SlideShare a Scribd company logo
1 of 55
Download to read offline
อารยธรรมกรี ก
ปั จจัยทางภูมศาสตร์ กับการตังถิ่นฐาน
ิ
้
ที่ตงและลักษณะภูมิประเทศกรีกในสมัยโบราณอยู่
ั้
ทางด้ านตะวันออกสุดของยุโรปภาคใต้ ประกอบ ด้ วย
ดินแดนกรี กบนผืนแผ่ นดินหมู่เกาะต่ างๆ ในทะเลเอเจียน
หรือฝั่ งตะวันตกของเอเชียไมเนอร์ ซึ่งนิยมเรียกว่ านครรัฐไอ
โอเนียน (Ionian Cities)

ที่มา : http://www.weddingstudio.org/honeymoon/Greece.html
แผนที่แสดงอาณาเขตของกรีซ

ที่มา : http://www.vcharkarn.com/vblog/114423
ปั จจัยทางภูมศาสตร์ กับการตังถิ่นฐาน(ต่ อ)
ิ
้
รวมเนือที่ทงหมดประมาณ 5 หมื่นตารางไมล์ ในจํานวนนี ้
้ ั้
ดินแดนส่ วนใหญ่ คือ ประมาณ 4 ใน 5 คือ ดินแดนกรี กบนผืน
แผ่ นดินใหญ่ ในทวีปยุโรปดินแดนตอนนีแบ่ งออกเป็ นภาคใหญ่ ๆ
้
ได้ 3 ภาค คือ
1.กรี กภาคเหนือ อันได้ แก่ แคว้ นมาซีโดเนีย เทสซาลี เอไพรั ส
รวมอาณาบริเวณประมาณครึ่งของดินแดนกรี กบนผืนแผ่ นดินใหญ่ ใน
สมัยคลาสสิค ไม่ นิยมรวมมาซีโดเนียเป็ นส่ วนหนึ่งของกรี ก
2.กรี กภาคกลาง ได้ แก่ บริเวณซึ่งเป็ นเนินเขาสูง ระหว่ างกรี ก
ภาคกลาง และอ่ าวคอรินธ์ ตรงปลายสุดด้ านตะวันออกของบริเวณนีคือ
้
แคว้ นอันติก อันมีเมืองหลวงคือนครรั ฐเอเธนส์ ที่กาเนิดของศิลป
ํ
วิทยาการ ปรั ชญาและระบอบการปกครองอันมีช่ ือเสียง
http://en.wikipedia.org/wiki/Isthmus_of_Corinth
ปั จจัยทางภูมศาสตร์ กับการตังถิ่นฐาน(ต่ อ)
ิ
้
3.เพลอปปอนเนซุส ได้ แก่ บริเวณคาบสมุทร ซึ่งอยู่ทางตอน
ใต้ ของ อ่ าวคอรินธ์ เชื่อมติดกับภาคกลางและภาคเหนือด้ วยคอคอด
คอรินธ์ ใต้ คอคอดนีลงมาคือที่ตงของเมืองอาร์ กอลิส เป็ นศูนย์ กลาง
้
ั้
ของอารยธรรม กรีกที่เจริญขึนเป็ นครั งแรก ใจกลางคาบสมุทรแห่ ง
้
้
นีเ้ ป็ นที่ตงของนครรัฐสปาร์ ตา ซึ่งมีช่ ือเสียงในด้ านการรบ เมือง
ั้
โอลิมเปี ย ที่สิงสถิตของบรรดาเทพเจ้ ากรี กอยู่ชิดกับฝั่ งทะเลไอโอ
เนีย ด้ านตะวันตกของคาบสมุทรเพลอปปอนเนซุส
http://www.thamwebsite.com/cty/tiplearn/old/pages/olympic.htm
แผนที่แสดงภูมิภาคต่ างๆ

อ่ าวคอรินธ์

ที่มา : http://www.thaigoodview.com/node/73137
ปั จจัยทางภูมศาสตร์ กับการตังถิ่นฐาน(ต่ อ)
ิ
้
ดินแดนกรีซเป็ นดินแดนที่ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ มีอทธิพลต่ อ
ิ
การตังถิ่นฐานและการดํารงชีวิตของประชาชน เนื่องจากลักษณะ
้
ทางภูมิศาสตร์ มีอทธิพลต่ อพัฒนาการของอารยธรรมกรีก มี 3
ิ
ประการ คือ ภูเขา พืนดิน และทะเล
้
1.สภาพดินแดนของกรี ซเต็มไปด้ วยภูเขา ภูเขาเหล่ านีแบ่ ง
้
กรี ซออกเป็ นที่ราบในหุบเขาเล็ก แยกออกจากกัน ภูเขาเป็ น
อุปสรรคสําคัญในการติดต่ อคมนาคม หมู่บ้านตามหุบเขาเหล่ านีจง
้ึ
มักปกครองตนเองเป็ นอิสระต่ อกัน
http://kootation.com/download-meteora-monastery-on-rocwallpaper/
ปั จจัยทางภูมศาสตร์ กับการตังถิ่นฐาน(ต่ อ)
ิ
้
2.สภาพพืนดินส่ วนใหญ่ ขาดความอุดมสมบูรณ์ แม่ นําใน
้
้
กรีกเป็ นแม่ นําสายสันๆในฤดูท่ มีนําไหลมาก นําจะพัดพาเอาดินที่
้
้
ี ้
้
อุดมสมบูรณ์ ไป ส่ วนพืนที่ราบตามหุบเขาแม้ จะมีความอุดม
้
สมบูรณ์ แต่ มีพนที่ขนาดเล็ก ไม่ สามารถเพาะปลูกได้ มากนัก จึงไม่
ื้
สามารถผลิตพืชผลได้ เพียงพอต่ อความต้ องการของประชากร

http://kootation.com/downloadmeteora-monastery-on-rocwallpaper/
ปั จจัยทางภูมศาสตร์ กับการตังถิ่นฐาน(ต่ อ)
ิ
้
3. ทะเลกรี ก จัดเป็ นประเทศที่มีความสะดวกสบายใน
ทางออกทะเล ดินแดนกรี ซส่ วนใหญ่ มีลักษณะคล้ ายแหลมยื่น
ไปในทะเล ชายฝั่ งทะเลใช้ เป็ นอ่ าวจอดเรื อได้ เป็ นอย่ างดี
เป็ นปั จจัยส่ งเสริมให้ ชาวกรี กหันมาทําการค้ าขายทางทะเลกับ
ดินแดนอื่นๆ ทําให้ ชาวกรี กได้ เรี ยนรู้ อารยธรรมอื่นๆ เช่ น
อารยธรรมของอียปต์ อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
ิ

http://kootation.com/download-meteora-monastery-on-rocwallpaper/
ปั จจัยทางภูมศาสตร์ กับการตังถิ่นฐาน(ต่ อ)
ิ
้
หมู่เกาะในทะเลอีเจียนที่สาคัญ คือ เกาะครีต(Crete) ซึ่ง
ํ
เป็ นเกาะใหญ่ อันดับหนึ่ง และมีความสําคัญในฐานะเป็ นต้ นกําเนิด
อารยธรรมกรีก
ที่มา : http://panupong088.wordpress.com/2012/12/06/อารยธรรมกรี ก

เกาะครีต
แผนที่แสดงแหล่ งอารยธรรมต่ างๆ

เอเชียไมเนอร์

กรีซ
เมโสโปเตเมีย

อียปต์
ิ

ที่มา : http://tnahra.wordpress.com/1/
ปั จจัยทางภูมศาสตร์ กับการตังถิ่นฐาน(ต่ อ)
ิ
้
ดินแดนคาบสมุทรกรี ซ เป็ นดินแดนที่มีทรั พยากร
พอสมควร ได้ แก่ เหล็ก ทอง เงิน หินอ่ อน ดังนันชาวกรีซจึงนํา
้
หินอ่ อนมาใช้ ก่อสร้ างบ้ านเรื อนและศาสนสถานต่ างๆ

ที่มา : http://www.tourtooktee.com/webboard-each.php?id=248
อารยธรรมกรี กสมัยก่ อนประวัตศาสตร์
ิ
จากหลักฐานทางโบราณคดีท่ ค้นพบแสดงว่ า มีการตัง
ี
้
ถิ่นฐานบ้ านเรื อนในดินแดนกรีซเมื่อประมาณ 4,000 ปี ก่ อน
คริสต์ ศักราช พบเครื่องมือเครื่องใช้ ทาด้ วยหิน
ํ
เครื่องปั ้นดินเผามีลวดลายประดับและมีคุณภาพ

ที่มา : http://yosocial.wordpress.com/
อารยธรรมกรีกสมัยก่ อนประวัตศาสตร์ (ต่ อ)
ิ
ผู้คนในดินแดนแถบนีดารงชีวตด้ วยการเกษตรเป็ น
้ ํ
ิ
หลัก สิ่งก่ อสร้ างบางแห่ งมีลักษณะคล้ ายปอมปราการ
้
สันนิษฐานว่ าอาจมีการจัดระเบียบการปกครองในชุมชนกัน
แล้ ว

