนในรัฐแคลิฟอร์เนีย ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ google
 
4.ยูทูบ ตามสำาเนียงอเมริกัน หรือ ยูทิวบ์ ตามสำาเนียง
บริเตนเป็นเว็บไซต์ที่ให้ผู้ใช้งานสามารถอัปโหลดและแลก
เปลี่ยนคลิปวิดีโอผ่านทางเว็บไซต์ ก่อตั้ง
เมื่อ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548โดย แชด เฮอร์ลีย์, สตีฟ
เชง และ ยาวีด คาริม อดีตพนักงานบริษัทเพย์พาล ใน
ปัจจุบันยูทูบมีพนักงาน 67 คนและมีสำานักงานอยู่ที่ซานบรู
โนในรัฐแคลิฟอร์เนีย ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ google
 
การค้นคว้าด้วยการ
ใช้ Search Engine
การค้นคว้าด้วยการ
ใช้ Search Engine
การใช้งานงานอินเทอร์เน็ตที่นิยมใช้กันอย่างมาก จะได้แก่การ
เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ต่างๆ เพื่อหาความรู้ แต่การเข้าเยี่ยมชมนั้น ในกรณี
ที่เรารู้ว่าเว็บไซต์เหล่านั้นมีชื่อว่าอะไร เนื้อหาของเว็บ มุ่งเน้นเกี่ยวกับสิ่ง
ใด เราสาสามารถที่จะเข้าเยี่ยมชมได้ทันที่ แต่ในกรณีที่เราไม่ทราบชื่อ
เว็บเหล่านั้น แต่เรามีความต้องการที่จะค้นหาเนื้อหาบางอย่าง มีวิธีการ
จะเข้าสืบค้นข้อมูลได้ โดยการใช้ความสามารถของ Search Engine ,
Search Engine จะมีหน้าที่รวบรวมรายชื่อเว็บไซต์ต่างๆ เอาไว้ โดยจัด
แยกเป็นหมวดหมู่ ผู้ใช้งานเพียงแต่ทราบหัวข้อที่ต้องการค้นหาแล้วป้อน
คำาหรือข้อความของหัวข้อนั้นๆ ลงไปในช่องที่กำาหนด คลิกปุ่มค้นหา
เท่านั้น ข้อมูลอย่างย่อๆ และรายชื่อเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องจะปรากฏให้เรา
เข้าไปศึกษาเพิ่มเติมได้ทันที
การใช้งานงานอินเทอร์เน็ตที่นิยมใช้กันอย่างมาก จะได้แก่การ
เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ต่างๆ เพื่อหาความรู้ แต่การเข้าเยี่ยมชมนั้น ในกรณี
ที่เรารู้ว่าเว็บไซต์เหล่านั้นมีชื่อว่าอะไร เนื้อหาของเว็บ มุ่งเน้นเกี่ยวกับสิ่ง
ใด เราสาสามารถที่จะเข้าเยี่ยมชมได้ทันที่ แต่ในกรณีที่เราไม่ทราบชื่อ
เว็บเหล่านั้น แต่เรามีความต้องการที่จะค้นหาเนื้อหาบางอย่าง มีวิธีการ
จะเข้าสืบค้นข้อมูลได้ โดยการใช้ความสามารถของ Search Engine ,
Search Engine จะมีหน้าที่รวบรวมรายชื่อเว็บไซต์ต่างๆ เอาไว้ โดยจัด
แยกเป็นหมวดหมู่ ผู้ใช้งานเพียงแต่ทราบหัวข้อที่ต้องการค้นหาแล้วป้อน
คำาหรือข้อความของหัวข้อนั้นๆ ลงไปในช่องที่กำาหนด คลิกปุ่มค้นหา
เท่านั้น ข้อมูลอย่างย่อๆ และรายชื่อเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องจะปรากฏให้เรา
เข้าไปศึกษาเพิ่มเติมได้ทันที
การใช้บริการอินเตอร์เน็ตใน
การค้นหาข้อมูล
การใช้บริการอินเตอร์เน็ตใน
การค้นหาข้อมูล
 การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ตควรดำาเนินการดังนี้
1.กำาหนดวัตถุประสงค์การสืบค้น ผู้สืบค้นหรือผู้วิจัยที่จะนำาข้อมูล สารสนเทศไป
ใช้ ควรตั้งวัตถุประสงค์การสืบค้นที่ชัดเจน ทำาให้สามารถกำาหนดขอบเขตของแหล่งข้อมูล
สารสนเทศที่จะสืบค้นให้แคบลง กำาหนดประเภทของเครื่องมือหรือโปรแกรมสำาหรับการสืบค้น
ทางอินเทอร์เน็ต ที่เรียกว่า search engine ให้เหมาะสม กำาหนดช่วงเวลาที่ข้อมูลสารสนเทศถูก
สร้างขึ้น เช่น ช่วงปีที่ตีพิมพ์ของวารสารอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งนี้เพื่อให้ผลการสืบค้นมีปริมาณไม่มาก
เกินไป มีความตรง (validity) ตามวัตถุประสงค์ และมีความน่าเชื่อถือ (reliability) มากที่สุดอีก
ทั้งยังสามารถสืบค้นได้ผลในเวลาอันรวดเร็ว
2.ประเภทของข้อมูลสารสนเทศที่สามารถสืบค้นได้ ข้อมูลสารสนเทศที่ อยู่บน
อินเทอร์เน็ตมีมากมายหลายประเภท มีลักษณะเป็นมัลติมีเดีย คือ มีทั้งที่เป็นข้อความ(text) ภาพ
วาด (painting) ภาพเขียนหรือภาพลายเส้น (drawing) ภาพไดอะแกรม (diagram) ภาพถ่าย
(photograph) เสียง(sound) เสียงสังเคราะห์ เช่น เสียงดนตรี (midi) ภาพยนตร์ (movie)
ภาพเคลื่อนไหวอะนิเมชัน (animation) จากเทคโนโลยีการสืบค้นที่มีอยู่ในปัจจุบัน การสืบค้นที่
เร็วที่สุด มีประสิทธิภาพที่สุด และแพร่หลายที่สุด คือ การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศประเภทข้อความ
สำาหรับการสืบค้นข้อมูลที่เป็นภาพ (pattern recognition) และเสียง ยังมีข้อจำากัดอยู่มาก ใช้
เวลานาน และยังไม่มีประสิทธิภาพ จึงยังไม่มีการสืบค้นข้อมูลประเภทอื่นๆ นอกจากประเภท
ข้อความในการให้บริการการสืบค้นบนอินเทอร์เน็ต
3.การสืบค้นต้องอาศัยอุปกรณ์และความรู้ ก่อนที่ผู้สืบค้นจะสามารถ สืบค้น
ข้อมูลสารสนเทศทางอินเทอร์เน็ตได้ ต้องมีการจัดเตรียมอุปกรณ์ดังต่อไปนี้ คือ เครื่อง
คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ต่อเข้าอินเทอร์เน็ตซึ่งอาจเป็น modem ในกรณีที่ใช้คู่กับสายโทรศัพท์
หรือแผ่น LAN Card ในกรณีที่ใช้คู่กับระบบเครือข่ายที่ได้รับการติดตั้งไว้แล้ว ซอฟต์แวร์การ
สื่อสาร (communication software) เช่น dial-up networking ในกรณีใช้ modem หรือ
มีการติดตั้ง network protocol ที่เหมาะสมกับระบบเครือข่ายที่เครื่องคอมพิวเตอร์นั้นติดตั้งอยู่
และติดตั้ง network adapter ที่เหมาะสมสำาหรับ LAN Card นั้นๆ ต้องสมัครเป็นสมาชิกของ
องค์การหรือบริษัทผู้ให้บริการ อินเทอร์เน็ต (internet service provider หรือ ISP) เพื่อเป็น
ช่องทางออกสู่อินเทอร์เน็ต นอกจากอุปกรณ์ ต่างๆ ดังกล่าวข้างต้นแล้ว ยังต้องมีความรู้และทักษะ
 การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ตควรดำาเนินการดังนี้
1.กำาหนดวัตถุประสงค์การสืบค้น ผู้สืบค้นหรือผู้วิจัยที่จะนำาข้อมูล สารสนเทศไป
ใช้ ควรตั้งวัตถุประสงค์การสืบค้นที่ชัดเจน ทำาให้สามารถกำาหนดขอบเขตของแหล่งข้อมูล
สารสนเทศที่จะสืบค้นให้แคบลง กำาหนดประเภทของเครื่องมือหรือโปรแกรมสำาหรับการสืบค้น
ทางอินเทอร์เน็ต ที่เรียกว่า search engine ให้เหมาะสม กำาหนดช่วงเวลาที่ข้อมูลสารสนเทศถูก
สร้างขึ้น เช่น ช่วงปีที่ตีพิมพ์ของวารสารอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งนี้เพื่อให้ผลการสืบค้นมีปริมาณไม่มาก
เกินไป มีความตรง (validity) ตามวัตถุประสงค์ และมีความน่าเชื่อถือ (reliability) มากที่สุดอีก
ทั้งยังสามารถสืบค้นได้ผลในเวลาอันรวดเร็ว
2.ประเภทของข้อมูลสารสนเทศที่สามารถสืบค้นได้ ข้อมูลสารสนเทศที่ อยู่บน
อินเทอร์เน็ตมีมากมายหลายประเภท มีลักษณะเป็นมัลติมีเดีย คือ มีทั้งที่เป็นข้อความ(text) ภาพ
วาด (painting) ภาพเขียนหรือภาพลายเส้น (drawing) ภาพไดอะแกรม (diagram) ภาพถ่าย
(photograph) เสียง(sound) เสียงสังเคราะห์ เช่น เสียงดนตรี (midi) ภาพยนตร์ (movie)
ภาพเคลื่อนไหวอะนิเมชัน (animation) จากเทคโนโลยีการสืบค้นที่มีอยู่ในปัจจุบัน การสืบค้นที่
เร็วที่สุด มีประสิทธิภาพที่สุด และแพร่หลายที่สุด คือ การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศประเภทข้อความ
สำาหรับการสืบค้นข้อมูลที่เป็นภาพ (pattern recognition) และเสียง ยังมีข้อจำากัดอยู่มาก ใช้
เวลานาน และยังไม่มีประสิทธิภาพ จึงยังไม่มีการสืบค้นข้อมูลประเภทอื่นๆ นอกจากประเภท
ข้อความในการให้บริการการสืบค้นบนอินเทอร์เน็ต
3.การสืบค้นต้องอาศัยอุปกรณ์และความรู้ ก่อนที่ผู้สืบค้นจะสามารถ สืบค้น
ข้อมูลสารสนเทศทางอินเทอร์เน็ตได้ ต้องมีการจัดเตรียมอุปกรณ์ดังต่อไปนี้ คือ เครื่อง
คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ต่อเข้าอินเทอร์เน็ตซึ่งอาจเป็น modem ในกรณีที่ใช้คู่กับสายโทรศัพท์
หรือแผ่น LAN Card ในกรณีที่ใช้คู่กับระบบเครือข่ายที่ได้รับการติดตั้งไว้แล้ว ซอฟต์แวร์การ
สื่อสาร (communication software) เช่น dial-up networking ในกรณีใช้ modem หรือ
มีการติดตั้ง network protocol ที่เหมาะสมกับระบบเครือข่ายที่เครื่องคอมพิวเตอร์นั้นติดตั้งอยู่
และติดตั้ง network adapter ที่เหมาะสมสำาหรับ LAN Card นั้นๆ ต้องสมัครเป็นสมาชิกของ
องค์การหรือบริษัทผู้ให้บริการ อินเทอร์เน็ต (internet service provider หรือ ISP) เพื่อเป็น
ช่องทางออกสู่อินเทอร์เน็ต นอกจากอุปกรณ์ ต่างๆ ดังกล่าวข้างต้นแล้ว ยังต้องมีความรู้และทักษะ
4.บริการบนอินเทอร์เน็ต บริการบนอินเทอร์เน็ตที่
สามารถใช้ช่วยใน การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศมีมากมายหลายบริการ
เช่น บริการเครือข่ายใยแมงมุมโลก หรือ Word-Wide-Web(WWW)
บริการค้นหาข้อมูล Gopher บริการการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศผ่าน
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ค้นหาโปรแกรมใช้งาน archie นอกจากนี้ อาจ
ใช้บริการสอบถามผ่านทาง e-mail หรือ chat กับผู้ใช้งานอินเทอร์
เน็ตอื่นๆ หรือสอบถามผ่าน news group หรือ group/thread
discussion ก็ได้ เมื่อค้นได้ แหล่งข้อมูลแล้วอาจ download หรือ
ถ่ายโอนข้อมูลที่สืบค้นได้โดยใช้บริการถ่ายโอนไฟล์ข้อมูลและ
โปรแกรม (file transfer protocol หรือ FTP) โดยทั่วไปในปัจจุบัน
การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศทางอินเทอร์เน็ต นิยมใช้โปรแกรม web
browsers เช่น Internet Explorer หรือ Mozilla Firefox แล้ว
เรียกใช้บริการ www ประกอบกับการใช้ search engine ซึ่งมีอยู่
มากมายบนอินเทอร์เน็ตในการสืบค้น เมื่อสืบค้นได้แล้ว โปรแกรม
web browsers มักจะมีบริการ download ได้ทันทีโดยไม่ต้องอาศัย
โปรแกรมอื่นๆเข้าช่วย
5.เครื่องมือหรือโปรแกรมสำาหรับการสืบค้น เครื่องมือ
หรือโปรแกรม สำาหรับการสืบค้น (search engine) มีอยู่มากมายและ
มีให้บริการอยู่ตาม เว็บไซต์ต่างๆ ที่ใช้บริการการสืบค้นข้อมูลโดย
เฉพาะ การเลือกใช้นั้นขึ้นกับประเภทของข้อมูล สารสนเทศที่ต้องการ
4.บริการบนอินเทอร์เน็ต บริการบนอินเทอร์เน็ตที่
สามารถใช้ช่วยใน การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศมีมากมายหลายบริการ
เช่น บริการเครือข่ายใยแมงมุมโลก หรือ Word-Wide-Web(WWW)
บริการค้นหาข้อมูล Gopher บริการการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศผ่าน
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ค้นหาโปรแกรมใช้งาน archie นอกจากนี้ อาจ
ใช้บริการสอบถามผ่านทาง e-mail หรือ chat กับผู้ใช้งานอินเทอร์
เน็ตอื่นๆ หรือสอบถามผ่าน news group หรือ group/thread
discussion ก็ได้ เมื่อค้นได้ แหล่งข้อมูลแล้วอาจ download หรือ
ถ่ายโอนข้อมูลที่สืบค้นได้โดยใช้บริการถ่ายโอนไฟล์ข้อมูลและ
โปรแกรม (file transfer protocol หรือ FTP) โดยทั่วไปในปัจจุบัน
การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศทางอินเทอร์เน็ต นิยมใช้โปรแกรม web
browsers เช่น Internet Explorer หรือ Mozilla Firefox แล้ว
เรียกใช้บริการ www ประกอบกับการใช้ search engine ซึ่งมีอยู่
มากมายบนอินเทอร์เน็ตในการสืบค้น เมื่อสืบค้นได้แล้ว โปรแกรม
web browsers มักจะมีบริการ download ได้ทันทีโดยไม่ต้องอาศัย
โปรแกรมอื่นๆเข้าช่วย
5.เครื่องมือหรือโปรแกรมสำาหรับการสืบค้น เครื่องมือ
หรือโปรแกรม สำาหรับการสืบค้น (search engine) มีอยู่มากมายและ
มีให้บริการอยู่ตาม เว็บไซต์ต่างๆ ที่ใช้บริการการสืบค้นข้อมูลโดย
เฉพาะ การเลือกใช้นั้นขึ้นกับประเภทของข้อมูล สารสนเทศที่ต้องการ
ผู้จัดทำา
1.นางสาวกานต์ธิดา ยิ้มย่อง
เลขที่ 11
2.นางสาวนันทัชพร ภิรมย์รักษ์
เลขที่ 12
3.นางสาวนิศากร หงิมทิวา
เลขที่ 13
4.นางสาวพัชรพรรณ ชงกุล
เลขที่ 14
5.นางสาวจิราภา แซ่เตียว
เลขที่ 15
6.นางสาวชลธิชา ศรีแดง
เลขที่ 16

