SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่ 3
                                     Third Generation Mobile Network

                                                                                                           นางอมรรัตน์ วงศ์โสภา


                                                              บทคัดย่อ
            บทความนี้นาเสนอเกี่ยวกับเทคโนโลยีระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่ 3                                   ซึ่งได้มีการเพิ่ม
ประสิทธิภาพการใช้งานระบบเครือข่ายในด้านการรับส่งข้อมูลในระบบไร้สายด้วยอัตราความเร็วที่สูงขึ้น และ
บริการระบบเสียงที่มีคุณภาพของสัญญาณที่ชัดเจนขึ้น โดยกล่าวถึงความเป็นมา มาตรฐานที่ใช้ในปัจจุบัน
คุณสมบัติเด่นของ 3G และผลกระทบของ 3G ทีมีต่อสังคม
                                       ่


                                                              Abstract
          This article, presents The Third Generation Mobile Network Technology which
enables data transfer more efficiently via high speed wireless network system and
enhances the quality of voice system service. It’s all about background, standard,
3G characteristics and impact of 3G to sociality.


Keyword: 3G Third Generation Mobile Network


                                                                บทนา
            ในบรรดาเทคโนโลยี น อกจากคอมพิ ว เตอร์ แ ละอิ น เตอร์ เ น็ ต แล้ ว โทรศั พ ท์ มื อ ถื อ ยั ง เป็ น หนึ่ ง
เทคโนโลยีสื่อสารที่เป็นเครื่องมือสาคัญที่จะเปลี่ยนแปลงชีวิตอย่างมาก ปัจจุบันอัตราการเจริญเติบโตของผู้ใช้
โทรศั พ ท์ มื อ ถื อ พุ่ ง สู ง ขึ้ น เกื อ บเท่ า ตั ว มื อ ถื อ กลายเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของชี วิ ต เมื่ อ เที ย บกั บ คอมพิ ว เตอร์ แ ละ
อินเทอร์เน็ต         ช่วงนี้จะไปไหนมาไหนก็พกโทรศัพท์มือถือไปด้วย ไม่ว่าจะใช้ในการโทร ส่งข้อความ sms
แต่ด้วยปัจจุบันนี้โทรศัพท์มือถือแบบสมาร์ทโฟนมีฟีเจอร์ความสามารถในการท่อง โลกอินเตอร์เน็ต แชตผ่าน
social network การเล่นเกม การดูหนังฟังเพลง การถ่ายรูปที่ละเอียดยิ่งขึ้น ก็ทาให้หลายคนต้องพกมาเล่นมา
แชตแทบทุกวัน จนกลายเป็นเป็นอาการโรคติดมือถือ แบบชีวิตนี้ขาดมือถือไม่ได้
มี ผ ล ส า ร ว จ อ อ ก ม า จ า ก เ ว็ บ ไ ซ ต์    ใหญ่ ,ประชุมทางไกลผ่านหน้าจออุปกรณ์สื่อสาร,
SecurEnvoy ส ารวจพฤติ กรรมของเจ้า ของ                             ดาวน์โหลดเพลง, ชมภาพยนตร์แบบสั้นๆ
โทรศัพท์มือถือในอังกฤษ เดือน กุมภาพันธ์ 2012                                  เครือข่าย 3G ในประเทศไทยจะแบ่ง
กว่ า พั น คนพบว่ า “ผู้ ช ายมี แ นวโน้ ม ที่ จ ะพก               ออกเป็น 2 ระบบใหญ่ๆ คือ
โทรศัพท์มือถือติดตัวไว้ถึงสองเครื่อง” ที่น่าสนใจ                              1) ระบบ CDMA มี ชื่ อ เรี ย กว่ า
คือ “สอง ในสามของผู้ตอบแบบสอบถามซึ่งส่วน                                    CDMA2000 1xEV-DO
ใหญ่เป็นผู้หญิง จะรู้สึกกังวลอย่างมาก หากลืม                                  2) GSM ก็คือ WCDMA
หรือไม่ได้ใช้โทรศัพท์มือถือเช่นวันอื่นๆ ถึงขนาดที่                            ทั้ง 2 ระบบต่างก็มีความเร็วในการดาวน์
ทาให้เกิดความกลัวการไม่ได้ใช้มือถือเลยทีเดียว “                   โหลดข้อมูลสูงสุด 2 Mbps แต่เครือข่าย WCDMA
อีกพฤติก รรมที่น่ าสั ง เกตคือ “เจ้ า ของเครื่อ ง                 สามารถพัฒ นาให้ รองรั บ เครื อ ข่ า ย 3.5G ใน
โทรศัพท์มือถือ มักจะตรวจสอบมือถือของตัวเอง                        มาตรฐาน HSDPA (High Speed Downlink
โดยเฉลี่ ย วั น ละ 34 ครั้ ง !” ซึ่ ง ผลการส ารวจ                 Packet Access) ซึ่งรองรับการสื่ อสารด้ว ย
ดังกล่าวได้สะท้อน ความสาคัญของการสื่อสารใน                        อัตราเร็วสูงถึง 14 เมกะบิตต่อวินาที หรือเร็วกว่า
ยุ ค นี้ ว่ า เทคโนโลยี มี ค วามผู ก พั น กั บ ชี วิ ต คนเรา      การสื่อสารแบบ EDGE ถึง 36 เท่า และในไทยก็
ตลอด 24 ชั่วโมงจริงๆ                                              สามารถใช้เครือข่าย HSDPA ได้แล้ว จากการทา
                จากมื อ ถื อ ในยุ ค 2G ที่ ก้ า วเข้ า สู่ ยุ ค   ลองใช้งานบริเวณศูนย์การค้า Central World
