SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  5
Télécharger pour lire hors ligne
คน IT พบสื่อ: Digital Economy 
นายกสมาคม ATCI มีแนวทางในการนำ cloud มาใช้เป็นโครงสร้างพื้นฐานในส่วนที่เป็น application ใช้ 
แนวทางการทำงานร่วมกันหลายๆ สมาคม สำหรับคำว่า Digital Economy ควรจะต้องมาตกลงกันว่า concept คือ 
อะไร แล้วภาคอุตสาหกรรมต้องการอะไร จริงๆ แล้ว Digital Economy ไม่ใช่เรื่องใหม่ แต่ควรจะต้องทำความเข้าใจ 
ให้ตรงกันก่อนว่า Digital Economy เป็นเรื่องของการนำเทคโนโลยีมาใช้เสริมศักยภาพการทำงานให้มีประสิทธิภาพ 
เพิ่มขึ้นและช่วยลดต้นทุนการดำเนินงานของภาคธุรกิจ 
เป้าหมายของการประชุมวันนี้ 
การประชุมวันนี้จัดขึ้นเพื่อหารือและทำความเข้าใจ Digital Economy ให้ตรงกันในกลุ่มคนไอที รวมถึงการ 
กำหนดเป้าหมายและยุทธศาสตร์ โดยเบื้องต้นอาจจะต้องเริ่มจากคำนิยามก่อน จากนั้นรวบรวมประเด็นที่เกี่ยวข้อง 
และจัดทำเป็น concept paper เพื่อนำเสนอต่อภาครัฐที่มีอำนาจดำเนินการต่อไป การรวบรวมความคิดเห็นของ 
แต่ละสมาคมเป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์การดำเนินงานของวันนี้ และอาจจะไปขอความเห็นเพิ่มเติมจากสมาคมอื่นๆ ที่ 
เกี่ยวข้องที่ไม่ได้มาร่วมประชุม แล้วจึงมากำหนดเรื่องภาพใหญ่ของเศรษฐกิจดิจิทัลที่มีผลต่อภาคอุตสาหกรรม กรอบ 
ระยะเวลา และยุทธศาสตร์การดำเนินงานที่เหมาะสม ตลอดจนวิธีการทำงานของภาคเอกชนควบคู่ไปกับหน่วยงาน 
ภาครัฐต่อไปในอนาคต 
นิยามของ Digital Economy 
แนวทางของ Digital Economy มองว่าเป็นยุคของการใช้ดิจิทัลเข้ามาช่วยลดต้นทุน ตั้งแต่การทำ G2G, G2B 
หรือ G2C มองว่าภาครัฐตอนนี้ยังไม่มีการทำงานแบบ G2G เช่น การประมูลงานกับกระทรวงคมนาคม เอกชนยังต้อง 
ไปจดทะเบียนกับกระทรวงพาณิชย์แต่ตอนนี้ระบบยังไม่เชื่อมโยงกันระหว่างกระทรวงพาณิชย์กับกระทรวงคมนาคม 
หรือ ในกรณีของ G2B มีเรื่องของการทำภาษีขาย หรือ ในกรณีของ G2C มีเรื่องของการทำ mobile payment ให้กับ 
ภาคประชาชน ดังนั้น การทำ digital economy คือ ทำอย่างไรให้การบริการภาครัฐกับภาคส่วนต่างๆ มี 
ประสิทธิภาพและมีกลไกที่ทำงานได้จริง ทำอย่างไรให้ภาครัฐมีโครงสร้างพื้นฐาน และ application ที่ตอบโจทย์ของ 
ภาคเอกชนได้ 
Digital Economy ประกอบไปด้วย 3 ส่วนที่สำคัญ คือ Digitized Government, Digitized Enterprise 
และ Digitized Citizen เช่น การแก้ปัญหาคอร์รัปชั่นหากมีการทำ open data ของหน่วยงานภาครัฐผ่านระบบ 
ออนไลน์ จะทำให้การดำเนินงานมีความโปร่งใสมากขึ้น ปัจจุบันในส่วนของภาคประชาชนมีการใช้ไอทีมากอยู่แล้วไม่ 
ว่าจะเป็นเฟซบุ๊คหรือโมบายแอพพลิเคชั่น แต่สำหรับการทำ digitize enterprise ถือเป็นเรื่องใหญ่ เพราะปัจจุบัน 
ภาคธุรกิจจำนวนมากยังไม่ค่อยมีการใช้งานไอที โดยเฉพาะธุรกิจ SMEs ดังนั้น การส่งเสริมและเชื่อมโยงระบบ 
supply chain ของประเทศจึงยังไม่เกิดขึ้นเป็นรูปธรรม ภาคเอกชนอยากเห็นการ shift paradigm ของบริษัทขนาด 
ใหญ่และขนาดเล็ก ไปจนถึงธุรกิจเล็กมากๆ อย่าง OTOP ให้เข้ามารวมเป็น supply chain เดียวกัน ซึ่งจะส่งผลให้ 
ประเทศไทยหลุดออกจาก middle income trap ได้ 
เมื่อพิจารณาบริบทของการพัฒนาประเทศในภาพใหญ่ พบว่า การพัฒนาเศรษฐกิจอุตสาหกรรมและบริการ 
การของโลก มีพัฒนาการจากสังคมเกษตรไปสู่สังคมอุตสาหกรรมไปสู่สังคมบริการและไปสู่สังคมการเรียนรู้ ซึี่งเป็น
เศรษฐกิจดิจิทัลอย่างแท้จริง ประเทศที่พัฒนาแล้วสัดส่วนของ GDP ของภาคบริการเฉลี่ยประมาณ 70% ประเทศ 
กำลังพัฒนา GDP สัดส่วนของภาคบริการอยู่ระหว่าง 60% ของประเทศไทยสัดส่วนอยู่ทีี่ประมาณ 52% แต่ 
พัฒนาการนี้เป็นเพียงจุดเริ่มต้นของเศรษฐกิจดิจิทัลเท่านั้น เพราะเศรษฐกิจดิจิทัล คือ เศรษฐกิจที่ใช้ความรู้เป็นหลัก 
และมีการแบ่งปันความรู้โดยใช้ ICT เป็นพื้นฐาน ถ้าหากประเทศไทยต้องการก้าวพ้นจาก middle income trap เรา 
ต้องมองเรื่องของการนำความรู้มาใช้ต่อยอดทางธุรกิจให้กลายเป็น new business ไม่ใช่มองแค่ ICT จะไปเพิ่มการส่ง 
ออกหรือเพิ่ม GDP ได้อย่างไร ถ้าภาครัฐมองแค่นี้ก็ไม่สามารถทำเศรษฐกิจดิจิทัลได้ ต้องมองไปเรื่องของอนาคตที่มี 
การเพิ่มการจ้างงานหรือลดความเหลื่อมล้ำของรายได้บนพื้นฐานของ knowledge based economy ที่ให้บริการใน 
ลักษณะที่เป็น high value service ในทุก sector เช่น การท่องเที่ยว การแพทย์ โลจิสติกส์ เกษตร เป็นต้น 
Service Structure 
Logistics 
& 
Transport 
50% 
Others 
50% 
IT 
Services 
eGov 
Healthcare 
Travel 
โครงสร้างภาคบริการของโลกปี 2010 บริการไอทีมีมูลค่าประมาณ 2% ของบริการอื่นๆ (others 50%) หรือ 
คิดเป็นมูลค่า 6 แสนล้านดอลล่าร์ คำถามคือประเทศไทยสามารถมีส่วนแบ่งใน 2% นั้นได้หรือไม่ ถ้าจะทำให้ได้ต้องเต 
รียมความพร้อมอะไรบ้าง ดังนั้น ต้องย้อนกลับมาดูว่าประเทศไทยเก่งเรื่องอะไร แล้วจะเอาบริการไอทีไปเสริมอะไรก็ 
จะสามารถออกจาก middle income trap ได้ 
นอกจากจะมองว่าจะสร้างเศรษฐกิจดิจิทัลอย่างไร ในปัจจุบันเราอาจจะต้องคิดในมุมกลับด้วยว่า ประเทศไทย 
จะ survive อย่างไรในเศรษฐกิจดิจิทัล เพราะยุคดิจิทัลมาถึงแล้วและประเทศไทยเป็นเพียงผู้ตามกระแสของดิจิทัลไม่ 