Contenu connexe

Tendances

ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต แต่ละประเภท
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต แต่ละประเภทลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต แต่ละประเภท
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต แต่ละประเภทChalermkiat Aum
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท (pdf)
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท (pdf)ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท (pdf)
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท (pdf)ACR
 
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตAssumption College Rayong
 
หน่วยที่ 3 การใช้งานอินเทอร์เน็ต
หน่วยที่  3 การใช้งานอินเทอร์เน็ตหน่วยที่  3 การใช้งานอินเทอร์เน็ต
หน่วยที่ 3 การใช้งานอินเทอร์เน็ตPor Oraya
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทACR
 
สื่อการเรียนสอนInternet.ppt22
สื่อการเรียนสอนInternet.ppt22สื่อการเรียนสอนInternet.ppt22
สื่อการเรียนสอนInternet.ppt22terdtanin
 
ความหมายของอินเตอร์เน็ต
ความหมายของอินเตอร์เน็ตความหมายของอินเตอร์เน็ต
ความหมายของอินเตอร์เน็ตJaturapit Thachee
 
อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)Krusine soyo
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นNoomim
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทACR
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทACR
 
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404Wanz Buranakanonda
 
it-10-46
it-10-46it-10-46
it-10-46buabbn
 
การเชื่อมต่อ Internet
การเชื่อมต่อ Internetการเชื่อมต่อ Internet
การเชื่อมต่อ InternetChannrong Sompronpailin
 
หน่วยที่ 10
หน่วยที่ 10หน่วยที่ 10
หน่วยที่ 10niramon_gam
 

Tendances (19)

ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต แต่ละประเภท
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต แต่ละประเภทลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต แต่ละประเภท
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต แต่ละประเภท
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท (pdf)
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท (pdf)ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท (pdf)
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท (pdf)
 
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
ลักษณะการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
Computer(powerpoint)
Computer(powerpoint)Computer(powerpoint)
Computer(powerpoint)
 
หน่วยที่ 3 การใช้งานอินเทอร์เน็ต
หน่วยที่  3 การใช้งานอินเทอร์เน็ตหน่วยที่  3 การใช้งานอินเทอร์เน็ต
หน่วยที่ 3 การใช้งานอินเทอร์เน็ต
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
 
Work2
Work2Work2
Work2
 
สื่อการเรียนสอนInternet.ppt22
สื่อการเรียนสอนInternet.ppt22สื่อการเรียนสอนInternet.ppt22
สื่อการเรียนสอนInternet.ppt22
 
ความหมายของอินเตอร์เน็ต
ความหมายของอินเตอร์เน็ตความหมายของอินเตอร์เน็ต
ความหมายของอินเตอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
 
ลักษณะของการ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต แต่ละประเภท12
ลักษณะของการ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต แต่ละประเภท12ลักษณะของการ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต แต่ละประเภท12
ลักษณะของการ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต แต่ละประเภท12
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภทลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละประเภท
 
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404
 
it-10-46
it-10-46it-10-46
it-10-46
 
การเชื่อมต่อ Internet
การเชื่อมต่อ Internetการเชื่อมต่อ Internet
การเชื่อมต่อ Internet
 
หน่วยที่ 10
หน่วยที่ 10หน่วยที่ 10
หน่วยที่ 10
 

Similaire à บทที่ 1 การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต

ความหมายของอ นเตอร เน_ต
ความหมายของอ นเตอร เน_ตความหมายของอ นเตอร เน_ต
ความหมายของอ นเตอร เน_ตNotto InDy
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตmakkuzeez
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตmakkuzeez
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตmakkuzeez
 
ความเป็นมาและแนวคิดของการสื่อสารใน
ความเป็นมาและแนวคิดของการสื่อสารในความเป็นมาและแนวคิดของการสื่อสารใน
ความเป็นมาและแนวคิดของการสื่อสารในaru
 
งานคอม Save option แก้
งานคอม Save option แก้งานคอม Save option แก้
งานคอม Save option แก้Phai Trinod
 
งานคอม แก้
งานคอม แก้งานคอม แก้
งานคอม แก้Phai Trinod
 
อินเตอร์เน็ต Internet
อินเตอร์เน็ต Internetอินเตอร์เน็ต Internet
อินเตอร์เน็ต InternetJoykorawan
 
อินเตอร์เน็ต Internet
อินเตอร์เน็ต Internetอินเตอร์เน็ต Internet
อินเตอร์เน็ต InternetJoykorawan
 

Similaire à บทที่ 1 การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต (20)

ความหมายของอ นเตอร เน_ต
ความหมายของอ นเตอร เน_ตความหมายของอ นเตอร เน_ต
ความหมายของอ นเตอร เน_ต
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
2
22
2
 
2
22
2
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
ความเป็นมาและแนวคิดของการสื่อสารใน
ความเป็นมาและแนวคิดของการสื่อสารในความเป็นมาและแนวคิดของการสื่อสารใน
ความเป็นมาและแนวคิดของการสื่อสารใน
 
วิชาคอม
วิชาคอมวิชาคอม
วิชาคอม
 
Work2
Work2Work2
Work2
 
Work2
Work2Work2
Work2
 
Work2
Work2Work2
Work2
 
Work2
Work2Work2
Work2
 
Work2
Work2Work2
Work2
 
งานคอม Save option แก้
งานคอม Save option แก้งานคอม Save option แก้
งานคอม Save option แก้
 