3G ที่มีการพูดถึงกันมาก ซึ่งประสิทธิภาพ 3G                        พบว่ า มี ค วามเร็ ว ในการดาวน์ โ หลดอยู่ ที่ 1376
คือการรั บ ส่ ง ข้อมู ล ทั้ งเสี ย งและภาพที่มี คุณ ภาพ           Kbps ส่ ว นความเร็ว ในการส่ งข้อมูล อยู่ที่ 236
มากขึ้ น ท าให้ ก ารสื่ อ สารจากจุ ด เริ่ ม ต้ น ของ              Kbps ทั้งนี้ความเร็วในการทดสอบไม่ได้เป็นตัวเลข
โทรศัพท์มือถือที่เป็นเพียงเครื่องมือสื่อสาร กลาย                  ตายตัว สามารถมีความเร็วเพิ่มขึ้นหรือลดลงตาม
มาเป็ น เครื่ อ งมื อ ในการเข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล ช่ ว ยในการ       จานวนผู้ใช้งาน หรือช่วงเวลาในการเชื่อมต่อ
ทางาน และเข้ามาเปลี่ยนพฤติกรรมชีวิตของเรา
มากยิ่งขึ้น                                                       ลักษณะการทางานของ 3G
                                                                               คุณสมบัติหลัก มีการเชื่อมต่อกับระบบ
เข้าสู่ยุค 3G เครือข่ายไร้สายความเร็วสูง                          เครื อ ข่ า ยของ 3G               ตลอดเวลาที่ เ ราเปิ ด
            เมื่อเปรียบเทียบเทคโนโลยี 2G กับ 3G                   เครื่องโทรศัพท์ (always on) นั่นคือไม่จาเป็นต้อง
แล้ว 3G มีช่องสัญญาณความถี่ และ ความจุในการ                       ต่อโทรศัพท์เข้าเครือข่าย และ log-in ทุกครั้งเพื่อ
รับส่งข้อมูลที่มากกว่า ทาให้ประสิทธิภาพในการ                      ใช้บริการรับส่งข้อมูล ซึ่งการ เสียค่าบริการแบบนี้
รับส่งข้อมูลแอพพลิเคชั่น รวมทั้งบริการระบบเสียง                   จะเกิ ดขึ้ น เมื่ อมี ก ารเรี ย กใช้ ข้ อ มู ล ผ่ า นเครื อ ข่ า ย
ดีขึ้น พร้อมทั้งสามารถใช้ บริการมัลติมีเดียได้                    เท่านั้น โดยจะต่างจากระบบ ทั่ว ไป ที่จะเสี ย
                                                                  ค่าบริการตั้งแต่เราล็อกอินเข้าในระบบเครือข่าย
เต็มที่ และ สมบูรณ์แบบขึ้น เช่น บริการส่งแฟกซ์ ,
                                                                  อุป กรณ์สื่ อ สารไร้ส ายระบบ 3G ส าหรับ 3G
โทรศั พ ท์ต่ า งประเทศ ,รั บ -ส่ งข้ อ ความที่ มี ขนาด
                                                                  อุ ป กรณ์ สื่ อ สารไม่ ไ ด้ จ ากั ด อยู่ เ พี ย งแค่ โ ทรศั พ ท์
เท่านั้ น แต่ยั งปรากฏในรู ป แบบของ อุปกรณ์             รุ่นโทรศัพท์ที่ตนใช้อยู่ และเมื่อรูปแบบของบริการ
สื่อสารอื่น เช่น Palmtop, Personal Digital              เสริ ม มี ห ลากหลายมากขึ้ น                    จากเดิ ม ที่ ผู้ ใ ช้
Assistant (PDA), Laptop และ PC                          โทรศัพท์เคลื่อนที่สามารถเลือกตั้งเสียงเพลงรอสาย
           มาตรฐานหลั ก                   มาตรฐาน       ในยุค 3G จะไม่ใช่เป็นการสื่อเพียงแค่เสียงเท่านั้น
โทรศัพท์เคลื่ อนที่ 3G เพื่อเป็ น การเพิ่มความ          แต่ ผู้ ใ ช้ จ ะมี ท างเลื อ กเพิ่ ม มากขึ้ น ในการเลื อ ก
คล่องตัวในการเปิดให้บริการ Non-voice อย่าง              รูปแบบการแสดงออก อาทิ เช่น สามารถตั้งค่าให้
เต็มรูปแบบ พร้อม ทั้งยังคงรักษาคุณภาพในการ              แสดงคลิปมิวสิควีดีโอของนักร้องที่ตนชื่นชอบ หรือ
ให้บริการ Voice ด้วยระดับคุณภาพที่ดีกว่าหรือ            อาจเป็นคอนเทนต์ที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นมาเองใหม่ ให้
ทัดเทียมในยุค 2G จึงได้มีการกาหนดมาตรฐาน                ผู้โทรเข้าได้รับชมระหว่างรอสาย เพื่อดึงดูดความ
โทรศัพท์เคลื่อนที่ 3Gขึ้น โดยมีมาตรฐานสาคัญอยู่         สนใจของผู้ เ รีย กเข้ า ทั้ง หมดนี้เ ป็น การสร้ า ง
2 ประเภทคือ                                             วัฒ นธรรมในการแสดงออกต่อ สั งคมอีก รู ปแบบ
            มาตรฐาน UMTS                (Universal     หนึ่ง อีกฝ่ายสามารถทราบถึงรสนิยมความชอบ
Mobile Telecommunications Service) เป็น                 ของอีกฝ่ายโดยไม่จาเป็นต้องบอกกล่าว หรือพบ
มาตรฐานที่ ออกแบบมาส าหรั บ ผู้ ให้ บ ริ ก าร           หน้าแต่อย่างใด
เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ได้นาไปพัฒนาจากยุค                           ผลกระทบต่อจิต ใจ และความเชื่ อ

