SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  11
Télécharger pour lire hors ligne
1 
เรื่องที่ ๒ 
หลักการสาคัญของประชาธิปไตยและคุณธรรม จริยธรรม 
ในการอยู่ร่วมกันอย่าง สันติ สามัคคี ปรองดอง 
ความหมายและความสาคัญ 
ประชาธิปไตยเป็นรูปแบบการปกครองและ 
วิธีการดาเนินชีวิต ซึ่งยึดหลักของความเสมอภาค 
เสรีภาพและศักดิ์ศรีแห่งความเป็นมนุษย์ การปกครอง 
ระบอบประชาธิปไตยถือว่าทุกคนมีสิทธิเสรีภาพ 
เท่าเทียมกันและอานาจอธิปไตยต้องมาจากปวงชน 
ประชาธิปไตย หมายถึง ระบอบการปกครองที่ถือมติปวงชนเป็นใหญ่ การถือเสียงข้างมากเป็นใหญ่ 
(ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒) 
ประชาธิปไตยเป็นรูปแบบการปกครองและวิธีการดาเนินชีวิต ซึ่งยึดหลักของความเสมอภาค เสรีภาพ 
และศักดิ์ศรีแห่งความเป็นมนุษย์ การปกครองระบอบประชาธิปไตยถือว่าทุกคนมีสิทธิเสรีภาพเท่าเทียมกัน และ 
อานาจอธิปไตยต้องมาจากปวงชน 
อานาจอธิปไตย หมายถึง อานาจสูงสุดในการปกครองรัฐหรือประเทศ ดังนั้น สิ่งอื่นใดจะมีอานาจยิ่ง 
กว่า หรือขัดต่ออานาจอธิปไตยไม่ได้ อานาจอธิปไตยย่อมมีความแตกต่างกันไปในแต่ละระบอบการปกครอง เช่น 
ในระบอบประชาธิปไตย อานาจอธิปไตยเป็นของประชาชน กล่าวคือ ประชาชนคือผู้มีอานาจสูงสุดในการ 
ปกครองประเทศ ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช อานาจอธิปไตยเป็นของพระมหากษัตริย์ คือกษัตริย์ เป็นผู้มี 
อานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ เป็นต้น อนึ่ง อานาจอธิปไตยนี้นับเป็นองค์ประกอบสาคัญที่สุดของความ 
เป็นรัฐเพราะการที่จะเป็นรัฐได้นั้น นอกจากจะต้องประกอบด้วยอาณาเขต ประชากรและรัฐบาลแล้วย่อมต้องมี 
อานาจอธิปไตยด้วยกล่าว คือประเทศนั้นต้องเป็นประเทศที่สามารถมีอานาจสูงสุด (อานาจอธิปไตย) ในการ 
ปกครองตนเอง จึงจะสามารถเรียกว่า “รัฐ” ได้ 
ระบอบประชาธิปไตย หมายถึง ระบอบการปกครองที่อานาจอธิปไตยเป็นของปวงชน ประชาชนมี 
สิทธิเสรีภาพ โดยอาศัยหลักการของการแบ่งแยกอานาจ และหลักการที่ว่าด้วยความถูกต้องแห่งกฎหมาย 
ผู้ปกครองประเทศที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชน เป็นเพียงตัวแทนที่ได้รับมอบอานาจให้ใช้อานาจอธิปไตย 
แทนประชาชน 
หลักการสาคัญของระบอบประชาธิปไตยที่สาคัญ 
๑) หลักการอานาจอธิปไตย เป็นของปวงประชาชน ประชาชนแสดงออกซึ่งการเป็นเจ้าของโดยใช้ 
อานาจที่มีตามกระบานการเลือกตั้งอย่างอิสระและทั่วถึงในการให้ได้มาซึ่งตัวผู้ปกครองและผู้แทนของตนรวมทั้ง 
ประชาชนมีอานาจในการคัดค้านและถอดถอนผู้ปกครองและผู้แทนที่ประชาชนเห็นว่า มิได้บริหารประเทศในทาง 
ที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมส่วนรวม เช่น มีพฤติกรรมร่ารวยผิดปกติ 
ในระบอบประชาธิปไตยอานาจอธิปไตยเป็นอานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ ซึ่งตามระบอบ 
ประชาธิปไตยถือว่าเป็นอานาจของประชาชน ใช้อานาจผ่านทางตัวแทน แบ่งออกเป็น ๓ ส่วน ดังนี้ 
อานาจนิติบัญญัติ อานาจบริหาร อานาจตุลากร
2 
๑. อานาจนิติบัญญัติ เป็นอานาจในการออกกฎหมายและควบคุมการทางานของรัฐบาลเพื่อ ประโยชน์ของประชาชนและประเทศชาติ ประชาชนชาวไทยใช้อานาจนี้โดยการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไปทาหน้าที่แทนในรัฐสภา 
๒. อานาจบริหาร เป็นอานาจการบริหารราชการแผ่นดินและการปกครอง ซึ่งมีคณะรัฐมนตรี หรือรัฐบาลเป็นผู้ใช้อานาจ และรับผิดชอบในการบริหารราชการแผ่นดินให้เป็นไปตาม นโยบายที่แถลงต่อรัฐสภา 
๓. อานาจตุลาการ เป็นอานาจในการวินิจฉัยตัดสินคดีความตามกฎหมาย โดยมีศาลเป็นผู้ใช้ อานาจ 
๒) หลักสิทธิเสรีภาพ ประชาชนทุกคนมีความสามารถในการกระทาหรืองดเว้นการกระทาอย่างใดอย่าง หนึ่งตามที่บุคคลต้องการ ตราบเท่าที่การกระทาของเขานั้น ไม่ไปละเมิดลิดรอนสิทธิเสรีภาพของบุคคลอื่น หรือ ละเมิดต่อความสงบเรียบร้อยของสังคมและความมั่นคงของประเทศชาติ 
๓) หลักความเสมอภาค การเปิดโอกาสให้ประชาชนทุกคนสามารถเข้าถึงทรัพยากรและคุณค่าต่างๆ ของสังคมที่มีอยู่จากัดอย่างเท่าเทียมกัน โดยไม่ถูกกีดกันด้วยสาเหตุแห่งความแตกต่างทางชั้นวรรณะทางสังคม ชาติพันธุ์ วัฒนธรรม ความเป็นอยู่ ฐานะทางเศรษฐกิจหรือด้วยสาเหตุอื่น 
๔) หลักนิติรัฐและหลักนิติธรรม เป็นหลักการของรัฐที่มีการปกครองโดยกฎหมายหรือหลักนิติธรรม การใช้หลักกฎหมายเป็นกฎเกณฑ์การอยู่ร่วมกัน เพื่อความสงบสุขของสังคม การให้ความคุ้มครองสิทธิขั้น พื้นฐานของประชาชนทั้งในเรื่องสิทธิเสรีภาพในทรัพย์สิน การแสดงออก การดารงชีพ ฯลฯ อย่างเสมอหน้ากัน ผู้ปกครองไม่สามารถใช้อานาจใดๆ ลิดรอนเพิกถอนสิทธิเสรีภาพของประชาชนได้และไม่สามารถใช้อภิสิทธิอยู่ เหนือกฎหมาย หรือเหนือกว่าประชาชนคนอื่นๆ ได้ 
๕) หลักการเสียงข้างมาก ควบคู่ไปกับการเคารพในสิทธิของเสียงข้างน้อย การตัดสินใจใดๆ ที่ส่งผล กระทบต่อประชาชนหมู่มาก ไม่ว่าจะเป็นการเลือกตั้งผู้แทนของประชาชนเข้าสู่ระบบการเมือง การตัดสินใจของ ฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร หรือฝ่ายตุลาการ ย่อมต้องถือเอาเสียงข้างมากที่มีต่อเรื่องนั้นๆ เป็นเกณฑ์ในการ ตัดสินทางเลือก โดยถือว่าเสียงข้างมากเป็นตัวแทนที่สะท้อนความต้องการ และข้อเรียกร้องของประชาชนหมู่ มาก หลักการนี้ ต้องควบคู่ไปกับการเคารพและคุ้มครองสิทธิเสียงข้างน้อยด้วย ทั้งนี้ก็เพื่อเป็นหลักประกันว่า ฝ่าย เสียงข้างมากจะไม่ใช้วิธีการ พวกมากลากไปตามผลประโยชน์ ความเห็นหรือกระแสความนิยมของพวกตนอย่าง สุดโต่ง แต่ต้องดาเนินการเพื่อประโยชน์ความเห็นของประชาชนทั้งหมดเพื่อสร้างสังคมที่ประชาชนเสียงข้างน้อย รวมทั้งชนกลุ่มน้อยผู้ด้อยโอกาสต่างๆ สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุขโดยไม่มีการเอาเปรียบกันและสร้าง ความขัดแย้งในสังคม
3 
๖) หลักเหตุผล เป็นหลักการใช้เหตุผลที่ถูกต้องในการตัดสินหรือยุติปัญหาในสังคม ในการอยู่ร่วมกัน อย่างสันติสามัคคีปรองดอง ผู้คนต้องรู้จักยอมรับฟังความเห็นต่าง และรับฟังเหตุผลของผู้อื่น ไม่ดื้อดึงในความคิด เห็นของตนเอง จนคนอื่นมองเราเป็นคนมี มิจฉาทิฐิ 
๗) หลักประนีประนอม เป็นหลักการการลดความขัดแย้งโดยการผ่อนหนักผ่อนเบาให้กัน ร่วมมือกัน เพื่อเห็นแก่ประโยชน์ของส่วนรวมเป็นสาคัญ เป็นทางสายกลางซึ่งทั้งสองฝ่ายจะต้องได้และเสียในบางอย่าง ไม่ได้ครบตามที่ตนปรารถนา จัดเป็นวิธีการที่ทาให้ทุกฝ่ายสามารถอยู่ร่วมกันต่อไปได้อย่างสันติ วิธีการในการ ประนีประนอมอาจใช้เทคนิคการเจรจาต่อรองการไกล่เกลี่ยโดยผู้บังคับบัญชาหรือบุคคลที่สาม เป็นต้น 
๘) หลักการยอมรับความเห็นต่าง หลักการนี้เพื่อเป็นการอยู่ร่วมกันด้วยความสันติสามัคคี ปรองดอง ไม่ว่าเสียงข้างมากหรือเสียงข้างน้อย ต้องทาใจยอมรับความเห็นต่างอันเป็นการหลอมรวมหลักความเสมอภาค หลักเสรีภาพและหลักประนีประนอม โดยการเคารพและคุ้มครองสิทธิของผู้อื่นด้วย ทั้งนี้ก็เพื่อเป็นหลักประกันว่า ไม่ว่าฝ่ายเสียงข้างมากหรือฝ่ายเสียงข้างน้อยเพื่อการอยู่ร่วมกันด้วยความสันติสามัคคี ปรองดองทุกฝ่ายต้อง ยอมรับความเห็นต่าง รวมทั้งฝ่ายเสียงข้างมากเองก็จะไม่ใช้วิธีการ พวกมากลากไปตามผลประโยชน์ความเห็น หรือกระแสความนิยมของพวกตนอย่างสุดโต่ง ดังได้กล่าวไว้แล้วข้างต้น แต่ต้องดาเนินการเพื่อประโยชน์ ความเห็นของประชาชนทั้งหมดหรือทุกฝ่ายเพื่อสร้างสังคมที่ประชาชนเสียงข้างน้อย หรือประชาชนที่มีความเห็น ต่างจากฝ่ายตน สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติ สามัคคี ปรองดอง โดยไม่มีการเอาเปรียบกันและสร้างความ ขัดแย้งในสังคมมากเกินไป 
กล่าวโดยสรุป วิถีทางประชาธิปไตย 
อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หลักการที่สาคัญ 
เช่น หลักการอานาจอธิปไตย หลักสิทธิเสรีภาพ 
หลักความเสมอภาพ หลักนิติรัฐ และหลักนิติธรรม 
หลักการเสียงข้างมาก หลักเหตุผล หลักประนีประนอม 
หลักการยอมรับความเห็นต่าง ผู้เรียนจะต้องศึกษา 
หลักการต่าง ๆ เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจและ 
นาหลักการนี้มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันเพื่อ 
การอยู่ร่วมกันอย่างสันติ 
คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการเสริมสร้างสันติ สามัคคี ปรองดองในสังคมไทย 
ความหมาย การเสริมสร้างความปรองดองในสังคมไทย 
การเสริมสร้างความปรองดองในสังคมไทย หมายถึง “การเพิ่มพูนให้ดีขึ้นหรือมั่นคงยิ่งขึ้นด้วยความ พร้อมเพรียงกัน หรือ การเพิ่มพูนให้ดีขึ้นด้วยการออมชอม ประนีประนอม ยอมกัน ไม่แก่งแย่งกัน ตกลงด้วย ความไกล่เกลี่ย และตกลงกันด้วยความมีไมตรีจิต ของประชาชนคนไทย” 
คนไทยส่วนใหญ่ ล้วนมีความรักใคร่และสามัคคีกันอยู่แล้วในทุกถิ่น ด้วยความมีจารีตวัฒนธรรมประเพณี กับความมีศีลธรรม ในสายเลือดและในจิตใจ สืบทอดต่อกันมา การขัดแย้งทางความคิดในกลุ่มคนย่อมเกิดมีได้ บ้างเป็นเรื่องธรรมดา แต่ถ้าหากการขัดแย้งทางความคิด ได้รับการไกล่เกลี่ย ได้รับความรู้ ได้รับข่าวสารหรือได้รับ อธิบายจนเกิดความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง การขัดแย้งทางความคิดเหล่านั้นก็จะหมดไปได้ ไม่ก่อให้เกิดความ แตกแยกสามัคคี ไม่ก่อให้เกิดความรุนแรงใดใด ทั้งทางวาจาและทางกาย เพราะคนไทย เป็นชนชาติที่รักสงบ รักพวกพ้องและรักแผ่นดินถิ่นเกิด 
ประเทศไทย มีการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขมา กว่า ๗๐ ปี ล้มลุก คลุกคลานมาโดยตลอด มีการปฏิวัติรัฐประหารเกิดขึ้นหลายครั้ง สาเหตุเกิดจาก การที่บรรดานักการเมือง หรือ กลุ่มบุคคลทางการเมือง ประพฤติปฏิบัติ บริหารจัดการ ไปในทางที่ทาให้เกิดความเสียหายต่อประเทศชาติและ
4 
ประชาชน แต่ก็มีกลุ่มประชาชน นักการเมือง กลุ่มนักวิชาการบางกลุ่ม และกลุ่มที่อาศัยระบอบการปกครองเป็น 
เครื่องมือ ในการแสวงหาและปกป้องผลประโยชน์ มักเรียกร้องให้คืนประชาธิปไตย กล่าวหาว่า การปฏิวัติ 
รัฐประหารเป็นเผด็จการ โดยความรู้เท่าไม่ถึงการ ด้วยความไม่รู้จริงไม่รู้แจ้ง ในระบบการปกครองทั้งหลาย 
ความจริงแล้วระบบการปกครองแบบไหนๆ ก็ดีเหมือนกันทั้งนั้น ขึ้นอยู่กับความเหมาะสม การประพฤติปฏิบัติ 
การบริหารจัดการหรือการใช้ ว่าจะมีความเหมาะสม สามารถ 
ประพฤติปฏิบัติ บริหารจัดการหรือใช้ ตามรูปแบบของระบอบ 
ประชาธิปไตยนั้นๆ ให้เกิดผลดีได้เพียงใด อีกทั้งยังมีปัจจัยอื่นๆ 
หลายปัจจัย อันเป็นส่วนประกอบที่จะทาให้ประเทศนั้น ๆ 
ควรใช้ระบอบการปกครองรูปแบบใด เพื่อให้เกิดประโยชน์ 
เกิดความสุข เกิดความมั่นคงต่อประเทศชาติและประชาชน 
สาหรับนักการเมืองและกลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้อง ควรมีคุณธรรมในเรื่องของความรักชาติ ศาสนา 
พระมหากษัตริย์ เห็นประโยชน์ของประเทศชาติและประชาชนสาคัญกว่าประโยชน์ส่วนตน ปัญหาความขัดแย้ง 
ที่เกิดขึ้นในสังคมไทยส่วนใหญ่ คือ ประชาชนต้องการมีรายได้ที่พอเพียง มีอาชีพมีงานทา ไม่ถูกเอารัดเอาเปรียบ 
เกษตรกรต้องการมีที่ทากิน ปลดเปลื้องหนี้สิน ต้องการขายสินค้าทางการเกษตรกรรมได้ในราคาที่เป็นธรรม 
การกินดีอยู่ดี มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน มีความเสมอภาคหรือความเท่าเทียมกันในการศึกษา การ 
เข้าถึงหรือได้รับสิทธิขั้นพื้นฐานและสวัสดิการต่าง ๆ อย่างเท่าเทียม และอื่นๆ ถึงแม้ว่าอาจจะมีการแข่งขันกัน 
บ้างในบางเรื่องบางอย่าง อีกทั้ง การได้รับการดูแลเอาใจใส่จากรัฐบาล ผู้แทนราษฎรและหน่วยงาน ข้าราชการ 
ทุกแขนงอย่างเต็มกาลังสามารถ ถ้าหากประชาชน ได้รับสิ่งที่ต้องการตามที่กล่าวไปตามสมควร รวมไปถึงรัฐบาล 
ผู้แทนราษฎรและหน่วยงาน ข้าราชการทุกแขนง มีความเอาใจใส่ ดูแลประชาชนในทุกด้าน ตามบทบาทหน้าที่ 
อย่างเต็มกาลังสามารถ การขัดแย้งทางความคิดย่อมไม่เกิดขึ้น หรืออาจจะมีความขัดแย้งทางความคิดบ้าง 
เล็กน้อยเป็นธรรมดา ไม่ถึงกับเป็นสาเหตุทาให้เกิดความแตกแยกสามัคคี นาไปสู่การชุมนุมและย่อมจะมีแต่ความ 