งานคอม แก้
งานคอม แก้งานคอม แก้
งานคอม แก้
 
อินเตอร์เน็ต Internet
อินเตอร์เน็ต Internetอินเตอร์เน็ต Internet
อินเตอร์เน็ต Internet
 
อินเตอร์เน็ต Internet
อินเตอร์เน็ต Internetอินเตอร์เน็ต Internet
อินเตอร์เน็ต Internet
 
Internet
InternetInternet
Internet
 

Plus de Kantida SilverSoul

แผนผังความคิดเรื่องอินเตอร์เน็ต
แผนผังความคิดเรื่องอินเตอร์เน็ตแผนผังความคิดเรื่องอินเตอร์เน็ต
แผนผังความคิดเรื่องอินเตอร์เน็ตKantida SilverSoul
 
IT News : งานย่อยที่ 1
IT News : งานย่อยที่ 1IT News : งานย่อยที่ 1
IT News : งานย่อยที่ 1Kantida SilverSoul
 
แผ่นพับสังคม
แผ่นพับสังคมแผ่นพับสังคม
แผ่นพับสังคมKantida SilverSoul
 
แผ่นพับกติกาคิดเลขเร็ว พร้อมปรินทร์
แผ่นพับกติกาคิดเลขเร็ว พร้อมปรินทร์แผ่นพับกติกาคิดเลขเร็ว พร้อมปรินทร์
แผ่นพับกติกาคิดเลขเร็ว พร้อมปรินทร์Kantida SilverSoul
 
ปกด้านนอกแผ่นพับสังคม
ปกด้านนอกแผ่นพับสังคมปกด้านนอกแผ่นพับสังคม
ปกด้านนอกแผ่นพับสังคมKantida SilverSoul
 
ปกด้านในแผ่นพับสังคม
ปกด้านในแผ่นพับสังคมปกด้านในแผ่นพับสังคม
ปกด้านในแผ่นพับสังคมKantida SilverSoul
 
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศKantida SilverSoul
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเตอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเตอร์เน็ตหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเตอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเตอร์เน็ตKantida SilverSoul
 
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ทรัพย์สินทางปัญญา วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ2 (ง32101)
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ทรัพย์สินทางปัญญา วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ2 (ง32101)บทเรียนออนไลน์เรื่อง ทรัพย์สินทางปัญญา วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ2 (ง32101)
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ทรัพย์สินทางปัญญา วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ2 (ง32101)Kantida SilverSoul
 

Plus de Kantida SilverSoul (13)

แผนผังความคิดเรื่องอินเตอร์เน็ต
แผนผังความคิดเรื่องอินเตอร์เน็ตแผนผังความคิดเรื่องอินเตอร์เน็ต
แผนผังความคิดเรื่องอินเตอร์เน็ต
 
IT News : งานย่อยที่ 1
IT News : งานย่อยที่ 1IT News : งานย่อยที่ 1
IT News : งานย่อยที่ 1
 
แผ่นพับสังคม
แผ่นพับสังคมแผ่นพับสังคม
แผ่นพับสังคม
 
Nerve system 5.5
Nerve system 5.5Nerve system 5.5
Nerve system 5.5
 
แผ่นพับกติกาคิดเลขเร็ว พร้อมปรินทร์
แผ่นพับกติกาคิดเลขเร็ว พร้อมปรินทร์แผ่นพับกติกาคิดเลขเร็ว พร้อมปรินทร์
แผ่นพับกติกาคิดเลขเร็ว พร้อมปรินทร์
 
ปกด้านนอกแผ่นพับสังคม
ปกด้านนอกแผ่นพับสังคมปกด้านนอกแผ่นพับสังคม
ปกด้านนอกแผ่นพับสังคม
 
ปกด้านในแผ่นพับสังคม
ปกด้านในแผ่นพับสังคมปกด้านในแผ่นพับสังคม
ปกด้านในแผ่นพับสังคม
 
Excretory system ม.5
Excretory system ม.5Excretory system ม.5
Excretory system ม.5
 
Excretory system ม.5
Excretory system ม.5Excretory system ม.5
Excretory system ม.5
 
Respiration m.5
Respiration m.5Respiration m.5
Respiration m.5
 
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเตอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเตอร์เน็ตหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเตอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเตอร์เน็ต
 
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ทรัพย์สินทางปัญญา วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ2 (ง32101)
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ทรัพย์สินทางปัญญา วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ2 (ง32101)บทเรียนออนไลน์เรื่อง ทรัพย์สินทางปัญญา วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ2 (ง32101)
บทเรียนออนไลน์เรื่อง ทรัพย์สินทางปัญญา วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ2 (ง32101)
 