2G ไปสู่ ยุค 3G อย่างเต็มตัวโดยเทคโนโลยีหลักที่         เรื่องความทันสมัย เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นได้กับทุกยุค
มี ก ารยอมรั บ การใช้ ง านทั่ ว โลกคื อ W-CDMA          ทุกสมัย                เมื่อมีกลุ่มผู้ใช้ที่เริ่มเปลี่ยนแปลง
(Wideband Code Division Multiple Access )               พฤติกรรมในการใช้บริการใหม่ๆจานวน หนึ่งแล้ว
            มาตรฐาน cdma2000              เป็ นการ     ก็ จ ะเป็ น การแผ่ ข ยายในวงกว้ า งมากขึ้ น ต่ อ ไป
พัฒนาเครือข่าย CDMA ให้รองรับการสื่อสารในยุค            โดยเฉพาะกลุ่ มวัยรุ่นที่มีแนวโน้มพฤติกรรมชอบ
3G รั บ ผิ ด ชอบการพัฒ นาเทคโนโลยี ห ลั ก คื อ          ลอกเลี ย นแบบและชอบการเปลี่ ย น                         แปลง
cdma2000-3xRTT              ที่ ศั ก ยภาพเที ย บเท่ า   ตลอดเวลา โดยมีผลต่อความเชื่อว่าถ้าเพื่อนรอบ
มาตรฐาน W-CDMA                                          ข้างมีแล้วถ้าตนไม่มีจะถือว่าล้าสมัย ในขณะที่สิ่ง
                                                        เหล่ า นี้ อ าจจะไม่ เ กิ ด ขึ้ น กั บ ผู้ สู ง อายุ แ ละกลุ่ ม
ผลกระทบที่มีต่อวัฒนธรรมและสังคม
                                                        อนุรักษ์นิยมที่ ยังนิยมวัฒนธรรมเดิมๆมากกว่าการ
            การเปลี่ยนแปลง เข้าสู่เทคโนโลยียุค 3G
                                                        ยอมรับการเปลี่ยนแปลงใดๆ
ก่อให้เกิดผลกระทบทางด้านสังคมและวัฒนธรรม
                                                                        ความปลอดภัยใน สังคม เทคโนโลยี
อันเนื่องมาจากการพฤติกรรมในบริการเสริมต่างๆ
                                                        LBS(Location Based Service) สามารถช่วยเพิ่ม
ที่เปลี่ยนไปจากเดิม เช่น
                                                        ความปลอดภัยในสังคมให้กับบุตรหลานที่ยังเป็น
             ช่ อ งทางในการ         แสดงออกถึ ง
                                                        เด็กเล็กๆ คุณพ่อคุณแม่สามารถตรวจสอบได้ว่า
ความสาคัญและรสนิยมของตัวเองในสังคมมีมาก
                                                        ขณะนี้บุตรหลานของตนกาลังอยู่ที่ใด กลั บมา
ขึ้น เดิมนั้นโทรศัพท์เคลื่อนที่เปรียบเสมือนสิ่งที่บ่ง
                                                        พร้อมกับรถโรงเรียนหรือไม่
บอกรสนิยมและบุคลิกของผู้ ใช้โดยสังเกตได้จาก
      ผลกระทบต่อข้อมูล ส่วนตัว และ          ตาแหน่งของบุคคลเพียงอย่างเดียว แต่นามาใช้เพื่อ
สิทธิส่ วนบุคคล รู ปแบบบริการที่มีความสามารถ           ค้นหาสถานที่ที่ตนต้องการแทน เป็นต้น
มากขึ้ น          เปรี ย บเสมื อ นดาบสองคมในตั ว
                                                       บทสรุป
เช่ น เดี ย วกั น หนึ่ ง ในเหตุ ผ ลของบริ ก าร Video
Call และ การตรวจสอบตาแหน่งของคู่สนทนา                               สาหรับในอนาคตเมื่อ 3G ถูกใช้บริการ
ด้วยเทคโนโลยี LBS(Location Based Service)              อย่ า งเต็ ม รู ป แบบ จึ ง หลี ก เลี่ ย งไม่ ไ ด้ ที่ จ ะต้ อ ง
ที่ ไ ม่ ป ระสบความส าเร็ จ ในต่ า งประเทศที่ เ ปิ ด   แข่ ง ขั น กั บ ผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารอิ น เทอร์ เ น็ ต ความเร็ ว สู ง
ให้บริการ 3G อันเนื่องมาจากผู้โทรเข้าสามารถ            (ADSL) ที่มีอยู่เดิม ซึ่งปัจจัยหนึ่งที่สาคัญคือการ
ทราบได้ว่า คู่สนทนากาลังทาอะไรอยู่ และถึงแม้           ตั้งราคา ซึ่งถ้าตั้งราคาพอแข่งขันกับ ADSL ได้ก็
บริการเสริมดังกล่าว อาจสามารถทาการเลือกได้ว่า
                                                       จะมี โ อกาสที่ ดึง ลู ก ค้า จากระบบเดิ ม มาใช้ ร ะบบ
ให้แสดงภาพของตนหรือแค่พูดคุยด้วยเสียงเท่านั้น
แต่ก็อาจเกิดความเกรงใจ และเป็น มารยาทที่ไม่            3G เพราะความสะดวกในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต
กล้าปฎิเสธ ดังนั้นผู้ให้บริการจึงอาจต้องเปลี่ยน        จากทุกที่ และตอบสนองการใช้บริการโทรศัพท์
รูปแบบของการให้บริการไปเล็กน้อย แทนที่จะ               การเข้าถึงและเข้าใช้งานบริการต่างๆ
แสดงรูปจริงของคู่สนทนา ผู้สนทนาสามารถเลือก                          ดังนั้น การเลือกใช้ 3G ควรพิจารณา
การ์ตูนแทนตัวเอง (Avatar) หรือรูปใดๆก็ได้ที่ตน         ถึงความคุ้มค่า และความเหมาะสมกับพฤติกรรม
ชื่นชอบแทน ในขณะที่บริการเสริมที่ใช้เทคโนโลยี          ของผู้ใช้ว่าเทคโนโลยีดังกล่าวว่ามทีความจาเป็นต่อ
LBS มาช่วยนั้น อาจไม่ได้นามาใช้เพื่อการสอบถาม
                                                       การใช้งานในชีวิตประจาวันหรือการทางานหรือไม่