สามัคคี ความรักใคร่ปรองดอง ของคนในชาติ อีกประการหนึ่งเกี่ยวกับการกาหนด นโยบาย แผนงาน โครงการ 
และการปฏิบัติ ของแต่ละกระทรวง ทบวง กรม ที่ไม่สอดคล้องไม่สัมพันธ์กัน ก็เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้เกิดความ 
ขัดแย้งทางความคิด เป็นสาเหตุทาให้ประชาชนบางส่วนหรือส่วนมากไม่ได้รับความเป็นธรรม ดังนั้น กระทรวง 
ทบวง กรม ต่างๆ “อาจจะต้อง” มีการประชุมปรึกษา ในการกาหนดนโยบาย แผนงาน โครงการ และการปฏิบัติ 
ร่วมกัน สอดคล้องสัมพันธ์กัน เอื้ออานวยซึ่งกันและกัน ตั้งแต่ระดับสูง ไปจนถึงระดับปฏิบัติงาน ย่อมสามารถลด 
การขัดแย้งทางความคิดของประชาชนลงได้ หรือไม่มีการขัดแย้งทางความคิดเกิดขึ้นเลย 
ประชาชนควรได้รับความรู้ หรือมีความรู้ความเข้าใจ ในระบอบการปกครอง รวมถึงระบบระเบียบวิธีการ 
ทางานหรือกลวิธีของพรรคการเมือง และควรได้รับความรู้ มีความเข้าใจ เกี่ยวกับกลวิธีในการทุจริตคอร์รัปชั่น 
ประพฤติมิชอบ การรับเงินสมนาคุณ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับพรรคการเมืองและนักการเมืองทุกรูปแบบ 
รวมถึงความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายที่สาคัญในชีวิตประจาวันและอื่นๆ เพื่อให้ประชาชนเกิดการเคารพในกฎหมาย 
ประพฤติปฏิบัติตามกฎเกณฑ์กติกาหรือตามกฎหมาย ประชาชนทุกหมู่เหล่า ทุกสาขาอาชีพ ควรได้รับการพัฒนา 
ทางด้านจิตใจให้มีคุณธรรมทางศาสนา ให้เกิดมีความรู้ มีความเข้าใจในหลักการหรือหลักคาสอนทางศาสนา อัน 
จะเป็นบรรทัดฐานหรือเป็นแนวทางในการประพฤติปฏิบัติตามหน้าที่ แห่งความเป็นประชาชนชาวไทย เพื่อให้ 
เกิดความมีระเบียบ มีวินัย ทั้งความคิด ทั้งจิตใจ ในทุกด้าน อันจักทาให้การขัดแย้งทางความคิดในทุกชุมชน ทุก 
สังคม ทุกหน่วยงาน ทุกกลุ่มบุคคล ลดน้อยลงหรือไม่มีการขัดแย้งทางความคิดที่รุนแรงเกิดขึ้น นั้นย่อมแสดงให้ 
เห็นว่า คนไทย ได้เสริมสร้างความสามัคคี คือ ได้เพิ่มพูนให้ดีขึ้นหรือมั่นคงยิ่งขึ้น ด้วยความพร้อมเพียงกัน 
ออมชอม ประนีประนอม ยอมกัน ไม่แก่งแย่งกัน ตามจารีตวัฒนธรรมประเพณี ตามหลักกฎหมาย ตามหลัก 
ศีลธรรมในศาสนา ซึ่ง “การเสริมสร้างความสามัคคีของคนไทย” จะสาเร็จได้ ก็ด้วยคนไทยร่วมมือร่วมใจกัน 
ประพฤติปฏิบัติ เพื่อประเทศไทย และเพื่อคนไทย
5 
หลักการเสริมสร้างความปรองดองในสังคมไทย 
การเสริมสร้างความปรองดอง จึงเป็นกระบวนการที่ช่วยป้องกันหรือลดปัญหาความขัดแย้ง สร้างสันติ 
สามัคคีให้คนในสังคมอยู่ร่วมกันอย่างสามัคคีบนพื้นฐานของหลักการทางประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง 
เป็นประมุข และการใช้คุณธรรมในการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข 
คุณธรรมพื้นฐานในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ สามัคคี ปรองดองตามหลักการทางประชาธิปไตย 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) (2551 : 51, 57) ได้ให้ความหมายของคาว่า “คุณธรรม” ไว้อย่าง 
ชัดเจนว่า หมายถึง ธรรมที่เป็นคุณ ความดีงาม สภาพที่เกื้อกูลกัน ส่วนคาว่า “จริยธรรม” หมายถึง หลักความ 
ประพฤติ หลักในการดาเนินชีวิต หรือความประพฤติอันประเสริฐ หรือการดาเนินชีวิตอันประเสริฐ 
คุณธรรม จริยธรรม เป็นเรื่องของระบบคิดที่ยอมรับความเป็นจริงของชีวิตอย่างดุษฎีไม่สามารถวัดและ 
ประเมินผลในเชิงปริมาณได้ ดังนั้นการสร้างคุณธรรม จริยธรรม ให้เกิดขึ้นได้ จึงต้องอาศัยการปลูกฝังระบบคิด 
ดังกล่าวให้เข้าไปอยู่ในทุกช่วงชีวิตของมนุษย์ และต้องไม่เป็นหน้าที่ของหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่งอย่าง 
สถาบันการศึกษา หากแต่ควรเป็นทุกภาคส่วนของสังคมต้องเข้ามามีส่วนร่วมในการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม 
ให้เกิดมีขึ้นให้ได้ 
จะเห็นได้ว่าเรื่องของ คุณธรรม จริยธรรม เป็นการพัฒนาความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ไม่เพียงเฉพาะเพื่อ 
การอยู่ร่วมกันอย่างสันติสามัคคีปรองดอง เท่านั้น ยังเป็นพื้นฐานของการอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุขไม่แตกแยกใน 
ระบอบประชาธิปไตย หากแต่เป็นการเตรียม “คนไทย” ให้มีความพร้อมในการอยู่ร่วมกันในฐานะสมาชิกใน 
สังคมเดียวกันจะนามาซึ่งการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขได้ 
คุณธรรมที่นาไปสู่การอยู่ร่วมกันอย่างสันติ สามัคคี ปรองดอง ตามหลักการทางประชาธิปไตย 
(ดร.สาโรช บัวศรี) มีดังนี้ 
1. คารวธรรม คือ การเคารพซึ่งกันและกัน 
2. สามัคคีธรรม คือ การร่วมมือช่วยเหลือซึ่งกันและกัน 
3. ปัญญาธรรม คือ การใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต
6 
1. คารวธรรม คือ การเคารพซึ่งกันและกัน มีพฤติกรรมที่แสดงออก ดังนี้ 
1.1 เคารพในสถาบันพระมหากษัตริย์ ได้แก่ การแสดงความเคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ใน ทุกโอกาส การร่วมกิจกรรมต่างๆที่จัดเพื่อแสดงความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ ในโอกาสวันสาคัญ ต่าง ๆ การไปรับเสด็จเมื่อพระมหากษัตริย์ หรือพระบรมวงศานุวงศ์เสด็จไปในถิ่นที่อยู่ หรือบริเวณใกล้เคียง 
การปฏิบัติต่อสัญลักษณ์ที่แสดงถึงสถาบันพระมหากษัตริย์ เช่น ธงชาติ พระบรมฉายาลักษณ์ เพลงสรรเสริญพระ บารมี ฯลฯ ด้วยความเคารพ เมื่อได้ยิน หรือเห็นบุคคลใดแสดงกิริยาวาจา หรือมีการกระทาอันไม่สมควรต่อ สถาบันพระมหากษัตริย์ ต้องกล่าวตักเตือนและห้ามไม่ให้ปฏิบัติเช่นนั้นอีก 
1.2 เคารพบุคคลที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะบิดามารดาซึ่งเป็นผู้ให้กาเนิด เคารพญาติผู้ใหญ่ เช่น ปู่ ย่า ตา ยาย และผู้สูงอายุ เคารพครูอาจารย์ และเพื่อน ๆ ทั้งทางกายและทางวาจา 
1.2.1 ทางกาย ได้แก่ การทักทาย การให้เกียรติผู้อื่น การแสดงความเคารพแก่บุคคลซึ่งอาวุโส 
กว่า การให้การต้อนรับแก่บุคคล การแสดงความเอื้อเฟื้อซึ่งกันและกัน เป็นต้น 
1.2.2 ทางวาจา ได้แก่ การพูดให้เมาะสมกับกาลเทศะ การใช้คาพูดเหมาะสมตามฐานะของ 
บุคคล การพูดจาสุภาพ ไม่ก้าวร้าว ส่อเสียด การไม่พูดในสิ่งที่จะทาให้ผู้อื่น เกิดความเดือดร้อน ไม่นาความลับ ของบุคคลอื่นไปเปิดเผย ไม่พูดนินทาหรือโกหกหลอกลวง เป็นต้น 
1.3 เคารพสิทธิของผู้อื่น ได้แก่ การไม่ล่วงละเมิดสิทธิของผู้อื่น ทั้งทางกายหรือวาจา การรู้จักเคารพใน สิทธิของคนที่มาก่อนหลัง การเคารพในความเป็นเจ้าของ สิ่งของเครื่องใช้ การรู้จักขออนุญาต เมื่อล่วงล้าเข้า ไปในที่อยู่อาศัยของบุคคลอื่น การไม่ทาร้ายผู้อื่นโดยเจตนา การไม่ทาให้ผู้อื่นเสื่อมเสียชื่อเสียง เป็นต้น 
1.4 เคารพในความคิดเห็นของผู้อื่น ได้แก่ การยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น เมื่อมีผู้พูดเสนอความ คิดเห็น ควรฟังด้วยความตั้งใจและใคร่ครวญด้วยวิจารญาณ หากเห็นว่าเป็นการเสนอแนวความคิดที่ดี มี ประโยชน์มากกว่าความคิดเห็นของตนเองก็ควรยอมรับและปฏิบัติตาม ไม่ควรยึดถือความคิดเห็นของตนว่าถูก เสมอไป 
1.5 เคารพในกฎระเบียบของสังคม ได้แก่ การยึดมั่นในกฎระเบียบของสังคม เช่น วัฒนธรรมประเพณี กฎเกณฑ์ของสังคม และกฎหมายของประเทศ 
1.6 มีเสรีภาพและใช้เสรีภาพในขอบเขตของกฎหมายและขนบธรรมเนียมประเพณี 
2. สามัคคีธรรม คือ การร่วมมือช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อกัน เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อ ส่วนรวม มีพฤติกรรมที่แสดงออกดังนี้ 
2.1 การรู้จักประสานประโยชน์ โดยถือประโยชน์ของส่วนรวม หรือประโยชน์ของชาติเป็นที่ตั้ง ได้แก่ 
การทางานร่วมกันอย่างสันติวิธี การรู้จักประนีประนอม โดยคานึงถึงประโยชน์ที่เกิดขึ้นแก่ส่วนรวมเป็นใหญ่ 
การเสียสละความสุขส่วนตน หรือหมู่คณะ เพื่อประโยชน์ของส่วนรวมหรือของชาติ 
2.2 ร่วมมือกันในการทางาน หรือทากิจกรรมอย่างหนึ่งอย่างใดร่วมกัน โดยมีบุคคลผู้ร่วมงาน ตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ในการทางานร่วมกันนี้ จะต้องมีการวางแผนในการทางานร่วมกัน เมื่อถึงขั้นตอนของการทางานก็ ช่วยเหลือกันอย่างตั้งใจ จริงจัง ไม่หลีกเลี่ยงหรือเอาเปรียบผู้อื่น 
2.3 เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม 
2.4 รับผิดชอบต่อหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมายจากส่วนรวมและหน้าที่ต่อสังคม 
2.5 ความเป็นน้าหนึ่งใจเดียวกันของคนในกลุ่ม ในหน่วยงานและสังคม 
3. ปัญญาธรรม คือ การใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต มีพฤติกรรมที่แสดงออก ดังนี้ 
3.1 การไม่ถือตนเป็นใหญ่ ได้แก่ การรู้จักรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น การยอมรับฟัง และปฏิบัติตาม มติของเสียงส่วนมากในที่ประชุมหรือในการทางานต่างๆ การรู้จักเป็นผู้นาและผู้ตามที่ดี
7 
3.2 เน้นการใช้ปัญญา ใช้เหตุผลและความถูกต้อง ในการตัดสินปัญหาทั้งปวง ไม่ใช้เสียงข้างมาก ในการ ตัดสินปัญหาเสมอไป เพราะเสียงข้างมากบอกเฉพาะความต้องการ ความคิดเห็น ความพึงพอใจ แต่ไม่อาจบอก ความจริงความถูกต้องได้ 
3.3 เมื่อมีปัญหาใดเกิดขึ้น หรือเมื่อมีเรื่องที่จะต้องตัดสินใจ ทุกคนต้องร่วมกันคิดและร่วมกัน ตัดสินใจ โดยใช้เหตุผล 
3.4 ในกรณีที่มีปัญหาโต้แย้งในหมู่คณะ จะต้องพยายามอภิปราย จนกระทั่งสามารถชักจูงให้ทุกคนเห็น คล้อยตามด้วยเหตุและผล เมื่อเกิดกรณีที่ต่างก็มีเหตุผลที่ดีด้วยกัน และไม่อาจชักจูงให้ตัดสินใจได้ไปทางใดทาง หนึ่ง จึงต้องใช้วิธีการออกเสียง 
การปฏิบัติตามคุณธรรมข้างต้น เมื่อได้ประพฤติปฏิบัติ ความสามัคคีย่อมจะเกิดขึ้น เมื่อเกิดความสามัคคี ขึ้นแล้ว การงานทุกอย่างแม้จะยากสักเพียงใด ก็กลายเป็นง่าย ชีวิตมีแต่ความราบรื่น แม้จะเกิดอุปสรรคก็ สามารถขจัดให้หมดสิ้นได้ ดังคากล่าวที่ว่า “สามัคคีคือพลัง” เพียงแต่ทุกคนดารงชีวิตบนพื้นฐานแห่งคุณธรรม ให้ทุกคนมีความรัก และช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีความสามัคคีและเสียสละเพื่อส่วนรวม การใช้หลักธรรมในการ ส่งเสริมความสามัคคีเป็นแนวทางในระยะยาว และเป็นการป้องกันความแตกสามัคคี ขณะที่การสร้างความ สามัคคีในระยะสั้นเป็นการทากิจกรรมต่างๆร่วมกัน โดยอาจเริ่มจากกิจกรรมบันเทิงที่สามารถดึงกลุ่มคนให้เข้า ร่วมได้ง่าย เช่น การเข้าค่ายต่างๆ การทากิจกรรมพัฒนาสังคมและชุมชนร่วมกัน การทากิจกรรมพัฒนาคุณภาพ ชีวิตที่หลากหลาย จากนั้นค่อยขยายสู่กิจกรรมที่มีความยากขึ้น และการสร้างวัฒนธรรมประเพณีในการทา กิจกรรมร่วมกันเป็นประจาจะช่วยสร้างวัฒนธรรมการทางานกลุ่ม และการสัมพันธ์กับสังคม ซึ่งช่วยให้เกิดความ รักความสามัคคีได้มากยิ่งขึ้น 
เชื่อมั่นว่า หากทุกคนหันมามองประโยชน์ของความสามัคคีและเห็นโทษของความแตกแยกได้ชัดเจนแล้ว หลีกเลี่ยงเหตุแห่งความแตกแยก สร้างเหตุแห่งความสมานฉันท์และเคารพกฎหมาย ความสมัครสมานสามัคคี หรือการสมานฉันท์จะต้องกลับมาสู่สังคมไทยในไม่ช้าเพราะชนชาติไทยเป็นชนชาติที่โชคดีมีทั้งเอกลักษณ์ไทย ศาสนาและกฎระเบียบวัฒนธรรมประเพณีที่ดีงาม รอเพียงให้ปวงชนชาวไทยไม่ท้อแท้ลุกขึ้นมาแก้ไขและปฏิบัติ ตามกฎหมายอย่างจริงจัง โดยที่ทุกคนตระหนักว่า การสร้างสมานฉันท์ในชาติ มิใช่หน้าที่ของผู้นาประเทศหรือ ของใครคนใดคนหนึ่งแต่เป็นหน้าที่ของทุกคน ไม่ช้าความสงบจะกลับมาสู่บ้านเกิดเมืองนอนของเราอันเป็นที่รัก อีกครั้งหนึ่ง
8 
ค่านิยมพื้นฐานในการอยู่ร่วมกันอย่างสมานฉันท์ 12 ประการ 
ข้อ 1. มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ 
ข้อ 2. ซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน 
ข้อ 3. กตัญญูต่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์ 
ข้อ 4. ใฝ่หาความรู้ หมั่นศึกษาเล่าเรียนทั้งทางตรงและทางอ้อม 
ข้อ 5. รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงาม 
ข้อ 6. มีศีลธรรม รักษาความสัตย์ หวังดีต่อผู้อื่น เผื่อแผ่และแบ่งปัน 