บทที่ 1 การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต

  • 2. ความหมายของ อินเตอร์เน็ต ความหมายของ อินเตอร์เน็ต อินเทอร์เน็ต ( Internet ) คือ เครือข่ายของ คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงเครือข่าย คอมพิวเตอร์ทั่วโลกเข้าด้วยกัน โดยอาศัยเครือข่าย โทรคมนาคมเป็นตัวเชื่อมเครือข่าย ภายใต้มาตรฐาน การเชื่อมโยงด้วยโปรโตคอลเดียวกันคือ TCP/IP (Transmission Control Protocol / Internet Protocol) เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องใน อินเทอร์เน็ตสามารถสื่อสารระหว่างกันได้ นับว่าเป็น เครือข่ายที่กว้างขวางที่สุดในปัจจุบัน เนื่องจากมีผู้ นิยมใช้ โปรโตคอลอินเทอร์เน็ตจากทั่วโลกมากที่สุด อินเทอร์เน็ต ( Internet ) คือ เครือข่ายของ คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงเครือข่าย คอมพิวเตอร์ทั่วโลกเข้าด้วยกัน โดยอาศัยเครือข่าย โทรคมนาคมเป็นตัวเชื่อมเครือข่าย ภายใต้มาตรฐาน การเชื่อมโยงด้วยโปรโตคอลเดียวกันคือ TCP/IP (Transmission Control Protocol / Internet Protocol) เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องใน อินเทอร์เน็ตสามารถสื่อสารระหว่างกันได้ นับว่าเป็น เครือข่ายที่กว้างขวางที่สุดในปัจจุบัน เนื่องจากมีผู้ นิยมใช้ โปรโตคอลอินเทอร์เน็ตจากทั่วโลกมากที่สุด
  • 3. ประวัติความเป็นมาของระบบเครือ ข่ายอินเตอร์เน็ต ประวัติความเป็นมาของระบบเครือ ข่ายอินเตอร์เน็ต ในยุคแห่งสังคมข่าวสารเช่นปัจจุบัน การสื่อสารผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอร์ยิ่งทวีความสำาคัญมาก เนื่องจากสามารถแลกเปลี่ยน ข่าวสารระหว่างกันได้โดยง่าย ในปัจจุบันมี เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เชื่อมโยงไปทั่วโลก ผู้ใช้ในซีกโลกหนึ่งสามารถติดต่อกับผู้ใช้ใน ซีกโลกหนึ่ง ได้อย่างรวดเร็วเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่รู้จักกันในชื่อ ของ "อินเทอร์เน็ต” (Internet) เป็นเครือข่ายที่มีบทบาทสำาคัญที่สุด ในยุคของสังคมข่าวสารปัจจุบัน อินเทอร์เน็ตมีขอบข่ายครอบ คลุม พื้นที่แทบทุกมุม โลกสมาชิกในอินเทอร์เน็ตสามารถใช้คอมพิวเตอร์ที่ตั้งอยู่ที่จุด ใด ๆ เพื่อส่งข่าวสารและข้อมูลระหว่างกันได้บริการข้อมูลใน อินเทอร์เน็ตมีหลากรูปแบบและมีผู้นิยมใช้ ้้เพิ่มมากขึ้นทุกวัน จาก การคาดการณ์โดยประมาณแล้วปัจจุบันมีเครือข่ายทั่วโลกที่เชื่อม เข้าเป็น อินเทอร์เน็ตราว 45,000 เครือข่าย จำานวนคอมพิวเตอร์ ในทุกเครือข่ายรวมกันคาดว่ามีประมาณ 4 ล้านเครื่อง หรือหาก ประมาณจำานวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั่วโลกคาดว่ามีประมาณ 25 ล้าน คน และ มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น กล่าวได้ว่า อินเทอร์เน็ตเป็นเครือ ข่ายมหึมาที่ครอบคลุมพื้นที่กว้างขวาง ที่สุด มีการขยายตัวสูงที่สุด และมีสมาชิกมากที่สุดเมื่อเทียบกับเครือข่ายอื่นที่ปรากฏอยู่ใน ปัจจุบัน พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตมิได้เป็นเครือข่าย ที่เกิดขึ้นโดยเฉพาะเจาะจงหากแต่มี ประวัติความเป็นมาและมีการ ในยุคแห่งสังคมข่าวสารเช่นปัจจุบัน การสื่อสารผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอร์ยิ่งทวีความสำาคัญมาก เนื่องจากสามารถแลกเปลี่ยน ข่าวสารระหว่างกันได้โดยง่าย ในปัจจุบันมี เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เชื่อมโยงไปทั่วโลก ผู้ใช้ในซีกโลกหนึ่งสามารถติดต่อกับผู้ใช้ใน ซีกโลกหนึ่ง ได้อย่างรวดเร็วเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่รู้จักกันในชื่อ ของ "อินเทอร์เน็ต” (Internet) เป็นเครือข่ายที่มีบทบาทสำาคัญที่สุด ในยุคของสังคมข่าวสารปัจจุบัน อินเทอร์เน็ตมีขอบข่ายครอบ คลุม พื้นที่แทบทุกมุม โลกสมาชิกในอินเทอร์เน็ตสามารถใช้คอมพิวเตอร์ที่ตั้งอยู่ที่จุด ใด ๆ เพื่อส่งข่าวสารและข้อมูลระหว่างกันได้บริการข้อมูลใน อินเทอร์เน็ตมีหลากรูปแบบและมีผู้นิยมใช้ ้้เพิ่มมากขึ้นทุกวัน จาก การคาดการณ์โดยประมาณแล้วปัจจุบันมีเครือข่ายทั่วโลกที่เชื่อม เข้าเป็น อินเทอร์เน็ตราว 45,000 เครือข่าย จำานวนคอมพิวเตอร์ ในทุกเครือข่ายรวมกันคาดว่ามีประมาณ 4 ล้านเครื่อง หรือหาก ประมาณจำานวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั่วโลกคาดว่ามีประมาณ 25 ล้าน คน และ มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น กล่าวได้ว่า อินเทอร์เน็ตเป็นเครือ ข่ายมหึมาที่ครอบคลุมพื้นที่กว้างขวาง ที่สุด มีการขยายตัวสูงที่สุด และมีสมาชิกมากที่สุดเมื่อเทียบกับเครือข่ายอื่นที่ปรากฏอยู่ใน ปัจจุบัน พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตมิได้เป็นเครือข่าย ที่เกิดขึ้นโดยเฉพาะเจาะจงหากแต่มี ประวัติความเป็นมาและมีการ
  • 4. พื้นฐานการทำางานของระบบ อินเตอร์เน็ต พื้นฐานการทำางานของระบบ อินเตอร์เน็ต การสื่อสารทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์นั้นเป็นการรับ-ส่งข้อมูลหรือที่ เรียกว่า การสื่อสารข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยกัน ซึ่งเครื่อง คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อและต้องการสื่อสารข้อมูลกับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่นๆ ในเครือข่าย อาจจะมีฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ที่แตกต่างกัน ดังนั้น เพื่อให้ สามารถสื่อสารข้อมูลถึงกันแลแปลความหมายได้ตรงกัน จึงต้องมีการกำาหนด ระเบียบวิธีการติดต่อให้ตรงกันซึ่งเรียกว่า โพรโทคอล (Protocol)                 โพรโทคอล คือ ระเบียบวิธีที่กำาหนดขึ้นสำาหรับการสื่อสารข้อมูล โดยสามารถส่งข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไปยังปลายทางได้อย่าง ถูกต้อง โดยโพรโทคอลนั้น มีหลายชนิด เช่น โพรโทคอล IPX/SPX โพรโท คอล NetBEUI และโพรโทคอล Apple Talk ซึ่งออกแบบมาเพื่อใช้งานต่าง กัน ดังนั้น การสื่อสารระบบอินเทอร์เน็ตซึ่งเป็นการสื่อสารทางเครือข่าย คอมพิวเตอร์จึงต้องใช้ข้อตกลงโพรโทคอลเช่นเดียวกันซึ่งโพรโทคอลที่นิยม ใช้ในการสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตในปัจจุบัน เป็นโพรโทคอลทีซีไอพีเป็นหลัก                  จุดเด่นของโพรโทคอล ทีซีพีไอพี (TCP/IP) คือเมื่อการเชื่อมต่อ เครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปการณ์ใดๆ เข้าสู่ระบบเครือข่ายที่เป็นทีซีพีไอ พี (TCP/IP) นั้น คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องหรืออุปกรณ์ที่ติดต่อสื่อสารร่วมกันจะ ต้องมีหมายเลขที่ใช้ในระบบเครือข่ายกำากับเสมอ เพื่อระบุแหล่งที่มาของ ข้อมูลต้นทางและนำาข้อมูลไปยังเครือข่ายเครื่องปลายทางที่ถูกต้อง ดังนั้น เครื่องคอมพิวเตอร์ที่สื่อสารจะต้องมีการระบุหมายเลขขอเครื่องต่างๆ ที่ไม่ซำ้า การสื่อสารทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์นั้นเป็นการรับ-ส่งข้อมูลหรือที่ เรียกว่า การสื่อสารข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยกัน ซึ่งเครื่อง คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อและต้องการสื่อสารข้อมูลกับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่นๆ ในเครือข่าย อาจจะมีฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ที่แตกต่างกัน ดังนั้น เพื่อให้ สามารถสื่อสารข้อมูลถึงกันแลแปลความหมายได้ตรงกัน จึงต้องมีการกำาหนด ระเบียบวิธีการติดต่อให้ตรงกันซึ่งเรียกว่า โพรโทคอล (Protocol)                 โพรโทคอล คือ ระเบียบวิธีที่กำาหนดขึ้นสำาหรับการสื่อสารข้อมูล โดยสามารถส่งข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไปยังปลายทางได้อย่าง ถูกต้อง โดยโพรโทคอลนั้น มีหลายชนิด เช่น โพรโทคอล IPX/SPX โพรโท คอล NetBEUI และโพรโทคอล Apple Talk ซึ่งออกแบบมาเพื่อใช้งานต่าง กัน ดังนั้น การสื่อสารระบบอินเทอร์เน็ตซึ่งเป็นการสื่อสารทางเครือข่าย คอมพิวเตอร์จึงต้องใช้ข้อตกลงโพรโทคอลเช่นเดียวกันซึ่งโพรโทคอลที่นิยม ใช้ในการสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตในปัจจุบัน เป็นโพรโทคอลทีซีไอพีเป็นหลัก                  จุดเด่นของโพรโทคอล ทีซีพีไอพี (TCP/IP) คือเมื่อการเชื่อมต่อ เครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปการณ์ใดๆ เข้าสู่ระบบเครือข่ายที่เป็นทีซีพีไอ พี (TCP/IP) นั้น คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องหรืออุปกรณ์ที่ติดต่อสื่อสารร่วมกันจะ ต้องมีหมายเลขที่ใช้ในระบบเครือข่ายกำากับเสมอ เพื่อระบุแหล่งที่มาของ ข้อมูลต้นทางและนำาข้อมูลไปยังเครือข่ายเครื่องปลายทางที่ถูกต้อง ดังนั้น เครื่องคอมพิวเตอร์ที่สื่อสารจะต้องมีการระบุหมายเลขขอเครื่องต่างๆ ที่ไม่ซำ้า