เอกสารอ้างอิง
วรวิสุทธิ์ ภิญโญยาง, สรวิศ ประดิษฐบาทุกา.(2552). ความเคลื่อนไหวและทิศทางของธุรกิจ 3G ในปี 2009.
            ค้นเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2555, จาก http://www.worawisut.com/2009/04/05/3g-
            trends-2009/
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (ม.ป.ป.). มาตรฐานโทรศัพท์มือถือยุคที่ 3. ค้นเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2555,
          จาก http://th.wikipedia.org/wiki/3_%E0%B8%88%E0%B8%B5
เทคโนโลยี 3G คืออะไร 3G หรือ Third Generation. ค้นเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2555, จาก
          http://www.azooga.com/content_detail.php?cno=425
เทคโนโลยี 3G คืออะไร. ค้นเมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2555, จาก
          http://mulinet8.li.mahidol.ac.th/mulibrary-km/exhibit/2553/june_53.pdf

More Related Content

What's hot

ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ปิยะดนัย วิเคียน
 
แนวโน้มการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แนวโน้มการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแนวโน้มการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แนวโน้มการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ปิยะดนัย วิเคียน
 
พื้นฐานโครงข่ายสำหรับ Call Center Staffs
พื้นฐานโครงข่ายสำหรับ Call Center Staffsพื้นฐานโครงข่ายสำหรับ Call Center Staffs
พื้นฐานโครงข่ายสำหรับ Call Center Staffs
ChideeHom
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1
amphaiboon
 
Wi max technology
Wi max technology Wi max technology
Wi max technology
cakiiminikii
 
น.ส ทิพย์วรรณ พวงแก้ว ม.4/10 เลขที่19
น.ส ทิพย์วรรณ พวงแก้ว ม.4/10 เลขที่19น.ส ทิพย์วรรณ พวงแก้ว ม.4/10 เลขที่19
น.ส ทิพย์วรรณ พวงแก้ว ม.4/10 เลขที่19
eye_twpk
 
ประโยชน์ของ Mobile จากอดีตถึงปัจจุบัน
ประโยชน์ของ Mobile จากอดีตถึงปัจจุบันประโยชน์ของ Mobile จากอดีตถึงปัจจุบัน
ประโยชน์ของ Mobile จากอดีตถึงปัจจุบัน
jamejudy
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
sawalee kongyuen
 
พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)
พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)
พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)
Worawut Thongchan
 
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
Meaw Sukee
 

What's hot (15)

ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
แนวโน้มการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แนวโน้มการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแนวโน้มการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แนวโน้มการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
พื้นฐานโครงข่ายสำหรับ Call Center Staffs
พื้นฐานโครงข่ายสำหรับ Call Center Staffsพื้นฐานโครงข่ายสำหรับ Call Center Staffs
พื้นฐานโครงข่ายสำหรับ Call Center Staffs
 
จริยธรรมในโลกของข้อมูล
จริยธรรมในโลกของข้อมูลจริยธรรมในโลกของข้อมูล
จริยธรรมในโลกของข้อมูล
 
งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1งานนำเสนอบทที่1
งานนำเสนอบทที่1
 
mild gegee
mild gegeemild gegee
mild gegee
 
Wi max technology
Wi max technology Wi max technology
Wi max technology
 
น.ส ทิพย์วรรณ พวงแก้ว ม.4/10 เลขที่19
น.ส ทิพย์วรรณ พวงแก้ว ม.4/10 เลขที่19น.ส ทิพย์วรรณ พวงแก้ว ม.4/10 เลขที่19
น.ส ทิพย์วรรณ พวงแก้ว ม.4/10 เลขที่19
 
ประโยชน์ของ Mobile จากอดีตถึงปัจจุบัน
ประโยชน์ของ Mobile จากอดีตถึงปัจจุบันประโยชน์ของ Mobile จากอดีตถึงปัจจุบัน
ประโยชน์ของ Mobile จากอดีตถึงปัจจุบัน
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดี
ลักษณะของข้อมูลที่ดีลักษณะของข้อมูลที่ดี
ลักษณะของข้อมูลที่ดี
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)
พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)
พื้นฐานระบบโทรคมนาคม(Basic telecommunications)
 
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
 

Similar to ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่ 3

บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
chaiya5329
 
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404
Wanz Buranakanonda
 

Similar to ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่ 3 (20)

3 g technology
3 g technology3 g technology
3 g technology
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
 