ที่มา : http://writer.dek-d.com/106601/story/viewlongc.php?id=669092&chapter=9
อารยธรรมกรีกสมัยก่ อนประวัตศาสตร์ (ต่ อ)
ิ
ในราว 3,000-2,000 ปี ก่ อนคริสต์ ศักราช บนเกาะครีตรู้จักใช้
โลหะ ได้ แก่ ทองแดง สําริด ซึ่งเข้ าใจว่ าคงรั บมาจากอารยธรรม
อียปต์ โบราณ เนื่องจากเกาะครี ตตังอยู่ทางตอนใต้ สุดของกรีซ ใต้
ิ
้
เกาะครี ตลงไปคืออียปต์ โดยมีทะเลเมดิเตอร์ เรเนียนอยู่ระหว่ าง
ิ
กลาง
รูปภาพ : คอลดรอนสําริดที่ทาในกรีซ พบในเนินบรรจุศพวีซ์ในฝรั่งเศสซึ่งเป็ นที่ฝัง
ํ
ศพของสตรีสูงศักดิ์จากศตวรรษที่ 6
ที่มา : http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=vinitsiri&month=052011&date=05&group=64&gblog=188
อารยธรรมกรี กสมัยประวัตศาสตร์
ิ
อารยธรรมกรีกเป็ ยอารยธรรมเก่ าแก่ เรื่ องราวเกี่ยวกีบกรีก
ในระยะแรกๆค่ อนค่ างเรื อนราง มีลักษณะนิยายปรัมปรา แต่ จาก
หลักฐานการขุดค้ นของนักโบราณคดีท่ เมืองทรอย ไมซีเน และเมือง
ี
อื่นๆตามที่มหากวีโฮเมอร์ ได้ กล่ าวในมหากาพย์ อเลียด และโอดิส
ิ
ซีย์ ช่ วยเปิ ดเผยความจริงเกี่ยวกับการสร้ างอารยธรรมกรีกใน
ระยะแรกๆเป็ นอันมาก จากการสํารวจค้ นคว้ าของนักโบราณคดีและ
นักประวัตศาสตร์ ในสมัยต่ อมายังทําให้ เราทราบว่ าอารยธรรมกรีก
ิ
ปรากฏครังแรกที่เกาะครี ตในทะเลอีเจียน เมื่อประมาณเกือบ
้
๒,๐๐๐ ปี ก่ อนคริสต์ ศักราช อารยธรรมในทะเลอีเจียนประกอบด้ วย
อารยธรรมไมนวนและอารยธรรมไมซีเน
ที่มา http://staff.harrisonburg.k12.va.us/~cwalton/walton/solpracticetest.htm
อารยธรรมไมนวน
อารยธรรมไมนวน(Minoan Civilization)เกิดขึนบน
้
เกาะครี ต ชาวครีตหรือชาวครี ตนเป็ นชนพืนเมืองส่ วนใหญ่ ประกอบ
ั
้
อาชีพค้ าขาย การพบแผ่ นดินเผาจารึกตัวอักษรจํานวนมากใน
เกาะครี ต ทังอักษรภาพ และตัวอักษรที่เป็ นเส้ นตรง แสดงว่ าชาว
้
กรีกสามารถใช้ ตวอักษรได้ เป็ นอย่ างดี
ั

ที่มา : http://writer.dekd.com/cammy/story/viewlongc.php?id=486572&chapter=497
อารยธรรมไมนวน(ต่ อ)
กษัตริย์ท่ มีอานาจมากที่สุด คือ พระเจ้ ามินอส(Minos)
ี ํ
อารยธรรมของชาวครีตนได้ ช่ ือว่ า อารยธรรมไมนวน ตามพระนาม
ั
ของกษัตริย์องค์ นี ้
อารยธรรมไมนวนเจริญสูงสุดในระหว่ าง 1,800 – 1,500
ปี ก่ อนคริสต์ ศักราชในระยะเวลานีเ้ รี ยกว่ าเป็ นสมัยวัง เพราะชาวครี
ตันได้ ใช้ ความรู้ ความสามารถในการก่ อสร้ างและขยายวังให้ ใหญ่ โต
มโหฬาร วังที่สาคัญ ได้ แก่ วังนอสซัส(Knossos)
ํ
ประมาณ 1,400 ปี ก่ อนคริสต์ ศักราช อารยธรรมไมนวนที่
เกาะครี ตถึงจุดสินสุดเมื่อถูกพวกไมซีเนียนจากผืนแผ่ นดินใหญ่
้
รุ กราน
ที่มา : http://nuyiiz.blogspot.com/2012_09_01_archive.html
อารยธรรมไมนวน(ต่ อ)

"King's Throne" from the Palace of Knossos.

Stairwell from Knossos.

"Snake Goddess" c. 1600
B.C. from Knossos.

"Queen's Megaron" from Knossos.
อารยธรรมไมนวน(ต่ อ)

Naval Fresco from Akrotiri, Thera, c. 1650-1500 B.C.

Octopus Vase (Marine Style), c. 1500 B.C.
ที่มาhttp://employees.oneonta.edu/farberas/arth/
arth209/minoan_mycenaean.html

"Spring" fresco from Thera, c. 1650.
อารยธรรมไมนวน(ต่ อ)
Pyxis(เซรามิก), ca. 1400–1100 B.C.; Late
Minoan IIIB

Lentoid seal with a griffin, ca.
1450–1400 B.C.; Late Minoan II

Rhyton in the form of a
bull's head(ดินเผา), ca. 1450–
1400 B.C.; Late Minoan II

Larnax (chest-shaped coffin)(ดินเผา),
mid-13th century B.C.; Late Minoan
IIIB
ที่มา : http://www.metmuseum.org/toah/hd/mino/hd_mino.htm
อารยธรรมไมซีเน
อารยธรรมไมซีเน(Mycenae Civilization) เป็ นอารย
ธรรมของพวกไมซีเนียน เจริญรุ่ งเรื องอยู่ประมาณ 1,400-1,100
ปี ก่ อนคริสต์ ศักราช มีศูนย์ กลางอยู่ท่ เมืองไมซีเนบนคาบสมุทรเพโล
ี
พอนนีซัส

http://employees.oneonta.edu/farberas/arth/arth209/minoan_mycenaean.html
อารยธรรมไมซีเน(ต่ อ)
บรรพบุรุษของชาวไมซีเนียน คือ พวกเอเคียน ซึ่งเป็ นกลุ่ม
คนที่พูดภาษาอินโด-ยูโรเปี ยน อพยพมาจากทางเหนือประมาณ
2,000 ปี ก่ อนคริสต์ ศักราช พวกเอเคียนมีความสามารถทางด้ าน
การรบและการค้ า รับแลกเปลี่ยนอารยธรรมกับดินแดนใกล้ เคียงที่
ติดต่ อกันทางการค้ า เช่ น เกาะครี ต อียปต์ คาบสมุทรอานาโตเลีย
ิ
ประมาณ 1,460 ปี ก่ อนคริสต์ ศักราช พวกเอเคียนโจมตี
เกาะครี ตทําลายพระราชวังนอสซัสและครอบครองเกาะครีต ต่ อมา
1,400 ปี ก่ อนคริสต์ ศักราช ได้ สร้ างเมืองไมซีเนที่มีปองปราการ
้
แข็งแรง พวกเอเคียนจึงมีช่ ือใหม่ ว่าไมซีเนียนตามชื่อเมือง
อารยธรรมไมซีเน(ต่ อ)
อารยธรรมสําคัญของชาวไมซีเนียน คือ ตัวอักษรไมซีเนียน
ซึ่งเป็ นรากฐานของตัวอักษรกรี กนอกจากนียังมีการสร้ างถนน
้
สะพาน และรู้ จักทําท่ อส่ งนําแบบท่ อประปา
้
ด้ านความเชื่อทางศาสนา ชาวไมซีเนียนนับถือเทพเจ้ า
หลายองค์ รวมทังเทพเจ้ าซูส(Zeus) ซึ่งชาวกรี กในสมัยต่ อมานับถือ
้
เป็ นเทพเจ้ าสูงสุด
อารยธรรมไมซีเนสินสุดลงเพราะถูกพวกดอเรียน(Dorian)
้
ซึ่งเป็ นชาวกรีกเผ่ าหนึ่งรุ กราน ทําให้ อารธรรมในทะเลอีเจียนต้ อง
ยุตลงชั่วขณะ
ิ
http://gwenminor.com/?tag=mycenae
อารยธรรมไมซีเน(ต่ อ)

Royal Grave Circle A, c. 1600- 1500 B.C.

Lions Gate มีการวางหินเป็ นรูปแบบซุ้มประตู
อารยธรรมไมซีเน(ต่ อ)
Interior of "Treasury of Atreus"
(corbeled arch)

Royal Tomb (Tholos) so-called Treasury of
Atreus, c. 1300-1250.

สร้ างโดยยกหินขึนวางและถมดินตามทีละ
้
ชันๆใช้ นําหนักของดินเป็ นแรงกดด้ านนอก
้
้
ทําให้ หนไม่ ถล่ มลงมา และตัดหินภายในให้
ิ
เรียบ ใช้ เป็ นที่เก็บศพของกษัตริย์

ที่มาhttp://employees.oneonta.edu/farbera
s/arth/arth209/minoan_mycenaean.html
อารยธรรมไมซีเน(ต่ อ)
Golden Death mask, Found in Tomb
V, Grave Circle A at Mycenae.

Small vase carved out of rock crystal, Found
in Grave O, Grave circle B, at Mycenae.

Bronze dagger decorated with gold(กริช), Found
in Tomb IV, Royal Grave Circle A, Mycenae

Funeral Diadem (Gold)ใช้ ประดับเจ้ าหญิง
Found at tomb III, Royal Grave Circle A
อารยธรรมไมซีเน(ต่ อ)
Gold rhyton, Tomb IV, Grave
Circle A, Mycenaean Acropolis

Gold ring,used as a seal(ตราประทับ)
16th century. B.C. Mycenae

Two Golden goblets.Found in
Royal Tomb V, Grave Circle A,
at Mycenae
ที่มาhttp://www.greeklandscapes.com/gr
eece/athens_museum_mycenae.html
นครรั ฐของกรี ก
ลักษณะภูมิประเทศของกรี ซทําให้ การตังถิ่นฐานแบ่ งเป็ น
้
นครรั ฐ (city-state)ซึ่ งชาวกรี กนิยมเรี ยกว่ า โพลิส(polis) แต่ ละ
นครรั ฐต่ างมีสภาพสังคมและวัฒนธรรมเป็ นของตัวเอง
การปกครองหลัง 800 ปี ก่ อนคริสต์ ศักราช หรือที่เรียกว่ า
ยุคคลาสสิก(Classic Age) บางนครรั ฐปกครองในระบอบกษัตริย์
และบางนครรัฐปกครองในระบอบคณาธิปไตย