ข้อ 7. เข้าใจเรียนรู้การเป็นประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขที่ถูกต้อง 
ข้อ 8. มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผู้น้อยรู้จักเคารพผู้ใหญ่ 
ข้อ 9. มีสติรู้ตัว รู้คิด รู้ทา รู้ปฏิบัติ ตามพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 
ข้อ 10. รู้จักดารงตนอยู่โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดารัสของ 
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รู้จักอดออมไว้ใช้เมื่อยามจาเป็น มีไว้พอกินพอใช้ 
ถ้าเหลือก็แจกจ่าย จาหน่าย และขยายกิจการเมื่อมีความพร้อมโดยมีภูมิคุ้มกันที่ดี 
ข้อ 11. มีความเข้มแข็งทั้งร่างกายและจิตใจ ไม่ยอมแพ้ต่ออานาจฝ่ายต่าหรือกิเลส มีความ 
ละอายเกรงกลัวต่อบาปตามหลักของศาสนา 
ข้อ 12. คานึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวมและต่อชาติมากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง 
ค่านิยมพื้นฐานดังกล่าวข้างต้นมีความสาคัญอย่างยิ่งที่คนไทยจะต้องนามาประพฤติปฏิบัติ ในชีวิตประจาวันอยู่เสมอ และเพื่อให้เกิดความเข้าใจยิ่งขึ้นจะขอกล่าวในรายละเอียดเพิ่มเติม ดังนี้ 
1. มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ เป็นคุณลักษณะที่แสดงถึงรักความเป็นชาติไทย เป็น พลเมืองดีของชาติ มีความสามัคคี เห็นคุณค่า ภูมิใจ เชิดชูความเป็นไทย ปฏิบัติตนตามหลักศาสนาที่ตนนับถือ และแสดงความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ 
2. ซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน เป็นคุณลักษณะที่แสดงถึงการยึดมั่นในความถูกต้อง ประพฤติตรงตาม ความเป็นจริงต่อตนเองและผู้อื่น ละความเห็นแก่ตัว รู้จักแบ่งปันช่วยเหลือสังคมและบุคคลที่ควรให้รู้จักควบคุม ตนเองเมื่อประสบกับความยากลาบากและสิ่งที่ก่อให้เกิดความเสียหาย 
3. กตัญญูต่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์ เป็นคุณลักษณะที่แสดงออกถึงการรู้จักบุญคุณ ปฏิบัติ ตามคาสั่งสอน แสดงความรัก ความเคารพ ความเอาใจใส่ รักษาชื่อเสียง และตอบแทนบุญคุณของพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครูบาอาจารย์ 
4. ใฝ่หาความรู้ หมั่นศึกษาเล่าเรียนทั้งทางตรงและทางอ้อม เป็นคุณลักษณะที่แสดงออกถึงความตั้งใจ เพียรพยายามในการศึกษาเล่าเรียน แสวงหาความรู้ ทั้งทางตรงและทางอ้อม 
5. รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงาม เป็นการปฏิบัติสืบทอดอนุรักษ์วัฒนธรรม และประเพณีไทย อันดีงามด้วยความภาคภูมิใจเห็นคุณค่าความสาคัญ 
6. มีศีลธรรม รักษาความสัตย์ หวังดีต่อผู้อื่น เผื่อแผ่และแบ่งปัน เป็นความประพฤติที่ควรละเว้น และ ความประพฤติที่ควรปฏิบัติตาม 
7. เข้าใจเรียนรู้การเป็นประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขที่ถูกต้อง คือ มีความรู้ ความเข้าใจ ประพฤติปฏิบัติตนตามสิทธิและหน้าที่ของตนเอง เคารพสิทธิและหน้าที่ของผู้อื่น ใช้เสรีภาพด้วย ความรับผิดชอบภายใต้ขอบเขตของกฎหมาย ตามระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
9 
8. มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผู้น้อยรู้จักการเคารพผู้ใหญ่ เป็นคุณลักษณะที่แสดงออกถึงการ ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมาย มีความเคารพและนอบน้อมต่อผู้ใหญ่ 
9. มีสติรู้ตัว รู้คิด รู้ทา รู้ปฏิบัติ ตามพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นการ ประพฤติปฏิบัติตนอย่างมีสติรู้ตัว รู้คิด รู้ทา อย่างรอบคอบถูกต้อง เหมาะสม และน้อมนาพระราชดารัสของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ มาปฏิบัติในชีวิตประจาวัน 
10. รู้จักดารงตนอยู่โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว รู้จักอดออมไว้ใช้เมื่อยามจาเป็น มีไว้พอกินพอใช้ ถ้าเหลือก็แจกจ่าย จาหน่าย และขยายกิจการ เมื่อมีความพร้อม สามารถดาเนินชีวิตอย่างพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี มีความรู้ มีคุณธรรม และ ปรับตัวเพื่ออยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข 
11. มีความเข้มแข็งทั้งร่างกายและจิตใจ ไม่ยอมแพ้ต่ออานาจฝ่ายต่าหรือกิเลส มีความละอายเกรงกลัว ต่อบาปตามหลักของศาสนา เป็นการปฏิบัติตนให้มีร่างกายสมบูรณ์ แข็งแรงปราศจากโรคภัยและมีจิตใจที่ เข้มแข็ง ไม่กระทาความชั่วใดๆ ยึดมั่นในการทาความดีตามหลักของศาสนา 
12. คานึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวมและต่อชาติมากกว่า 
ผลประโยชน์ของตนเอง ให้ความร่วมมือ ในกิจกรรมที่เป็น 
ประโยชน์ต่อส่วนรวม และประเทศชาติ เสียสละประโยชน์ 
ส่วนตนเพื่อรักษาประโยชน์ของส่วนรวม 
บรรณานุกรม 
จักราวุธ คาทวี. สันติ/สามัคคี/ปรองดอง/ค่านิยม ๑๒ ประการ ของ คสช. : เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรม 
เพื่อนครู, 255๗ (เอกสารอัดสาเนา). 
เว็ปไซต์ http://jukravuth.blogspot.com/ บทความเรื่อง “ความเคลื่อนไหวทางการจัดการศึกษาของ ศธ.กับ 
คสช. ที่น่ารู้ สืบค้นเมื่อวันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๕๗ 
เว็ปไซต์ http://www.slideshare.net/jukravuth เรื่อง “สันติ/สามัคคี/ปรองดอง/ค่านิยม ๑๒ ประการ ของ 
คสช. : เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู” สืบค้นเมื่อ วันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๕๗
10 
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 
วิชาหน้าที่พลเมือง ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 
เรื่อง สิทธิมนุษยชนในการมีส่วนร่วมคุ้มครองตนเองและผู้อื่น 
กรณีตัวอย่างเรื่อง “รักแท้หรือรังแกกัน” 
ตัวชี้วัดที่ 6 และ 7 ตระหนักถึงสิทธิหน้าที่การมีส่วนร่วมในการคุ้มครองป้องกันตนเองและผู้อื่น 
ตามหลักสิทธิมนุษยชน 
วัตถุประสงค์ 
1. เข้าใจถึงหลักสิทธิมนุษยชนที่จะเกิดประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื่น 
2. เพื่อให้มีส่วนร่วมในการคุ้มครองป้องกันตนเองและผู้อื่นตามหลักสิทธิมนุษยชน 
3. เพื่อให้ตระหนักถึงสิทธิ และหน้าที่ของประชาชนในเรื่อง สิทธิมนุษยชนสามารถนามาใช้ เพื่อหาทางเลือกแก้ปัญหาข้อขัดแย้งและคุ้มครองป้องกันตนเองและผู้อื่นในชุมชน 
เนื้อหาสาระ 
1. ช่วงเวลาที่ผ่านมามีความขัดแย้งในเรื่อง การละเมิดสิทธิมนุษยชนเกิดขึ้นหลายต่อหลายกรณี ความขัดแย้งนี้เป็นกรณีระหว่างหน่วยงานภาครัฐกับชุมชนบ้าง ระหว่างหน่วยงานภาคเอกชนกับภาคเอกชนบ้าง ระหว่างหน่วยงานเอกชนกับชุมชนบ้าง หรือแม้กระทั่งระหว่างชุมชนหรือภาคเอกชนด้วยกันเองบ้าง 
2. เนื้อหาความขัดแย้งในเรื่องการละเมิดสิทธิมนุษยชนดังกล่าว ส่วนใหญ่เน้นเรื่อง การออก กฎหมาย และการบังคับใช้กฎหมายของหน่วยงานภาครัฐที่ไม่สอดคล้องหรือไม่เป็นไปตามข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นใน ชุมชน หรือขัดต่อธรรมเนียมประเพณีความเชื่อถือของประชาชนส่วนใหญ่ที่อยู่มานานแล้ว หรือก่อให้เกิดความไม่ ปลอดภัยต่อชีวิตและอาชีพการทามาหากิน ก่อให้เกิดการทาลายทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม ความขัดแย้งที่ เกิดจากความเห็นต่างของภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ความขัดแย้งที่เนื่องมาจากการขาดความรู้ ความเข้าใจ ขาดข้อมูล ที่หลากหลายและพอเพียง รวมทั้งการขัดผลประโยชน์ของภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ความขัดแย้งที่เกิดจากการตีความ กฎหมายที่ไม่ตรงกัน หรือความขัดแย้งที่เกิดจากความไม่พร้อม และไม่ปฏิบัติตามขั้นตอนการดาเนินการของภาค ส่วนที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ 
3. มีตัวอย่างที่เป็นความขัดแย้งอันเนื่องมาจากการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่ปรากฏในสังคม เช่น ภาครัฐออกกฎหมายการสร้างเขื่อนเพื่อประโยชน์ทางการพลังงานไฟฟ้าและการเกษตรและการป้องกันน้าท่วมที่ ต้องทาลายป่าไม้ ต้นน้าลาธารที่เป็นต้นเหตุของความแห้งแล้ง ทาอันตรายต่อสัตว์ป่าหายาก พืชสมุนไพร และ การทามาหากินของชาวบ้านในพื้นที่ที่อยู่กันมานานแล้ว หรือการที่หน่วยงานภาครัฐออกกฎหมายเวนคืนที่ดินใน พื้นที่ที่จะสร้างทางด่วนไปกระทบต่อประเพณีศาสนา ที่อยู่อาศัยของชุมชน หรือการที่หน่วยงานภาครัฐออก กฎหมายเพื่อความมั่นคง ประกาศกฎอัยการศึก ภาวะฉุกเฉินที่เป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน เช่น ห้ามออกจาก เคหะสถานหลังสามทุ่ม ห้ามชุมนุมเกิน 5 คน เข้าควบคุมตัว จับกุม กักขัง ประชาชนโดยไม่ต้องใช้หมายสั่ง ฯลฯ เป็นต้น 
4. เมื่อเกิดกรณีขัดแย้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐกับชุมชนในเรื่อง สิทธิมนุษยชนมักจะมีข้อ กล่าวหา 2 แนวทาง คือ 
1) หน่วยงานภาครัฐ ละเมิดสิทธิมนุษยชนและรังแกประชาชนและชุมชน โดยมีเรื่องการ ทุจริตคอรัปชั่น เพื่อประโยชน์ตน ประโยชน์พรรคพวก เข้ามาเกี่ยวข้อง 
2) ประชาชนและชุมชนมีผลประโยชน์ส่วนตน โดยไม่คานึงถึงประโยชน์ของส่วนรวม หรือ ถูกภาคเอกชน หรือ NGO ยุยงส่งเสริมเพื่อประโยชน์ของกลุ่มดังกล่าว รวมทั้งถูกชักจูงให้เลือกข้างทางการเมือง 
5. ประเด็นการอภิปรายถกแถลง
11 
1) ท่านเห็นด้วยกับข้อกล่าวหาดังกล่าวหรือไม่ เพราะอะไร 
2) ถ้าท่านอยู่ในเหตุการณ์เป็นคู่กรณีด้วย ท่านจะมีแนวทางในการแก้ปัญหาเหล่านั้นอย่างไร บ้าง จึงจะให้มีการดาเนินการได้โดยไม่เป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน 
3) ท่านเห็นด้วยหรือไม่กับคากล่าวที่ว่า “สิทธิมนุษยชนต้องควบคู่ไปกับหน้าที่ของพลเมือง ด้วย” เพราะเหตุใด 
วิธีการดาเนินงาน 
ขั้นนา ครูนาเข้าสู่บทเรียนด้วยการนาสนทนาถึงเนื้อหาสาระเรื่องสิทธิมนุษยชน ความคิด ความเห็น โดยทั่วไปของเรื่อง สิทธิมนุษยชนตามความคิดของผู้เรียนรวมทั้งเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากปัญหา ที่กล่าวหาว่า ละเมิดสิทธิมนุษยชน อาจมีสื่อประกอบการเสวนา หรือให้ผู้เรียนช่วยกันเสนอข่าวที่เกิดขึ้นในชุมชน 
ครูแนะนาแหล่งข้อมูล แหล่งความรู้เกี่ยวกับเรื่อง สิทธิมนุษยชนที่ผู้เรียนจะใช้แสวงหาข้อมูล เพิ่มเติม 
ขั้นดาเนินการ 
ครูแจกกรณีตัวอย่าง “รักแท้หรือรังแกกัน” ให้กลุ่มผู้เรียนศึกษาและร่วมกันอภิปรายถกแถลง ตามประเด็นที่กาหนดให้ โดยครูอาจให้ข้อมูลเพิ่มเติมหรือเสนอประเด็นสืบเนื่อง หรือมีข้อคาถามเพื่อกระตุ้นการ อภิปรายตามความจาเป็น 
ขั้นสรุป 
ครูและผู้เรียนร่วมกันจัดทาข้อสรุปจากการอภิปรายถกแถลงของกลุ่มผู้เรียน 
กิจกรรมเพื่อการเรียนรู้ต่อเนื่อง 
ครูเสนอกิจกรรมต่อเนื่องตามความเห็นของกลุ่ม เช่น การศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ ต่าง ๆ การสนทนาหรือสัมภาษณ์บุคคลเพื่อแสวงหาความคิด ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม การสอบถามความ คิดเห็น ฯลฯ เป็นต้น แล้วให้ผู้เรียนรวบรวมนาเสนอในรูปแฟ้มความรู้ เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 
สื่อ/แหล่งค้นคว้า/ใบความรู้ 
1. สื่อเอกสาร สื่อบุคคล สื่ออิเล็กทรอนิกส์ 
2. แหล่งค้นคว้า ห้องสมุด หน่วยงานภาครัฐ เอกชน สถานศึกษา 
3. ใบความรู้ ข้อมูลเรื่อง สิทธิมนุษยชนที่เลือกนามาจากเอกสารหรือเอกสารที่ 
สาเนามาจากหนังสือพิมพ์ 
ระยะเวลา 
1. การนาเสนอข้อ การอภิปรายถกแถลง การสรุป การเตรียมเพื่อทากิจกรรมสืบเนื่อง รวมทั้ง การสรุป 1 ชั่วโมง 
2. กิจกรรมต่อเนื่องใช้เวลาตามความเหมาะสมโดยเน้นการศึกษาด้วยตนเอง นอกเวลา 
การวัดประเมินผล 
1. โดยการสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมของผู้เรียน การร่วมเสนอความคิดเห็น การคิดหา เหตุผล การถกแถลง กระตือรือร้น ความตั้งใจ ความสนใจ 
2. ตรวจสอบผลการรวบรวมข้อมูล ความสมบูรณ์ของแฟ้มการเรียนรู้ (portfolio) 
3. สังเกตความใส่ใจ จริงจัง ของการทางานกลุ่มของผู้เรียน