  • 5. Domain Name คือชื่อที่ใช้ในการอ้างอิงเพื่อไป ยัง Website ต่างๆ ที่อยู่บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตชื่อที่ใช้ต้องเป็น ชื่อที่ไม่มีใครในโลกใช้เพราะถ้ามีคนใช้ชื่อใดแล้วเราจะไปจดชื่อ ซำ้าไม่ได้ ชื่อ Domain Name จะเป็นตัวอักษรพิมพ์ใหญ่หรือพิมพ์ เล็ก ไม่แตกต่างกันเพราะ ระบบอินเตอร์เน็ตจะรับรู้ตัวอักษรเป็นตัว เล็กทั้งหมด เช่นITTradefair.com และ ittradefair.com ถือว่า เป็นชื่อเดียวกัน  Domain Name ทำางานอย่างไร         ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ต จะใช้กลุ่มตัวเลข 4 กลุ่มที่คั่น ด้วยจุด (ตัวเลขในแต่ละกลุ่มจะมีค่าได้ตั้งแต่ 0- 255) เช่น 203.33.192.255 หรือที่รู้จักกันในชื่อของ IP Address ในการระบุตำาแหน่งของ Website ต่างๆ เพื่อให้รู้ว่าอยู่ บนเครื่องใดและอยู่ในเครือข่ายใด แต่เนื่องจาก IP Address อยู่ ในรูปของตัวเลขซึ่งยากแก่การจดจำาดังนั้นจึงเป็นการสะดวกกว่าที่ จะใช้ชื่อหรือกลุ่มของตัวอักษร ซึ่งก็คือ Domain Name ในการ อ้างอิงแทน โดยจะอาศัย DNS Server มาช่วยจับคู่ IP Address และ Domain name เข้าด้วยกัน ดังนั้นเมื่อมีผู้ต้องการ ที่จะเรียกดู Website ของท่าน ไม่ว่าจะทราบ IP Address หรือ Domain name เพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง ก็จะ Domain Name คือชื่อที่ใช้ในการอ้างอิงเพื่อไป ยัง Website ต่างๆ ที่อยู่บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตชื่อที่ใช้ต้องเป็น ชื่อที่ไม่มีใครในโลกใช้เพราะถ้ามีคนใช้ชื่อใดแล้วเราจะไปจดชื่อ ซำ้าไม่ได้ ชื่อ Domain Name จะเป็นตัวอักษรพิมพ์ใหญ่หรือพิมพ์ เล็ก ไม่แตกต่างกันเพราะ ระบบอินเตอร์เน็ตจะรับรู้ตัวอักษรเป็นตัว เล็กทั้งหมด เช่นITTradefair.com และ ittradefair.com ถือว่า เป็นชื่อเดียวกัน  Domain Name ทำางานอย่างไร         ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ต จะใช้กลุ่มตัวเลข 4 กลุ่มที่คั่น ด้วยจุด (ตัวเลขในแต่ละกลุ่มจะมีค่าได้ตั้งแต่ 0- 255) เช่น 203.33.192.255 หรือที่รู้จักกันในชื่อของ IP Address ในการระบุตำาแหน่งของ Website ต่างๆ เพื่อให้รู้ว่าอยู่ บนเครื่องใดและอยู่ในเครือข่ายใด แต่เนื่องจาก IP Address อยู่ ในรูปของตัวเลขซึ่งยากแก่การจดจำาดังนั้นจึงเป็นการสะดวกกว่าที่ จะใช้ชื่อหรือกลุ่มของตัวอักษร ซึ่งก็คือ Domain Name ในการ อ้างอิงแทน โดยจะอาศัย DNS Server มาช่วยจับคู่ IP Address และ Domain name เข้าด้วยกัน ดังนั้นเมื่อมีผู้ต้องการ ที่จะเรียกดู Website ของท่าน ไม่ว่าจะทราบ IP Address หรือ Domain name เพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง ก็จะ
  • 6. บริการต่างๆใน อินเตอร์เน็ต บริการต่างๆใน อินเตอร์เน็ต                 1.ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail : E-Mail)                     เป็นการรับ – ส่งจดหมายถึงกันผ่านเครือข่าย อินเตอร์เน็ต การส่งเอกสารข้อความมี ลักษณะเหมือนการส่งจดหมาย แต่ระบบคอมพิวเตอร์ทำางานให้เองโดยอัตโนมัติทำาให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว สามารถติดต่อกันได้อย่างทั่วถึงทุกภูมิภาคที่ใช้เครือข่ายอินเตอร์เน็ต ผู้ใช้จดหมาย อิเล็กทรอนิกส์จะต้องมีที่อยู่ (E-mail address)                  2.การถ่ายโอนข้อมูล (File Transfer Protocol : FTP)                    เป็นบริการถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล ข่าวสาร บทความ รวมถึงแฟ้มข้อมูลจากเครื่อง คอมพิวเตอร์หนึ่งสู่คอมพิวเตอร์อีกเครื่องหนึ่งในกรณีที่โอนย้ายข้อมูลจากคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นบน อินเตอร์เน็ต มาลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ของเราเรียกว่า ดาวน์โหลด  (download) ส่วนกระบวนการ นำาข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องหนึ่ง ไปไว้ยังเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นบนอินเตอร์เน็ตเรียก ว่า อัพโหลด (upload)                  3. การเรียกใช้งานบนเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น (telnet)                     ผู้ใช้งานสามารถเข้าถึงเครื่องคอมพิวเตอร์ระบบอื่นๆในที่ห่างไกล ช่วยให้ผู้ใช้ ไม่ต้อง เดินทางไปที่เครื่องนั้นๆ                   4.โกเฟอร์ (gopher)                     บริการค้นหาไฟล์และฐานข้อมูลเป็นบริการที่คล้ายกับ FTP แต่การจัดเก็บสารบบ รายการแฟ้มข้อมูล และไอคอนของโกเฟอร์จะมีความเป็นระเบียบและแสดงรายละเอียดได้ดี กว่า FTP ซึ่งเสมือนกับตู้บัตรคำาในห้องสมุดที่สามารถค้นหาข้อมูล โดยการระบุชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง ชื่อที่ เกี่ยวข้อง                  5.การสนทนา (chat) และข่าวสาร (Usenet)                    เป็นการจัดเก็บข่าวสารที่ส่งไปไว้ในคอมพิวเตอร์ที่เป็นศูนย์กลาง โดยที่ ทุกคนสามารถเข้าไปอ่านข่าวสาร มีการจัดกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนทัศนะและแสดง ความคิดเห็นในหัวข้อ ต่างๆผ่านทางอินเตอร์เน็ต  6.เวิร์ลไวด์เว็บ  (World  Wide  Web : WWW)                    เป็นเครือข่ายที่เชื่อมโยงแหล่งข้อมูลข่าวสารเข้าหากันและครอบคลุมทั่วโลก ลักษณะ ของข้อมูล ที่สืบค้นได้จะเป็นเอกสารไฮเปอร์เท็กซ์ที่สร้างด้วยภาษา HTML (Hypertext Markup Language) ซึ่งประกอบด้วย ข้อความ ภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว บริการนี้ได้รับความนิยมอย่างแพร่ หลายในปัจจุบัน เนื่องจากสร้างและแก้ไขง่าย ผู้คนหรือหน่วยงานต่างๆ จึงนิยมนำาเสนอข้อมูลหรือขาย 1.ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail : E-Mail)                     เป็นการรับ – ส่งจดหมายถึงกันผ่านเครือข่าย อินเตอร์เน็ต การส่งเอกสารข้อความมี ลักษณะเหมือนการส่งจดหมาย แต่ระบบคอมพิวเตอร์ทำางานให้เองโดยอัตโนมัติทำาให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว สามารถติดต่อกันได้อย่างทั่วถึงทุกภูมิภาคที่ใช้เครือข่ายอินเตอร์เน็ต ผู้ใช้จดหมาย อิเล็กทรอนิกส์จะต้องมีที่อยู่ (E-mail address)                  2.การถ่ายโอนข้อมูล (File Transfer Protocol : FTP)                    เป็นบริการถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล ข่าวสาร บทความ รวมถึงแฟ้มข้อมูลจากเครื่อง คอมพิวเตอร์หนึ่งสู่คอมพิวเตอร์อีกเครื่องหนึ่งในกรณีที่โอนย้ายข้อมูลจากคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นบน อินเตอร์เน็ต มาลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ของเราเรียกว่า ดาวน์โหลด  (download) ส่วนกระบวนการ นำาข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องหนึ่ง ไปไว้ยังเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นบนอินเตอร์เน็ตเรียก ว่า อัพโหลด (upload)                  3. การเรียกใช้งานบนเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น (telnet)                     ผู้ใช้งานสามารถเข้าถึงเครื่องคอมพิวเตอร์ระบบอื่นๆในที่ห่างไกล ช่วยให้ผู้ใช้ ไม่ต้อง เดินทางไปที่เครื่องนั้นๆ                   4.โกเฟอร์ (gopher)                     บริการค้นหาไฟล์และฐานข้อมูลเป็นบริการที่คล้ายกับ FTP แต่การจัดเก็บสารบบ รายการแฟ้มข้อมูล และไอคอนของโกเฟอร์จะมีความเป็นระเบียบและแสดงรายละเอียดได้ดี กว่า FTP ซึ่งเสมือนกับตู้บัตรคำาในห้องสมุดที่สามารถค้นหาข้อมูล โดยการระบุชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง ชื่อที่ เกี่ยวข้อง                  5.การสนทนา (chat) และข่าวสาร (Usenet)                    เป็นการจัดเก็บข่าวสารที่ส่งไปไว้ในคอมพิวเตอร์ที่เป็นศูนย์กลาง โดยที่ ทุกคนสามารถเข้าไปอ่านข่าวสาร มีการจัดกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนทัศนะและแสดง ความคิดเห็นในหัวข้อ ต่างๆผ่านทางอินเตอร์เน็ต  6.เวิร์ลไวด์เว็บ  (World  Wide  Web : WWW)                    เป็นเครือข่ายที่เชื่อมโยงแหล่งข้อมูลข่าวสารเข้าหากันและครอบคลุมทั่วโลก ลักษณะ ของข้อมูล ที่สืบค้นได้จะเป็นเอกสารไฮเปอร์เท็กซ์ที่สร้างด้วยภาษา HTML (Hypertext Markup Language) ซึ่งประกอบด้วย ข้อความ ภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว บริการนี้ได้รับความนิยมอย่างแพร่ หลายในปัจจุบัน เนื่องจากสร้างและแก้ไขง่าย ผู้คนหรือหน่วยงานต่างๆ จึงนิยมนำาเสนอข้อมูลหรือขาย