ได้เป็นผู้สร้างเทคโนโลยี เราจะปรับตัวอย่างไรกับกระแสของเทคโนโลยีเป็นโจทย์ที่สำคัญมาก ประเด็นคือต้องมีการจัด 
ระเบียบ สร้างความโปร่งใส เพิ่ม mobility & automation สร้างระบบเพื่อบริหารจัดการเตรียมพร้อมเข้าสู่ยุค 
digital economy เราไม่ได้สร้างใหม่แต่ดูว่าจะอยู่กับมันอย่างไร IT เป็นแค่เครื่องมือช่วยสนับสนุนในด้านต่างๆ ให้เรา 
สามารถอยู่รอดได้ในยุคดิจิทัล 
ประเด็นเรื่องเป้าหมาย 
บางประเทศไม่สนใจเศรษฐกิจดิจิทัล บางประเทศใช้แบบผสมผสาน เช่น ฝรั่งเศสมีการ digitize บางส่วนที่ 
ตอบโจทย์เศรษฐกิจของประเทศ เช่น อุตสาหกรรมน้ำหอม ขณะที่ประเทศอินเดียมีการทำ digitize เต็่มตัว ประเทศ 
ไต้หวัน digitize เป็น semiconductor country ประเทศไทยยังไม่มีเป้าหมายว่าเราจะ digitize หรือแค่เกาะกระแส 
เพื่ออยู่รอด เช่น เอา digital มาเสริมภาคเกษตร เสริมการท่องเที่ยว หรือ จะไปทำ digitize เต็มตัวอย่างไต้หวันและ 
อินเดีย แล้วอุตสาหกรรมอะไรที่ตั้งเป้าว่าควรจะเป็นอุตสาหกรรมที่เป็นเป้าหมายหลักของประเทศ ถ้ามีเป้าหมายที่จะ
digitized มากเกินไปจะทำให้ไม่ประสบผลสำเร็จ บทเรียนของต่างประเทศเกือบทุกประเทศต่างเลือกอุตสาหกรรมใด 
อุตสาหกรรมหนึ่งที่ตั้งเป้าหมายว่าจะเป็นดิจิทัลจริงจัง เช่น ประเทศเกาหลีตั้งเป้าเรื่อง digital content ประเทศ 
ไต้หวันตั้งเป้าเรื่อง semiconductor เป็นต้น 
ในประเด็นเรื่องของเป้าหมาย อาจต้องตกลงกันก่อนว่าเป็นการมองเป้าหมายของกรอบคนไอทีที่จะตอบรับ 
เศรษฐกิจดิจิทัล หรือ มองในกรอบภาคส่วนอื่นๆ ที่จะเอาไอทีไปต่อยอด หรือ จะมองในลักษณะของการเป็น 
integrator ที่ผ่านมาประเทศไทยเป็น user มากกว่าเป็นคน supply เช่น อุปกรณ์เกือบหมดใช้ของต่างประเทศ 
บริการหลายๆ อย่างก็ใช้ของต่างประเทศ อาจจะตั้งเป้าหมายว่าลดการใช้สินค้าและบริการจากต่างประเทศก่อน หรือ 
ตั้งเป้าว่าจะต้องพัฒนาบุคลากรก่อน (เท่าไหร่จึงจะพอ) ตอนนี้เรามี internet penetration เกือบครึ่ง แต่ไปกระจุก 
อยู่ในเมือง ยังไม่ได้กระจายเครือข่ายให้ครอบคลุม ในเรื่องของภาครัฐอาจจะต้องช่วยคิดว่าจะให้รัฐไปเพิ่มบริการ 
ออนไลน์ให้กับประชาชนมากกว่านี้ได้หรือไม่ (application ที่เป็นที่ต้องการของประชาชนที่อยากให้ภาครัฐทำมีอะไร 
บ้าง ใครเป็นคนทำ คนไอทีพร้อมหรือยังหากภาครัฐโยนโจทย์มาให้ทำ) สุดท้ายจะต้องกลับมาดูเรื่องของโครงสร้างพื่้น 
ฐานว่าประเทศไทยมีความพร้อมหรือไม่ critical infrastructure มีความสำคัญและจะออกแบบอย่างไรให้โครงสร้าง 
พื้นฐานมีความมั่นคงปลอดภัย และมีเสถียรภาพ 
อยากให้เป้าหมายมีความชัดเจน เช่น อีก 10 ปีอยากให้มีบริษัท IT ไทยเติบโตเท่าไหร่ อยากให้มีบริษัททาง 
ด้าน IT ที่มีมูลค่า 1000-5000 ล้านบาท (ประมาณ 20 บริษัท) ลดต้นทุนการบริหารงานด้วย IT, ให้ประเทศไทยมี 
ดัชนีติด 1 ใน 10 ใน IMD หรือ WEF หรือ อีก 6 ปีผลิตบุคลากรเพิ่มขึ้น 40% แต่ปัจจุบัน SME ไทยยังไม่รู้จักการใช้ 
IT เลยเราจะเอาเรื่อง big data และ data scientist มาใช้อย่างไร เมืองไทยมีบุคลากรด้านนี้หรือไม่ น่าจะต้องทำเป็น 
ขั้นตอนอาจจะคุยกันวันเดียวไม่จบ 
การทำดิจิทัลต้องมีเรื่องของ enabler ที่จำเป็นและต้องมีการเปลี่ยน mindset ของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง 
หากมอง enabler ทางด้าน policy จะทำอย่างไรให้ทุกกระทรวงผลักดันให้มีนโยบายดิจิทัลของตัวเองเพื่อตอบโจทย์ 
digital economy จากนั้นเรามีช่องว่างของ rules & regulation อะไรบ้างที่ไม่ได้ช่วย enabler แต่เป็นอุปสรรคของ 
เศรษฐกิจดิจิทัล จากนั้นไปดูเรื่องของ integration จะทำให้แต่ละภาคส่วนแต่ละระบบเชื่อมโยงกันได้อย่างไร ต้อง 
สร้าง integrator ภายใต้กล่องเดียวกัน ทางฝั่งของผู้ประกอบการเองจะหาบริษัทใหญ่ไม่ง่ายแต่มีบริษัทเล็กเยอะมาก 
ซึ่งบริษัทเล็กๆ ไม่มีเรื่องของงานวิจัย ทำอย่างไรให้ SMEs ต่อยอดได้ ทำอย่างไรให้ธุรกิจกับผู้ที่ enabler มาคุยกัน 
อย่างจริงจังแล้วมีหน่วยงาน R&D มาสร้าง enabler ให้ภาคธุรกิจเอาไปต่อยอดเพื่อพัฒนาธุรกิจ จะทำเรื่อง standard 
อย่างไรในเรื่องของ data เพราะแต่ละหน่วยงานมาตรฐานข้อมูลไม่ตรงกัน สุดท้ายต้องมี enabler เรื่อง security 
policy ความเป็นส่วนตัวของการใช้ข้อมูลไม่มี ไม่มีตัวแทนประเทศไทยไปต่อรองกับ google หรือ facebook ใน 
เงื่อนไขการใช้งาน ต้องกลับมามองว่าจุดแข็งของประเทศไทยคืออะไร เช่น ต้องการให้ท่องเที่ยวออนไลน์ทั้งระบบ 
เชื่อมกับสถานที่ท่องเที่ยว (ทำเป็น flagship) เราอาจจะไม่ได้มองว่าจะต้องใช้เฉพาะของไทย อาจจะใช้ของต่างชาติมา 
shortcut อุตสาหกรรมเกษตร ยานยนต์ โลจิสติกส์ ตั้งเป้าหมายให้กลุ่มพวกนี้เป็น pilot ก่อน ขณะที่เรื่องขนาดธุรกิจ 
ก็เป็นเรื่องสำคัญมากต้องสร้าง national IT enterprise ของประเทศขึ้นมาก่อนหรือเปล่า 
ประเทศไทยไม่ได้มีการตั้งธงไว้ว่าทิศทาง เป้าหมายของประเทศที่ตั้งใจจะไปเป็นอย่างไร ไปทางไหน ไม่มี 
พิมพ์เขียวจริงจัง ดังนั้น ในเรื่องของเป้าหมายเสนอให้มีเรื่องการสร้าง KPI Enabler ของประเทศด้วยว่าประเทศไทย 
ต้องการอะไร และอะไรที่เป็น strategic goal จริงๆ สมมติว่าไทยอยากจะเป็น medical service ก็มาดูว่าขาดอะไร 