Contenu connexe

Tendances

รัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองขั้นสูง
รัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองขั้นสูงรัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองขั้นสูง
รัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองขั้นสูงTanterm Thebest
 
ความดี
ความดีความดี
ความดีroh1109
 
3 หลักประชาธิปไตย
3 หลักประชาธิปไตย3 หลักประชาธิปไตย
3 หลักประชาธิปไตยSaiiew Sarana
 
สถาบันนิยมใหม่กับการศึกษารัฐธรรมนูญ (New Institutionalism and Constitution)
สถาบันนิยมใหม่กับการศึกษารัฐธรรมนูญ (New Institutionalism and Constitution)สถาบันนิยมใหม่กับการศึกษารัฐธรรมนูญ (New Institutionalism and Constitution)
สถาบันนิยมใหม่กับการศึกษารัฐธรรมนูญ (New Institutionalism and Constitution)Weera Wongsatjachock
 

Tendances (13)

8.1
8.18.1
8.1
 
รัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองขั้นสูง
รัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองขั้นสูงรัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองขั้นสูง
รัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองขั้นสูง
 
ความดี
ความดีความดี
ความดี
 
123456
123456123456
123456
 
ธรรมชาติ
ธรรมชาติธรรมชาติ
ธรรมชาติ
 
8.3
8.38.3
8.3
 
Lesson8 bp
Lesson8 bpLesson8 bp
Lesson8 bp
 
3 หลักประชาธิปไตย
3 หลักประชาธิปไตย3 หลักประชาธิปไตย
3 หลักประชาธิปไตย
 
สถาบันนิยมใหม่กับการศึกษารัฐธรรมนูญ (New Institutionalism and Constitution)
สถาบันนิยมใหม่กับการศึกษารัฐธรรมนูญ (New Institutionalism and Constitution)สถาบันนิยมใหม่กับการศึกษารัฐธรรมนูญ (New Institutionalism and Constitution)
สถาบันนิยมใหม่กับการศึกษารัฐธรรมนูญ (New Institutionalism and Constitution)
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
8.4
8.48.4
8.4
 
387442 1
387442 1387442 1
387442 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

En vedette

หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองIct Krutao
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.3
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.3หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.3
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.3sompriaw aums
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง สารรอบตัวเรา ของเล่นของใช้+ป.3+239+dltv...
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง สารรอบตัวเรา ของเล่นของใช้+ป.3+239+dltv...แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง สารรอบตัวเรา ของเล่นของใช้+ป.3+239+dltv...
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง สารรอบตัวเรา ของเล่นของใช้+ป.3+239+dltv...Prachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้อาเซี่ยน 1
ใบความรู้อาเซี่ยน 1ใบความรู้อาเซี่ยน 1
ใบความรู้อาเซี่ยน 1ladda3
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.5
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.5หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.5
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.5sompriaw aums
 
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6sompriaw aums
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตsripayom
 

En vedette (16)

หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
 
อาเซียน
อาเซียน อาเซียน
อาเซียน
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 
ใบความรู้ ASEAN
ใบความรู้ ASEANใบความรู้ ASEAN
ใบความรู้ ASEAN
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.3
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.3หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.3
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.3
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง สารรอบตัวเรา ของเล่นของใช้+ป.3+239+dltv...
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง สารรอบตัวเรา ของเล่นของใช้+ป.3+239+dltv...แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง สารรอบตัวเรา ของเล่นของใช้+ป.3+239+dltv...
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง สารรอบตัวเรา ของเล่นของใช้+ป.3+239+dltv...
 