ที่มา : http://worldcoincatalog.com/AC/C2/Greece/AG/CSofGreece.htm
นครรัฐของกรีก(ต่ อ)
แต่ อย่ างไรก็ดี ใน 700 ปี ก่ อนคริสต์ ศักราช กษัตริย์ได้
สูญเสียอํานาจทังหมดให้ แก่ พวกขุนนาง ซึ่งต่ อมาปกครองด้ วย
้
ระบอบประชาธิปไตย ให้ สิทธิการเลือกตังรวมทังการดํารงตําแหน่ ง
้
้
ผู้ปกกครองและบริหารนครรั ฐแก่ ราษฎรชายที่บรรลุนิตภาวะ และ
ิ
เป็ นพลเมืองของนครรัฐ
อุดมการณ์ ประชาธิปไตยของกรี กนับว่ าเป็ นมรดกทางอารย
ธรรมที่สาคัญอย่ างหนึ่งที่ถ่ายทอกให้ แก่ โลกตะวันตก จนเกิด
ํ
พัฒนาการณ์ กลายเป็ นระบอบประชาธิปไตยในปั จจุบัน
ที่มา : https://sites.google.com/site/tripbkk/sthan-thi-theiyw-thawpi/6-xnusawriy-prachathiptiy
นครรัฐของกรีก(ต่ อ)
ประมาณ 500 ปี ก่ อนคริสต์ ศักราช ศูนย์ กลางความเจริญ
ของกรีกได้ ย้ายมาสู่นครรั ฐเอเธนส์ (Athens) ในแคว้ นแอตติกะ
(Attica) สถาปั ตยกรรม วรรณคดี ประวัตศาสตร์ การแพทย์
ิ
และปรั ชญาเจริญขึนอย่ างรวดเร็ว แต่ ในขณะเวลาเดียวกันนี ้
้
เอเธนส์ และนครรัฐอื่นๆในกรีกก็ผนึกกําลังกันเพื่อทําสงคราม
ปองกันการรุ กรานจากเปอร์ เซียในระหว่ าง 470-429 ปี ก่ อน
้
คริสต์ ศักราช

http://www.mitchellteachers.org/World
History/AncientGreece/TouringAthensDu
ringtheGoldenAge.htm
นครรั ฐของกรีก(ต่ อ)
ผลของสงครามเอเธนส์ เป็ นฝ่ ายชนะ ทําให้ เอเธนส์ เป็ นผู้นํา
ของนครรัฐต่ างๆ
ผู้นําทัพของเอเธนส์ ในขณะที่รบกับเปอร์ เซีย คือ เธมิสโต
คลีส เขาได้ ออกแบบเรื อไทรรี ม(Trireme) ซึ่งมีสามฝี พายสาม
ระดับชันใช้ ฝีพาย 170 นาย เรื อไทรรี มสามารถมีความเร็วได้ 8-9
้
นอต(1=1.852 กิโลเมตรต่ อชั่วโมง) และด้ วยความเร็วนีทาให้ หวเรือ
้ ํ
ั
ที่ห้ ุมด้ วยสําริดสามารถพุ่งชนเรื อของข้ าศึกให้ พังได้

ที่มา : http://www.ancient.eu.com/image/1184/
นครรั ฐของกรี ก(ต่ อ)
ต่ อมาเอเธนส์ ได้ จัดตังสมาพันธรั ฐแห่ งหมู่เกาะเดลอส(Delos)
้
ขึนที่เกาะเดลอส ซึ่งใช้ เป็ นศูนย์ เก็บรั กษาทรั พย์ สมบัติ ต่ อมาสมาพัธรั ฐ
้
ได้ ย้ายศูนย์ กลางไปอยู่ท่ เอเธนส์ ในระยะนีเ้ อเธนส์ มีความเจริญสูงสุด
ี
จนเรี ยกว่ า ยุคทองของเอเธนส์
วิหารพาร์ เธนอน(Parthenon)ซึ่งสร้ างจากหินอ่ อนภายใน
บรรจุรูปปั ้นเทพีอาเธน่ สูงประมาณ10-11เมตรทําจากทองและงาช้ าง
เป็ นเครื่ องยืนยันความมั่งคั่งของเอเธนส์ ในยุคนัน
้

ที่มาhttp://www.mitchellteachers.org/WorldHistory/AncientGreece/Touri
ngAthensDuringtheGoldenAge.htm
นครรั ฐของกรี ก(ต่ อ)
ความมั่งคั่งของเอเธนส์ ได้ นําเอเธนส์ เข้ าสู่สงครามเพโล
พอนเนเซียน(Peloponnesian War 431-404 ปี ก่ อน
คริสต์ ศักราช) ซึ่งเป็ นสงครามระหว่ างเอเธนส์ และสปาร์ ตา
เนื่องจากขณะนันสปาร์ ตาเป็ นนครรั ฐทหารและเป็ นคู่แข่ งที่สาคัญ
้
ํ
ในการแย่ งชิงอํานาจเพื่อเป็ นผู้นํากรี ก
จนในที่สุดในปี 404 ก่ อนคริสต์ ศักราช เอเธนส์ ก็ล่มสลาย
นครรั ฐของกรี ก(ต่ อ)
สงครามเพโลพอนเนเซียนนําความเสื่อมมาสู่นครรัฐกรีก
และเปิ ดโอกาศให้ มาซิโดเนียซึ่งเป็ นอาณาจักรเล็กๆทางตอนเหนือที่
มีวัฒนธรรมด้ อยกว่ าขยายอํานาจเข้ าครอบครองกรีกได้ ในสมัย
พระเจ้ าอะเล็กซานเดอร์ มหาราช(Alexander the Great
336-323ปี ก่ อนคริสต์ ศักราช) เรี ยกว่ ายุค เฮลเลนิสติก
(Hellenistic Age)
ในยุคนีกรีกสามารถขยายดินแดนครอบคลุมอียปต์ เอเชีย
้
ิ
ไมเนอร์ เปอร์ เซีย ไปจนถึงอินเดีย ทําให้ ศิลปวัฒนธรรมของกรีก
แพร่ หลายไปทั่วภูมิภาคตะวันออกกลาง
นครรั ฐของกรี ก(ต่ อ)
นอกจากนียังมีการจัดตังเมืองอะเล็กซานเดรีย
้
้
(Alexandria)ในอียปต์ เพื่อเป็ นศูนย์ กลางการค้ าและ
ิ
ศิลปวัฒนธรรมของกรี ก
มรดกทางวัฒนธรรมของกรีก
1.สถาปั ตยกรรม
2.ประติมากรรม
3.จิตรกรรม
4.นาฏกรรม
5.วรรณกรรม
http://www.eni.com/en_IT/company/eniculture/art/strength-beauty/strengthbeauty.shtml

6.คณิตศาสตร์
7.ฟิ สิกส์
8.การแพทย์
9.ภูมิศาสตร์
10.ประวัตศาสตร์
ิ
สถาปั ตยกรรม
1.สถาปั ตยกรรม เนื่องจากระบอบการปกครองของกรีกใน