งาน 1
งาน 1งาน 1
งาน 1
 
งานไทย
งานไทย งานไทย
งานไทย
 
4 g
4 g4 g
4 g
 
เทคโนโลยี 4 g
เทคโนโลยี 4 gเทคโนโลยี 4 g
เทคโนโลยี 4 g
 
Phu
PhuPhu
Phu
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อกบทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
7
77
7
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
4 g tecnology
4 g tecnology4 g tecnology
4 g tecnology
 
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ชาติย์+ฐิติวัฒน์)404
 
3G, Mid And Web Applications
3G, Mid And Web Applications3G, Mid And Web Applications
3G, Mid And Web Applications
 
Truecorporation
TruecorporationTruecorporation
Truecorporation
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 

More from jeabjeabloei

งานนำเสนอUniversal access
งานนำเสนอUniversal accessงานนำเสนอUniversal access
งานนำเสนอUniversal access
jeabjeabloei
 
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
jeabjeabloei
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
jeabjeabloei
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
jeabjeabloei
 
การทำงานตามระบบ Pdca
การทำงานตามระบบ Pdcaการทำงานตามระบบ Pdca
การทำงานตามระบบ Pdca
jeabjeabloei
 
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
jeabjeabloei
 
2โครงการอบรมส่งเสนอสำนักงานบัณฑิต
2โครงการอบรมส่งเสนอสำนักงานบัณฑิต2โครงการอบรมส่งเสนอสำนักงานบัณฑิต
2โครงการอบรมส่งเสนอสำนักงานบัณฑิต
jeabjeabloei
 
1ผลการวิเคราะห์ swot ของศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
1ผลการวิเคราะห์ swot   ของศูนย์คอมพิวเตอร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย1ผลการวิเคราะห์ swot   ของศูนย์คอมพิวเตอร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
1ผลการวิเคราะห์ swot ของศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
jeabjeabloei
 
รายงานอ่าวคุ้งกระเบน.Docx
รายงานอ่าวคุ้งกระเบน.Docx รายงานอ่าวคุ้งกระเบน.Docx
รายงานอ่าวคุ้งกระเบน.Docx
jeabjeabloei
 
โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตโครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคต
jeabjeabloei
 
เขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชลเขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชล
jeabjeabloei
 
เขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชลเขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชล
jeabjeabloei
 
โครงการห้วยองคต
 โครงการห้วยองคต โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคต
jeabjeabloei
 
เขื่อนขุนด่านปราการชล.Pptx
 เขื่อนขุนด่านปราการชล.Pptx  เขื่อนขุนด่านปราการชล.Pptx
เขื่อนขุนด่านปราการชล.Pptx
jeabjeabloei
 
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริการพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
jeabjeabloei
 
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
jeabjeabloei
 

More from jeabjeabloei (18)

งานนำเสนอUniversal access
งานนำเสนอUniversal accessงานนำเสนอUniversal access
งานนำเสนอUniversal access
 
Aec
AecAec
Aec
 
Pong
PongPong
Pong
 
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
 
การทำงานตามระบบ Pdca
การทำงานตามระบบ Pdcaการทำงานตามระบบ Pdca
การทำงานตามระบบ Pdca
 
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
 
2โครงการอบรมส่งเสนอสำนักงานบัณฑิต
2โครงการอบรมส่งเสนอสำนักงานบัณฑิต2โครงการอบรมส่งเสนอสำนักงานบัณฑิต
2โครงการอบรมส่งเสนอสำนักงานบัณฑิต
 
1ผลการวิเคราะห์ swot ของศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
1ผลการวิเคราะห์ swot   ของศูนย์คอมพิวเตอร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย1ผลการวิเคราะห์ swot   ของศูนย์คอมพิวเตอร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
1ผลการวิเคราะห์ swot ของศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
 
รายงานอ่าวคุ้งกระเบน.Docx
รายงานอ่าวคุ้งกระเบน.Docx รายงานอ่าวคุ้งกระเบน.Docx
รายงานอ่าวคุ้งกระเบน.Docx
 
โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตโครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคต
 
เขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชลเขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชล
 
เขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชลเขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชล
 
โครงการห้วยองคต
 โครงการห้วยองคต โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคต
 
เขื่อนขุนด่านปราการชล.Pptx
 เขื่อนขุนด่านปราการชล.Pptx  เขื่อนขุนด่านปราการชล.Pptx
เขื่อนขุนด่านปราการชล.Pptx
 
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริการพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
 