แล้วเสริมตรงนั้น สร้างเครื่องมือเข้ามาเสริมกับภาคธุรกิจ ควรจะคิดเป็น solution แล้วเสนอทีเดียวเลย ตั้ง KPI ให้ชัด 
และเป็น KPI ที่ตั้งแล้วทำได้เลย 
Thailand startup association เสนอเป้าหมายการนำ IT มาเพิ่ม productivity ของธุรกิจเกิดใหม่ใน 3 
เรื่อง คือ การลด regulation, incentive ภาษี, ช่องทางการระดมทุนและการรับทุน นอกจากนี้ ต้องมี vision ให้ 
ชัดเจน สรุปเป้าของสมาคมฯ mission จะแค่พยายาม survive หรือ พอเกาะกระแส หรือ จะเป็น leader
อย่างไรก็ตาม ที่ประชุมเห็นตรงกันว่าประเด็น digital economy ในวันนี้ไม่สามารถมองแค่การนำ IT มาใช้ 
ประโยชน์กับคนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง แต่ต้องมองภาพของประเทศไทย ที่มีช่องว่างระหว่างคนในเมืองกับคนในต่างจังหวัด 
เราจะ shortcut หรือไม่ ทำได้อย่างไรเพราะเป็นเรื่องของประเทศไม่ใช่คนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ในระยะยาวเราจะมีปัญหา 
โครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งตอนนี้เราต้องมองเรื่องของปัญหาโครงสร้างพื้นฐานก่อน การคุยเรื่องของประเทศถ้าไม่มีภาพใหญ่ 
เป็นกรอบแนวคิด จะทำให้เป็นลักษณะต่างคนต่างทำเหมือนปัจจุบัน ซึ่งไม่ได้ประโยชน์อะไร แต่ต้องมองว่าจะผลักดัน 
งานของตัวเองภายใต้กรอบใหญ่เดียวกันอย่างไร การประชุมวันนี้อาจจะยังไม่ได้ KPI ที่ชัดเจนแต่ต้องเอากรอบแนวคิด 
ก่อนที่เป็นแกนให้ทุกกระทรวงทุกหน่วยงานทุกบริษัทเอาไปปฏิบัติได้ 
สิ่งที่ภาคเอกชนจะทำควรจะมองภาพใหญ่ของประเทศ KPI ควรจะเป็นเรื่อง ICT ไม่ใช่เศรษฐกิจ อาจจะต้อง 
ไปดูเรื่องสังคมเพิ่มขึ้น รวมถึงผู้ประกอบการที่เป็นผู้ใช้ (เช่น คนที่ซื้อซอฟต์แวร์ไปใช้ต่อ) นอกจากนี้ ต้องมีเรื่องของ 
กลไกการขับเคลื่อนอย่างกองทุน หรือ การปรับปรุงกติกาเงื่อนไขที่เป็นปัญหาอุปสรรคอยู่ในปัจจุบัน ตลอดจนต้องมา 
ช่วยกันคิดว่าเป้าหมายภาพใหญ่ระดับประเทศคืออะไร อาจะต้องนำเสนอกรอบโครงสร้างการทำงานที่มีภาคเอกชน 
เข้าไปร่วม หรือ อาจจะต้องมีการฟอร์มเป็นตัวแทนของภาคเอกชนไปทำงานกับคณะกรรมการชุดใหญ่ เรื่องของ 
process ที่แตกต่างกันของแต่ละหน่วยงาน เรืื่องของกฎหมาย กฎระเบียบ ให้สภาไอซีทีทำงานเป็น task force ร่วม 
กับภาครัฐ เป็นต้น 
สรุปเป้าหมายของเศรษฐกิจดิจิทัล 
เป้าหมายเชิงนโยบายอาจมองได้ 6 ส่วนหลักๆ คือ 1) การนำ IT ไปใช้ enabler ในแต่ละภาคส่วน เช่น 
eGov, e-health, e-citizen, e-social, e-tourism 2) การปรับปรุงกฎหมาย กฎระเบียบ ที่มาตอบโจทย์การ 
enabler ที่กำลังจะทำให้เกิดขึ้น (อาจจะต้องมีหน่วยงานหลักและผลักดันอย่างจริงจัง) 3) integrator ประสานแต่ละ 
enabler ด้วยกันและทำให้ภาพค่อยๆ ใหญ่ขึ้น 4) technology ทำตั้งแต่ R&D จนไปต่อยอดเชิงพาณิชย์ ทำฐาน 
ข้อมูลกลางสำหรับเอกชนดึงไปใช้ต่อยอดเชิงธุรกิจ 5) Standardization จะเอามาตรฐานอย่างไรในเรื่องของ SLA 
และ information exchange 6) security ภายในประเทศ เงื่อนไขนโยบายเชิงกฎหมาย กฎระเบียบ เช่น การ 
คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล 
นอกจากนี้ อาจจะมีเป้าหมายอื่นๆ เพิ่มเติม เช่น การบริการของภาครัฐ เช่น การเชื่อมโยงฐานข้อมูลภาครัฐ 
การเปิดเผยข้อมูล (open data) เป็นต้น การตั้งกองทุน 10,000 ล้านบาท เพื่อสนับสนุนภาคธุรกิจที่มีการนำ IT มา 
เสริมศักยภาพ และการปรับปรุงกฎหมาย กฎระเบียบ ที่เป็นอุปสรรคกับการเติบโตของเศรษฐกิจดิจิทัล 
ยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนเศรษฐกิจดิจิทัล 
1. ยุคดิจิทัลต้องมองบริบทที่ใหญ่กว่ากระทรวงหรือหน่วยงานภาครัฐ กระทรวง ICT ทำหน้าที่เป็น enabler 
ในการนำ ICT ไปประยุกต์ใช้ ควรจะต้องมีนายกสารสนเทศ (CIO) ที่เป็นคนกลาง enabler ให้กับภาคส่วนต่างๆ ของ 
ประเทศ ต้องรู้วิธีการจัดการเรื่องต่างๆ โดยการประยุกต์ใช้ดิิจิทัล เดิมแต่ละกระทรวงฯ มีงบไอทีของตัวเอง และแยก 
ส่วนกันดำเนินงาน ไม่ได้ทำงานร่วมกัน เช่น การทำพาสปอร์ต กับระบบบัตรประชาชน หรือบัตรประกันสุขภาพ ไม่มี 
การบูรณาการข้อมูลร่วมกันระหว่างหน่วยงาน ทำให้เสียเวลามากกับเรื่องของการขอรับบริการภาครัฐ 
2. ทำเรื่องของมาตรฐานกลางที่สามารถเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชนได้อย่างมี 
ประสิทธิภาพ เช่น มาตรฐานกลางเชื่อมต่อข้อมูลภาคเอกชน (front end, back end middleware & API) และ 
มาตรฐานกลางเชื่อมต่อข้อมูลภาครัฐ (middleware & API)
3. การสร้าง demand ฝั่งผู้ใช้อาจจะต้องเริ่มเป็น cluster สร้างทีละ cluster ให้เห็นผลก่อน แล้วค่อยขยาย 
cluster ไปเรื่อยๆ เช่น ท่องเที่ยว โลจิสติกส์ การแพทย์ 
4. ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนควรจะครอบคลุมทุกบริบท ได้แก่ 1. strategy 2. เชิงนโยบาย และ 3.เชิง 
กฎหมายที่จะต้องเปลี่ยนแปลง 4.เศรษฐกิจ 5.แพลตฟอร์ม cloud, mobility, social security 6.การสร้างคน และ 
7.international trade หรือ การใช้ประโยชน์จากการค้าระหว่างประเทศ 
การประชุมครั้งต่อไป 
ประชุมครั้งต่อไปเรื่องการจัดทำกรอบแนวคิด หรือ โครงสร้างของแต่ละสมาคม เพื่อมารวมกันเป็นภาพใหญ่ 
ของ ICT ที่เป็นรูปธรรม 
ประชุมครั้งต่อไปวันจันทร์ที่ 20 ตึกเอ็มไพร์ A ชั้น 31 (บริษัท tarad)