ยุคคลาสสิกเป็ นแบบนครรั ฐที่ไม่ มีกษัตริย์เป็ นประมุข งานก่ อสร้ างจึง
ไม่ ใช่ พระราชวังหรูหราเหมือนในสมัยไมนวนแต่ จะเป็ นวิหารสําหรับ
เทพเจ้ า ซึ่งชาวกรีกให้ ความสําคัญอย่ างสูง
วิหารที่กรีกไว้ บูชาเทพเจ้ านัน นิยมสร้ างบนเนินดินหรือภูเขา
้
เล็กๆ ซึ่งมีช่ ือเรียกว่ าอะครอโพลิส(Acropolis) วิการที่สาคัญ ได้ แก่
ํ
วิหารพาร์ เธนอน(Parthenon) ที่อะครอโพลิสในนครรัฐเอเธนส์
สถาปัตยกรรม(ต่ อ)
ลักษณะของเสากรี กมี 3 แบบ คือ
1)Doric Order เป็ นเสาโรมันแบบที่เรี ยบง่ าย มั่นคง
แข็งแรง เป็ นแบบแพร่ หลายมากที่สุดและเก่ าแก่ ท่ สุด ตัวอย่ างของ
ี
อาคารที่ใช้ เสาแบบดอริกคือวิหารพาร์ เธนอนเนื่องจากชาวกรี กนิยม
ความเรียบง่ าย
ลักษณะของเสาส่ วนล่ างจะใหญ่ แล้ วเรี ยวขึนเล็กน้ อย ตาม
้
เสาจะแกะเป็ นร่ องลึกเว้ าตามแนวยาว หัวเสาเป็ นแผ่ นหินเรียบ
สถาปัตยกรรม(ต่ อ)
2)Ionic Order ลักษณะเรี ยวกว่ าเสาแบบดอริก หัวเสา
เป็ นลายโค้ งม้ วนย้ อยลงมาทังสองข้ าง ทําให้ ดอ่อนช้ อย ตัวอย่ าง
้
ู
อาคารที่ใช้ เสาแบบนี ้ เช่ น วิหารอีเรกเธอัม(Erectheum)ที่
เอเธนส์ สร้ างอุทศแก่ อีเรกเธอัส(Erectheus) วีรบุรุษของเอเธนส์
ิ
ในนิยายกรีก
วิหารอีเรกเธอัม(Erectheum)
มรดกทางวัฒนธรรมของกรี ก(ต่ อ)
3) Corinthian Order ให้ ความรู้ สึกหรู หรา ฟุ่ มเฟื อย
นิยมนํามาเป็ นแบบอย่ างใน สมัยโรมัน ลักษณะหัวเสามีการตกแต่ ง
โดยแกะเป็ นรู ปดอกไม้ ใบไม้ ทําเป็ นใบซ้ อนกันสองชัน แล้ วแต่ ง
้
ด้ วยดอกไม้ ส่ วนล่ างของเสามีฐานรองรั บแบบเดียวกับไอโอนิค เป็ น
เสาโรมันที่มีความงดงามมาก
รู ปเปรียบเทียบเสาโรมัน
ประติมากรรม
2.ประติมากรรม งานประติมากรรมของกรีกสะท้ อนให้ เห็น
ลักษณะธรรมชาตินิยมของมนุษย์
งานประติมากรรมของกรี กในช่ วงแรกรั บอิทธิพลมาจาก
อียปต์ ซ่ งมีลักษณะหน้ าตรงแข็งทื่อ
ิ ึ
ต่ อมาในสมัยคลาสสิก งานประติมากรรมเป็ นภาพเปลือย
แสดงกล้ ามเนือตามหลักกายวิภาคศาสตร์ และแกะสลักหินอ่ อนเป็ น
้
เสือผ้ าที่ดพลิว
้
ู ้
ประติมากรรม(ต่ อ)
รสนิยมของชาวกรี กเริ่มเปลี่ยนไปในสมัยเฮลเลนิสติก(หลัง
ศตวรรษที่ 4 ก่ อนคริสต์ ศักราช) ศิลปิ นจะสร้ างงานประติมากรรม
จากสภาพมนุษย์ ท่ เป็ นจริงและสิ่งที่ตนเห็น ไม่ สวยตามแบบอุดม
ี
คติอีกต่ อไป งานประติมากรรมในยุคหลังกรี กมักจะแสดงให้ เห็นถึง
ความทุกข์ ยาก ความทรมาน ความเจ็บปวด และความชราของ
มนุษย์
จิตรกรรม
3.จิตรกรรม งานจิตกรรมในยุคแรกๆของกรี กส่วนใหญ่เป็ นงาน3.จิตรกรรมบนภาชนะของใช้ ต่างๆที่ทาจาก
ํ
เครื่องปั ้นดินเผา ชาวกรี กได้ พัฒนาลวดลายโบราณที่คล้ ายลาย
เรขาคณิตของเมโสโปเตเมีย ภาพที่นิยมวาดในตอนแรกมันเป็ นรูป
สัตว์ เป็ นส่ วนใหญ่ แต่ ต่อมาได้ มีการวาดคนลงไปด้ วย
ในระยะแรกนิยมใช้ สีแดงเป็ นพืนและวาดรูปด้ วยสีดา
้
ํ
เรี ยกว่ า แจกันลวดลายคนสีดา(Black Figure Vase)
ํ
จิตรกรรม(ต่ อ)
ต่ อมาในยุคคลาสสิกรูปวาดและสีพนจะสลับกัน มีช่ ือว่ า
ื้
แจกันลวดลายคนสีแดง (Red Figure Vase) รูปที่วาดเป็ น
เรื่องราวจากเทพปกรณัม(mythology)และมหากาพย์ โฮเมอร์ มี
รู ปเถาเครือไม้ ประกอบ นับเป็ นงานศิลปะที่ลาค่ า กลายเป็ น
ํ้
แม่ แบบของจิตรกรรมบนภาชนะที่นิยมในสมัยต่ อมา
จิตรกรรม(ต่ อ)
ในยุคเฮลเลนิสติกกรี กได้ พบเทคนิกใหม่ ในการวาดภาพ
ประดับฝาผนังขนาดใหญ่ โดยใช้ หนหรื อกระเบืองสีมาประดับ
ิ
้
เรี ยกว่ า โมเสก(mosaic) ซึ่งมีความคงทนถาวร ภาพโมเสกนี ้
ได้ รับความนิยมมาก และได้ ถ่ายทอดไปยังจักรวรรดิโรมันอีกด้ วย
นาฏกรรม
4. นาฏกรรม ควการละครของชาวกรี กเกี่ยวพันใกล้ ชดกับ
ิ
การบวงสรวงและเฉลิมฉลองให้ แก่ เทพเจ้ าไดโอนิซัส ซึ่งเป็ นเทพ
เจ้ าแห่ งความอุดมสมบูรณ์ ต่ อมาจึงพัฒนาเป็ นโศกนาฏกรรมและ
สุขนาฏกรรม
การแสดงนาฏกรรมของกรี กใช้ นักแสดงชายทังหมด โดย
้
ทุกคนจะสวมหน้ ากากและมีผ้ ูพากย์ และหมู่นักร้ อง เวทีการแสดง
เป็ นโรคละครกลางแจ้ งมีอัฒจันทร์ ล้อมรอบ
มรดกทางวัฒนธรรมของกรีก(ต่ อ)
5.วรรณกรรม งานประพันธ์ ของกรี กถือเป็ นมรดกทาง
วัฒนธรรมที่สาคัญ และถือว่ าเป็ นการเริ่มต้ นของวิชาปรัชญาและ
ํ
ประวัตศาสตร์ อีกด้ วย
ิ
งานวรรณกรรมที่ได้ รับการยกย่ องว่ าเป็ นแม่ แบบของ
วรรณกรรมคือ มหากาพย์ อเลียด และ โอดิสซีย์ ของมหากวีโฮ
ิ
เมอร์
6.คณิตศาสตร์ นักคณิตศาสตร์ เด่ นของกรี ก ได้ แก่ ปิ ทา
โกรั สผู้คดค้ นทฤษฎีบทปิ ทาโกรั ส และยูคลิดผู้เขียนหนังสือชุดซึ่งมี
ิ
จํานวน 13 เล่ ม เนือหาส่ วนใหญ่ กล่ าวถึงเรขาคณิตและระนาบ
้
มรดกทางวัฒนธรรมของกรีก(ต่ อ)
7.ฟิ สิกส์ อาร์ คมีดส เป็ นผู้คดระหัดวิดนําแบบเกลียวรอก
ิ ี
ิ
้
ชุด ตังกฎของคานงัด และพบวิธีหาปริมาตรของวัตถุโดยการ
้
แทนที่นํา
้
8.การแพทย์ ฮิปโปคราตีส ได้ รับการยกย่ องเป็ น “บิดาแห่ ง
การแพทย์ ” มีความเชื่อว่ าโรคทุกโรคเกิดจากธรรมชาติ ไม่ ใช่ พระ
เจ้ าลงโทษ เป็ นคนแรกที่ตดชินส่ วนของมนุษย์ เพื่อศึกษา และ
ั ้
พบว่ าสมองเป็ นศูนย์ กลางของระบบประสาท ได้ รับการยกย่ องเป็ น
“บิดาแห่ งกายวิภาคศาสตร์ ”
มรดกทางวัฒนธรรมของกรีก(ต่ อ)
9.ภูมิศาสตร์ เอราทอสทินีส เป็ นนักดาราศาสตร์ และนัก
ภูมิศาสตร์ สามารถคํานวณเส้ นรอบโลกได้
10.ประวัตศาสตร์ เฮโรโดตัส เดินทางไปยังดินแดนต่ างๆ
ิ
แล้ วเขียนหนังสือชื่อ ประวัตศาสตร์ กล่ าวถึงขนบทําเนียม
ิ
ประเพณี ตํานาน และประวัตศาสตร์ ของโลกสมัยโบราณ
ิ
ส่ วนท้ ายของหนังสือกล่ าวถึงความขัดแย้ งระหว่ างกรีกและเปอร์ เซีย
มรดกทางวัฒนธรรมของกรีก(ต่ อ)
ศิลปวัฒนธรรมกรี กได้ กลายเป็ นมรดกที่สาคัญที่ชาวกรีก
ํ
มอบให้ กับโลกตะวันตก โดยมีชาวโรมันเป็ นสื่อกลางในการ
ถ่ ายทอด แม้ ในปั จจุบันโลกทัศน์ ของชาวตะวันตกจะเปลี่ยนไปมาก
แต่ ความคิดสร้ างสรรค์ ต่างๆของชาวกรี กยังคงได้ รับการยกย่ อง
อย่ างสูงและเป็ นแม่ แบบของความเจริญและอารยธรรมตะวันตก
อย่ างแท้ จริง
บรรณานุกรรม
• หนังสือเรี ยนประวัติศาสตร์ ม.4-6 หน้ า86-95
• http://writer.dek-d.com/abjmpsocial/story/viewlongc.php?id=773121&chapter=19
• http://panupong088.wordpress.com/2012/12/06/%E0%B8%AD%E0
%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B
8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%
81/
• http://202.143.144.83/~skb/computor/ganjana/west_old_greek2.ht
m
• http://writer.dekd.com/history612/story/viewlongc.php?id=479463&chapter=10
• http://www.youtube.com/watch?v=-smCOHEw6y8
• http://doricorder.blogspot.com/2011/10/blog-post.html
Thanks for Attention
นางสาว ล้ วนเลิศ จึงเจริญสุ ขยิง
่
ม.6.7 เลขที่ 27
melissani-cave-greece

More Related Content

What's hot

อารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมันอารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมัน
Jungko
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
6091429
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
พัน พัน
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์
Pannaray Kaewmarueang
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทย
Tonkao Limsila
 
การปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนาการปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนา
supppad
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
montira
 

What's hot (20)

อารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมันอารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมัน
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมัน
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
อารยธรรมกรีก โรมัน
อารยธรรมกรีก โรมันอารยธรรมกรีก โรมัน
อารยธรรมกรีก โรมัน
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22
เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22
เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทย
 
การปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนาการปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนา
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
 

Similar to 3.4 อารยธรรมกรีก

ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
teacherhistory
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
teacherhistory
 
จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)
จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)
จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)
Natee Tasanakulwat
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
Kwandjit Boonmak
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
JulPcc CR
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
JulPcc CR
 
ต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมีย
ต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมียต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมีย
ต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมีย
hmiw
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
Pannaray Kaewmarueang
 

Similar to 3.4 อารยธรรมกรีก (20)

3.4 อารยธรรมกร ก
3.4 อารยธรรมกร ก3.4 อารยธรรมกร ก
3.4 อารยธรรมกร ก
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
 
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
 
อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)
 
A2 thai-history
A2 thai-historyA2 thai-history
A2 thai-history
 
จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)
จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)
จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)
 
อารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมันอารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมัน
 
Greek roman
Greek romanGreek roman
Greek roman
 
Art
ArtArt
Art
 
Egypt
EgyptEgypt
Egypt
 
มังกรหยกแกะสลักยุค
มังกรหยกแกะสลักยุคมังกรหยกแกะสลักยุค
มังกรหยกแกะสลักยุค
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
 
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรมUnit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
 
Egypt
EgyptEgypt
Egypt
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
 
ต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมีย
ต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมียต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมีย
ต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมีย
 
อารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมันอารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมัน
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 