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
 

ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่ 3

  • 1. ระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่ 3 Third Generation Mobile Network นางอมรรัตน์ วงศ์โสภา บทคัดย่อ บทความนี้นาเสนอเกี่ยวกับเทคโนโลยีระบบโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่ในยุคที่ 3 ซึ่งได้มีการเพิ่ม ประสิทธิภาพการใช้งานระบบเครือข่ายในด้านการรับส่งข้อมูลในระบบไร้สายด้วยอัตราความเร็วที่สูงขึ้น และ บริการระบบเสียงที่มีคุณภาพของสัญญาณที่ชัดเจนขึ้น โดยกล่าวถึงความเป็นมา มาตรฐานที่ใช้ในปัจจุบัน คุณสมบัติเด่นของ 3G และผลกระทบของ 3G ทีมีต่อสังคม ่ Abstract This article, presents The Third Generation Mobile Network Technology which enables data transfer more efficiently via high speed wireless network system and enhances the quality of voice system service. It’s all about background, standard, 3G characteristics and impact of 3G to sociality. Keyword: 3G Third Generation Mobile Network บทนา ในบรรดาเทคโนโลยี น อกจากคอมพิ ว เตอร์ แ ละอิ น เตอร์ เ น็ ต แล้ ว โทรศั พ ท์ มื อ ถื อ ยั ง เป็ น หนึ่ ง เทคโนโลยีสื่อสารที่เป็นเครื่องมือสาคัญที่จะเปลี่ยนแปลงชีวิตอย่างมาก ปัจจุบันอัตราการเจริญเติบโตของผู้ใช้ โทรศั พ ท์ มื อ ถื อ พุ่ ง สู ง ขึ้ น เกื อ บเท่ า ตั ว มื อ ถื อ กลายเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของชี วิ ต เมื่ อ เที ย บกั บ คอมพิ ว เตอร์ แ ละ อินเทอร์เน็ต ช่วงนี้จะไปไหนมาไหนก็พกโทรศัพท์มือถือไปด้วย ไม่ว่าจะใช้ในการโทร ส่งข้อความ sms แต่ด้วยปัจจุบันนี้โทรศัพท์มือถือแบบสมาร์ทโฟนมีฟีเจอร์ความสามารถในการท่อง โลกอินเตอร์เน็ต แชตผ่าน social network การเล่นเกม การดูหนังฟังเพลง การถ่ายรูปที่ละเอียดยิ่งขึ้น ก็ทาให้หลายคนต้องพกมาเล่นมา แชตแทบทุกวัน จนกลายเป็นเป็นอาการโรคติดมือถือ แบบชีวิตนี้ขาดมือถือไม่ได้
  • 2. มี ผ ล ส า ร ว จ อ อ ก ม า จ า ก เ ว็ บ ไ ซ ต์ ใหญ่ ,ประชุมทางไกลผ่านหน้าจออุปกรณ์สื่อสาร, SecurEnvoy ส ารวจพฤติ กรรมของเจ้า ของ ดาวน์โหลดเพลง, ชมภาพยนตร์แบบสั้นๆ โทรศัพท์มือถือในอังกฤษ เดือน กุมภาพันธ์ 2012 เครือข่าย 3G ในประเทศไทยจะแบ่ง กว่ า พั น คนพบว่ า “ผู้ ช ายมี แ นวโน้ ม ที่ จ ะพก ออกเป็น 2 ระบบใหญ่ๆ คือ โทรศัพท์มือถือติดตัวไว้ถึงสองเครื่อง” ที่น่าสนใจ 1) ระบบ CDMA มี ชื่ อ เรี ย กว่ า คือ “สอง ในสามของผู้ตอบแบบสอบถามซึ่งส่วน CDMA2000 1xEV-DO ใหญ่เป็นผู้หญิง จะรู้สึกกังวลอย่างมาก หากลืม 2) GSM ก็คือ WCDMA หรือไม่ได้ใช้โทรศัพท์มือถือเช่นวันอื่นๆ ถึงขนาดที่ ทั้ง 2 ระบบต่างก็มีความเร็วในการดาวน์ ทาให้เกิดความกลัวการไม่ได้ใช้มือถือเลยทีเดียว “ โหลดข้อมูลสูงสุด 2 Mbps แต่เครือข่าย WCDMA อีกพฤติก รรมที่น่ าสั ง เกตคือ “เจ้ า ของเครื่อ ง สามารถพัฒ นาให้ รองรั บ เครื อ ข่ า ย 3.5G ใน โทรศัพท์มือถือ มักจะตรวจสอบมือถือของตัวเอง มาตรฐาน HSDPA (High Speed Downlink โดยเฉลี่ ย วั น ละ 34 ครั้ ง !” ซึ่ ง ผลการส ารวจ Packet Access) ซึ่งรองรับการสื่ อสารด้ว ย ดังกล่าวได้สะท้อน ความสาคัญของการสื่อสารใน อัตราเร็วสูงถึง 14 เมกะบิตต่อวินาที หรือเร็วกว่า ยุ ค นี้ ว่ า เทคโนโลยี มี ค วามผู ก พั น กั บ ชี วิ ต คนเรา การสื่อสารแบบ EDGE ถึง 36 เท่า และในไทยก็ ตลอด 24 ชั่วโมงจริงๆ สามารถใช้เครือข่าย HSDPA ได้แล้ว จากการทา จากมื อ ถื อ ในยุ ค 2G ที่ ก้ า วเข้ า สู่ ยุ ค ลองใช้งานบริเวณศูนย์การค้า Central World 3G ที่มีการพูดถึงกันมาก ซึ่งประสิทธิภาพ 3G พบว่ า มี ค วามเร็ ว ในการดาวน์ โ หลดอยู่ ที่ 1376 คือการรั บ ส่ ง ข้อมู ล ทั้ งเสี ย งและภาพที่มี คุณ ภาพ Kbps ส่ ว