  • 7. การเชื่อมต่อ อินเตอร์เน็ต การเชื่อมต่อ อินเตอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแบบใช้สาย (Wire Internet)          1. การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตรายบุคคล (Individual Connection) การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตรายบุคคล คือ การเชื่อมต่อ อินเตอร์เน็ตจากที่บ้าน (Home user) ซึ่งยังต้องอาศัยคู่สายโทรศัพท์ในการเข้าสู่เครือ ข่ายอินเตอร์เน็ต ผู้ใช้ต้องสมัครเป็นสมาชิกกับ ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตก่อน จากนั้นจะได้เบอร์โทรศัพท์ของผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต รหัสผู้ใช้ (User name) และรหัสผ่าน (Password) ผู้ใช้จะเข้าสู่ระบบอินเตอร์เน็ตได้โดยใช้โมเด็มที่เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ ของผู้ใช้หมุนไปยังหมายเลขโทรศัพท์ของผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต จากนั้นจึงสามารถใช้ งาน อินเตอร์เน็ตได้ องค์ประกอบของการใช้อินเตอร์เน็ตรายบุคคล               1. โทรศัพท์               2. เครื่องคอมพิวเตอร์               3. ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต ซึ่งจะให้เบอร์โทรศัพท์ รหัสผู้ใช้และรหัสผ่าน               4. โมเด็ม (Modem) การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแบบใช้สาย (Wire Internet)          1. การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตรายบุคคล (Individual Connection) การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตรายบุคคล คือ การเชื่อมต่อ อินเตอร์เน็ตจากที่บ้าน (Home user) ซึ่งยังต้องอาศัยคู่สายโทรศัพท์ในการเข้าสู่เครือ ข่ายอินเตอร์เน็ต ผู้ใช้ต้องสมัครเป็นสมาชิกกับ ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตก่อน จากนั้นจะได้เบอร์โทรศัพท์ของผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต รหัสผู้ใช้ (User name) และรหัสผ่าน (Password) ผู้ใช้จะเข้าสู่ระบบอินเตอร์เน็ตได้โดยใช้โมเด็มที่เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ ของผู้ใช้หมุนไปยังหมายเลขโทรศัพท์ของผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต จากนั้นจึงสามารถใช้ งาน อินเตอร์เน็ตได้ องค์ประกอบของการใช้อินเตอร์เน็ตรายบุคคล               1. โทรศัพท์               2. เครื่องคอมพิวเตอร์               3. ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต ซึ่งจะให้เบอร์โทรศัพท์ รหัสผู้ใช้และรหัสผ่าน               4. โมเด็ม (Modem)
  • 8.           2. การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตแบบองค์กร (Corporate Connection) การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแบบองค์กรนี้จะพบได้ทั่วไปตามหน่วย งานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน หน่วยงานต่างๆ เหล่านี้จะมีเครือข่ายท้องถิ่น (Local Area Network : LAN) เป็นของตัวเอง ซึ่งเครือข่าย LAN นี้เชื่อมต่อ อินเตอร์เน็ตตลอดเวลา ผ่านสายเช่า (Leased line) ดังนั้น บุคลากรในหน่วย งานจึงสามารถใช้อินเตอร์เน็ตได้ตลอดเวลา การใช้อินเตอร์เน็ตผ่าน ระบบ LAN ไม่มีการสร้างการเชื่อมต่อ(Connection) เหมือนผู้ใช้รายบุคคลที่ ยังต้องอาศัยคู่สายโทรศัพท์ในการเข้าสู่เครือข่ายอินเตอร์เน็ต           2. การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตแบบองค์กร (Corporate Connection) การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแบบองค์กรนี้จะพบได้ทั่วไปตามหน่วย งานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน หน่วยงานต่างๆ เหล่านี้จะมีเครือข่ายท้องถิ่น (Local Area Network : LAN) เป็นของตัวเอง ซึ่งเครือข่าย LAN นี้เชื่อมต่อ อินเตอร์เน็ตตลอดเวลา ผ่านสายเช่า (Leased line) ดังนั้น บุคลากรในหน่วย งานจึงสามารถใช้อินเตอร์เน็ตได้ตลอดเวลา การใช้อินเตอร์เน็ตผ่าน ระบบ LAN ไม่มีการสร้างการเชื่อมต่อ(Connection) เหมือนผู้ใช้รายบุคคลที่ ยังต้องอาศัยคู่สายโทรศัพท์ในการเข้าสู่เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
  • 9.          1. การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตแบบไร้สายผ่านเครื่องโทรศัพท์บ้านเคลื่อนที่ PCT เป็นการเชื่อม ต่ออินเทอร์เน็ตผ่านคอมพิวเตอร์ โน้ตบุ๊ก (Note book) และคอมพิวเตอร์แบบพกพา (Pocket PC) ผู้ใช้จะต้องมี โมเด็ม ชนิด PCMCIA ของ PCT ผู้ใช้สามารถใช้อินเทอร์เน็ตไร้ได้ ในเขตกรุงเทพ และปริมณฑลได้          2. การใช้งานอินเตอร์เน็ตผ่านโทรศัพท์มือถือโดยตรง (Mobile Internet)             1. WAP (Wireless Application Protocol) เป็นโปรโตคอลมาตรฐานของอุปกรณ์ไร้ สายที่ใช้งานบนอินเตอร์เน็ต ใช้ภาษา WML (Wireless Markup Language) ในการพัฒนาขึ้น มา แทนการใช้ภาษา HTML (Hypertext markup Language) ที่พบใน www โทรศัพท์มือถือ ปัจจุบัน หลายๆยี่ห้อ จะสนับสนุนการใช้ WAP เพื่อท่องอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีความเร็วในการรับส่ง ข้อมูลที่ 9.6 kbps และการใช้ WAP ท่องอินเตอร์เน็ตนั้น จะมีการคิดอัตราค่าบริการเป็นนาทีซึ่ง ยังมีราคาแพง             2. GPRS (General Packet Radio Service)    เป็นเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นเพื่อให้ โทรศัพท์มือถือสามารถเชื่อมต่อกับ อินเตอร์เน็ตด้วยความเร็วสูง และสามารถส่งข้อมูลได้ในรูปแบบของมัลติมีเดีย ซึ่งประกอบด้วย ข้อความ ภาพกราฟิก เสียง และวีดิโอ ความเร็วในการรับส่งข้อมูลด้วยโทรศัพท์ที่ สนับสนุน GPRS อยู่ที่ 40 kbps ซึ่งใกล้เคียงกับโมเด็มมาตรฐานซึ่งมีความเร็ว 56 kbps อัตรา ค่าใช้บริการคิดตามปริมาณข้อมูลที่รับ-ส่ง ตามจริง ดังนั้นจึงทำาให้ประหยัดกว่าการใช้ WAP และ ยังสื่อสารได้รวดเร็วขึ้นด้วย            3. โทรศัพท์ระบบ CDMA (Code Division Multiple Access) ระบบ CDMA นั้น สามารถรองรับการสื่อสารไร้สาย ความเร็วสูงได้เป็นอย่างดี โดยสามารถทำาการรับส่งข้อมูลได้สูงสุด 153 Kbpsซึ่งมากกว่าโมเด็มที่ ใช้กับโทรศัพท์ตามบ้านที่เชื่อมต่อ          1. การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตแบบไร้สายผ่านเครื่องโทรศัพท์บ้านเคลื่อนที่ PCT เป็นการเชื่อม ต่ออินเทอร์เน็ตผ่านคอมพิวเตอร์ โน้ตบุ๊ก (Note book) และคอมพิวเตอร์แบบพกพา (Pocket PC) ผู้ใช้จะต้องมี โมเด็ม ชนิด PCMCIA ของ PCT ผู้ใช้สามารถใช้อินเทอร์เน็ตไร้ได้ ในเขตกรุงเทพ และปริมณฑลได้          2. การใช้งานอินเตอร์เน็ตผ่านโทรศัพท์มือถือโดยตรง (Mobile Internet)             1. WAP (Wireless Application Protocol) เป็นโปรโตคอลมาตรฐานของอุปกรณ์ไร้ สายที่ใช้งานบนอินเตอร์เน็ต ใช้ภาษา WML (Wireless Markup Language) ในการพัฒนาขึ้น มา แทนการใช้ภาษา HTML (Hypertext markup Language) ที่พบใน www โทรศัพท์มือถือ ปัจจุบัน หลายๆยี่ห้อ จะสนับสนุนการใช้ WAP เพื่อท่องอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีความเร็วในการรับส่ง ข้อมูลที่ 9.6 kbps และการใช้ WAP ท่องอินเตอร์เน็ตนั้น จะมีการคิดอัตราค่าบริการเป็นนาทีซึ่ง ยังมีราคาแพง             2. GPRS (General Packet Radio Service)    เป็นเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นเพื่อให้ โทรศัพท์มือถือสามารถเชื่อมต่อกับ อินเตอร์เน็ตด้วยความเร็วสูง และสามารถส่งข้อมูลได้ในรูปแบบของมัลติมีเดีย ซึ่งประกอบด้วย ข้อความ ภาพกราฟิก เสียง และวีดิโอ ความเร็วในการรับส่งข้อมูลด้วยโทรศัพท์ที่ สนับสนุน GPRS อยู่ที่ 40 kbps ซึ่งใกล้เคียงกับโมเด็มมาตรฐานซึ่งมีความเร็ว 56 kbps อัตรา ค่าใช้บริการคิดตามปริมาณข้อมูลที่รับ-ส่ง ตามจริง ดังนั้นจึงทำาให้ประหยัดกว่าการใช้ WAP และ ยังสื่อสารได้รวดเร็วขึ้นด้วย            3. โทรศัพท์ระบบ CDMA (Code Division Multiple Access) ระบบ CDMA นั้น สามารถรองรับการสื่อสารไร้สาย ความเร็วสูงได้เป็นอย่างดี โดยสามารถทำาการรับส่งข้อมูลได้สูงสุด 153 Kbpsซึ่งมากกว่าโมเด็มที่ ใช้กับโทรศัพท์ตามบ้านที่เชื่อมต่อ  การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตแบบไร้สาย (Wireless Internet)
  • 10. การใช้บริการสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตด้วย จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การใช้บริการสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตด้วย จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ 1.การขอมีบัญชีจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ในการขอมีบัญชีจดหมายอิเล็กทรอนิกส์หรือ E-mail นั้น ทำาได้โดยง่ายเพียงแค่กรอกรายละเอียดและชื่อผู้ใช้ที่ ต้องการ จากนั้นทำาการยืนยัน 1.การขอมีบัญชีจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ในการขอมีบัญชีจดหมายอิเล็กทรอนิกส์หรือ E-mail นั้น ทำาได้โดยง่ายเพียงแค่กรอกรายละเอียดและชื่อผู้ใช้ที่ ต้องการ จากนั้นทำาการยืนยัน