More from Jitjaree Lertwilaiwittaya

1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new 1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
8.1 8.3 เหตุการณ์-ความขัดแย้ง
8.1 8.3 เหตุการณ์-ความขัดแย้ง8.1 8.3 เหตุการณ์-ความขัดแย้ง
8.1 8.3 เหตุการณ์-ความขัดแย้ง
Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์
Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,27.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war
Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชีย
6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชีย6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชีย
6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชีย
Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
4.3 เหตุการณ์สมัยยุโรปกลาง
4.3 เหตุการณ์สมัยยุโรปกลาง4.3 เหตุการณ์สมัยยุโรปกลาง
4.3 เหตุการณ์สมัยยุโรปกลาง
Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
3.1 3.3 เมโส-ไนล์-เอเชียไมเนอร์
3.1 3.3 เมโส-ไนล์-เอเชียไมเนอร์3.1 3.3 เมโส-ไนล์-เอเชียไมเนอร์
3.1 3.3 เมโส-ไนล์-เอเชียไมเนอร์
Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.
Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
หน วยการเร ยนร__ท__ 5 พ_ฒนาการของย_โรปสม_ยใหม_ (1)
หน วยการเร ยนร__ท__ 5 พ_ฒนาการของย_โรปสม_ยใหม_ (1)หน วยการเร ยนร__ท__ 5 พ_ฒนาการของย_โรปสม_ยใหม_ (1)
หน วยการเร ยนร__ท__ 5 พ_ฒนาการของย_โรปสม_ยใหม_ (1)
Jitjaree Lertwilaiwittaya
 

More from Jitjaree Lertwilaiwittaya (19)

1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new 1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
 
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
 
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
 
8.1 8.3 เหตุการณ์-ความขัดแย้ง
8.1 8.3 เหตุการณ์-ความขัดแย้ง8.1 8.3 เหตุการณ์-ความขัดแย้ง
8.1 8.3 เหตุการณ์-ความขัดแย้ง
 
7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์
 
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,27.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
7.1 ความขัดแย้ง world war 1,2
 
7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war
 
6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชีย
6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชีย6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชีย
6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชีย
 
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
 
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
 
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
 
4.3 เหตุการณ์สมัยยุโรปกลาง
4.3 เหตุการณ์สมัยยุโรปกลาง4.3 เหตุการณ์สมัยยุโรปกลาง
4.3 เหตุการณ์สมัยยุโรปกลาง
 
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
 
3.5 อารยธรรมโรมัน
3.5 อารยธรรมโรมัน3.5 อารยธรรมโรมัน
3.5 อารยธรรมโรมัน
 
3.1 3.3 เมโส-ไนล์-เอเชียไมเนอร์
3.1 3.3 เมโส-ไนล์-เอเชียไมเนอร์3.1 3.3 เมโส-ไนล์-เอเชียไมเนอร์
3.1 3.3 เมโส-ไนล์-เอเชียไมเนอร์
 
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
 
1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.
 
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
 
หน วยการเร ยนร__ท__ 5 พ_ฒนาการของย_โรปสม_ยใหม_ (1)
หน วยการเร ยนร__ท__ 5 พ_ฒนาการของย_โรปสม_ยใหม_ (1)หน วยการเร ยนร__ท__ 5 พ_ฒนาการของย_โรปสม_ยใหม_ (1)
หน วยการเร ยนร__ท__ 5 พ_ฒนาการของย_โรปสม_ยใหม_ (1)
 