Contenu connexe

Tendances

แนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformationแนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformationIMC Institute
 
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยSoftware Park Thailand
 
Slide งานแถลงข่าวของ IMC Institute และ Optimus (Thailand) เรื่อง IT Trends 2018
Slide  งานแถลงข่าวของ IMC Institute และ Optimus (Thailand) เรื่อง IT Trends 2018Slide  งานแถลงข่าวของ IMC Institute และ Optimus (Thailand) เรื่อง IT Trends 2018
Slide งานแถลงข่าวของ IMC Institute และ Optimus (Thailand) เรื่อง IT Trends 2018IMC Institute
 
มูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรม
มูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรมมูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรม
มูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรมIMC Institute
 
Thailand 4.0 Reality or Hype
Thailand 4.0 Reality or HypeThailand 4.0 Reality or Hype
Thailand 4.0 Reality or HypeIMC Institute
 
คู่มือส่งเสริมความรู้การทำธุรกิจไปสู่เศรษฐกิจดิจิทัล (e-Business)
คู่มือส่งเสริมความรู้การทำธุรกิจไปสู่เศรษฐกิจดิจิทัล (e-Business)คู่มือส่งเสริมความรู้การทำธุรกิจไปสู่เศรษฐกิจดิจิทัล (e-Business)
คู่มือส่งเสริมความรู้การทำธุรกิจไปสู่เศรษฐกิจดิจิทัล (e-Business)wonvisa
 
นิตยสาร Digital Trends ฉบับที่ 14
นิตยสาร Digital Trends ฉบับที่ 14นิตยสาร Digital Trends ฉบับที่ 14
นิตยสาร Digital Trends ฉบับที่ 14IMC Institute
 
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยSoftware Park Thailand
 
The Power of Big Data for a new economy (Sample)
The Power of Big Data for a new economy (Sample)The Power of Big Data for a new economy (Sample)
The Power of Big Data for a new economy (Sample)IMC Institute
 

Tendances (10)

แนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformationแนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformation
 
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
 
Slide งานแถลงข่าวของ IMC Institute และ Optimus (Thailand) เรื่อง IT Trends 2018
Slide  งานแถลงข่าวของ IMC Institute และ Optimus (Thailand) เรื่อง IT Trends 2018Slide  งานแถลงข่าวของ IMC Institute และ Optimus (Thailand) เรื่อง IT Trends 2018
Slide งานแถลงข่าวของ IMC Institute และ Optimus (Thailand) เรื่อง IT Trends 2018
 
มูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรม
มูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรมมูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรม
มูลค่าตลาดดิจิทัลไทย 3 อุตสาหกรรม
 
Thailand 4.0 Reality or Hype
Thailand 4.0 Reality or HypeThailand 4.0 Reality or Hype
Thailand 4.0 Reality or Hype
 
คู่มือส่งเสริมความรู้การทำธุรกิจไปสู่เศรษฐกิจดิจิทัล (e-Business)
คู่มือส่งเสริมความรู้การทำธุรกิจไปสู่เศรษฐกิจดิจิทัล (e-Business)คู่มือส่งเสริมความรู้การทำธุรกิจไปสู่เศรษฐกิจดิจิทัล (e-Business)
คู่มือส่งเสริมความรู้การทำธุรกิจไปสู่เศรษฐกิจดิจิทัล (e-Business)
 
Etda Annual Report 2019
Etda Annual Report 2019Etda Annual Report 2019
Etda Annual Report 2019
 
นิตยสาร Digital Trends ฉบับที่ 14
นิตยสาร Digital Trends ฉบับที่ 14นิตยสาร Digital Trends ฉบับที่ 14
นิตยสาร Digital Trends ฉบับที่ 14
 
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
 
The Power of Big Data for a new economy (Sample)
The Power of Big Data for a new economy (Sample)The Power of Big Data for a new economy (Sample)
The Power of Big Data for a new economy (Sample)
 

Similaire à สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy

Digital Transformation Presentation by TOT's CEO
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO Digital Transformation Presentation by TOT's CEO
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO Tanya Sattaya-aphitan
 
M agro october 26, chapter 1 and 2 r2
M agro october 26, chapter 1 and 2 r2M agro october 26, chapter 1 and 2 r2
M agro october 26, chapter 1 and 2 r2siroros
 
IMC Institute Press release in Thai
IMC Institute Press release in ThaiIMC Institute Press release in Thai
IMC Institute Press release in ThaiIMC Institute
 
MWA Innovation and R&D 17012023
MWA Innovation and R&D 17012023MWA Innovation and R&D 17012023
MWA Innovation and R&D 17012023pantapong
 
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010ICT2020
 
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กร
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กรการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กร
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กรSoftware Park Thailand
 
Big Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Big Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณBig Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Big Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณSettapong Malisuwan
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมjeabjeabloei
 
306325 unit1-overview-of-ec
306325 unit1-overview-of-ec306325 unit1-overview-of-ec
306325 unit1-overview-of-ecpop Jaturong
 
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)Totsaporn Inthanin
 
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย Thanachart Numnonda
 
แนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformationแนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformationIMC Institute
 
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไรAec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไรUtai Sukviwatsirikul
 
Interview Dip.go.th นิตยสารอุตสาหกรรมสาร
Interview Dip.go.th นิตยสารอุตสาหกรรมสารInterview Dip.go.th นิตยสารอุตสาหกรรมสาร
Interview Dip.go.th นิตยสารอุตสาหกรรมสารPawoot (Pom) Pongvitayapanu
 

Similaire à สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy (20)

Digital Transformation Presentation by TOT's CEO
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO Digital Transformation Presentation by TOT's CEO
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO
 
Smart industry vol32
Smart industry vol32 Smart industry vol32
Smart industry vol32
 
M agro october 26, chapter 1 and 2 r2
M agro october 26, chapter 1 and 2 r2M agro october 26, chapter 1 and 2 r2
M agro october 26, chapter 1 and 2 r2
 
IMC Institute Press release in Thai
IMC Institute Press release in ThaiIMC Institute Press release in Thai
IMC Institute Press release in Thai
 
Digital Transformation
Digital TransformationDigital Transformation
Digital Transformation
 
MWA Innovation and R&D 17012023
MWA Innovation and R&D 17012023MWA Innovation and R&D 17012023
MWA Innovation and R&D 17012023
 
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
Draft1_ICT2020_for_PublicHearing_Aug2010
 
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กร
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กรการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กร
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กร
 
Big Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Big Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณBig Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Big Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
 
306325 unit1-overview-of-ec
306325 unit1-overview-of-ec306325 unit1-overview-of-ec
306325 unit1-overview-of-ec
 
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2559 2561)
 
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
 
5 ภาครัฐดิจิทัล เพื่ออนาคตประเทศไทย
5 ภาครัฐดิจิทัล เพื่ออนาคตประเทศไทย5 ภาครัฐดิจิทัล เพื่ออนาคตประเทศไทย
5 ภาครัฐดิจิทัล เพื่ออนาคตประเทศไทย
 
แนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformationแนวทางการทำ Digital transformation
แนวทางการทำ Digital transformation
 
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไรAec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
 
200809026 Thai E Commerce Government
200809026 Thai E Commerce Government200809026 Thai E Commerce Government
200809026 Thai E Commerce Government
 