นความเร็ว ในการส่ งข้อมูล อยู่ที่ 236 มากขึ้ น ท าให้ ก ารสื่ อ สารจากจุ ด เริ่ ม ต้ น ของ Kbps ทั้งนี้ความเร็วในการทดสอบไม่ได้เป็นตัวเลข โทรศัพท์มือถือที่เป็นเพียงเครื่องมือสื่อสาร กลาย ตายตัว สามารถมีความเร็วเพิ่มขึ้นหรือลดลงตาม มาเป็ น เครื่ อ งมื อ ในการเข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล ช่ ว ยในการ จานวนผู้ใช้งาน หรือช่วงเวลาในการเชื่อมต่อ ทางาน และเข้ามาเปลี่ยนพฤติกรรมชีวิตของเรา มากยิ่งขึ้น ลักษณะการทางานของ 3G คุณสมบัติหลัก มีการเชื่อมต่อกับระบบ เข้าสู่ยุค 3G เครือข่ายไร้สายความเร็วสูง เครื อ ข่ า ยของ 3G ตลอดเวลาที่ เ ราเปิ ด เมื่อเปรียบเทียบเทคโนโลยี 2G กับ 3G เครื่องโทรศัพท์ (always on) นั่นคือไม่จาเป็นต้อง แล้ว 3G มีช่องสัญญาณความถี่ และ ความจุในการ ต่อโทรศัพท์เข้าเครือข่าย และ log-in ทุกครั้งเพื่อ รับส่งข้อมูลที่มากกว่า ทาให้ประสิทธิภาพในการ ใช้บริการรับส่งข้อมูล ซึ่งการ เสียค่าบริการแบบนี้ รับส่งข้อมูลแอพพลิเคชั่น รวมทั้งบริการระบบเสียง จะเกิ ดขึ้ น เมื่ อมี ก ารเรี ย กใช้ ข้ อ มู ล ผ่ า นเครื อ ข่ า ย ดีขึ้น พร้อมทั้งสามารถใช้ บริการมัลติมีเดียได้ เท่านั้น โดยจะต่างจากระบบ ทั่ว ไป ที่จะเสี ย ค่าบริการตั้งแต่เราล็อกอินเข้าในระบบเครือข่าย เต็มที่ และ สมบูรณ์แบบขึ้น เช่น บริการส่งแฟกซ์ , อุป กรณ์สื่ อ สารไร้ส ายระบบ 3G ส าหรับ 3G โทรศั พ ท์ต่ า งประเทศ ,รั บ -ส่ งข้ อ ความที่ มี ขนาด อุ ป กรณ์ สื่ อ สารไม่ ไ ด้ จ ากั ด อยู่ เ พี ย งแค่ โ ทรศั พ ท์
  • 3. เท่านั้ น แต่ยั งปรากฏในรู ป แบบของ อุปกรณ์ รุ่นโทรศัพท์ที่ตนใช้อยู่ และเมื่อรูปแบบของบริการ สื่อสารอื่น เช่น Palmtop, Personal Digital เสริ ม มี ห ลากหลายมากขึ้ น จากเดิ ม ที่ ผู้ ใ ช้ Assistant (PDA), Laptop และ PC โทรศัพท์เคลื่อนที่สามารถเลือกตั้งเสียงเพลงรอสาย มาตรฐานหลั ก มาตรฐาน ในยุค 3G จะไม่ใช่เป็นการสื่อเพียงแค่เสียงเท่านั้น โทรศัพท์เคลื่ อนที่ 3G เพื่อเป็ น การเพิ่มความ แต่ ผู้ ใ ช้ จ ะมี ท างเลื อ กเพิ่ ม มากขึ้ น ในการเลื อ ก คล่องตัวในการเปิดให้บริการ Non-voice อย่าง รูปแบบการแสดงออก อาทิ เช่น สามารถตั้งค่าให้ เต็มรูปแบบ พร้อม ทั้งยังคงรักษาคุณภาพในการ แสดงคลิปมิวสิควีดีโอของนักร้องที่ตนชื่นชอบ หรือ ให้บริการ Voice ด้วยระดับคุณภาพที่ดีกว่าหรือ อาจเป็นคอนเทนต์ที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นมาเองใหม่ ให้ ทัดเทียมในยุค 2G จึงได้มีการกาหนดมาตรฐาน ผู้โทรเข้าได้รับชมระหว่างรอสาย เพื่อดึงดูดความ โทรศัพท์เคลื่อนที่ 3Gขึ้น โดยมีมาตรฐานสาคัญอยู่ สนใจของผู้ เ รีย กเข้ า ทั้ง หมดนี้เ ป็น การสร้ า ง 2 ประเภทคือ วัฒ นธรรมในการแสดงออกต่อ สั งคมอีก รู ปแบบ  มาตรฐาน UMTS (Universal หนึ่ง อีกฝ่ายสามารถทราบถึงรสนิยมความชอบ Mobile Telecommunications Service) เป็น ของอีกฝ่ายโดยไม่จาเป็นต้องบอกกล่าว หรือพบ มาตรฐานที่ ออกแบบมาส าหรั บ ผู้ ให้ บ ริ ก าร หน้าแต่อย่างใด เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ได้นาไปพัฒนาจากยุค  ผลกระทบต่อจิต ใจ และความเชื่ อ 2G ไปสู่ ยุค 3G อย่างเต็มตัวโดยเทคโนโลยีหลักที่ เรื่องความทันสมัย เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นได้กับทุกยุค มี ก ารยอมรั บ การใช้ ง านทั่ ว โลกคื อ W-CDMA ทุกสมัย เมื่อมีกลุ่มผู้ใช้ที่เริ่มเปลี่ยนแปลง (Wideband Code Division Multiple Access ) พฤติกรรมในการใช้บริการใหม่ๆจานวน หนึ่งแล้ว  มาตรฐาน cdma2000 เป็ นการ ก็ จ ะเป็ น การแผ่ ข ยายในวงกว้ า งมากขึ้ น ต่ อ ไป พัฒนาเครือข่าย CDMA ให้รองรับการสื่อสารในยุค โดยเฉพาะกลุ่ มวัยรุ่นที่มีแนวโน้มพฤติกรรมชอบ 3G รั บ ผิ ด ชอบการพัฒ นาเทคโนโลยี ห ลั ก คื อ ลอกเลี ย นแบบและชอบการเปลี่ ย น แปลง