3.4 อารยธรรมกรีก

  • 2. ปั จจัยทางภูมศาสตร์ กับการตังถิ่นฐาน ิ ้ ที่ตงและลักษณะภูมิประเทศกรีกในสมัยโบราณอยู่ ั้ ทางด้ านตะวันออกสุดของยุโรปภาคใต้ ประกอบ ด้ วย ดินแดนกรี กบนผืนแผ่ นดินหมู่เกาะต่ างๆ ในทะเลเอเจียน หรือฝั่ งตะวันตกของเอเชียไมเนอร์ ซึ่งนิยมเรียกว่ านครรัฐไอ โอเนียน (Ionian Cities) ที่มา : http://www.weddingstudio.org/honeymoon/Greece.html
  • 4. ปั จจัยทางภูมศาสตร์ กับการตังถิ่นฐาน(ต่ อ) ิ ้ รวมเนือที่ทงหมดประมาณ 5 หมื่นตารางไมล์ ในจํานวนนี ้ ้ ั้ ดินแดนส่ วนใหญ่ คือ ประมาณ 4 ใน 5 คือ ดินแดนกรี กบนผืน แผ่ นดินใหญ่ ในทวีปยุโรปดินแดนตอนนีแบ่ งออกเป็ นภาคใหญ่ ๆ ้ ได้ 3 ภาค คือ 1.กรี กภาคเหนือ อันได้ แก่ แคว้ นมาซีโดเนีย เทสซาลี เอไพรั ส รวมอาณาบริเวณประมาณครึ่งของดินแดนกรี กบนผืนแผ่ นดินใหญ่ ใน สมัยคลาสสิค ไม่ นิยมรวมมาซีโดเนียเป็ นส่ วนหนึ่งของกรี ก 2.กรี กภาคกลาง ได้ แก่ บริเวณซึ่งเป็ นเนินเขาสูง ระหว่ างกรี ก ภาคกลาง และอ่ าวคอรินธ์ ตรงปลายสุดด้ านตะวันออกของบริเวณนีคือ ้ แคว้ นอันติก อันมีเมืองหลวงคือนครรั ฐเอเธนส์ ที่กาเนิดของศิลป ํ วิทยาการ ปรั ชญาและระบอบการปกครองอันมีช่ ือเสียง http://en.wikipedia.org/wiki/Isthmus_of_Corinth
  • 5. ปั จจัยทางภูมศาสตร์ กับการตังถิ่นฐาน(ต่ อ) ิ ้ 3.เพลอปปอนเนซุส ได้ แก่ บริเวณคาบสมุทร ซึ่งอยู่ทางตอน ใต้ ของ อ่ าวคอรินธ์ เชื่อมติดกับภาคกลางและภาคเหนือด้ วยคอคอด คอรินธ์ ใต้ คอคอดนีลงมาคือที่ตงของเมืองอาร์ กอลิส เป็ นศูนย์ กลาง ้ ั้ ของอารยธรรม กรีกที่เจริญขึนเป็ นครั งแรก ใจกลางคาบสมุทรแห่ ง ้ ้ นีเ้ ป็ นที่ตงของนครรัฐสปาร์ ตา ซึ่งมีช่ ือเสียงในด้ านการรบ เมือง ั้ โอลิมเปี ย ที่สิงสถิตของบรรดาเทพเจ้ ากรี กอยู่ชิดกับฝั่ งทะเลไอโอ เนีย ด้ านตะวันตกของคาบสมุทรเพลอปปอนเนซุส http://www.thamwebsite.com/cty/tiplearn/old/pages/olympic.htm
  • 7. ปั จจัยทางภูมศาสตร์ กับการตังถิ่นฐาน(ต่ อ) ิ ้ ดินแดนกรีซเป็ นดินแดนที่ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ มีอทธิพลต่ อ ิ การตังถิ่นฐานและการดํารงชีวิตของประชาชน เนื่องจากลักษณะ ้ ทางภูมิศาสตร์ มีอทธิพลต่ อพัฒนาการของอารยธรรมกรีก มี 3 ิ ประการ คือ ภูเขา พืนดิน และทะเล ้ 1.สภาพดินแดนของกรี ซเต็มไปด้ วยภูเขา ภูเขาเหล่ านีแบ่ ง ้ กรี ซออกเป็ นที่ราบในหุบเขาเล็ก แยกออกจากกัน ภูเขาเป็ น อุปสรรคสําคัญในการติดต่ อคมนาคม หมู่บ้านตามหุบเขาเหล่ านีจง ้ึ มักปกครองตนเองเป็ นอิสระต่ อกัน http://kootation.com/download-meteora-monastery-on-rocwallpaper/
  • 8. ปั จจัยทางภูมศาสตร์ กับการตังถิ่นฐาน(ต่ อ) ิ ้ 2.สภาพพืนดินส่ วนใหญ่ ขาดความอุดมสมบูรณ์ แม่ นําใน ้ ้ กรีกเป็ นแม่ นําสายสันๆในฤดูท่ มีนําไหลมาก นําจะพัดพาเอาดินที่ ้ ้ ี ้ ้ อุดมสมบูรณ์ ไป ส่ วนพืนที่ราบตามหุบเขาแม้ จะมีความอุดม ้ สมบูรณ์ แต่ มีพนที่ขนาดเล็ก ไม่ สามารถเพาะปลูกได้ มากนัก จึงไม่ ื้ สามารถผลิตพืชผลได้ เพียงพอต่ อความต้ องการของประชากร http://kootation.com/downloadmeteora-monastery-on-rocwallpaper/
  • 9. ปั จจัยทางภูมศาสตร์ กับการตังถิ่นฐาน(ต่ อ) ิ ้ 3. ทะเลกรี ก จัดเป็ นประเทศที่มีความสะดวกสบายใน ทางออกทะเล ดินแดนกรี ซส่ วนใหญ่ มีลักษณะคล้ ายแหลมยื่น ไปในทะเล ชายฝั่ งทะเลใช้ เป็ นอ่ าวจอดเรื อได้ เป็ นอย่ างดี เป็ นปั จจัยส่ งเสริมให้ ชาวกรี กหันมาทําการค้ าขายทางทะเลกับ ดินแดนอื่นๆ ทําให้ ชาวกรี กได้ เรี ยนรู้ อารยธรรมอื่นๆ เช่ น อารยธรรมของอียปต์ อารยธรรมเมโสโปเตเมีย ิ http://kootation.com/download-meteora-monastery-on-rocwallpaper/
  • 10. ปั จจัยทางภูมศาสตร์ กับการตังถิ่นฐาน(ต่ อ) ิ ้ หมู่เกาะในทะเลอีเจียนที่สาคัญ คือ เกาะครีต(Crete) ซึ่ง ํ เป็ นเกาะใหญ่ อันดับหนึ่ง และมีความสําคัญในฐานะเป็ นต้ นกําเนิด อารยธรรมกรีก ที่มา : http://panupong088.wordpress.com/2012/12/06/อารยธรรมกรี ก เกาะครีต
  • 12. ปั จจัยทางภูมศาสตร์ กับการตังถิ่นฐาน(ต่ อ) ิ ้ ดินแดนคาบสมุทรกรี ซ เป็ นดินแดนที่มีทรั พยากร พอสมควร ได้ แก่ เหล็ก ทอง เงิน หินอ่ อน ดังนันชาวกรีซจึงนํา ้ หินอ่ อนมาใช้ ก่อสร้ างบ้ านเรื อนและศาสนสถานต่ างๆ ที่มา : http://www.tourtooktee.com/webboard-each.php?id=248
  • 13. อารยธรรมกรี กสมัยก่ อนประวัตศาสตร์ ิ จากหลักฐานทางโบราณคดีท่ ค้นพบแสดงว่ า มีการตัง ี ้ ถิ่นฐานบ้ านเรื อนในดินแดนกรีซเมื่อประมาณ 4,000 ปี ก่ อน คริสต์ ศักราช พบเครื่องมือเครื่องใช้ ทาด้ วยหิน ํ เครื่องปั ้นดินเผามีลวดลายประดับและมีคุณภาพ ที่มา : http://yosocial.wordpress.com/
  • 14. อารยธรรมกรีกสมัยก่ อนประวัตศาสตร์ (ต่ อ) ิ ผู้คนในดินแดนแถบนีดารงชีวตด้ วยการเกษตรเป็ น ้ ํ ิ หลัก สิ่งก่ อสร้ างบางแห่ งมีลักษณะคล้ ายปอมปราการ ้ สันนิษฐานว่ าอาจมีการจัดระเบียบการปกครองในชุมชนกัน แล้ ว ที่มา : http://writer.dek-d.com/106601/story/viewlongc.php?id=669092&chapter=9
  • 15. อารยธรรมกรีกสมัยก่ อนประวัตศาสตร์ (ต่ อ) ิ ในราว 3,000-2,000 ปี ก่ อนคริสต์ ศักราช บนเกาะครีตรู้จักใช้ โลหะ ได้ แก่ ทองแดง สําริด ซึ่งเข้ าใจว่ าคงรั บมาจากอารยธรรม อียปต์ โบราณ เนื่องจากเกาะครี ตตังอยู่ทางตอนใต้ สุดของกรีซ ใต้ ิ ้ เกาะครี ตลงไปคืออียปต์ โดยมีทะเลเมดิเตอร์ เรเนียนอยู่ระหว่ าง ิ กลาง รูปภาพ : คอลดรอนสําริดที่ทาในกรีซ พบในเนินบรรจุศพวีซ์ในฝรั่งเศสซึ่งเป็ นที่ฝัง ํ ศพของสตรีสูงศักดิ์จากศตวรรษที่ 6 ที่มา : http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=vinitsiri&month=052011&date=05&group=64&gblog=188
  • 16. อารยธรรมกรี กสมัยประวัตศาสตร์ ิ อารยธรรมกรีกเป็ ยอารยธรรมเก่ าแก่ เรื่ องราวเกี่ยวกีบกรีก ในระยะแรกๆค่ อนค่ างเรื อนราง มีลักษณะนิยายปรัมปรา แต่ จาก หลักฐานการขุดค้ นของนักโบราณคดีท่ เมืองทรอย ไมซีเน และเมือง ี อื่นๆตามที่มหากวีโฮเมอร์ ได้ กล่ าวในมหากาพย์ อเลียด และโอดิส ิ ซีย์ ช่ วยเปิ ดเผยความจริงเกี่ยวกับการสร้ างอารยธรรมกรีกใน ระยะแรกๆเป็ นอันมาก จากการสํารวจค้ นคว้ าของนักโบราณคดีและ นักประวัตศาสตร์ ในสมัยต่ อมายังทําให้ เราทราบว่ าอารยธรรมกรีก ิ ปรากฏครังแรกที่เกาะครี ตในทะเลอีเจียน เมื่อประมาณเกือบ ้ ๒,๐๐๐ ปี ก่ อนคริสต์ ศักราช อารยธรรมในทะเลอีเจียนประกอบด้ วย อารยธรรมไมนวนและอารยธรรมไมซีเน ที่มา http://staff.harrisonburg.k12.va.us/~cwalton/walton/solpracticetest.htm
  • 17. อารยธรรมไมนวน อารยธรรมไมนวน(Minoan Civilization)เกิดขึนบน ้ เกาะครี ต ชาวครีตหรือชาวครี ตนเป็ นชนพืนเมืองส่ วนใหญ่ ประกอบ ั ้ อาชีพค้ าขาย การพบแผ่ นดินเผาจารึกตัวอักษรจํานวนมากใน เกาะครี ต ทังอักษรภาพ และตัวอักษรที่เป็ นเส้ นตรง แสดงว่ าชาว ้ กรีกสามารถใช้ ตวอักษรได้ เป็ นอย่ างดี ั ที่มา : http://writer.dekd.com/cammy/story/viewlongc.php?id=486572&chapter=497
  • 18. อารยธรรมไมนวน(ต่ อ) กษัตริย์ท่ มีอานาจมากที่สุด คือ พระเจ้ ามินอส(Minos) ี ํ อารยธรรมของชาวครีตนได้ ช่ ือว่ า อารยธรรมไมนวน ตามพระนาม ั ของกษัตริย์องค์ นี ้ อารยธรรมไมนวนเจริญสูงสุดในระหว่ าง 1,800 – 1,500 ปี ก่ อนคริสต์ ศักราชในระยะเวลานีเ้ รี ยกว่ าเป็ นสมัยวัง เพราะชาวครี ตันได้ ใช้ ความรู้ ความสามารถในการก่ อสร้ างและขยายวังให้ ใหญ่ โต มโหฬาร วังที่สาคัญ ได้ แก่ วังนอสซัส(Knossos) ํ ประมาณ 1,400 ปี ก่ อนคริสต์ ศักราช อารยธรรมไมนวนที่ เกาะครี ตถึงจุดสินสุดเมื่อถูกพวกไมซีเนียนจากผืนแผ่ นดินใหญ่ ้ รุ กราน ที่มา : http://nuyiiz.blogspot.com/2012_09_01_archive.html