ใบความรู้อาเซี่ยน 1
ใบความรู้อาเซี่ยน 1ใบความรู้อาเซี่ยน 1
ใบความรู้อาเซี่ยน 1
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.5
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.5หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.5
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.5
 
แบบฝึกหัดอาเซียน
แบบฝึกหัดอาเซียนแบบฝึกหัดอาเซียน
แบบฝึกหัดอาเซียน
 
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
 
Asean flag
Asean flag Asean flag
Asean flag
 
สรุปวิชาประวัติศาสตร์
สรุปวิชาประวัติศาสตร์สรุปวิชาประวัติศาสตร์
สรุปวิชาประวัติศาสตร์
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
 

Similaire à ศาสนาและหน้าที่พลเมือง จักราวุธ คำทวี ยกร่าง ปรับแก้แล้วเมื่อ ๒๙ ส.ค.๕๗

Team thailand ร่วมออกแบบประเทศไทย
Team thailand ร่วมออกแบบประเทศไทยTeam thailand ร่วมออกแบบประเทศไทย
Team thailand ร่วมออกแบบประเทศไทยPoramate Minsiri
 
ความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมpajaree_musikapong
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมMai New
 
ความเป นธรรมในส งคม (2)
ความเป นธรรมในส งคม (2)ความเป นธรรมในส งคม (2)
ความเป นธรรมในส งคม (2)pajaree_musikapong
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมMai New
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมMai New
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมMai New
 
ความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมpajaree_musikapong
 
Power point การปฏิรูปการเมือง
Power point การปฏิรูปการเมืองPower point การปฏิรูปการเมือง
Power point การปฏิรูปการเมืองbunchai
 
สิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชนสิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชนiearn4234
 
ปรัชญาการ..
ปรัชญาการ..ปรัชญาการ..
ปรัชญาการ..kruruty
 
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมืองทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมืองPoramate Minsiri
 
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุFURD_RSU
 
En401 314-english for political scientists 1
En401 314-english for political scientists 1En401 314-english for political scientists 1
En401 314-english for political scientists 1Yota Bhikkhu
 
เอกสารศึกษาการสร้างการสร้างประชาธิปไตยทำอย่างไร จึงจะถูกต้องตามหลักวิชาที่แท้...
เอกสารศึกษาการสร้างการสร้างประชาธิปไตยทำอย่างไร จึงจะถูกต้องตามหลักวิชาที่แท้...เอกสารศึกษาการสร้างการสร้างประชาธิปไตยทำอย่างไร จึงจะถูกต้องตามหลักวิชาที่แท้...
เอกสารศึกษาการสร้างการสร้างประชาธิปไตยทำอย่างไร จึงจะถูกต้องตามหลักวิชาที่แท้...Thongkum Virut
 
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯ
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯ
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯTaraya Srivilas
 
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนาแนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนาOppo Optioniez
 

Similaire à ศาสนาและหน้าที่พลเมือง จักราวุธ คำทวี ยกร่าง ปรับแก้แล้วเมื่อ ๒๙ ส.ค.๕๗ (20)

Soc
SocSoc
Soc
 
Team thailand ร่วมออกแบบประเทศไทย
Team thailand ร่วมออกแบบประเทศไทยTeam thailand ร่วมออกแบบประเทศไทย
Team thailand ร่วมออกแบบประเทศไทย
 
ความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคม
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคม
 
ความเป นธรรมในส งคม (2)
ความเป นธรรมในส งคม (2)ความเป นธรรมในส งคม (2)
ความเป นธรรมในส งคม (2)
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคม
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคม
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคม
 
ความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคม
 
Power point การปฏิรูปการเมือง
Power point การปฏิรูปการเมืองPower point การปฏิรูปการเมือง
Power point การปฏิรูปการเมือง
 
1047
10471047
1047
 
สิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชนสิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชน
 
ปรัชญาการ..
ปรัชญาการ..ปรัชญาการ..
ปรัชญาการ..
 
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมืองทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
 
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
 
En401 314-english for political scientists 1
En401 314-english for political scientists 1En401 314-english for political scientists 1
En401 314-english for political scientists 1
 
เอกสารศึกษาการสร้างการสร้างประชาธิปไตยทำอย่างไร จึงจะถูกต้องตามหลักวิชาที่แท้...
เอกสารศึกษาการสร้างการสร้างประชาธิปไตยทำอย่างไร จึงจะถูกต้องตามหลักวิชาที่แท้...เอกสารศึกษาการสร้างการสร้างประชาธิปไตยทำอย่างไร จึงจะถูกต้องตามหลักวิชาที่แท้...
เอกสารศึกษาการสร้างการสร้างประชาธิปไตยทำอย่างไร จึงจะถูกต้องตามหลักวิชาที่แท้...
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯ
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯ
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯ
 
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนาแนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
 

Plus de นายจักราวุธ คำทวี

๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ดนายจักราวุธ คำทวี
 
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗นายจักราวุธ คำทวี
 
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗นายจักราวุธ คำทวี
 
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ดนายจักราวุธ คำทวี
 
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)นายจักราวุธ คำทวี
 
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี  แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี  แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙นายจักราวุธ คำทวี
 
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.นายจักราวุธ คำทวี
 
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบนายจักราวุธ คำทวี
 
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕นายจักราวุธ คำทวี
 
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมายภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมายนายจักราวุธ คำทวี
 
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปีตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปีนายจักราวุธ คำทวี
 
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘นายจักราวุธ คำทวี
 
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...นายจักราวุธ คำทวี
 
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษาประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษานายจักราวุธ คำทวี
 
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...ครั้งที่ ๙ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...นายจักราวุธ คำทวี
 
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี  แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี  แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑นายจักราวุธ คำทวี
 

Plus de นายจักราวุธ คำทวี (20)

๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
 
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
 
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
 
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
 
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)
 
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี  แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี  แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙
 
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
 
กศน. อาจารย์หมอ ๓
กศน. อาจารย์หมอ ๓กศน. อาจารย์หมอ ๓
กศน. อาจารย์หมอ ๓
 
๔.ภาค ก. ความรอบรู้ทั่วไป
๔.ภาค ก.  ความรอบรู้ทั่วไป๔.ภาค ก.  ความรอบรู้ทั่วไป
๔.ภาค ก. ความรอบรู้ทั่วไป
 
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
 
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕
 
ชุดที่ 2 วิชากฎหมายการศึกษา 130 ข้อ
ชุดที่ 2 วิชากฎหมายการศึกษา 130 ข้อชุดที่ 2 วิชากฎหมายการศึกษา 130 ข้อ
ชุดที่ 2 วิชากฎหมายการศึกษา 130 ข้อ
 
ชุดที่ 1 วิชากฎหมายการศึกษา 370 ข้อ
ชุดที่ 1 วิชากฎหมายการศึกษา 370 ข้อชุดที่ 1 วิชากฎหมายการศึกษา 370 ข้อ
ชุดที่ 1 วิชากฎหมายการศึกษา 370 ข้อ
 
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมายภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
 
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปีตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
 
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘
 
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
 
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษาประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
 
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...ครั้งที่ ๙ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
 
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี  แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี  แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
 