  • 11. 2.การเขียนและส่งจดหมายในบัญชีจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ เมื่อเข้าสู่ระบบแล้วจะพามายังหน้ากล่องจดหมาย ซึ่งประกอบด้วยฟังก์ชั่นมา กมาย มีองค์ประกอบที่ สำาคัญดังนี้  เมนูด้านซ้าย : กดลิงค์ กล่องจดหมายที่เมนูด้านซ้าย เมนูด้านซ้ายนี้เป็นส่วน ที่เป็นโครงสร้างของบัญชีในการจัดเก็บข้อมูล นอกจากกล่องจดหมาย แล้วยังมี กลุ่มของจดหมายดังนี้ - ติดดาว: คือรายการจดหมายที่เลือกให้ติดดาวไว้เพื่อจัดแยกหมวดหมู่ของ จดหมาย - การแชท: คือรายการการสนทนาผ่าน Google Talk ที่ผ่านมาแล้ว - จดหมายที่ส่งแล้ว: คือรายการจดหมายที่ถูกส่งออกไปแล้ว - ร่างจดหมาย: คือรายการจดหมายที่เขียนและบันทึกเป็นร่างจดหมายไว้ - จดหมายทั้งหมด: คือรายการจดหมายทั้งหมดรวมทั้งที่เก็บลงฐาน ข้อมูล(Archive)ไว้ด้วย - จดหมายขยะ: คือรายการจดหมายที่ถูกตรวจสอบจากระบบว่าเป็น SPAM - ถังขยะ: คือรายการจดหมายที่ถูกลบ การค้นหา: แบ่งออกเป็น 2 แบบ ดังนี้ - ค้นหาจดหมาย: สามารถใช้ฟังก์ชั่นเพื่อค้นหาจดหมายได้โดยข้อความที่ เฉพาะเจาะจงในการค้นหาแล้ ปุ่ม ‘ค้นหาจดหมาย’ - ค้นหาในเว็บ: สามารถใช้ฟังก์ชั่นเพื่อค้นหาข้อมูลในเว็บได้โดยใส่ ข้อความที่เฉพาะเจาะจงในการค้นหาแล้วกดปุ่ม ‘ค้นหาในเว็บ’ 2.การเขียนและส่งจดหมายในบัญชีจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ เมื่อเข้าสู่ระบบแล้วจะพามายังหน้ากล่องจดหมาย ซึ่งประกอบด้วยฟังก์ชั่นมา กมาย มีองค์ประกอบที่ สำาคัญดังนี้  เมนูด้านซ้าย : กดลิงค์ กล่องจดหมายที่เมนูด้านซ้าย เมนูด้านซ้ายนี้เป็นส่วน ที่เป็นโครงสร้างของบัญชีในการจัดเก็บข้อมูล นอกจากกล่องจดหมาย แล้วยังมี กลุ่มของจดหมายดังนี้ - ติดดาว: คือรายการจดหมายที่เลือกให้ติดดาวไว้เพื่อจัดแยกหมวดหมู่ของ จดหมาย - การแชท: คือรายการการสนทนาผ่าน Google Talk ที่ผ่านมาแล้ว - จดหมายที่ส่งแล้ว: คือรายการจดหมายที่ถูกส่งออกไปแล้ว - ร่างจดหมาย: คือรายการจดหมายที่เขียนและบันทึกเป็นร่างจดหมายไว้ - จดหมายทั้งหมด: คือรายการจดหมายทั้งหมดรวมทั้งที่เก็บลงฐาน ข้อมูล(Archive)ไว้ด้วย - จดหมายขยะ: คือรายการจดหมายที่ถูกตรวจสอบจากระบบว่าเป็น SPAM - ถังขยะ: คือรายการจดหมายที่ถูกลบ การค้นหา: แบ่งออกเป็น 2 แบบ ดังนี้ - ค้นหาจดหมาย: สามารถใช้ฟังก์ชั่นเพื่อค้นหาจดหมายได้โดยข้อความที่ เฉพาะเจาะจงในการค้นหาแล้ ปุ่ม ‘ค้นหาจดหมาย’ - ค้นหาในเว็บ: สามารถใช้ฟังก์ชั่นเพื่อค้นหาข้อมูลในเว็บได้โดยใส่ ข้อความที่เฉพาะเจาะจงในการค้นหาแล้วกดปุ่ม ‘ค้นหาในเว็บ’
  • 12. การใช้บริการทางอินเทอร์เน็ตแบบเครือข่าย สังคม (Social Network) การใช้บริการทางอินเทอร์เน็ตแบบเครือข่าย สังคม (Social Network) เครือข่ายสังคมที่มีผู้ใช้จำานวนมากและเป็นที่รู้จัก มีดังนี้                 1.เฟซบุ๊ก (อังกฤษ: Facebook) เป็นบริการเครือข่ายสังคมและ เว็บไซต์ เปิดใช้งานเมื่อ 4 กุมภาพันธ์  . .ค ศ  2004 ดำาเนินงานและมีเจ้าของคือ บริษัท เฟซบุ๊ก (Facebook, Inc.) จากข้อมูล 4 ตุลาคม 2555 เฟซบุ๊กมีผู้ใช้ประจำา พันล้าน กว่าบัญชี หรือคิดเป็นอัตราส่วน 1 ใน 7 ของคนทั้งโลก ผู้ใช้สามารถสร้างข้อมูลส่วน ตัว เพิ่มรายชื่อผู้ใช้อื่นในฐานะเพื่อนและ  แลกเปลี่ยนข้อความ รวมถึงได้รับแจ้งโดยทันทีเมื่อพวกเขาปรับปรุงข้อมูลส่วนตัว นอกจากนั้นผู้ใช้ยังสามารถร่วมกลุ่มความสนใจส่วนตัว จัดระบบตาม สถานที่ทำางาน โรงเรียน มหาวิทยาลัย หรือ อื่น ๆ ชื่อของเฟซบุ๊กนั้นมาจากชื่อเรียกภาษาปากของ สมุดที่ให้กับนักเรียนเมื่อเริ่มแรกเรียนในสถาบันอุดมศึกษา ที่มอบให้โดยคณะบริหาร มหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกา เพื่อช่วยให้นักเรียนสามารถรู้จักผู้อื่นได้ดีมากขึ้น เฟ ซบุ๊กอนุญาตให้ใครก็ได้เข้าสมัครลงทะเบียนกับเฟซบุ๊ก โดยต้องมีอายุมากกว่า 13 ปี ขึ้นไป เครือข่ายสังคมที่มีผู้ใช้จำานวนมากและเป็นที่รู้จัก มีดังนี้                 1.เฟซบุ๊ก (อังกฤษ: Facebook) เป็นบริการเครือข่ายสังคมและ เว็บไซต์ เปิดใช้งานเมื่อ 4 กุมภาพันธ์  . .ค ศ  2004 ดำาเนินงานและมีเจ้าของคือ บริษัท เฟซบุ๊ก (Facebook, Inc.) จากข้อมูล 4 ตุลาคม 2555 เฟซบุ๊กมีผู้ใช้ประจำา พันล้าน กว่าบัญชี หรือคิดเป็นอัตราส่วน 1 ใน 7 ของคนทั้งโลก ผู้ใช้สามารถสร้างข้อมูลส่วน ตัว เพิ่มรายชื่อผู้ใช้อื่นในฐานะเพื่อนและ  แลกเปลี่ยนข้อความ รวมถึงได้รับแจ้งโดยทันทีเมื่อพวกเขาปรับปรุงข้อมูลส่วนตัว นอกจากนั้นผู้ใช้ยังสามารถร่วมกลุ่มความสนใจส่วนตัว จัดระบบตาม สถานที่ทำางาน โรงเรียน มหาวิทยาลัย หรือ อื่น ๆ ชื่อของเฟซบุ๊กนั้นมาจากชื่อเรียกภาษาปากของ สมุดที่ให้กับนักเรียนเมื่อเริ่มแรกเรียนในสถาบันอุดมศึกษา ที่มอบให้โดยคณะบริหาร มหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกา เพื่อช่วยให้นักเรียนสามารถรู้จักผู้อื่นได้ดีมากขึ้น เฟ ซบุ๊กอนุญาตให้ใครก็ได้เข้าสมัครลงทะเบียนกับเฟซบุ๊ก โดยต้องมีอายุมากกว่า 13 ปี ขึ้นไป
  • 13. 2.วิกิพีเดีย (wikipedia) เป็นโครงการสารานุกรม เสรี ซึ่งร่วมกันสร้างขึ้นโดยผู้ใช้วิกิพีเดีย เป็นเว็บไซต์แบบ พิเศษซึ่งได้รับการออกแบบมาเพื่อให้ลักษณะการร่วมมือ กันแก้ไขเป็นไปได้อย่างง่ายดาย ซึ่งเรียกว่า วิกิ มีหลาย คนร่วมปรับปรุงวิกิพีเดียอย่างสมำ่าเสมอ การเปลี่ยนแปลง ทั้งหมดนั้นจะถูกบันทึกไว้ในประวัติของหน้าและหน้า ปรับปรุงล่าสุด 2.วิกิพีเดีย (wikipedia) เป็นโครงการสารานุกรม เสรี ซึ่งร่วมกันสร้างขึ้นโดยผู้ใช้วิกิพีเดีย เป็นเว็บไซต์แบบ พิเศษซึ่งได้รับการออกแบบมาเพื่อให้ลักษณะการร่วมมือ กันแก้ไขเป็นไปได้อย่างง่ายดาย ซึ่งเรียกว่า วิกิ มีหลาย คนร่วมปรับปรุงวิกิพีเดียอย่างสมำ่าเสมอ การเปลี่ยนแปลง ทั้งหมดนั้นจะถูกบันทึกไว้ในประวัติของหน้าและหน้า ปรับปรุงล่าสุด
  • 14.            3.ทวิตเตอร์ (Twitter) เป็นบริการเครือ ข่ายสังคมออนไลน์จำาพวกไมโครบล็อก โดยผู้ใช้ สามารถส่งข้อความยาวไม่เกิน 140 ตัวอักษร ว่า ตัวเองกำาลังทำาอะไรอยู่ หรือ ทวีต (tweet - เสียง นกร้อง) ทวิตเตอร์ก่อตั้งขึ้นโดย แจ็ก คอร์ซีย์ ,บิซ สโตน และ อีวาน วิลเลียมส์ เจ้าของ บริษัท Obvious Corp ที่ซานฟรานซิส โก สหรัฐอเมริกา เมื่อเดือนมีนาคม ค.ศ. 2006   3.ทวิตเตอร์ (Twitter) เป็นบริการเครือ ข่ายสังคมออนไลน์จำาพวกไมโครบล็อก โดยผู้ใช้ สามารถส่งข้อความยาวไม่เกิน 140 ตัวอักษร ว่า ตัวเองกำาลังทำาอะไรอยู่ หรือ ทวีต (tweet - เสียง นกร้อง) ทวิตเตอร์ก่อตั้งขึ้นโดย แจ็ก คอร์ซีย์ ,บิซ สโตน และ อีวาน วิลเลียมส์ เจ้าของ บริษัท Obvious Corp ที่ซานฟรานซิส โก สหรัฐอเมริกา เมื่อเดือนมีนาคม ค.ศ. 2006
  • 15. 4.ยูทูบ ตามสำาเนียงอเมริกัน หรือ ยูทิวบ์ ตามสำาเนียง บริเตนเป็นเว็บไซต์ที่ให้ผู้ใช้งานสามารถอัปโหลดและแลก เปลี่ยนคลิปวิดีโอผ่านทางเว็บไซต์ ก่อตั้ง เมื่อ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548โดย แชด เฮอร์ลีย์, สตีฟ เชง และ ยาวีด คาริม อดีตพนักงานบริษัทเพย์พาล ใน ปัจจุบันยูทูบมีพนักงาน 67 คนและมีสำานักงานอยู่ที่ซานบรู โนในรัฐแคลิฟอร์เนีย ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ google   4.ยูทูบ ตามสำาเนียงอเมริกัน หรือ ยูทิวบ์ ตามสำาเนียง บริเตนเป็นเว็บไซต์ที่ให้ผู้ใช้งานสามารถอัปโหลดและแลก เปลี่ยนคลิปวิดีโอผ่านทางเว็บไซต์ ก่อตั้ง เมื่อ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548โดย แชด เฮอร์ลีย์, สตีฟ เชง และ ยาวีด คาริม อดีตพนักงานบริษัทเพย์พาล ใน ปัจจุบันยูทูบมีพนักงาน 67 คนและมีสำานักงานอยู่ที่ซานบรู โนในรัฐแคลิฟอร์เนีย ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ google  
  • 16. การค้นคว้าด้วยการ ใช้ Search Engine การค้นคว้าด้วยการ ใช้ Search Engine การใช้งานงานอินเทอร์เน็ตที่นิยมใช้กันอย่างมาก จะได้แก่การ เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ต่างๆ เพื่อหาความรู้ แต่การเข้าเยี่ยมชมนั้น ในกรณี ที่เรารู้ว่าเว็บไซต์เหล่านั้นมีชื่อว่าอะไร เนื้อหาของเว็บ มุ่งเน้นเกี่ยวกับสิ่ง ใด เราสาสามารถที่จะเข้าเยี่ยมชมได้ทันที่ แต่ในกรณีที่เราไม่ทราบชื่อ เว็บเหล่านั้น แต่เรามีความต้องการที่จะค้นหาเนื้อหาบางอย่าง มีวิธีการ จะเข้าสืบค้นข้อมูลได้ โดยการใช้ความสามารถของ Search Engine , Search Engine จะมีหน้าที่รวบรวมรายชื่อเว็บไซต์ต่างๆ เอาไว้ โดยจัด แยกเป็นหมวดหมู่ ผู้ใช้งานเพียงแต่ทราบหัวข้อที่ต้องการค้นหาแล้วป้อน คำาหรือข้อความของหัวข้อนั้นๆ ลงไปในช่องที่กำาหนด คลิกปุ่มค้นหา เท่านั้น ข้อมูลอย่างย่อๆ และรายชื่อเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องจะปรากฏให้เรา เข้าไปศึกษาเพิ่มเติมได้ทันที การใช้งานงานอินเทอร์เน็ตที่นิยมใช้กันอย่างมาก จะได้แก่การ เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ต่างๆ เพื่อหาความรู้ แต่การเข้าเยี่ยมชมนั้น ในกรณี ที่เรารู้ว่าเว็บไซต์เหล่านั้นมีชื่อว่าอะไร เนื้อหาของเว็บ มุ่งเน้นเกี่ยวกับสิ่ง ใด เราสาสามารถที่จะเข้าเยี่ยมชมได้ทันที่ แต่ในกรณีที่เราไม่ทราบชื่อ เว็บเหล่านั้น แต่เรามีความต้องการที่จะค้นหาเนื้อหาบางอย่าง มีวิธีการ จะเข้าสืบค้นข้อมูลได้ โดยการใช้ความสามารถของ Search Engine , Search Engine จะมีหน้าที่รวบรวมรายชื่อเว็บไซต์ต่างๆ เอาไว้ โดยจัด แยกเป็นหมวดหมู่ ผู้ใช้งานเพียงแต่ทราบหัวข้อที่ต้องการค้นหาแล้วป้อน คำาหรือข้อความของหัวข้อนั้นๆ ลงไปในช่องที่กำาหนด คลิกปุ่มค้นหา เท่านั้น ข้อมูลอย่างย่อๆ และรายชื่อเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องจะปรากฏให้เรา เข้าไปศึกษาเพิ่มเติมได้ทันที