  • 19. อารยธรรมไมนวน(ต่ อ) "King's Throne" from the Palace of Knossos. Stairwell from Knossos. "Snake Goddess" c. 1600 B.C. from Knossos. "Queen's Megaron" from Knossos.
  • 20. อารยธรรมไมนวน(ต่ อ) Naval Fresco from Akrotiri, Thera, c. 1650-1500 B.C. Octopus Vase (Marine Style), c. 1500 B.C. ที่มาhttp://employees.oneonta.edu/farberas/arth/ arth209/minoan_mycenaean.html "Spring" fresco from Thera, c. 1650.
  • 21. อารยธรรมไมนวน(ต่ อ) Pyxis(เซรามิก), ca. 1400–1100 B.C.; Late Minoan IIIB Lentoid seal with a griffin, ca. 1450–1400 B.C.; Late Minoan II Rhyton in the form of a bull's head(ดินเผา), ca. 1450– 1400 B.C.; Late Minoan II Larnax (chest-shaped coffin)(ดินเผา), mid-13th century B.C.; Late Minoan IIIB ที่มา : http://www.metmuseum.org/toah/hd/mino/hd_mino.htm
  • 22. อารยธรรมไมซีเน อารยธรรมไมซีเน(Mycenae Civilization) เป็ นอารย ธรรมของพวกไมซีเนียน เจริญรุ่ งเรื องอยู่ประมาณ 1,400-1,100 ปี ก่ อนคริสต์ ศักราช มีศูนย์ กลางอยู่ท่ เมืองไมซีเนบนคาบสมุทรเพโล ี พอนนีซัส http://employees.oneonta.edu/farberas/arth/arth209/minoan_mycenaean.html
  • 23. อารยธรรมไมซีเน(ต่ อ) บรรพบุรุษของชาวไมซีเนียน คือ พวกเอเคียน ซึ่งเป็ นกลุ่ม คนที่พูดภาษาอินโด-ยูโรเปี ยน อพยพมาจากทางเหนือประมาณ 2,000 ปี ก่ อนคริสต์ ศักราช พวกเอเคียนมีความสามารถทางด้ าน การรบและการค้ า รับแลกเปลี่ยนอารยธรรมกับดินแดนใกล้ เคียงที่ ติดต่ อกันทางการค้ า เช่ น เกาะครี ต อียปต์ คาบสมุทรอานาโตเลีย ิ ประมาณ 1,460 ปี ก่ อนคริสต์ ศักราช พวกเอเคียนโจมตี เกาะครี ตทําลายพระราชวังนอสซัสและครอบครองเกาะครีต ต่ อมา 1,400 ปี ก่ อนคริสต์ ศักราช ได้ สร้ างเมืองไมซีเนที่มีปองปราการ ้ แข็งแรง พวกเอเคียนจึงมีช่ ือใหม่ ว่าไมซีเนียนตามชื่อเมือง
  • 24. อารยธรรมไมซีเน(ต่ อ) อารยธรรมสําคัญของชาวไมซีเนียน คือ ตัวอักษรไมซีเนียน ซึ่งเป็ นรากฐานของตัวอักษรกรี กนอกจากนียังมีการสร้ างถนน ้ สะพาน และรู้ จักทําท่ อส่ งนําแบบท่ อประปา ้ ด้ านความเชื่อทางศาสนา ชาวไมซีเนียนนับถือเทพเจ้ า หลายองค์ รวมทังเทพเจ้ าซูส(Zeus) ซึ่งชาวกรี กในสมัยต่ อมานับถือ ้ เป็ นเทพเจ้ าสูงสุด อารยธรรมไมซีเนสินสุดลงเพราะถูกพวกดอเรียน(Dorian) ้ ซึ่งเป็ นชาวกรีกเผ่ าหนึ่งรุ กราน ทําให้ อารธรรมในทะเลอีเจียนต้ อง ยุตลงชั่วขณะ ิ http://gwenminor.com/?tag=mycenae
  • 25. อารยธรรมไมซีเน(ต่ อ) Royal Grave Circle A, c. 1600- 1500 B.C. Lions Gate มีการวางหินเป็ นรูปแบบซุ้มประตู
  • 26. อารยธรรมไมซีเน(ต่ อ) Interior of "Treasury of Atreus" (corbeled arch) Royal Tomb (Tholos) so-called Treasury of Atreus, c. 1300-1250. สร้ างโดยยกหินขึนวางและถมดินตามทีละ ้ ชันๆใช้ นําหนักของดินเป็ นแรงกดด้ านนอก ้ ้ ทําให้ หนไม่ ถล่ มลงมา และตัดหินภายในให้ ิ เรียบ ใช้ เป็ นที่เก็บศพของกษัตริย์ ที่มาhttp://employees.oneonta.edu/farbera s/arth/arth209/minoan_mycenaean.html
  • 27. อารยธรรมไมซีเน(ต่ อ) Golden Death mask, Found in Tomb V, Grave Circle A at Mycenae. Small vase carved out of rock crystal, Found in Grave O, Grave circle B, at Mycenae. Bronze dagger decorated with gold(กริช), Found in Tomb IV, Royal Grave Circle A, Mycenae Funeral Diadem (Gold)ใช้ ประดับเจ้ าหญิง Found at tomb III, Royal Grave Circle A
  • 28. อารยธรรมไมซีเน(ต่ อ) Gold rhyton, Tomb IV, Grave Circle A, Mycenaean Acropolis Gold ring,used as a seal(ตราประทับ) 16th century. B.C. Mycenae Two Golden goblets.Found in Royal Tomb V, Grave Circle A, at Mycenae ที่มาhttp://www.greeklandscapes.com/gr eece/athens_museum_mycenae.html
  • 29. นครรั ฐของกรี ก ลักษณะภูมิประเทศของกรี ซทําให้ การตังถิ่นฐานแบ่ งเป็ น ้ นครรั ฐ (city-state)ซึ่ งชาวกรี กนิยมเรี ยกว่ า โพลิส(polis) แต่ ละ นครรั ฐต่ างมีสภาพสังคมและวัฒนธรรมเป็ นของตัวเอง การปกครองหลัง 800 ปี ก่ อนคริสต์ ศักราช หรือที่เรียกว่ า ยุคคลาสสิก(Classic Age) บางนครรั ฐปกครองในระบอบกษัตริย์ และบางนครรัฐปกครองในระบอบคณาธิปไตย ที่มา : http://worldcoincatalog.com/AC/C2/Greece/AG/CSofGreece.htm
  • 30. นครรัฐของกรีก(ต่ อ) แต่ อย่ างไรก็ดี ใน 700 ปี ก่ อนคริสต์ ศักราช กษัตริย์ได้ สูญเสียอํานาจทังหมดให้ แก่ พวกขุนนาง ซึ่งต่ อมาปกครองด้ วย ้ ระบอบประชาธิปไตย ให้ สิทธิการเลือกตังรวมทังการดํารงตําแหน่ ง ้ ้ ผู้ปกกครองและบริหารนครรั ฐแก่ ราษฎรชายที่บรรลุนิตภาวะ และ ิ เป็ นพลเมืองของนครรัฐ อุดมการณ์ ประชาธิปไตยของกรี กนับว่ าเป็ นมรดกทางอารย ธรรมที่สาคัญอย่ างหนึ่งที่ถ่ายทอกให้ แก่ โลกตะวันตก จนเกิด ํ พัฒนาการณ์ กลายเป็ นระบอบประชาธิปไตยในปั จจุบัน ที่มา : https://sites.google.com/site/tripbkk/sthan-thi-theiyw-thawpi/6-xnusawriy-prachathiptiy
  • 31. นครรัฐของกรีก(ต่ อ) ประมาณ 500 ปี ก่ อนคริสต์ ศักราช ศูนย์ กลางความเจริญ ของกรีกได้ ย้ายมาสู่นครรั ฐเอเธนส์ (Athens) ในแคว้ นแอตติกะ (Attica) สถาปั ตยกรรม วรรณคดี ประวัตศาสตร์ การแพทย์ ิ และปรั ชญาเจริญขึนอย่ างรวดเร็ว แต่ ในขณะเวลาเดียวกันนี ้ ้ เอเธนส์ และนครรัฐอื่นๆในกรีกก็ผนึกกําลังกันเพื่อทําสงคราม ปองกันการรุ กรานจากเปอร์ เซียในระหว่ าง 470-429 ปี ก่ อน ้ คริสต์ ศักราช http://www.mitchellteachers.org/World History/AncientGreece/TouringAthensDu ringtheGoldenAge.htm
  • 32. นครรั ฐของกรีก(ต่ อ) ผลของสงครามเอเธนส์ เป็ นฝ่ ายชนะ ทําให้ เอเธนส์ เป็ นผู้นํา ของนครรัฐต่ างๆ ผู้นําทัพของเอเธนส์ ในขณะที่รบกับเปอร์ เซีย คือ เธมิสโต คลีส เขาได้ ออกแบบเรื อไทรรี ม(Trireme) ซึ่งมีสามฝี พายสาม ระดับชันใช้ ฝีพาย 170 นาย เรื อไทรรี มสามารถมีความเร็วได้ 8-9 ้ นอต(1=1.852 กิโลเมตรต่ อชั่วโมง) และด้ วยความเร็วนีทาให้ หวเรือ ้ ํ ั ที่ห้ ุมด้ วยสําริดสามารถพุ่งชนเรื อของข้ าศึกให้ พังได้ ที่มา : http://www.ancient.eu.com/image/1184/
  • 33. นครรั ฐของกรี ก(ต่ อ) ต่ อมาเอเธนส์ ได้ จัดตังสมาพันธรั ฐแห่ งหมู่เกาะเดลอส(Delos) ้ ขึนที่เกาะเดลอส ซึ่งใช้ เป็ นศูนย์ เก็บรั กษาทรั พย์ สมบัติ ต่ อมาสมาพัธรั ฐ ้ ได้ ย้ายศูนย์ กลางไปอยู่ท่ เอเธนส์ ในระยะนีเ้ อเธนส์ มีความเจริญสูงสุด ี จนเรี ยกว่ า ยุคทองของเอเธนส์ วิหารพาร์ เธนอน(Parthenon)ซึ่งสร้ างจากหินอ่ อนภายใน บรรจุรูปปั ้นเทพีอาเธน่ สูงประมาณ10-11เมตรทําจากทองและงาช้ าง เป็ นเครื่ องยืนยันความมั่งคั่งของเอเธนส์ ในยุคนัน ้ ที่มาhttp://www.mitchellteachers.org/WorldHistory/AncientGreece/Touri ngAthensDuringtheGoldenAge.htm
  • 34. นครรั ฐของกรี ก(ต่ อ) ความมั่งคั่งของเอเธนส์ ได้ นําเอเธนส์ เข้ าสู่สงครามเพโล พอนเนเซียน(Peloponnesian War 431-404 ปี ก่ อน คริสต์ ศักราช) ซึ่งเป็ นสงครามระหว่ างเอเธนส์ และสปาร์ ตา เนื่องจากขณะนันสปาร์ ตาเป็ นนครรั ฐทหารและเป็ นคู่แข่ งที่สาคัญ ้ ํ ในการแย่ งชิงอํานาจเพื่อเป็ นผู้นํากรี ก จนในที่สุดในปี 404 ก่ อนคริสต์ ศักราช เอเธนส์ ก็ล่มสลาย