ศาสนาและหน้าที่พลเมือง จักราวุธ คำทวี ยกร่าง ปรับแก้แล้วเมื่อ ๒๙ ส.ค.๕๗

  • 1. 1 เรื่องที่ ๒ หลักการสาคัญของประชาธิปไตยและคุณธรรม จริยธรรม ในการอยู่ร่วมกันอย่าง สันติ สามัคคี ปรองดอง ความหมายและความสาคัญ ประชาธิปไตยเป็นรูปแบบการปกครองและ วิธีการดาเนินชีวิต ซึ่งยึดหลักของความเสมอภาค เสรีภาพและศักดิ์ศรีแห่งความเป็นมนุษย์ การปกครอง ระบอบประชาธิปไตยถือว่าทุกคนมีสิทธิเสรีภาพ เท่าเทียมกันและอานาจอธิปไตยต้องมาจากปวงชน ประชาธิปไตย หมายถึง ระบอบการปกครองที่ถือมติปวงชนเป็นใหญ่ การถือเสียงข้างมากเป็นใหญ่ (ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒) ประชาธิปไตยเป็นรูปแบบการปกครองและวิธีการดาเนินชีวิต ซึ่งยึดหลักของความเสมอภาค เสรีภาพ และศักดิ์ศรีแห่งความเป็นมนุษย์ การปกครองระบอบประชาธิปไตยถือว่าทุกคนมีสิทธิเสรีภาพเท่าเทียมกัน และ อานาจอธิปไตยต้องมาจากปวงชน อานาจอธิปไตย หมายถึง อานาจสูงสุดในการปกครองรัฐหรือประเทศ ดังนั้น สิ่งอื่นใดจะมีอานาจยิ่ง กว่า หรือขัดต่ออานาจอธิปไตยไม่ได้ อานาจอธิปไตยย่อมมีความแตกต่างกันไปในแต่ละระบอบการปกครอง เช่น ในระบอบประชาธิปไตย อานาจอธิปไตยเป็นของประชาชน กล่าวคือ ประชาชนคือผู้มีอานาจสูงสุดในการ ปกครองประเทศ ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช อานาจอธิปไตยเป็นของพระมหากษัตริย์ คือกษัตริย์ เป็นผู้มี อานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ เป็นต้น อนึ่ง อานาจอธิปไตยนี้นับเป็นองค์ประกอบสาคัญที่สุดของความ เป็นรัฐเพราะการที่จะเป็นรัฐได้นั้น นอกจากจะต้องประกอบด้วยอาณาเขต ประชากรและรัฐบาลแล้วย่อมต้องมี อานาจอธิปไตยด้วยกล่าว คือประเทศนั้นต้องเป็นประเทศที่สามารถมีอานาจสูงสุด (อานาจอธิปไตย) ในการ ปกครองตนเอง จึงจะสามารถเรียกว่า “รัฐ” ได้ ระบอบประชาธิปไตย หมายถึง ระบอบการปกครองที่อานาจอธิปไตยเป็นของปวงชน ประชาชนมี สิทธิเสรีภาพ โดยอาศัยหลักการของการแบ่งแยกอานาจ และหลักการที่ว่าด้วยความถูกต้องแห่งกฎหมาย ผู้ปกครองประเทศที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชน เป็นเพียงตัวแทนที่ได้รับมอบอานาจให้ใช้อานาจอธิปไตย แทนประชาชน หลักการสาคัญของระบอบประชาธิปไตยที่สาคัญ ๑) หลักการอานาจอธิปไตย เป็นของปวงประชาชน ประชาชนแสดงออกซึ่งการเป็นเจ้าของโดยใช้ อานาจที่มีตามกระบานการเลือกตั้งอย่างอิสระและทั่วถึงในการให้ได้มาซึ่งตัวผู้ปกครองและผู้แทนของตนรวมทั้ง ประชาชนมีอานาจในการคัดค้านและถอดถอนผู้ปกครองและผู้แทนที่ประชาชนเห็นว่า มิได้บริหารประเทศในทาง ที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมส่วนรวม เช่น มีพฤติกรรมร่ารวยผิดปกติ ในระบอบประชาธิปไตยอานาจอธิปไตยเป็นอานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ ซึ่งตามระบอบ ประชาธิปไตยถือว่าเป็นอานาจของประชาชน ใช้อานาจผ่านทางตัวแทน แบ่งออกเป็น ๓ ส่วน ดังนี้ อานาจนิติบัญญัติ อานาจบริหาร อานาจตุลากร
  • 2. 2 ๑. อานาจนิติบัญญัติ เป็นอานาจในการออกกฎหมายและควบคุมการทางานของรัฐบาลเพื่อ ประโยชน์ของประชาชนและประเทศชาติ ประชาชนชาวไทยใช้อานาจนี้โดยการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไปทาหน้าที่แทนในรัฐสภา ๒. อานาจบริหาร เป็นอานาจการบริหารราชการแผ่นดินและการปกครอง ซึ่งมีคณะรัฐมนตรี หรือรัฐบาลเป็นผู้ใช้อานาจ และรับผิดชอบในการบริหารราชการแผ่นดินให้เป็นไปตาม นโยบายที่แถลงต่อรัฐสภา ๓. อานาจตุลาการ เป็นอานาจในการวินิจฉัยตัดสินคดีความตามกฎหมาย โดยมีศาลเป็นผู้ใช้ อานาจ ๒) หลักสิทธิเสรีภาพ ประชาชนทุกคนมีความสามารถในการกระทาหรืองดเว้นการกระทาอย่างใดอย่าง หนึ่งตามที่บุคคลต้องการ ตราบเท่าที่การกระทาของเขานั้น ไม่ไปละเมิดลิดรอนสิทธิเสรีภาพของบุคคลอื่น หรือ ละเมิดต่อความสงบเรียบร้อยของสังคมและความมั่นคงของประเทศชาติ ๓) หลักความเสมอภาค การเปิดโอกาสให้ประชาชนทุกคนสามารถเข้าถึงทรัพยากรและคุณค่าต่างๆ ของสังคมที่มีอยู่จากัดอย่างเท่าเทียมกัน โดยไม่ถูกกีดกันด้วยสาเหตุแห่งความแตกต่างทางชั้นวรรณะทางสังคม ชาติพันธุ์ วัฒนธรรม ความเป็นอยู่ ฐานะทางเศรษฐกิจหรือด้วยสาเหตุอื่น ๔) หลักนิติรัฐและหลักนิติธรรม เป็นหลักการของรัฐที่มีการปกครองโดยกฎหมายหรือหลักนิติธรรม การใช้หลักกฎหมายเป็นกฎเกณฑ์การอยู่ร่วมกัน เพื่อความสงบสุขของสังคม การให้ความคุ้มครองสิทธิขั้น พื้นฐานของประชาชนทั้งในเรื่องสิทธิเสรีภาพในทรัพย์สิน การแสดงออก การดารงชีพ ฯลฯ อย่างเสมอหน้ากัน ผู้ปกครองไม่สามารถใช้อานาจใดๆ ลิดรอนเพิกถอนสิทธิเสรีภาพของประชาชนได้และไม่สามารถใช้อภิสิทธิอยู่ เหนือกฎหมาย หรือเหนือกว่าประชาชนคนอื่นๆ ได้ ๕) หลักการเสียงข้างมาก ควบคู่ไปกับการเคารพในสิทธิของเสียงข้างน้อย การตัดสินใจใดๆ ที่ส่งผล กระทบต่อประชาชนหมู่มาก ไม่ว่าจะเป็นการเลือกตั้งผู้แทนของประชาชนเข้าสู่ระบบการเมือง การตัดสินใจของ ฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร หรือฝ่ายตุลาการ ย่อมต้องถือเอาเสียงข้างมากที่มีต่อเรื่องนั้นๆ เป็นเกณฑ์ในการ ตัดสินทางเลือก โดยถือว่าเสียงข้างมากเป็นตัวแทนที่สะท้อนความต้องการ และข้อเรียกร้องของประชาชนหมู่ มาก หลักการนี้ ต้องควบคู่ไปกับการเคารพและคุ้มครองสิทธิเสียงข้างน้อยด้วย ทั้งนี้ก็เพื่อเป็นหลักประกันว่า ฝ่าย เสียงข้างมากจะไม่ใช้วิธีการ พวกมากลากไปตามผลประโยชน์ ความเห็นหรือกระแสความนิยมของพวกตนอย่าง สุดโต่ง แต่ต้องดาเนินการเพื่อประโยชน์ความเห็นของประชาชนทั้งหมดเพื่อสร้างสังคมที่ประชาชนเสียงข้างน้อย รวมทั้งชนกลุ่มน้อยผู้ด้อยโอกาสต่างๆ สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุขโดยไม่มีการเอาเปรียบกันและสร้าง ความขัดแย้งในสังคม
  • 3. 3 ๖) หลักเหตุผล เป็นหลักการใช้เหตุผลที่ถูกต้องในการตัดสินหรือยุติปัญหาในสังคม ในการอยู่ร่วมกัน อย่างสันติสามัคคีปรองดอง ผู้คนต้องรู้จักยอมรับฟังความเห็นต่าง และรับฟังเหตุผลของผู้อื่น ไม่ดื้อดึงในความคิด เห็นของตนเอง จนคนอื่นมองเราเป็นคนมี มิจฉาทิฐิ ๗) หลักประนีประนอม เป็นหลักการการลดความขัดแย้งโดยการผ่อนหนักผ่อนเบาให้กัน ร่วมมือกัน เพื่อเห็นแก่ประโยชน์ของส่วนรวมเป็นสาคัญ เป็นทางสายกลางซึ่งทั้งสองฝ่ายจะต้องได้และเสียในบางอย่าง ไม่ได้ครบตามที่ตนปรารถนา จัดเป็นวิธีการที่ทาให้ทุกฝ่ายสามารถอยู่ร่วมกันต่อไปได้อย่างสันติ วิธีการในการ ประนีประนอมอาจใช้เทคนิคการเจรจาต่อรองการไกล่เกลี่ยโดยผู้บังคับบัญชาหรือบุคคลที่สาม เป็นต้น ๘) หลักการยอมรับความเห็นต่าง หลักการนี้เพื่อเป็นการอยู่ร่วมกันด้วยความสันติสามัคคี ปรองดอง ไม่ว่าเสียงข้างมากหรือเสียงข้างน้อย ต้องทาใจยอมรับความเห็นต่างอันเป็นการหลอมรวมหลักความเสมอภาค หลักเสรีภาพและหลักประนีประนอม โดยการเคารพและคุ้มครองสิทธิของผู้อื่นด้วย ทั้งนี้ก็เพื่อเป็นหลักประกันว่า ไม่ว่าฝ่ายเสียงข้างมากหรือฝ่ายเสียงข้างน้อยเพื่อการอยู่ร่วมกันด้วยความสันติสามัคคี ปรองดองทุกฝ่ายต้อง ยอมรับความเห็นต่าง รวมทั้งฝ่ายเสียงข้างมากเองก็จะไม่ใช้วิธีการ พวกมากลากไปตามผลประโยชน์ความเห็น หรือกระแสความนิยมของพวกตนอย่างสุดโต่ง ดังได้กล่าวไว้แล้วข้างต้น แต่ต้องดาเนินการเพื่อประโยชน์ ความเห็นของประชาชนทั้งหมดหรือทุกฝ่ายเพื่อสร้างสังคมที่ประชาชนเสียงข้างน้อย หรือประชาชนที่มีความเห็น ต่างจากฝ่ายตน สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติ สามัคคี ปรองดอง โดยไม่มีการเอาเปรียบกันและสร้างความ ขัดแย้งในสังคมมากเกินไป กล่าวโดยสรุป วิถีทางประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หลักการที่สาคัญ เช่น หลักการอานาจอธิปไตย หลักสิทธิเสรีภาพ หลักความเสมอภาพ หลักนิติรัฐ และหลักนิติธรรม หลักการเสียงข้างมาก หลักเหตุผล หลักประนีประนอม หลักการยอมรับความเห็นต่าง ผู้เรียนจะต้องศึกษา หลักการต่าง ๆ เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจและ นาหลักการนี้มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันเพื่อ การอยู่ร่วมกันอย่างสันติ คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการเสริมสร้างสันติ สามัคคี ปรองดองในสังคมไทย ความหมาย การเสริมสร้างความปรองดองในสังคมไทย การเสริมสร้างความปรองดองในสังคมไทย หมายถึง “การเพิ่มพูนให้ดีขึ้นหรือมั่นคงยิ่งขึ้นด้วยความ พร้อมเพรียงกัน หรือ การเพิ่มพูนให้ดีขึ้นด้วยการออมชอม ประนีประนอม ยอมกัน ไม่แก่งแย่งกัน ตกลงด้วย ความไกล่เกลี่ย และตกลงกันด้วยความมีไมตรีจิต ของประชาชนคนไทย” คนไทยส่วนใหญ่ ล้วนมีความรักใคร่และสามัคคีกันอยู่แล้วในทุกถิ่น ด้วยความมีจารีตวัฒนธรรมประเพณี กับความมีศีลธรรม ในสายเลือดและในจิตใจ สืบทอดต่อกันมา การขัดแย้งทางความคิดในกลุ่มคนย่อมเกิดมีได้ บ้างเป็นเรื่องธรรมดา แต่ถ้าหากการขัดแย้งทางความคิด ได้รับการไกล่เกลี่ย ได้รับความรู้ ได้รับข่าวสารหรือได้รับ อธิบายจนเกิดความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง การขัดแย้งทางความคิดเหล่านั้นก็จะหมดไปได้ ไม่ก่อให้เกิดความ แตกแยกสามัคคี ไม่ก่อให้เกิดความรุนแรงใดใด ทั้งทางวาจาและทางกาย เพราะคนไทย เป็นชนชาติที่รักสงบ รักพวกพ้องและรักแผ่นดินถิ่นเกิด ประเทศไทย มีการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขมา กว่า ๗๐ ปี ล้มลุก คลุกคลานมาโดยตลอด มีการปฏิวัติรัฐประหารเกิดขึ้นหลายครั้ง สาเหตุเกิดจาก การที่บรรดานักการเมือง หรือ กลุ่มบุคคลทางการเมือง ประพฤติปฏิบัติ บริหารจัดการ ไปในทางที่ทาให้เกิดความเสียหายต่อประเทศชาติและ
  • 4. 4 ประชาชน แต่ก็มีกลุ่มประชาชน นักการเมือง กลุ่มนักวิชาการบางกลุ่ม และกลุ่มที่อาศัยระบอบการปกครองเป็น เครื่องมือ ในการแสวงหาและปกป้องผลประโยชน์ มักเรียกร้องให้คืนประชาธิปไตย กล่าวหาว่า การปฏิวัติ รัฐประหารเป็นเผด็จการ โดยความรู้เท่าไม่ถึงการ ด้วยความไม่รู้จริงไม่รู้แจ้ง ในระบบการปกครองทั้งหลาย ความจริงแล้วระบบการปกครองแบบไหนๆ ก็ดีเหมือนกันทั้งนั้น ขึ้นอยู่กับความเหมาะสม การประพฤติปฏิบัติ การบริหารจัดการหรือการใช้ ว่าจะมีความเหมาะสม สามารถ ประพฤติปฏิบัติ บริหารจัดการหรือใช้ ตามรูปแบบของระบอบ ประชาธิปไตยนั้นๆ ให้เกิดผลดีได้เพียงใด อีกทั้งยังมีปัจจัยอื่นๆ หลายปัจจัย อันเป็นส่วนประกอบที่จะทาให้ประเทศนั้น ๆ ควรใช้ระบอบการปกครองรูปแบบใด เพื่อให้เกิดประโยชน์ เกิดความสุข เกิดความมั่นคงต่อประเทศชาติและประชาชน สาหรับนักการเมืองและกลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้อง ควรมีคุณธรรมในเรื่องของความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ เห็นประโยชน์ของประเทศชาติและประชาชนสาคัญกว่าประโยชน์ส่วนตน ปัญหาความขัดแย้ง ที่เกิดขึ้นในสังคมไทยส่วนใหญ่ คือ ประชาชนต้องการมีรายได้ที่พอเพียง มีอาชีพมีงานทา ไม่ถูกเอารัดเอาเปรียบ เกษตรกรต้องการมีที่ทากิน ปลดเปลื้องหนี้สิน ต้องการขายสินค้าทางการเกษตรกรรมได้ในราคาที่เป็นธรรม การกินดีอยู่ดี มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน มีความเสมอภาคหรือความเท่าเทียมกันในการศึกษา การ เข้าถึงหรือได้รับสิทธิขั้นพื้นฐานและสวัสดิการต่าง ๆ อย่างเท่าเทียม และอื่นๆ ถึงแม้ว่าอาจจะมีการแข่งขันกัน บ้างในบางเรื่องบางอย่าง อีกทั้ง การได้รับการดูแลเอาใจใส่จากรัฐบาล ผู้แทนราษฎรและหน่วยงาน ข้าราชการ ทุกแขนงอย่างเต็มกาลังสามารถ ถ้าหากประชาชน ได้รับสิ่งที่ต้องการตามที่กล่าวไปตามสมควร รวมไปถึงรัฐบาล ผู้แทนราษฎรและหน่วยงาน ข้าราชการทุกแขนง