cdma2000-3xRTT ที่ ศั ก ยภาพเที ย บเท่ า ตลอดเวลา โดยมีผลต่อความเชื่อว่าถ้าเพื่อนรอบ มาตรฐาน W-CDMA ข้างมีแล้วถ้าตนไม่มีจะถือว่าล้าสมัย ในขณะที่สิ่ง เหล่ า นี้ อ าจจะไม่ เ กิ ด ขึ้ น กั บ ผู้ สู ง อายุ แ ละกลุ่ ม ผลกระทบที่มีต่อวัฒนธรรมและสังคม อนุรักษ์นิยมที่ ยังนิยมวัฒนธรรมเดิมๆมากกว่าการ การเปลี่ยนแปลง เข้าสู่เทคโนโลยียุค 3G ยอมรับการเปลี่ยนแปลงใดๆ ก่อให้เกิดผลกระทบทางด้านสังคมและวัฒนธรรม  ความปลอดภัยใน สังคม เทคโนโลยี อันเนื่องมาจากการพฤติกรรมในบริการเสริมต่างๆ LBS(Location Based Service) สามารถช่วยเพิ่ม ที่เปลี่ยนไปจากเดิม เช่น ความปลอดภัยในสังคมให้กับบุตรหลานที่ยังเป็น  ช่ อ งทางในการ แสดงออกถึ ง เด็กเล็กๆ คุณพ่อคุณแม่สามารถตรวจสอบได้ว่า ความสาคัญและรสนิยมของตัวเองในสังคมมีมาก ขณะนี้บุตรหลานของตนกาลังอยู่ที่ใด กลั บมา ขึ้น เดิมนั้นโทรศัพท์เคลื่อนที่เปรียบเสมือนสิ่งที่บ่ง พร้อมกับรถโรงเรียนหรือไม่ บอกรสนิยมและบุคลิกของผู้ ใช้โดยสังเกตได้จาก
  • 4. ผลกระทบต่อข้อมูล ส่วนตัว และ ตาแหน่งของบุคคลเพียงอย่างเดียว แต่นามาใช้เพื่อ สิทธิส่ วนบุคคล รู ปแบบบริการที่มีความสามารถ ค้นหาสถานที่ที่ตนต้องการแทน เป็นต้น มากขึ้ น เปรี ย บเสมื อ นดาบสองคมในตั ว บทสรุป เช่ น เดี ย วกั น หนึ่ ง ในเหตุ ผ ลของบริ ก าร Video Call และ การตรวจสอบตาแหน่งของคู่สนทนา สาหรับในอนาคตเมื่อ 3G ถูกใช้บริการ ด้วยเทคโนโลยี LBS(Location Based Service) อย่ า งเต็ ม รู ป แบบ จึ ง หลี ก เลี่ ย งไม่ ไ ด้ ที่ จ ะต้ อ ง ที่ ไ ม่ ป ระสบความส าเร็ จ ในต่ า งประเทศที่ เ ปิ ด แข่ ง ขั น กั บ ผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารอิ น เทอร์ เ น็ ต ความเร็ ว สู ง ให้บริการ 3G อันเนื่องมาจากผู้โทรเข้าสามารถ (ADSL) ที่มีอยู่เดิม ซึ่งปัจจัยหนึ่งที่สาคัญคือการ ทราบได้ว่า คู่สนทนากาลังทาอะไรอยู่ และถึงแม้ ตั้งราคา ซึ่งถ้าตั้งราคาพอแข่งขันกับ ADSL ได้ก็ บริการเสริมดังกล่าว อาจสามารถทาการเลือกได้ว่า จะมี โ อกาสที่ ดึง ลู ก ค้า จากระบบเดิ ม มาใช้ ร ะบบ ให้แสดงภาพของตนหรือแค่พูดคุยด้วยเสียงเท่านั้น แต่ก็อาจเกิดความเกรงใจ และเป็น มารยาทที่ไม่ 3G เพราะความสะดวกในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต กล้าปฎิเสธ ดังนั้นผู้ให้บริการจึงอาจต้องเปลี่ยน จากทุกที่ และตอบสนองการใช้บริการโทรศัพท์ รูปแบบของการให้บริการไปเล็กน้อย แทนที่จะ การเข้าถึงและเข้าใช้งานบริการต่างๆ แสดงรูปจริงของคู่สนทนา ผู้สนทนาสามารถเลือก ดังนั้น การเลือกใช้ 3G ควรพิจารณา การ์ตูนแทนตัวเอง (Avatar) หรือรูปใดๆก็ได้ที่ตน ถึงความคุ้มค่า และความเหมาะสมกับพฤติกรรม ชื่นชอบแทน ในขณะที่บริการเสริมที่ใช้เทคโนโลยี ของผู้ใช้ว่าเทคโนโลยีดังกล่าวว่ามทีความจาเป็นต่อ LBS มาช่วยนั้น อาจไม่ได้นามาใช้เพื่อการสอบถาม การใช้งานในชีวิตประจาวันหรือการทางานหรือไม่ เอกสารอ้างอิง วรวิสุทธิ์ ภิญโญยาง, สรวิศ ประดิษฐบาทุกา.(2552). ความเคลื่อนไหวและทิศทางของธุรกิจ 3G ในปี 2009. ค้นเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2555, จาก http://www.worawisut.com/2009/04/05/3g- trends-2009/ วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (ม.ป.ป.). มาตรฐานโทรศัพท์มือถือยุคที่ 3. ค้นเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2555, จาก http://th.wikipedia.org/wiki/3_%E0%B8%88%E0%B8%B5 เทคโนโลยี 3G คืออะไร 3G หรือ Third Generation. ค้นเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2555, จาก http://www.azooga.com/content_detail.php?cno=425 เทคโนโลยี 3G คืออะไร. ค้นเมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2555, จาก http://mulinet8.li.mahidol.ac.th/mulibrary-km/exhibit/2553/june_53.pdf