  • 17. การใช้บริการอินเตอร์เน็ตใน การค้นหาข้อมูล การใช้บริการอินเตอร์เน็ตใน การค้นหาข้อมูล  การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ตควรดำาเนินการดังนี้ 1.กำาหนดวัตถุประสงค์การสืบค้น ผู้สืบค้นหรือผู้วิจัยที่จะนำาข้อมูล สารสนเทศไป ใช้ ควรตั้งวัตถุประสงค์การสืบค้นที่ชัดเจน ทำาให้สามารถกำาหนดขอบเขตของแหล่งข้อมูล สารสนเทศที่จะสืบค้นให้แคบลง กำาหนดประเภทของเครื่องมือหรือโปรแกรมสำาหรับการสืบค้น ทางอินเทอร์เน็ต ที่เรียกว่า search engine ให้เหมาะสม กำาหนดช่วงเวลาที่ข้อมูลสารสนเทศถูก สร้างขึ้น เช่น ช่วงปีที่ตีพิมพ์ของวารสารอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งนี้เพื่อให้ผลการสืบค้นมีปริมาณไม่มาก เกินไป มีความตรง (validity) ตามวัตถุประสงค์ และมีความน่าเชื่อถือ (reliability) มากที่สุดอีก ทั้งยังสามารถสืบค้นได้ผลในเวลาอันรวดเร็ว 2.ประเภทของข้อมูลสารสนเทศที่สามารถสืบค้นได้ ข้อมูลสารสนเทศที่ อยู่บน อินเทอร์เน็ตมีมากมายหลายประเภท มีลักษณะเป็นมัลติมีเดีย คือ มีทั้งที่เป็นข้อความ(text) ภาพ วาด (painting) ภาพเขียนหรือภาพลายเส้น (drawing) ภาพไดอะแกรม (diagram) ภาพถ่าย (photograph) เสียง(sound) เสียงสังเคราะห์ เช่น เสียงดนตรี (midi) ภาพยนตร์ (movie) ภาพเคลื่อนไหวอะนิเมชัน (animation) จากเทคโนโลยีการสืบค้นที่มีอยู่ในปัจจุบัน การสืบค้นที่ เร็วที่สุด มีประสิทธิภาพที่สุด และแพร่หลายที่สุด คือ การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศประเภทข้อความ สำาหรับการสืบค้นข้อมูลที่เป็นภาพ (pattern recognition) และเสียง ยังมีข้อจำากัดอยู่มาก ใช้ เวลานาน และยังไม่มีประสิทธิภาพ จึงยังไม่มีการสืบค้นข้อมูลประเภทอื่นๆ นอกจากประเภท ข้อความในการให้บริการการสืบค้นบนอินเทอร์เน็ต 3.การสืบค้นต้องอาศัยอุปกรณ์และความรู้ ก่อนที่ผู้สืบค้นจะสามารถ สืบค้น ข้อมูลสารสนเทศทางอินเทอร์เน็ตได้ ต้องมีการจัดเตรียมอุปกรณ์ดังต่อไปนี้ คือ เครื่อง คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ต่อเข้าอินเทอร์เน็ตซึ่งอาจเป็น modem ในกรณีที่ใช้คู่กับสายโทรศัพท์ หรือแผ่น LAN Card ในกรณีที่ใช้คู่กับระบบเครือข่ายที่ได้รับการติดตั้งไว้แล้ว ซอฟต์แวร์การ สื่อสาร (communication software) เช่น dial-up networking ในกรณีใช้ modem หรือ มีการติดตั้ง network protocol ที่เหมาะสมกับระบบเครือข่ายที่เครื่องคอมพิวเตอร์นั้นติดตั้งอยู่ และติดตั้ง network adapter ที่เหมาะสมสำาหรับ LAN Card นั้นๆ ต้องสมัครเป็นสมาชิกของ องค์การหรือบริษัทผู้ให้บริการ อินเทอร์เน็ต (internet service provider หรือ ISP) เพื่อเป็น ช่องทางออกสู่อินเทอร์เน็ต นอกจากอุปกรณ์ ต่างๆ ดังกล่าวข้างต้นแล้ว ยังต้องมีความรู้และทักษะ  การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ตควรดำาเนินการดังนี้ 1.กำาหนดวัตถุประสงค์การสืบค้น ผู้สืบค้นหรือผู้วิจัยที่จะนำาข้อมูล สารสนเทศไป ใช้ ควรตั้งวัตถุประสงค์การสืบค้นที่ชัดเจน ทำาให้สามารถกำาหนดขอบเขตของแหล่งข้อมูล สารสนเทศที่จะสืบค้นให้แคบลง กำาหนดประเภทของเครื่องมือหรือโปรแกรมสำาหรับการสืบค้น ทางอินเทอร์เน็ต ที่เรียกว่า search engine ให้เหมาะสม กำาหนดช่วงเวลาที่ข้อมูลสารสนเทศถูก สร้างขึ้น เช่น ช่วงปีที่ตีพิมพ์ของวารสารอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งนี้เพื่อให้ผลการสืบค้นมีปริมาณไม่มาก เกินไป มีความตรง (validity) ตามวัตถุประสงค์ และมีความน่าเชื่อถือ (reliability) มากที่สุดอีก ทั้งยังสามารถสืบค้นได้ผลในเวลาอันรวดเร็ว 2.ประเภทของข้อมูลสารสนเทศที่สามารถสืบค้นได้ ข้อมูลสารสนเทศที่ อยู่บน อินเทอร์เน็ตมีมากมายหลายประเภท มีลักษณะเป็นมัลติมีเดีย คือ มีทั้งที่เป็นข้อความ(text) ภาพ วาด (painting) ภาพเขียนหรือภาพลายเส้น (drawing) ภาพไดอะแกรม (diagram) ภาพถ่าย (photograph) เสียง(sound) เสียงสังเคราะห์ เช่น เสียงดนตรี (midi) ภาพยนตร์ (movie) ภาพเคลื่อนไหวอะนิเมชัน (animation) จากเทคโนโลยีการสืบค้นที่มีอยู่ในปัจจุบัน การสืบค้นที่ เร็วที่สุด มีประสิทธิภาพที่สุด และแพร่หลายที่สุด คือ การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศประเภทข้อความ สำาหรับการสืบค้นข้อมูลที่เป็นภาพ (pattern recognition) และเสียง ยังมีข้อจำากัดอยู่มาก ใช้ เวลานาน และยังไม่มีประสิทธิภาพ จึงยังไม่มีการสืบค้นข้อมูลประเภทอื่นๆ นอกจากประเภท ข้อความในการให้บริการการสืบค้นบนอินเทอร์เน็ต 3.การสืบค้นต้องอาศัยอุปกรณ์และความรู้ ก่อนที่ผู้สืบค้นจะสามารถ สืบค้น ข้อมูลสารสนเทศทางอินเทอร์เน็ตได้ ต้องมีการจัดเตรียมอุปกรณ์ดังต่อไปนี้ คือ เครื่อง คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ต่อเข้าอินเทอร์เน็ตซึ่งอาจเป็น modem ในกรณีที่ใช้คู่กับสายโทรศัพท์ หรือแผ่น LAN Card ในกรณีที่ใช้คู่กับระบบเครือข่ายที่ได้รับการติดตั้งไว้แล้ว ซอฟต์แวร์การ สื่อสาร (communication software) เช่น dial-up networking ในกรณีใช้ modem หรือ มีการติดตั้ง network protocol ที่เหมาะสมกับระบบเครือข่ายที่เครื่องคอมพิวเตอร์นั้นติดตั้งอยู่ และติดตั้ง network adapter ที่เหมาะสมสำาหรับ LAN Card นั้นๆ ต้องสมัครเป็นสมาชิกของ องค์การหรือบริษัทผู้ให้บริการ อินเทอร์เน็ต (internet service provider หรือ ISP) เพื่อเป็น ช่องทางออกสู่อินเทอร์เน็ต นอกจากอุปกรณ์ ต่างๆ ดังกล่าวข้างต้นแล้ว ยังต้องมีความรู้และทักษะ
  • 18. 4.บริการบนอินเทอร์เน็ต บริการบนอินเทอร์เน็ตที่ สามารถใช้ช่วยใน การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศมีมากมายหลายบริการ เช่น บริการเครือข่ายใยแมงมุมโลก หรือ Word-Wide-Web(WWW) บริการค้นหาข้อมูล Gopher บริการการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศผ่าน เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ค้นหาโปรแกรมใช้งาน archie นอกจากนี้ อาจ ใช้บริการสอบถามผ่านทาง e-mail หรือ chat กับผู้ใช้งานอินเทอร์ เน็ตอื่นๆ หรือสอบถามผ่าน news group หรือ group/thread discussion ก็ได้ เมื่อค้นได้ แหล่งข้อมูลแล้วอาจ download หรือ ถ่ายโอนข้อมูลที่สืบค้นได้โดยใช้บริการถ่ายโอนไฟล์ข้อมูลและ โปรแกรม (file transfer protocol หรือ FTP) โดยทั่วไปในปัจจุบัน การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศทางอินเทอร์เน็ต นิยมใช้โปรแกรม web browsers เช่น Internet Explorer หรือ Mozilla Firefox แล้ว เรียกใช้บริการ www ประกอบกับการใช้ search engine ซึ่งมีอยู่ มากมายบนอินเทอร์เน็ตในการสืบค้น เมื่อสืบค้นได้แล้ว โปรแกรม web browsers มักจะมีบริการ download ได้ทันทีโดยไม่ต้องอาศัย โปรแกรมอื่นๆเข้าช่วย 5.เครื่องมือหรือโปรแกรมสำาหรับการสืบค้น เครื่องมือ หรือโปรแกรม สำาหรับการสืบค้น (search engine) มีอยู่มากมายและ มีให้บริการอยู่ตาม เว็บไซต์ต่างๆ ที่ใช้บริการการสืบค้นข้อมูลโดย เฉพาะ การเลือกใช้นั้นขึ้นกับประเภทของข้อมูล สารสนเทศที่ต้องการ 4.บริการบนอินเทอร์เน็ต บริการบนอินเทอร์เน็ตที่ สามารถใช้ช่วยใน การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศมีมากมายหลายบริการ เช่น บริการเครือข่ายใยแมงมุมโลก หรือ Word-Wide-Web(WWW) บริการค้นหาข้อมูล Gopher บริการการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศผ่าน เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ค้นหาโปรแกรมใช้งาน archie นอกจากนี้ อาจ ใช้บริการสอบถามผ่านทาง e-mail หรือ chat กับผู้ใช้งานอินเทอร์ เน็ตอื่นๆ หรือสอบถามผ่าน news group หรือ group/thread discussion ก็ได้ เมื่อค้นได้ แหล่งข้อมูลแล้วอาจ download หรือ ถ่ายโอนข้อมูลที่สืบค้นได้โดยใช้บริการถ่ายโอนไฟล์ข้อมูลและ โปรแกรม (file transfer protocol หรือ FTP) โดยทั่วไปในปัจจุบัน การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศทางอินเทอร์เน็ต นิยมใช้โปรแกรม web browsers เช่น Internet Explorer หรือ Mozilla Firefox แล้ว เรียกใช้บริการ www ประกอบกับการใช้ search engine ซึ่งมีอยู่ มากมายบนอินเทอร์เน็ตในการสืบค้น เมื่อสืบค้นได้แล้ว โปรแกรม web browsers มักจะมีบริการ download ได้ทันทีโดยไม่ต้องอาศัย โปรแกรมอื่นๆเข้าช่วย 5.เครื่องมือหรือโปรแกรมสำาหรับการสืบค้น เครื่องมือ หรือโปรแกรม สำาหรับการสืบค้น (search engine) มีอยู่มากมายและ มีให้บริการอยู่ตาม เว็บไซต์ต่างๆ ที่ใช้บริการการสืบค้นข้อมูลโดย เฉพาะ การเลือกใช้นั้นขึ้นกับประเภทของข้อมูล สารสนเทศที่ต้องการ
  • 19. ผู้จัดทำา 1.นางสาวกานต์ธิดา ยิ้มย่อง เลขที่ 11 2.นางสาวนันทัชพร ภิรมย์รักษ์ เลขที่ 12 3.นางสาวนิศากร หงิมทิวา เลขที่ 13 4.นางสาวพัชรพรรณ ชงกุล เลขที่ 14 5.นางสาวจิราภา แซ่เตียว เลขที่ 15 6.นางสาวชลธิชา ศรีแดง เลขที่ 16