Interview Dip.go.th นิตยสารอุตสาหกรรมสาร
Interview Dip.go.th นิตยสารอุตสาหกรรมสารInterview Dip.go.th นิตยสารอุตสาหกรรมสาร
Interview Dip.go.th นิตยสารอุตสาหกรรมสาร
 
Wrap Up and Closing Remark
Wrap Up and Closing RemarkWrap Up and Closing Remark
Wrap Up and Closing Remark
 
It
ItIt
It
 

Plus de IMC Institute

Digital trends Vol 4 No. 13 Sep-Dec 2019
Digital trends Vol 4 No. 13  Sep-Dec 2019Digital trends Vol 4 No. 13  Sep-Dec 2019
Digital trends Vol 4 No. 13 Sep-Dec 2019IMC Institute
 
IT Trends eMagazine Vol 4. No.12
IT Trends eMagazine  Vol 4. No.12IT Trends eMagazine  Vol 4. No.12
IT Trends eMagazine Vol 4. No.12IMC Institute
 
เพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital Transformation
เพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital Transformationเพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital Transformation
เพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital TransformationIMC Institute
 
IT Trends eMagazine Vol 4. No.11
IT Trends eMagazine  Vol 4. No.11IT Trends eMagazine  Vol 4. No.11
IT Trends eMagazine Vol 4. No.11IMC Institute
 
บทความ The New Silicon Valley
บทความ The New Silicon Valleyบทความ The New Silicon Valley
บทความ The New Silicon ValleyIMC Institute
 
นิตยสาร IT Trends ของ IMC Institute ฉบับที่ 10
นิตยสาร IT Trends ของ  IMC Institute  ฉบับที่ 10นิตยสาร IT Trends ของ  IMC Institute  ฉบับที่ 10
นิตยสาร IT Trends ของ IMC Institute ฉบับที่ 10IMC Institute
 
บทความ Robotics แนวโน้มใหม่สู่บริการเฉพาะทาง
บทความ Robotics แนวโน้มใหม่สู่บริการเฉพาะทาง บทความ Robotics แนวโน้มใหม่สู่บริการเฉพาะทาง
บทความ Robotics แนวโน้มใหม่สู่บริการเฉพาะทาง IMC Institute
 
Developing Business Blockchain Applications on Hyperledger
Developing Business  Blockchain Applications on Hyperledger Developing Business  Blockchain Applications on Hyperledger
Developing Business Blockchain Applications on Hyperledger IMC Institute
 
บทความ Big Data จากบล็อก thanachart.org
บทความ Big Data จากบล็อก thanachart.orgบทความ Big Data จากบล็อก thanachart.org
บทความ Big Data จากบล็อก thanachart.orgIMC Institute
 
Anime recommendation (Big Data Certification#6)
Anime recommendation (Big Data Certification#6)Anime recommendation (Big Data Certification#6)
Anime recommendation (Big Data Certification#6)IMC Institute
 
Telecom Churn analysis (Big Data Certification#6)
Telecom Churn analysis (Big Data Certification#6)Telecom Churn analysis (Big Data Certification#6)
Telecom Churn analysis (Big Data Certification#6)IMC Institute
 
Crime project (Big Data Certification Course #6)
Crime project (Big Data Certification Course #6)Crime project (Big Data Certification Course #6)
Crime project (Big Data Certification Course #6)IMC Institute
 
จัดเตรียมข้อมูลอย่างไรให้เหมาะกับ Machine Learning
จัดเตรียมข้อมูลอย่างไรให้เหมาะกับ Machine Learningจัดเตรียมข้อมูลอย่างไรให้เหมาะกับ Machine Learning
จัดเตรียมข้อมูลอย่างไรให้เหมาะกับ Machine LearningIMC Institute
 
การ์ทเนอร์ คาดการณ์แนวโน้ม 10 Technology 2018
การ์ทเนอร์ คาดการณ์แนวโน้ม  10 Technology 2018การ์ทเนอร์ คาดการณ์แนวโน้ม  10 Technology 2018
การ์ทเนอร์ คาดการณ์แนวโน้ม 10 Technology 2018IMC Institute
 
Thailand IT Trends 2018
Thailand  IT Trends 2018Thailand  IT Trends 2018
Thailand IT Trends 2018IMC Institute
 

Plus de IMC Institute (15)

Digital trends Vol 4 No. 13 Sep-Dec 2019
Digital trends Vol 4 No. 13  Sep-Dec 2019Digital trends Vol 4 No. 13  Sep-Dec 2019
Digital trends Vol 4 No. 13 Sep-Dec 2019
 
IT Trends eMagazine Vol 4. No.12
IT Trends eMagazine  Vol 4. No.12IT Trends eMagazine  Vol 4. No.12
IT Trends eMagazine Vol 4. No.12
 
เพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital Transformation
เพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital Transformationเพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital Transformation
เพราะเหตุใด Digitization ไม่ตอบโจทย์ Digital Transformation
 
IT Trends eMagazine Vol 4. No.11
IT Trends eMagazine  Vol 4. No.11IT Trends eMagazine  Vol 4. No.11
IT Trends eMagazine Vol 4. No.11
 
บทความ The New Silicon Valley
บทความ The New Silicon Valleyบทความ The New Silicon Valley
บทความ The New Silicon Valley
 
นิตยสาร IT Trends ของ IMC Institute ฉบับที่ 10
นิตยสาร IT Trends ของ  IMC Institute  ฉบับที่ 10นิตยสาร IT Trends ของ  IMC Institute  ฉบับที่ 10
นิตยสาร IT Trends ของ IMC Institute ฉบับที่ 10
 
บทความ Robotics แนวโน้มใหม่สู่บริการเฉพาะทาง
บทความ Robotics แนวโน้มใหม่สู่บริการเฉพาะทาง บทความ Robotics แนวโน้มใหม่สู่บริการเฉพาะทาง
บทความ Robotics แนวโน้มใหม่สู่บริการเฉพาะทาง
 
Developing Business Blockchain Applications on Hyperledger
Developing Business  Blockchain Applications on Hyperledger Developing Business  Blockchain Applications on Hyperledger
Developing Business Blockchain Applications on Hyperledger
 
บทความ Big Data จากบล็อก thanachart.org
บทความ Big Data จากบล็อก thanachart.orgบทความ Big Data จากบล็อก thanachart.org
บทความ Big Data จากบล็อก thanachart.org
 
Anime recommendation (Big Data Certification#6)
Anime recommendation (Big Data Certification#6)Anime recommendation (Big Data Certification#6)
Anime recommendation (Big Data Certification#6)
 
Telecom Churn analysis (Big Data Certification#6)
Telecom Churn analysis (Big Data Certification#6)Telecom Churn analysis (Big Data Certification#6)
Telecom Churn analysis (Big Data Certification#6)
 
Crime project (Big Data Certification Course #6)
Crime project (Big Data Certification Course #6)Crime project (Big Data Certification Course #6)
Crime project (Big Data Certification Course #6)
 
จัดเตรียมข้อมูลอย่างไรให้เหมาะกับ Machine Learning
จัดเตรียมข้อมูลอย่างไรให้เหมาะกับ Machine Learningจัดเตรียมข้อมูลอย่างไรให้เหมาะกับ Machine Learning
จัดเตรียมข้อมูลอย่างไรให้เหมาะกับ Machine Learning
 
การ์ทเนอร์ คาดการณ์แนวโน้ม 10 Technology 2018
การ์ทเนอร์ คาดการณ์แนวโน้ม  10 Technology 2018การ์ทเนอร์ คาดการณ์แนวโน้ม  10 Technology 2018
การ์ทเนอร์ คาดการณ์แนวโน้ม 10 Technology 2018
 
Thailand IT Trends 2018
Thailand  IT Trends 2018Thailand  IT Trends 2018
Thailand IT Trends 2018
 