  • 35. นครรั ฐของกรี ก(ต่ อ) สงครามเพโลพอนเนเซียนนําความเสื่อมมาสู่นครรัฐกรีก และเปิ ดโอกาศให้ มาซิโดเนียซึ่งเป็ นอาณาจักรเล็กๆทางตอนเหนือที่ มีวัฒนธรรมด้ อยกว่ าขยายอํานาจเข้ าครอบครองกรีกได้ ในสมัย พระเจ้ าอะเล็กซานเดอร์ มหาราช(Alexander the Great 336-323ปี ก่ อนคริสต์ ศักราช) เรี ยกว่ ายุค เฮลเลนิสติก (Hellenistic Age) ในยุคนีกรีกสามารถขยายดินแดนครอบคลุมอียปต์ เอเชีย ้ ิ ไมเนอร์ เปอร์ เซีย ไปจนถึงอินเดีย ทําให้ ศิลปวัฒนธรรมของกรีก แพร่ หลายไปทั่วภูมิภาคตะวันออกกลาง
  • 36. นครรั ฐของกรี ก(ต่ อ) นอกจากนียังมีการจัดตังเมืองอะเล็กซานเดรีย ้ ้ (Alexandria)ในอียปต์ เพื่อเป็ นศูนย์ กลางการค้ าและ ิ ศิลปวัฒนธรรมของกรี ก
  • 38. สถาปั ตยกรรม 1.สถาปั ตยกรรม เนื่องจากระบอบการปกครองของกรีกใน ยุคคลาสสิกเป็ นแบบนครรั ฐที่ไม่ มีกษัตริย์เป็ นประมุข งานก่ อสร้ างจึง ไม่ ใช่ พระราชวังหรูหราเหมือนในสมัยไมนวนแต่ จะเป็ นวิหารสําหรับ เทพเจ้ า ซึ่งชาวกรีกให้ ความสําคัญอย่ างสูง วิหารที่กรีกไว้ บูชาเทพเจ้ านัน นิยมสร้ างบนเนินดินหรือภูเขา ้ เล็กๆ ซึ่งมีช่ ือเรียกว่ าอะครอโพลิส(Acropolis) วิการที่สาคัญ ได้ แก่ ํ วิหารพาร์ เธนอน(Parthenon) ที่อะครอโพลิสในนครรัฐเอเธนส์
  • 39. สถาปัตยกรรม(ต่ อ) ลักษณะของเสากรี กมี 3 แบบ คือ 1)Doric Order เป็ นเสาโรมันแบบที่เรี ยบง่ าย มั่นคง แข็งแรง เป็ นแบบแพร่ หลายมากที่สุดและเก่ าแก่ ท่ สุด ตัวอย่ างของ ี อาคารที่ใช้ เสาแบบดอริกคือวิหารพาร์ เธนอนเนื่องจากชาวกรี กนิยม ความเรียบง่ าย ลักษณะของเสาส่ วนล่ างจะใหญ่ แล้ วเรี ยวขึนเล็กน้ อย ตาม ้ เสาจะแกะเป็ นร่ องลึกเว้ าตามแนวยาว หัวเสาเป็ นแผ่ นหินเรียบ
  • 40. สถาปัตยกรรม(ต่ อ) 2)Ionic Order ลักษณะเรี ยวกว่ าเสาแบบดอริก หัวเสา เป็ นลายโค้ งม้ วนย้ อยลงมาทังสองข้ าง ทําให้ ดอ่อนช้ อย ตัวอย่ าง ้ ู อาคารที่ใช้ เสาแบบนี ้ เช่ น วิหารอีเรกเธอัม(Erectheum)ที่ เอเธนส์ สร้ างอุทศแก่ อีเรกเธอัส(Erectheus) วีรบุรุษของเอเธนส์ ิ ในนิยายกรีก
  • 42. มรดกทางวัฒนธรรมของกรี ก(ต่ อ) 3) Corinthian Order ให้ ความรู้ สึกหรู หรา ฟุ่ มเฟื อย นิยมนํามาเป็ นแบบอย่ างใน สมัยโรมัน ลักษณะหัวเสามีการตกแต่ ง โดยแกะเป็ นรู ปดอกไม้ ใบไม้ ทําเป็ นใบซ้ อนกันสองชัน แล้ วแต่ ง ้ ด้ วยดอกไม้ ส่ วนล่ างของเสามีฐานรองรั บแบบเดียวกับไอโอนิค เป็ น เสาโรมันที่มีความงดงามมาก
  • 44. ประติมากรรม 2.ประติมากรรม งานประติมากรรมของกรีกสะท้ อนให้ เห็น ลักษณะธรรมชาตินิยมของมนุษย์ งานประติมากรรมของกรี กในช่ วงแรกรั บอิทธิพลมาจาก อียปต์ ซ่ งมีลักษณะหน้ าตรงแข็งทื่อ ิ ึ ต่ อมาในสมัยคลาสสิก งานประติมากรรมเป็ นภาพเปลือย แสดงกล้ ามเนือตามหลักกายวิภาคศาสตร์ และแกะสลักหินอ่ อนเป็ น ้ เสือผ้ าที่ดพลิว ้ ู ้
  • 45. ประติมากรรม(ต่ อ) รสนิยมของชาวกรี กเริ่มเปลี่ยนไปในสมัยเฮลเลนิสติก(หลัง ศตวรรษที่ 4 ก่ อนคริสต์ ศักราช) ศิลปิ นจะสร้ างงานประติมากรรม จากสภาพมนุษย์ ท่ เป็ นจริงและสิ่งที่ตนเห็น ไม่ สวยตามแบบอุดม ี คติอีกต่ อไป งานประติมากรรมในยุคหลังกรี กมักจะแสดงให้ เห็นถึง ความทุกข์ ยาก ความทรมาน ความเจ็บปวด และความชราของ มนุษย์
  • 46. จิตรกรรม 3.จิตรกรรม งานจิตกรรมในยุคแรกๆของกรี กส่วนใหญ่เป็ นงาน3.จิตรกรรมบนภาชนะของใช้ ต่างๆที่ทาจาก ํ เครื่องปั ้นดินเผา ชาวกรี กได้ พัฒนาลวดลายโบราณที่คล้ ายลาย เรขาคณิตของเมโสโปเตเมีย ภาพที่นิยมวาดในตอนแรกมันเป็ นรูป สัตว์ เป็ นส่ วนใหญ่ แต่ ต่อมาได้ มีการวาดคนลงไปด้ วย ในระยะแรกนิยมใช้ สีแดงเป็ นพืนและวาดรูปด้ วยสีดา ้ ํ เรี ยกว่ า แจกันลวดลายคนสีดา(Black Figure Vase) ํ
  • 47. จิตรกรรม(ต่ อ) ต่ อมาในยุคคลาสสิกรูปวาดและสีพนจะสลับกัน มีช่ ือว่ า ื้ แจกันลวดลายคนสีแดง (Red Figure Vase) รูปที่วาดเป็ น เรื่องราวจากเทพปกรณัม(mythology)และมหากาพย์ โฮเมอร์ มี รู ปเถาเครือไม้ ประกอบ นับเป็ นงานศิลปะที่ลาค่ า กลายเป็ น ํ้ แม่ แบบของจิตรกรรมบนภาชนะที่นิยมในสมัยต่ อมา
  • 48. จิตรกรรม(ต่ อ) ในยุคเฮลเลนิสติกกรี กได้ พบเทคนิกใหม่ ในการวาดภาพ ประดับฝาผนังขนาดใหญ่ โดยใช้ หนหรื อกระเบืองสีมาประดับ ิ ้ เรี ยกว่ า โมเสก(mosaic) ซึ่งมีความคงทนถาวร ภาพโมเสกนี ้ ได้ รับความนิยมมาก และได้ ถ่ายทอดไปยังจักรวรรดิโรมันอีกด้ วย
  • 49. นาฏกรรม 4. นาฏกรรม ควการละครของชาวกรี กเกี่ยวพันใกล้ ชดกับ ิ การบวงสรวงและเฉลิมฉลองให้ แก่ เทพเจ้ าไดโอนิซัส ซึ่งเป็ นเทพ เจ้ าแห่ งความอุดมสมบูรณ์ ต่ อมาจึงพัฒนาเป็ นโศกนาฏกรรมและ สุขนาฏกรรม การแสดงนาฏกรรมของกรี กใช้ นักแสดงชายทังหมด โดย ้ ทุกคนจะสวมหน้ ากากและมีผ้ ูพากย์ และหมู่นักร้ อง เวทีการแสดง เป็ นโรคละครกลางแจ้ งมีอัฒจันทร์ ล้อมรอบ
  • 50. มรดกทางวัฒนธรรมของกรีก(ต่ อ) 5.วรรณกรรม งานประพันธ์ ของกรี กถือเป็ นมรดกทาง วัฒนธรรมที่สาคัญ และถือว่ าเป็ นการเริ่มต้ นของวิชาปรัชญาและ ํ ประวัตศาสตร์ อีกด้ วย ิ งานวรรณกรรมที่ได้ รับการยกย่ องว่ าเป็ นแม่ แบบของ วรรณกรรมคือ มหากาพย์ อเลียด และ โอดิสซีย์ ของมหากวีโฮ ิ เมอร์ 6.คณิตศาสตร์ นักคณิตศาสตร์ เด่ นของกรี ก ได้ แก่ ปิ ทา โกรั สผู้คดค้ นทฤษฎีบทปิ ทาโกรั ส และยูคลิดผู้เขียนหนังสือชุดซึ่งมี ิ จํานวน 13 เล่ ม เนือหาส่ วนใหญ่ กล่ าวถึงเรขาคณิตและระนาบ ้
  • 51. มรดกทางวัฒนธรรมของกรีก(ต่ อ) 7.ฟิ สิกส์ อาร์ คมีดส เป็ นผู้คดระหัดวิดนําแบบเกลียวรอก ิ ี ิ ้ ชุด ตังกฎของคานงัด และพบวิธีหาปริมาตรของวัตถุโดยการ ้ แทนที่นํา ้ 8.การแพทย์ ฮิปโปคราตีส ได้ รับการยกย่ องเป็ น “บิดาแห่ ง การแพทย์ ” มีความเชื่อว่ าโรคทุกโรคเกิดจากธรรมชาติ ไม่ ใช่ พระ เจ้ าลงโทษ เป็ นคนแรกที่ตดชินส่ วนของมนุษย์ เพื่อศึกษา และ ั ้ พบว่ าสมองเป็ นศูนย์ กลางของระบบประสาท ได้ รับการยกย่ องเป็ น “บิดาแห่ งกายวิภาคศาสตร์ ”
  • 52. มรดกทางวัฒนธรรมของกรีก(ต่ อ) 9.ภูมิศาสตร์ เอราทอสทินีส เป็ นนักดาราศาสตร์ และนัก ภูมิศาสตร์ สามารถคํานวณเส้ นรอบโลกได้ 10.ประวัตศาสตร์ เฮโรโดตัส เดินทางไปยังดินแดนต่ างๆ ิ แล้ วเขียนหนังสือชื่อ ประวัตศาสตร์ กล่ าวถึงขนบทําเนียม ิ ประเพณี ตํานาน และประวัตศาสตร์ ของโลกสมัยโบราณ ิ ส่ วนท้ ายของหนังสือกล่ าวถึงความขัดแย้ งระหว่ างกรีกและเปอร์ เซีย
  • 53. มรดกทางวัฒนธรรมของกรีก(ต่ อ) ศิลปวัฒนธรรมกรี กได้ กลายเป็ นมรดกที่สาคัญที่ชาวกรีก ํ มอบให้ กับโลกตะวันตก โดยมีชาวโรมันเป็ นสื่อกลางในการ ถ่ ายทอด แม้ ในปั จจุบันโลกทัศน์ ของชาวตะวันตกจะเปลี่ยนไปมาก แต่ ความคิดสร้ างสรรค์ ต่างๆของชาวกรี กยังคงได้ รับการยกย่ อง อย่ างสูงและเป็ นแม่ แบบของความเจริญและอารยธรรมตะวันตก อย่ างแท้ จริง
  • 54. บรรณานุกรรม • หนังสือเรี ยนประวัติศาสตร์ ม.4-6 หน้ า86-95 • http://writer.dek-d.com/abjmpsocial/story/viewlongc.php?id=773121&chapter=19 • http://panupong088.wordpress.com/2012/12/06/%E0%B8%AD%E0 %B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B 8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8% 81/ • http://202.143.144.83/~skb/computor/ganjana/west_old_greek2.ht m • http://writer.dekd.com/history612/story/viewlongc.php?id=479463&chapter=10 • http://www.youtube.com/watch?v=-smCOHEw6y8 • http://doricorder.blogspot.com/2011/10/blog-post.html
  • 55. Thanks for Attention นางสาว ล้ วนเลิศ จึงเจริญสุ ขยิง ่ ม.6.7 เลขที่ 27 melissani-cave-greece