มีความเอาใจใส่ ดูแลประชาชนในทุกด้าน ตามบทบาทหน้าที่ อย่างเต็มกาลังสามารถ การขัดแย้งทางความคิดย่อมไม่เกิดขึ้น หรืออาจจะมีความขัดแย้งทางความคิดบ้าง เล็กน้อยเป็นธรรมดา ไม่ถึงกับเป็นสาเหตุทาให้เกิดความแตกแยกสามัคคี นาไปสู่การชุมนุมและย่อมจะมีแต่ความ สามัคคี ความรักใคร่ปรองดอง ของคนในชาติ อีกประการหนึ่งเกี่ยวกับการกาหนด นโยบาย แผนงาน โครงการ และการปฏิบัติ ของแต่ละกระทรวง ทบวง กรม ที่ไม่สอดคล้องไม่สัมพันธ์กัน ก็เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้เกิดความ ขัดแย้งทางความคิด เป็นสาเหตุทาให้ประชาชนบางส่วนหรือส่วนมากไม่ได้รับความเป็นธรรม ดังนั้น กระทรวง ทบวง กรม ต่างๆ “อาจจะต้อง” มีการประชุมปรึกษา ในการกาหนดนโยบาย แผนงาน โครงการ และการปฏิบัติ ร่วมกัน สอดคล้องสัมพันธ์กัน เอื้ออานวยซึ่งกันและกัน ตั้งแต่ระดับสูง ไปจนถึงระดับปฏิบัติงาน ย่อมสามารถลด การขัดแย้งทางความคิดของประชาชนลงได้ หรือไม่มีการขัดแย้งทางความคิดเกิดขึ้นเลย ประชาชนควรได้รับความรู้ หรือมีความรู้ความเข้าใจ ในระบอบการปกครอง รวมถึงระบบระเบียบวิธีการ ทางานหรือกลวิธีของพรรคการเมือง และควรได้รับความรู้ มีความเข้าใจ เกี่ยวกับกลวิธีในการทุจริตคอร์รัปชั่น ประพฤติมิชอบ การรับเงินสมนาคุณ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับพรรคการเมืองและนักการเมืองทุกรูปแบบ รวมถึงความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายที่สาคัญในชีวิตประจาวันและอื่นๆ เพื่อให้ประชาชนเกิดการเคารพในกฎหมาย ประพฤติปฏิบัติตามกฎเกณฑ์กติกาหรือตามกฎหมาย ประชาชนทุกหมู่เหล่า ทุกสาขาอาชีพ ควรได้รับการพัฒนา ทางด้านจิตใจให้มีคุณธรรมทางศาสนา ให้เกิดมีความรู้ มีความเข้าใจในหลักการหรือหลักคาสอนทางศาสนา อัน จะเป็นบรรทัดฐานหรือเป็นแนวทางในการประพฤติปฏิบัติตามหน้าที่ แห่งความเป็นประชาชนชาวไทย เพื่อให้ เกิดความมีระเบียบ มีวินัย ทั้งความคิด ทั้งจิตใจ ในทุกด้าน อันจักทาให้การขัดแย้งทางความคิดในทุกชุมชน ทุก สังคม ทุกหน่วยงาน ทุกกลุ่มบุคคล ลดน้อยลงหรือไม่มีการขัดแย้งทางความคิดที่รุนแรงเกิดขึ้น นั้นย่อมแสดงให้ เห็นว่า คนไทย ได้เสริมสร้างความสามัคคี คือ ได้เพิ่มพูนให้ดีขึ้นหรือมั่นคงยิ่งขึ้น ด้วยความพร้อมเพียงกัน ออมชอม ประนีประนอม ยอมกัน ไม่แก่งแย่งกัน ตามจารีตวัฒนธรรมประเพณี ตามหลักกฎหมาย ตามหลัก ศีลธรรมในศาสนา ซึ่ง “การเสริมสร้างความสามัคคีของคนไทย” จะสาเร็จได้ ก็ด้วยคนไทยร่วมมือร่วมใจกัน ประพฤติปฏิบัติ เพื่อประเทศไทย และเพื่อคนไทย
  • 5. 5 หลักการเสริมสร้างความปรองดองในสังคมไทย การเสริมสร้างความปรองดอง จึงเป็นกระบวนการที่ช่วยป้องกันหรือลดปัญหาความขัดแย้ง สร้างสันติ สามัคคีให้คนในสังคมอยู่ร่วมกันอย่างสามัคคีบนพื้นฐานของหลักการทางประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง เป็นประมุข และการใช้คุณธรรมในการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข คุณธรรมพื้นฐานในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ สามัคคี ปรองดองตามหลักการทางประชาธิปไตย พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) (2551 : 51, 57) ได้ให้ความหมายของคาว่า “คุณธรรม” ไว้อย่าง ชัดเจนว่า หมายถึง ธรรมที่เป็นคุณ ความดีงาม สภาพที่เกื้อกูลกัน ส่วนคาว่า “จริยธรรม” หมายถึง หลักความ ประพฤติ หลักในการดาเนินชีวิต หรือความประพฤติอันประเสริฐ หรือการดาเนินชีวิตอันประเสริฐ คุณธรรม จริยธรรม เป็นเรื่องของระบบคิดที่ยอมรับความเป็นจริงของชีวิตอย่างดุษฎีไม่สามารถวัดและ ประเมินผลในเชิงปริมาณได้ ดังนั้นการสร้างคุณธรรม จริยธรรม ให้เกิดขึ้นได้ จึงต้องอาศัยการปลูกฝังระบบคิด ดังกล่าวให้เข้าไปอยู่ในทุกช่วงชีวิตของมนุษย์ และต้องไม่เป็นหน้าที่ของหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่งอย่าง สถาบันการศึกษา หากแต่ควรเป็นทุกภาคส่วนของสังคมต้องเข้ามามีส่วนร่วมในการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ให้เกิดมีขึ้นให้ได้ จะเห็นได้ว่าเรื่องของ คุณธรรม จริยธรรม เป็นการพัฒนาความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ไม่เพียงเฉพาะเพื่อ การอยู่ร่วมกันอย่างสันติสามัคคีปรองดอง เท่านั้น ยังเป็นพื้นฐานของการอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุขไม่แตกแยกใน ระบอบประชาธิปไตย หากแต่เป็นการเตรียม “คนไทย” ให้มีความพร้อมในการอยู่ร่วมกันในฐานะสมาชิกใน สังคมเดียวกันจะนามาซึ่งการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขได้ คุณธรรมที่นาไปสู่การอยู่ร่วมกันอย่างสันติ สามัคคี ปรองดอง ตามหลักการทางประชาธิปไตย (ดร.สาโรช บัวศรี) มีดังนี้ 1. คารวธรรม คือ การเคารพซึ่งกันและกัน 2. สามัคคีธรรม คือ การร่วมมือช่วยเหลือซึ่งกันและกัน 3. ปัญญาธรรม คือ การใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต
  • 6. 6 1. คารวธรรม คือ การเคารพซึ่งกันและกัน มีพฤติกรรมที่แสดงออก ดังนี้ 1.1 เคารพในสถาบันพระมหากษัตริย์ ได้แก่ การแสดงความเคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ใน ทุกโอกาส การร่วมกิจกรรมต่างๆที่จัดเพื่อแสดงความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ ในโอกาสวันสาคัญ ต่าง ๆ การไปรับเสด็จเมื่อพระมหากษัตริย์ หรือพระบรมวงศานุวงศ์เสด็จไปในถิ่นที่อยู่ หรือบริเวณใกล้เคียง การปฏิบัติต่อสัญลักษณ์ที่แสดงถึงสถาบันพระมหากษัตริย์ เช่น ธงชาติ พระบรมฉายาลักษณ์ เพลงสรรเสริญพระ บารมี ฯลฯ ด้วยความเคารพ เมื่อได้ยิน หรือเห็นบุคคลใดแสดงกิริยาวาจา หรือมีการกระทาอันไม่สมควรต่อ สถาบันพระมหากษัตริย์ ต้องกล่าวตักเตือนและห้ามไม่ให้ปฏิบัติเช่นนั้นอีก 1.2 เคารพบุคคลที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะบิดามารดาซึ่งเป็นผู้ให้กาเนิด เคารพญาติผู้ใหญ่ เช่น ปู่ ย่า ตา ยาย และผู้สูงอายุ เคารพครูอาจารย์ และเพื่อน ๆ ทั้งทางกายและทางวาจา 1.2.1 ทางกาย ได้แก่ การทักทาย การให้เกียรติผู้อื่น การแสดงความเคารพแก่บุคคลซึ่งอาวุโส กว่า การให้การต้อนรับแก่บุคคล การแสดงความเอื้อเฟื้อซึ่งกันและกัน เป็นต้น 1.2.2 ทางวาจา ได้แก่ การพูดให้เมาะสมกับกาลเทศะ การใช้คาพูดเหมาะสมตามฐานะของ บุคคล การพูดจาสุภาพ ไม่ก้าวร้าว ส่อเสียด การไม่พูดในสิ่งที่จะทาให้ผู้อื่น เกิดความเดือดร้อน ไม่นาความลับ ของบุคคลอื่นไปเปิดเผย ไม่พูดนินทาหรือโกหกหลอกลวง เป็นต้น 1.3 เคารพสิทธิของผู้อื่น ได้แก่ การไม่ล่วงละเมิดสิทธิของผู้อื่น ทั้งทางกายหรือวาจา การรู้จักเคารพใน สิทธิของคนที่มาก่อนหลัง การเคารพในความเป็นเจ้าของ สิ่งของเครื่องใช้ การรู้จักขออนุญาต เมื่อล่วงล้าเข้า ไปในที่อยู่อาศัยของบุคคลอื่น การไม่ทาร้ายผู้อื่นโดยเจตนา การไม่ทาให้ผู้อื่นเสื่อมเสียชื่อเสียง เป็นต้น 1.4 เคารพในความคิดเห็นของผู้อื่น ได้แก่ การยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น เมื่อมีผู้พูดเสนอความ คิดเห็น ควรฟังด้วยความตั้งใจและใคร่ครวญด้วยวิจารญาณ หากเห็นว่าเป็นการเสนอแนวความคิดที่ดี มี ประโยชน์มากกว่าความคิดเห็นของตนเองก็ควรยอมรับและปฏิบัติตาม ไม่ควรยึดถือความคิดเห็นของตนว่าถูก เสมอไป 1.5 เคารพในกฎระเบียบของสังคม ได้แก่ การยึดมั่นในกฎระเบียบของสังคม เช่น วัฒนธรรมประเพณี กฎเกณฑ์ของสังคม และกฎหมายของประเทศ 1.6 มีเสรีภาพและใช้เสรีภาพในขอบเขตของกฎหมายและขนบธรรมเนียมประเพณี 2. สามัคคีธรรม คือ การร่วมมือช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อกัน เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อ ส่วนรวม มีพฤติกรรมที่แสดงออกดังนี้ 2.1 การรู้จักประสานประโยชน์ โดยถือประโยชน์ของส่วนรวม หรือประโยชน์ของชาติเป็นที่ตั้ง ได้แก่ การทางานร่วมกันอย่างสันติวิธี การรู้จักประนีประนอม โดยคานึงถึงประโยชน์ที่เกิดขึ้นแก่ส่วนรวมเป็นใหญ่ การเสียสละความสุขส่วนตน หรือหมู่คณะ เพื่อประโยชน์ของส่วนรวมหรือของชาติ 2.2 ร่วมมือกันในการทางาน หรือทากิจกรรมอย่างหนึ่งอย่างใดร่วมกัน โดยมีบุคคลผู้ร่วมงาน ตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ในการทางานร่วมกันนี้ จะต้องมีการวางแผนในการทางานร่วมกัน เมื่อถึงขั้นตอนของการทางานก็ ช่วยเหลือกันอย่างตั้งใจ จริงจัง ไม่หลีกเลี่ยงหรือเอาเปรียบผู้อื่น 2.3 เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม 2.4 รับผิดชอบต่อหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมายจากส่วนรวมและหน้าที่ต่อสังคม 2.5 ความเป็นน้าหนึ่งใจเดียวกันของคนในกลุ่ม ในหน่วยงานและสังคม 3. ปัญญาธรรม คือ การใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต มีพฤติกรรมที่แสดงออก ดังนี้ 3.1 การไม่ถือตนเป็นใหญ่ ได้แก่ การรู้จักรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น การยอมรับฟัง และปฏิบัติตาม มติของเสียงส่วนมากในที่ประชุมหรือในการทางานต่างๆ การรู้จักเป็นผู้นาและผู้ตามที่ดี
  • 7. 7 3.2 เน้นการใช้ปัญญา ใช้เหตุผลและความถูกต้อง ในการตัดสินปัญหาทั้งปวง ไม่ใช้เสียงข้างมาก ในการ ตัดสินปัญหาเสมอไป เพราะเสียงข้างมากบอกเฉพาะความต้องการ ความคิดเห็น ความพึงพอใจ แต่ไม่อาจบอก ความจริงความถูกต้องได้ 3.3 เมื่อมีปัญหาใดเกิดขึ้น หรือเมื่อมีเรื่องที่จะต้องตัดสินใจ ทุกคนต้องร่วมกันคิดและร่วมกัน ตัดสินใจ โดยใช้เหตุผล 3.4 ในกรณีที่มีปัญหาโต้แย้งในหมู่คณะ จะต้องพยายามอภิปราย จนกระทั่งสามารถชักจูงให้ทุกคนเห็น คล้อยตามด้วยเหตุและผล เมื่อเกิดกรณีที่ต่างก็มีเหตุผลที่ดีด้วยกัน และไม่อาจชักจูงให้ตัดสินใจได้ไปทางใดทาง หนึ่ง จึงต้องใช้วิธีการออกเสียง การปฏิบัติตามคุณธรรมข้างต้น เมื่อได้ประพฤติปฏิบัติ ความสามัคคีย่อมจะเกิดขึ้น เมื่อเกิดความสามัคคี ขึ้นแล้ว การงานทุกอย่างแม้จะยากสักเพียงใด ก็กลายเป็นง่าย ชีวิตมีแต่ความราบรื่น แม้จะเกิดอุปสรรคก็ สามารถขจัดให้หมดสิ้นได้ ดังคากล่าวที่ว่า “สามัคคีคือพลัง” เพียงแต่ทุกคนดารงชีวิตบนพื้นฐานแห่งคุณธรรม ให้ทุกคนมีความรัก และช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีความสามัคคีและเสียสละเพื่อส่วนรวม การใช้หลักธรรมในการ ส่งเสริมความสามัคคีเป็นแนวทางในระยะยาว และเป็นการป้องกันความแตกสามัคคี ขณะที่การสร้างความ สามัคคีในระยะสั้นเป็นการทากิจกรรมต่างๆร่วมกัน โดยอาจเริ่มจากกิจกรรมบันเทิงที่สามารถดึงกลุ่มคนให้เข้า ร่วมได้ง่าย เช่น การเข้าค่ายต่างๆ การทากิจกรรมพัฒนาสังคมและชุมชนร่วมกัน การทากิจกรรมพัฒนาคุณภาพ ชีวิตที่หลากหลาย จากนั้นค่อยขยายสู่กิจกรรมที่มีความยากขึ้น และการสร้างวัฒนธรรมประเพณีในการทา กิจกรรมร่วมกันเป็นประจาจะช่วยสร้างวัฒนธรรมการทางานกลุ่ม และการสัมพันธ์กับสังคม ซึ่งช่วยให้เกิดความ รักความสามัคคีได้มากยิ่งขึ้น เชื่อมั่นว่า หากทุกคนหันมามองประโยชน์ของความสามัคคีและเห็นโทษของความแตกแยกได้ชัดเจนแล้ว หลีกเลี่ยงเหตุแห่งความแตกแยก สร้างเหตุแห่งความสมานฉันท์และเคารพกฎหมาย ความสมัครสมานสามัคคี หรือการสมานฉันท์จะต้องกลับมาสู่สังคมไทยในไม่ช้าเพราะชนชาติไทยเป็นชนชาติที่โชคดีมีทั้งเอกลักษณ์ไทย ศาสนาและกฎระเบียบวัฒนธรรมประเพณีที่ดีงาม รอเพียงให้ปวงชนชาวไทยไม่ท้อแท้ลุกขึ้นมาแก้ไขและปฏิบัติ ตามกฎหมายอย่างจริงจัง โดยที่ทุกคนตระหนักว่า การสร้างสมานฉันท์ในชาติ มิใช่หน้าที่ของผู้นาประเทศหรือ ของใครคนใดคนหนึ่งแต่เป็นหน้าที่ของทุกคน ไม่ช้าความสงบจะกลับมาสู่บ้านเกิดเมืองนอนของเราอันเป็นที่รัก อีกครั้งหนึ่ง