สรุปผลจากการเสวนา อุตสาหกรรม IT พบสื่อ: Digital Economy

  • 1. คน IT พบสื่อ: Digital Economy นายกสมาคม ATCI มีแนวทางในการนำ cloud มาใช้เป็นโครงสร้างพื้นฐานในส่วนที่เป็น application ใช้ แนวทางการทำงานร่วมกันหลายๆ สมาคม สำหรับคำว่า Digital Economy ควรจะต้องมาตกลงกันว่า concept คือ อะไร แล้วภาคอุตสาหกรรมต้องการอะไร จริงๆ แล้ว Digital Economy ไม่ใช่เรื่องใหม่ แต่ควรจะต้องทำความเข้าใจ ให้ตรงกันก่อนว่า Digital Economy เป็นเรื่องของการนำเทคโนโลยีมาใช้เสริมศักยภาพการทำงานให้มีประสิทธิภาพ เพิ่มขึ้นและช่วยลดต้นทุนการดำเนินงานของภาคธุรกิจ เป้าหมายของการประชุมวันนี้ การประชุมวันนี้จัดขึ้นเพื่อหารือและทำความเข้าใจ Digital Economy ให้ตรงกันในกลุ่มคนไอที รวมถึงการ กำหนดเป้าหมายและยุทธศาสตร์ โดยเบื้องต้นอาจจะต้องเริ่มจากคำนิยามก่อน จากนั้นรวบรวมประเด็นที่เกี่ยวข้อง และจัดทำเป็น concept paper เพื่อนำเสนอต่อภาครัฐที่มีอำนาจดำเนินการต่อไป การรวบรวมความคิดเห็นของ แต่ละสมาคมเป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์การดำเนินงานของวันนี้ และอาจจะไปขอความเห็นเพิ่มเติมจากสมาคมอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้องที่ไม่ได้มาร่วมประชุม แล้วจึงมากำหนดเรื่องภาพใหญ่ของเศรษฐกิจดิจิทัลที่มีผลต่อภาคอุตสาหกรรม กรอบ ระยะเวลา และยุทธศาสตร์การดำเนินงานที่เหมาะสม ตลอดจนวิธีการทำงานของภาคเอกชนควบคู่ไปกับหน่วยงาน ภาครัฐต่อไปในอนาคต นิยามของ Digital Economy แนวทางของ Digital Economy มองว่าเป็นยุคของการใช้ดิจิทัลเข้ามาช่วยลดต้นทุน ตั้งแต่การทำ G2G, G2B หรือ G2C มองว่าภาครัฐตอนนี้ยังไม่มีการทำงานแบบ G2G เช่น การประมูลงานกับกระทรวงคมนาคม เอกชนยังต้อง ไปจดทะเบียนกับกระทรวงพาณิชย์แต่ตอนนี้ระบบยังไม่เชื่อมโยงกันระหว่างกระทรวงพาณิชย์กับกระทรวงคมนาคม หรือ ในกรณีของ G2B มีเรื่องของการทำภาษีขาย หรือ ในกรณีของ G2C มีเรื่องของการทำ mobile payment ให้กับ ภาคประชาชน ดังนั้น การทำ digital economy คือ ทำอย่างไรให้การบริการภาครัฐกับภาคส่วนต่างๆ มี ประสิทธิภาพและมีกลไกที่ทำงานได้จริง ทำอย่างไรให้ภาครัฐมีโครงสร้างพื้นฐาน และ application ที่ตอบโจทย์ของ ภาคเอกชนได้ Digital Economy ประกอบไปด้วย 3 ส่วนที่สำคัญ คือ Digitized Government, Digitized Enterprise และ Digitized Citizen เช่น การแก้ปัญหาคอร์รัปชั่นหากมีการทำ open data ของหน่วยงานภาครัฐผ่านระบบ ออนไลน์ จะทำให้การดำเนินงานมีความโปร่งใสมากขึ้น ปัจจุบันในส่วนของภาคประชาชนมีการใช้ไอทีมากอยู่แล้วไม่ ว่าจะเป็นเฟซบุ๊คหรือโมบายแอพพลิเคชั่น แต่สำหรับการทำ digitize enterprise ถือเป็นเรื่องใหญ่ เพราะปัจจุบัน ภาคธุรกิจจำนวนมากยังไม่ค่อยมีการใช้งานไอที โดยเฉพาะธุรกิจ SMEs ดังนั้น การส่งเสริมและเชื่อมโยงระบบ supply chain ของประเทศจึงยังไม่เกิดขึ้นเป็นรูปธรรม ภาคเอกชนอยากเห็นการ shift paradigm ของบริษัทขนาด ใหญ่และขนาดเล็ก ไปจนถึงธุรกิจเล็กมากๆ อย่าง OTOP ให้เข้ามารวมเป็น supply chain เดียวกัน ซึ่งจะส่งผลให้ ประเทศไทยหลุดออกจาก middle income trap ได้ เมื่อพิจารณาบริบทของการพัฒนาประเทศในภาพใหญ่ พบว่า การพัฒนาเศรษฐกิจอุตสาหกรรมและบริการ การของโลก มีพัฒนาการจากสังคมเกษตรไปสู่สังคมอุตสาหกรรมไปสู่สังคมบริการและไปสู่สังคมการเรียนรู้ ซึี่งเป็น
  • 2. เศรษฐกิจดิจิทัลอย่างแท้จริง ประเทศที่พัฒนาแล้วสัดส่วนของ GDP ของภาคบริการเฉลี่ยประมาณ 70% ประเทศ กำลังพัฒนา GDP สัดส่วนของภาคบริการอยู่ระหว่าง 60% ของประเทศไทยสัดส่วนอยู่ทีี่ประมาณ 52% แต่ พัฒนาการนี้เป็นเพียงจุดเริ่มต้นของเศรษฐกิจดิจิทัลเท่านั้น เพราะเศรษฐกิจดิจิทัล คือ เศรษฐกิจที่ใช้ความรู้เป็นหลัก และมีการแบ่งปันความรู้โดยใช้ ICT เป็นพื้นฐาน ถ้าหากประเทศไทยต้องการก้าวพ้นจาก middle income trap เรา ต้องมองเรื่องของการนำความรู้มาใช้ต่อยอดทางธุรกิจให้กลายเป็น new business ไม่ใช่มองแค่ ICT จะไปเพิ่มการส่ง ออกหรือเพิ่ม GDP ได้อย่างไร ถ้าภาครัฐมองแค่นี้ก็ไม่สามารถทำเศรษฐกิจดิจิทัลได้ ต้องมองไปเรื่องของอนาคตที่มี การเพิ่มการจ้างงานหรือลดความเหลื่อมล้ำของรายได้บนพื้นฐานของ knowledge based economy ที่ให้บริการใน ลักษณะที่เป็น high value service ในทุก sector เช่น การท่องเที่ยว การแพทย์ โลจิสติกส์ เกษตร เป็นต้น Service Structure Logistics & Transport 50% Others 50% IT Services eGov Healthcare Travel โครงสร้างภาคบริการของโลกปี 2010 บริการไอทีมีมูลค่าประมาณ 2% ของบริการอื่นๆ (others 50%) หรือ คิดเป็นมูลค่า 6 แสนล้านดอลล่าร์ คำถามคือประเทศไทยสามารถมีส่วนแบ่งใน 2% นั้นได้หรือไม่ ถ้าจะทำให้ได้ต้องเต รียมความพร้อมอะไรบ้าง ดังนั้น ต้องย้อนกลับมาดูว่าประเทศไทยเก่งเรื่องอะไร แล้วจะเอาบริการไอทีไปเสริมอะไรก็ จะสามารถออกจาก middle income trap ได้ นอกจากจะมองว่าจะสร้างเศรษฐกิจดิจิทัลอย่างไร ในปัจจุบันเราอาจจะต้องคิดในมุมกลับด้วยว่า ประเทศไทย จะ survive อย่างไรในเศรษฐกิจดิจิทัล เพราะยุคดิจิทัลมาถึงแล้วและประเทศไทยเป็นเพียงผู้ตามกระแสของดิจิทัลไม่ ได้เป็นผู้สร้างเทคโนโลยี เราจะปรับตัวอย่างไรกับกระแสของเทคโนโลยีเป็นโจทย์ที่สำคัญมาก ประเด็นคือต้องมีการจัด ระเบียบ สร้างความโปร่งใส เพิ่ม mobility & automation สร้างระบบเพื่อบริหารจัดการเตรียมพร้อมเข้าสู่ยุค digital economy เราไม่ได้สร้างใหม่แต่ดูว่าจะอยู่กับมันอย่างไร IT เป็นแค่เครื่องมือช่วยสนับสนุนในด้านต่างๆ ให้เรา สามารถอยู่รอดได้ในยุคดิจิทัล ประเด็นเรื่องเป้าหมาย บางประเทศไม่สนใจเศรษฐกิจดิจิทัล บางประเทศใช้แบบผสมผสาน เช่น ฝรั่งเศสมีการ digitize บางส่วนที่ ตอบโจทย์เศรษฐกิจของประเทศ เช่น อุตสาหกรรมน้ำหอม ขณะที่ประเทศอินเดียมีการทำ digitize เต็่มตัว ประเทศ ไต้หวัน digitize เป็น semiconductor country ประเทศไทยยังไม่มีเป้าหมายว่าเราจะ digitize หรือแค่เกาะกระแส เพื่ออยู่รอด เช่น เอา digital มาเสริมภาคเกษตร เสริมการท่องเที่ยว หรือ จะไปทำ digitize เต็มตัวอย่างไต้หวันและ อินเดีย แล้วอุตสาหกรรมอะไรที่ตั้งเป้าว่าควรจะเป็นอุตสาหกรรมที่เป็นเป้าหมายหลักของประเทศ ถ้ามีเป้าหมายที่จะ
  • 3. digitized มากเกินไปจะทำให้ไม่ประสบผลสำเร็จ บทเรียนของต่างประเทศเกือบทุกประเทศต่างเลือกอุตสาหกรรมใด อุตสาหกรรมหนึ่งที่ตั้งเป้าหมายว่าจะเป็นดิจิทัลจริงจัง เช่น ประเทศเกาหลีตั้งเป้าเรื่อง digital content ประเทศ ไต้หวันตั้งเป้าเรื่อง semiconductor เป็นต้น ในประเด็นเรื่องของเป้าหมาย อาจต้องตกลงกันก่อนว่าเป็นการมองเป้าหมายของกรอบคนไอทีที่จะตอบรับ เศรษฐกิจดิจิทัล หรือ มองในกรอบภาคส่วนอื่นๆ ที่จะเอาไอทีไปต่อยอด หรือ จะมองในลักษณะของการเป็น integrator ที่ผ่านมาประเทศไทยเป็น user มากกว่าเป็นคน supply เช่น อุปกรณ์เกือบหมดใช้ของต่างประเทศ บริการหลายๆ อย่างก็ใช้ของต่างประเทศ อาจจะตั้งเป้าหมายว่าลดการใช้สินค้าและบริการจากต่างประเทศก่อน หรือ ตั้งเป้าว่าจะต้องพัฒนาบุคลากรก่อน (เท่าไหร่จึงจะพอ) ตอนนี้เรามี internet penetration เกือบครึ่ง แต่ไปกระจุก อยู่ในเมือง ยังไม่ได้กระจายเครือข่ายให้ครอบคลุม ในเรื่องของภาครัฐอาจจะต้องช่วยคิดว่าจะให้รัฐไปเพิ่มบริการ ออนไลน์ให้กับประชาชนมากกว่านี้ได้หรือไม่ (application ที่เป็นที่ต้องการของประชาชนที่อยากให้ภาครัฐทำมีอะไร บ้าง ใครเป็นคนทำ คนไอทีพร้อมหรือยังหากภาครัฐโยนโจทย์มาให้ทำ) สุดท้ายจะต้องกลับมาดูเรื่องของโครงสร้างพื่้น ฐานว่าประเทศไทยมีความพร้อมหรือไม่ critical infrastructure มีความสำคัญและจะออกแบบอย่างไรให้โครงสร้าง พื้นฐานมีความมั่นคงปลอดภัย และมีเสถียรภาพ อยากให้เป้าหมายมีความชัดเจน เช่น อีก 10 ปีอยากให้มีบริษัท IT ไทยเติบโตเท่าไหร่ อยากให้มีบริษัททาง ด้าน IT ที่มีมูลค่า 1000-5000 ล้านบาท (ประมาณ 20 บริษัท) ลดต้นทุนการบริหารงานด้วย IT, ให้ประเทศไทยมี ดัชนีติด 1 ใน 10 ใน IMD หรือ WEF หรือ อีก 6 ปีผลิตบุคลากรเพิ่มขึ้น 40% แต่ปัจจุบัน SME ไทยยังไม่รู้จักการใช้ IT เลยเราจะเอาเรื่อง big data และ data scientist มาใช้อย่างไร เมืองไทยมีบุคลากรด้านนี้หรือไม่ น่าจะต้องทำเป็น ขั้นตอนอาจจะคุยกันวันเดียวไม่จบ การทำดิจิทัลต้องมีเรื่องของ enabler ที่จำเป็นและต้องมีการเปลี่ยน mindset ของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง หากมอง enabler ทางด้าน policy จะทำอย่างไรให้ทุกกระทรวงผลักดันให้มีนโยบายดิจิทัลของตัวเองเพื่อตอบโจทย์ digital economy จากนั้นเรามีช่องว่างของ rules & regulation อะไรบ้างที่ไม่ได้ช่วย enabler แต่เป็นอุปสรรคของ เศรษฐกิจดิจิทัล จากนั้นไปดูเรื่องของ integration จะทำให้แต่ละภาคส่วนแต่ละระบบเชื่อมโยงกันได้อย่างไร ต้อง สร้าง integrator ภายใต้กล่องเดียวกัน ทางฝั่งของผู้ประกอบการเองจะหาบริษัทใหญ่ไม่ง่ายแต่มีบริษัทเล็กเยอะมาก ซึ่งบริษัทเล็กๆ ไม่มีเรื่องของงานวิจัย ทำอย่างไรให้ SMEs ต่อยอดได้ ทำอย่างไรให้ธุรกิจกับผู้ที่ enabler มาคุยกัน อย่างจริงจังแล้วมีหน่วยงาน R&D มาสร้าง enabler ให้ภาคธุรกิจเอาไปต่อยอดเพื่อพัฒนาธุรกิจ จะทำเรื่อง standard อย่างไรในเรื่องของ data เพราะแต่ละหน่วยงานมาตรฐานข้อมูลไม่ตรงกัน สุดท้ายต้องมี enabler เรื่อง security policy ความเป็นส่วนตัวของการใช้ข้อมูลไม่มี ไม่มีตัวแทนประเทศไทยไปต่อรองกับ google หรือ facebook ใน เงื่อนไขการใช้งาน ต้องกลับมามองว่าจุดแข็งของประเทศไทยคืออะไร เช่น ต้องการให้ท่องเที่ยวออนไลน์ทั้งระบบ เชื่อมกับสถานที่ท่องเที่ยว (ทำเป็น flagship) เราอาจจะไม่ได้มองว่าจะต้องใช้เฉพาะของไทย อาจจะใช้ของต่างชาติมา shortcut อุตสาหกรรมเกษตร ยานยนต์ โลจิสติกส์ ตั้งเป้าหมายให้กลุ่มพวกนี้เป็น pilot ก่อน ขณะที่เรื่องขนาดธุรกิจ ก็เป็นเรื่องสำคัญมากต้องสร้าง national IT enterprise ของประเทศขึ้นมาก่อนหรือเปล่า ประเทศไทยไม่ได้มีการตั้งธงไว้ว่าทิศทาง เป้าหมายของประเทศที่ตั้งใจจะไปเป็นอย่างไร ไปทางไหน ไม่มี พิมพ์เขียวจริงจัง ดังนั้น ในเรื่องของเป้าหมายเสนอให้มีเรื่องการสร้าง KPI Enabler ของประเทศด้วยว่าประเทศไทย ต้องการอะไร และอะไรที่เป็น strategic goal จริงๆ สมมติว่าไทยอยากจะเป็น medical service ก็มาดูว่าขาดอะไร แล้วเสริมตรงนั้น สร้างเครื่องมือเข้ามาเสริมกับภาคธุรกิจ ควรจะคิดเป็น solution แล้วเสนอทีเดียวเลย ตั้ง KPI ให้ชัด และเป็น KPI ที่ตั้งแล้วทำได้เลย Thailand startup association เสนอเป้าหมายการนำ IT มาเพิ่ม productivity ของธุรกิจเกิดใหม่ใน 3 เรื่อง คือ การลด regulation, incentive ภาษี, ช่องทางการระดมทุนและการรับทุน นอกจากนี้ ต้องมี vision ให้ ชัดเจน สรุปเป้าของสมาคมฯ mission จะแค่พยายาม survive หรือ พอเกาะกระแส หรือ จะเป็น leader
  • 4. อย่างไรก็ตาม ที่ประชุมเห็นตรงกันว่าประเด็น digital economy ในวันนี้ไม่สามารถมองแค่การนำ IT มาใช้ ประโยชน์กับคนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง แต่ต้องมองภาพของประเทศไทย ที่มีช่องว่างระหว่างคนในเมืองกับคนในต่างจังหวัด เราจะ shortcut หรือไม่ ทำได้อย่างไรเพราะเป็นเรื่องของประเทศไม่ใช่คนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ในระยะยาวเราจะมีปัญหา โครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งตอนนี้เราต้องมองเรื่องของปัญหาโครงสร้างพื้นฐานก่อน การคุยเรื่องของประเทศถ้าไม่มีภาพใหญ่ เป็นกรอบแนวคิด จะทำให้เป็นลักษณะต่างคนต่างทำเหมือนปัจจุบัน ซึ่งไม่ได้ประโยชน์อะไร แต่ต้องมองว่าจะผลักดัน งานของตัวเองภายใต้กรอบใหญ่เดียวกันอย่างไร การประชุมวันนี้อาจจะยังไม่ได้ KPI ที่ชัดเจนแต่ต้องเอากรอบแนวคิด ก่อนที่เป็นแกนให้ทุกกระทรวงทุกหน่วยงานทุกบริษัทเอาไปปฏิบัติได้ สิ่งที่ภาคเอกชนจะทำควรจะมองภาพใหญ่ของประเทศ KPI ควรจะเป็นเรื่อง ICT ไม่ใช่เศรษฐกิจ อาจจะต้อง ไปดูเรื่องสังคมเพิ่มขึ้น รวมถึงผู้ประกอบการที่เป็นผู้ใช้ (เช่น คนที่ซื้อซอฟต์แวร์ไปใช้ต่อ) นอกจากนี้ ต้องมีเรื่องของ กลไกการขับเคลื่อนอย่างกองทุน หรือ การปรับปรุงกติกาเงื่อนไขที่เป็นปัญหาอุปสรรคอยู่ในปัจจุบัน ตลอดจนต้องมา ช่วยกันคิดว่าเป้าหมายภาพใหญ่ระดับประเทศคืออะไร อาจะต้องนำเสนอกรอบโครงสร้างการทำงานที่มีภาคเอกชน เข้าไปร่วม หรือ อาจจะต้องมีการฟอร์มเป็นตัวแทนของภาคเอกชนไปทำงานกับคณะกรรมการชุดใหญ่ เรื่องของ process ที่แตกต่างกันของแต่ละหน่วยงาน เรืื่องของกฎหมาย กฎระเบียบ ให้สภาไอซีทีทำงานเป็น task force ร่วม กับภาครัฐ เป็นต้น สรุปเป้าหมายของเศรษฐกิจดิจิทัล เป้าหมายเชิงนโยบายอาจมองได้ 6 ส่วนหลักๆ คือ 1) การนำ IT ไปใช้ enabler ในแต่ละภาคส่วน เช่น eGov, e-health, e-citizen, e-social, e-tourism 2) การปรับปรุงกฎหมาย กฎระเบียบ ที่มาตอบโจทย์การ enabler ที่กำลังจะทำให้เกิดขึ้น (อาจจะต้องมีหน่วยงานหลักและผลักดันอย่างจริงจัง) 3) integrator ประสานแต่ละ enabler ด้วยกันและทำให้ภาพค่อยๆ ใหญ่ขึ้น 4) technology ทำตั้งแต่ R&D จนไปต่อยอดเชิงพาณิชย์ ทำฐาน ข้อมูลกลางสำหรับเอกชนดึงไปใช้ต่อยอดเชิงธุรกิจ 5) Standardization จะเอามาตรฐานอย่างไรในเรื่องของ SLA และ information exchange 6) security ภายในประเทศ เงื่อนไขนโยบายเชิงกฎหมาย กฎระเบียบ เช่น การ คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล นอกจากนี้ อาจจะมีเป้าหมายอื่นๆ เพิ่มเติม เช่น การบริการของภาครัฐ เช่น การเชื่อมโยงฐานข้อมูลภาครัฐ การเปิดเผยข้อมูล (open data) เป็นต้น การตั้งกองทุน 10,000 ล้านบาท เพื่อสนับสนุนภาคธุรกิจที่มีการนำ IT มา เสริมศักยภาพ และการปรับปรุงกฎหมาย กฎระเบียบ ที่เป็นอุปสรรคกับการเติบโตของเศรษฐกิจดิจิทัล ยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนเศรษฐกิจดิจิทัล 1. ยุคดิจิทัลต้องมองบริบทที่ใหญ่กว่ากระทรวงหรือหน่วยงานภาครัฐ กระทรวง ICT ทำหน้าที่เป็น enabler ในการนำ ICT ไปประยุกต์ใช้ ควรจะต้องมีนายกสารสนเทศ (CIO) ที่เป็นคนกลาง enabler ให้กับภาคส่วนต่างๆ ของ ประเทศ ต้องรู้วิธีการจัดการเรื่องต่างๆ โดยการประยุกต์ใช้ดิิจิทัล เดิมแต่ละกระทรวงฯ มีงบไอทีของตัวเอง และแยก ส่วนกันดำเนินงาน ไม่ได้ทำงานร่วมกัน เช่น การทำพาสปอร์ต กับระบบบัตรประชาชน หรือบัตรประกันสุขภาพ ไม่มี การบูรณาการข้อมูลร่วมกันระหว่างหน่วยงาน ทำให้เสียเวลามากกับเรื่องของการขอรับบริการภาครัฐ 2. ทำเรื่องของมาตรฐานกลางที่สามารถเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชนได้อย่างมี ประสิทธิภาพ เช่น มาตรฐานกลางเชื่อมต่อข้อมูลภาคเอกชน (front end, back end middleware & API) และ มาตรฐานกลางเชื่อมต่อข้อมูลภาครัฐ (middleware & API)
  • 5. 3. การสร้าง demand ฝั่งผู้ใช้อาจจะต้องเริ่มเป็น cluster สร้างทีละ cluster ให้เห็นผลก่อน แล้วค่อยขยาย cluster ไปเรื่อยๆ เช่น ท่องเที่ยว โลจิสติกส์ การแพทย์ 4. ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนควรจะครอบคลุมทุกบริบท ได้แก่ 1. strategy 2. เชิงนโยบาย และ 3.เชิง กฎหมายที่จะต้องเปลี่ยนแปลง 4.เศรษฐกิจ 5.แพลตฟอร์ม cloud, mobility, social security 6.การสร้างคน และ 7.international trade หรือ การใช้ประโยชน์จากการค้าระหว่างประเทศ การประชุมครั้งต่อไป ประชุมครั้งต่อไปเรื่องการจัดทำกรอบแนวคิด หรือ โครงสร้างของแต่ละสมาคม เพื่อมารวมกันเป็นภาพใหญ่ ของ ICT ที่เป็นรูปธรรม ประชุมครั้งต่อไปวันจันทร์ที่ 20 ตึกเอ็มไพร์ A ชั้น 31 (บริษัท tarad)