  • 8. 8 ค่านิยมพื้นฐานในการอยู่ร่วมกันอย่างสมานฉันท์ 12 ประการ ข้อ 1. มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ข้อ 2. ซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน ข้อ 3. กตัญญูต่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์ ข้อ 4. ใฝ่หาความรู้ หมั่นศึกษาเล่าเรียนทั้งทางตรงและทางอ้อม ข้อ 5. รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงาม ข้อ 6. มีศีลธรรม รักษาความสัตย์ หวังดีต่อผู้อื่น เผื่อแผ่และแบ่งปัน ข้อ 7. เข้าใจเรียนรู้การเป็นประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขที่ถูกต้อง ข้อ 8. มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผู้น้อยรู้จักเคารพผู้ใหญ่ ข้อ 9. มีสติรู้ตัว รู้คิด รู้ทา รู้ปฏิบัติ ตามพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ข้อ 10. รู้จักดารงตนอยู่โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดารัสของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รู้จักอดออมไว้ใช้เมื่อยามจาเป็น มีไว้พอกินพอใช้ ถ้าเหลือก็แจกจ่าย จาหน่าย และขยายกิจการเมื่อมีความพร้อมโดยมีภูมิคุ้มกันที่ดี ข้อ 11. มีความเข้มแข็งทั้งร่างกายและจิตใจ ไม่ยอมแพ้ต่ออานาจฝ่ายต่าหรือกิเลส มีความ ละอายเกรงกลัวต่อบาปตามหลักของศาสนา ข้อ 12. คานึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวมและต่อชาติมากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง ค่านิยมพื้นฐานดังกล่าวข้างต้นมีความสาคัญอย่างยิ่งที่คนไทยจะต้องนามาประพฤติปฏิบัติ ในชีวิตประจาวันอยู่เสมอ และเพื่อให้เกิดความเข้าใจยิ่งขึ้นจะขอกล่าวในรายละเอียดเพิ่มเติม ดังนี้ 1. มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ เป็นคุณลักษณะที่แสดงถึงรักความเป็นชาติไทย เป็น พลเมืองดีของชาติ มีความสามัคคี เห็นคุณค่า ภูมิใจ เชิดชูความเป็นไทย ปฏิบัติตนตามหลักศาสนาที่ตนนับถือ และแสดงความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน เป็นคุณลักษณะที่แสดงถึงการยึดมั่นในความถูกต้อง ประพฤติตรงตาม ความเป็นจริงต่อตนเองและผู้อื่น ละความเห็นแก่ตัว รู้จักแบ่งปันช่วยเหลือสังคมและบุคคลที่ควรให้รู้จักควบคุม ตนเองเมื่อประสบกับความยากลาบากและสิ่งที่ก่อให้เกิดความเสียหาย 3. กตัญญูต่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์ เป็นคุณลักษณะที่แสดงออกถึงการรู้จักบุญคุณ ปฏิบัติ ตามคาสั่งสอน แสดงความรัก ความเคารพ ความเอาใจใส่ รักษาชื่อเสียง และตอบแทนบุญคุณของพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครูบาอาจารย์ 4. ใฝ่หาความรู้ หมั่นศึกษาเล่าเรียนทั้งทางตรงและทางอ้อม เป็นคุณลักษณะที่แสดงออกถึงความตั้งใจ เพียรพยายามในการศึกษาเล่าเรียน แสวงหาความรู้ ทั้งทางตรงและทางอ้อม 5. รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงาม เป็นการปฏิบัติสืบทอดอนุรักษ์วัฒนธรรม และประเพณีไทย อันดีงามด้วยความภาคภูมิใจเห็นคุณค่าความสาคัญ 6. มีศีลธรรม รักษาความสัตย์ หวังดีต่อผู้อื่น เผื่อแผ่และแบ่งปัน เป็นความประพฤติที่ควรละเว้น และ ความประพฤติที่ควรปฏิบัติตาม 7. เข้าใจเรียนรู้การเป็นประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขที่ถูกต้อง คือ มีความรู้ ความเข้าใจ ประพฤติปฏิบัติตนตามสิทธิและหน้าที่ของตนเอง เคารพสิทธิและหน้าที่ของผู้อื่น ใช้เสรีภาพด้วย ความรับผิดชอบภายใต้ขอบเขตของกฎหมาย ตามระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
  • 9. 9 8. มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผู้น้อยรู้จักการเคารพผู้ใหญ่ เป็นคุณลักษณะที่แสดงออกถึงการ ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมาย มีความเคารพและนอบน้อมต่อผู้ใหญ่ 9. มีสติรู้ตัว รู้คิด รู้ทา รู้ปฏิบัติ ตามพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นการ ประพฤติปฏิบัติตนอย่างมีสติรู้ตัว รู้คิด รู้ทา อย่างรอบคอบถูกต้อง เหมาะสม และน้อมนาพระราชดารัสของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ มาปฏิบัติในชีวิตประจาวัน 10. รู้จักดารงตนอยู่โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว รู้จักอดออมไว้ใช้เมื่อยามจาเป็น มีไว้พอกินพอใช้ ถ้าเหลือก็แจกจ่าย จาหน่าย และขยายกิจการ เมื่อมีความพร้อม สามารถดาเนินชีวิตอย่างพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี มีความรู้ มีคุณธรรม และ ปรับตัวเพื่ออยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข 11. มีความเข้มแข็งทั้งร่างกายและจิตใจ ไม่ยอมแพ้ต่ออานาจฝ่ายต่าหรือกิเลส มีความละอายเกรงกลัว ต่อบาปตามหลักของศาสนา เป็นการปฏิบัติตนให้มีร่างกายสมบูรณ์ แข็งแรงปราศจากโรคภัยและมีจิตใจที่ เข้มแข็ง ไม่กระทาความชั่วใดๆ ยึดมั่นในการทาความดีตามหลักของศาสนา 12. คานึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวมและต่อชาติมากกว่า ผลประโยชน์ของตนเอง ให้ความร่วมมือ ในกิจกรรมที่เป็น ประโยชน์ต่อส่วนรวม และประเทศชาติ เสียสละประโยชน์ ส่วนตนเพื่อรักษาประโยชน์ของส่วนรวม บรรณานุกรม จักราวุธ คาทวี. สันติ/สามัคคี/ปรองดอง/ค่านิยม ๑๒ ประการ ของ คสช. : เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรม เพื่อนครู, 255๗ (เอกสารอัดสาเนา). เว็ปไซต์ http://jukravuth.blogspot.com/ บทความเรื่อง “ความเคลื่อนไหวทางการจัดการศึกษาของ ศธ.กับ คสช. ที่น่ารู้ สืบค้นเมื่อวันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๕๗ เว็ปไซต์ http://www.slideshare.net/jukravuth เรื่อง “สันติ/สามัคคี/ปรองดอง/ค่านิยม ๑๒ ประการ ของ คสช. : เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู” สืบค้นเมื่อ วันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๕๗
  • 10. 10 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาหน้าที่พลเมือง ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เรื่อง สิทธิมนุษยชนในการมีส่วนร่วมคุ้มครองตนเองและผู้อื่น กรณีตัวอย่างเรื่อง “รักแท้หรือรังแกกัน” ตัวชี้วัดที่ 6 และ 7 ตระหนักถึงสิทธิหน้าที่การมีส่วนร่วมในการคุ้มครองป้องกันตนเองและผู้อื่น ตามหลักสิทธิมนุษยชน วัตถุประสงค์ 1. เข้าใจถึงหลักสิทธิมนุษยชนที่จะเกิดประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื่น 2. เพื่อให้มีส่วนร่วมในการคุ้มครองป้องกันตนเองและผู้อื่นตามหลักสิทธิมนุษยชน 3. เพื่อให้ตระหนักถึงสิทธิ และหน้าที่ของประชาชนในเรื่อง สิทธิมนุษยชนสามารถนามาใช้ เพื่อหาทางเลือกแก้ปัญหาข้อขัดแย้งและคุ้มครองป้องกันตนเองและผู้อื่นในชุมชน เนื้อหาสาระ 1. ช่วงเวลาที่ผ่านมามีความขัดแย้งในเรื่อง การละเมิดสิทธิมนุษยชนเกิดขึ้นหลายต่อหลายกรณี ความขัดแย้งนี้เป็นกรณีระหว่างหน่วยงานภาครัฐกับชุมชนบ้าง ระหว่างหน่วยงานภาคเอกชนกับภาคเอกชนบ้าง ระหว่างหน่วยงานเอกชนกับชุมชนบ้าง หรือแม้กระทั่งระหว่างชุมชนหรือภาคเอกชนด้วยกันเองบ้าง 2. เนื้อหาความขัดแย้งในเรื่องการละเมิดสิทธิมนุษยชนดังกล่าว ส่วนใหญ่เน้นเรื่อง การออก กฎหมาย และการบังคับใช้กฎหมายของหน่วยงานภาครัฐที่ไม่สอดคล้องหรือไม่เป็นไปตามข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นใน ชุมชน หรือขัดต่อธรรมเนียมประเพณีความเชื่อถือของประชาชนส่วนใหญ่ที่อยู่มานานแล้ว หรือก่อให้เกิดความไม่ ปลอดภัยต่อชีวิตและอาชีพการทามาหากิน ก่อให้เกิดการทาลายทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม ความขัดแย้งที่ เกิดจากความเห็นต่างของภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ความขัดแย้งที่เนื่องมาจากการขาดความรู้ ความเข้าใจ ขาดข้อมูล ที่หลากหลายและพอเพียง รวมทั้งการขัดผลประโยชน์ของภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ความขัดแย้งที่เกิดจากการตีความ กฎหมายที่ไม่ตรงกัน หรือความขัดแย้งที่เกิดจากความไม่พร้อม และไม่ปฏิบัติตามขั้นตอนการดาเนินการของภาค ส่วนที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ 3. มีตัวอย่างที่เป็นความขัดแย้งอันเนื่องมาจากการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่ปรากฏในสังคม เช่น ภาครัฐออกกฎหมายการสร้างเขื่อนเพื่อประโยชน์ทางการพลังงานไฟฟ้าและการเกษตรและการป้องกันน้าท่วมที่ ต้องทาลายป่าไม้ ต้นน้าลาธารที่เป็นต้นเหตุของความแห้งแล้ง ทาอันตรายต่อสัตว์ป่าหายาก พืชสมุนไพร และ การทามาหากินของชาวบ้านในพื้นที่ที่อยู่กันมานานแล้ว หรือการที่หน่วยงานภาครัฐออกกฎหมายเวนคืนที่ดินใน พื้นที่ที่จะสร้างทางด่วนไปกระทบต่อประเพณีศาสนา ที่อยู่อาศัยของชุมชน หรือการที่หน่วยงานภาครัฐออก กฎหมายเพื่อความมั่นคง ประกาศกฎอัยการศึก ภาวะฉุกเฉินที่เป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน เช่น ห้ามออกจาก เคหะสถานหลังสามทุ่ม ห้ามชุมนุมเกิน 5 คน เข้าควบคุมตัว จับกุม กักขัง ประชาชนโดยไม่ต้องใช้หมายสั่ง ฯลฯ เป็นต้น 4. เมื่อเกิดกรณีขัดแย้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐกับชุมชนในเรื่อง สิทธิมนุษยชนมักจะมีข้อ กล่าวหา 2 แนวทาง คือ 1) หน่วยงานภาครัฐ ละเมิดสิทธิมนุษยชนและรังแกประชาชนและชุมชน โดยมีเรื่องการ ทุจริตคอรัปชั่น เพื่อประโยชน์ตน ประโยชน์พรรคพวก เข้ามาเกี่ยวข้อง 2) ประชาชนและชุมชนมีผลประโยชน์ส่วนตน โดยไม่คานึงถึงประโยชน์ของส่วนรวม หรือ ถูกภาคเอกชน หรือ NGO ยุยงส่งเสริมเพื่อประโยชน์ของกลุ่มดังกล่าว รวมทั้งถูกชักจูงให้เลือกข้างทางการเมือง 5. ประเด็นการอภิปรายถกแถลง
  • 11. 11 1) ท่านเห็นด้วยกับข้อกล่าวหาดังกล่าวหรือไม่ เพราะอะไร 2) ถ้าท่านอยู่ในเหตุการณ์เป็นคู่กรณีด้วย ท่านจะมีแนวทางในการแก้ปัญหาเหล่านั้นอย่างไร บ้าง จึงจะให้มีการดาเนินการได้โดยไม่เป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน 3) ท่านเห็นด้วยหรือไม่กับคากล่าวที่ว่า “สิทธิมนุษยชนต้องควบคู่ไปกับหน้าที่ของพลเมือง ด้วย” เพราะเหตุใด วิธีการดาเนินงาน ขั้นนา ครูนาเข้าสู่บทเรียนด้วยการนาสนทนาถึงเนื้อหาสาระเรื่องสิทธิมนุษยชน ความคิด ความเห็น โดยทั่วไปของเรื่อง สิทธิมนุษยชนตามความคิดของผู้เรียนรวมทั้งเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากปัญหา ที่กล่าวหาว่า ละเมิดสิทธิมนุษยชน อาจมีสื่อประกอบการเสวนา หรือให้ผู้เรียนช่วยกันเสนอข่าวที่เกิดขึ้นในชุมชน ครูแนะนาแหล่งข้อมูล แหล่งความรู้เกี่ยวกับเรื่อง สิทธิมนุษยชนที่ผู้เรียนจะใช้แสวงหาข้อมูล เพิ่มเติม ขั้นดาเนินการ ครูแจกกรณีตัวอย่าง “รักแท้หรือรังแกกัน” ให้กลุ่มผู้เรียนศึกษาและร่วมกันอภิปรายถกแถลง ตามประเด็นที่กาหนดให้ โดยครูอาจให้ข้อมูลเพิ่มเติมหรือเสนอประเด็นสืบเนื่อง หรือมีข้อคาถามเพื่อกระตุ้นการ อภิปรายตามความจาเป็น ขั้นสรุป ครูและผู้เรียนร่วมกันจัดทาข้อสรุปจากการอภิปรายถกแถลงของกลุ่มผู้เรียน กิจกรรมเพื่อการเรียนรู้ต่อเนื่อง ครูเสนอกิจกรรมต่อเนื่องตามความเห็นของกลุ่ม เช่น การศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ ต่าง ๆ การสนทนาหรือสัมภาษณ์บุคคลเพื่อแสวงหาความคิด ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม การสอบถามความ คิดเห็น ฯลฯ เป็นต้น แล้วให้ผู้เรียนรวบรวมนาเสนอในรูปแฟ้มความรู้ เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สื่อ/แหล่งค้นคว้า/ใบความรู้ 1. สื่อเอกสาร สื่อบุคคล สื่ออิเล็กทรอนิกส์ 2. แหล่งค้นคว้า ห้องสมุด หน่วยงานภาครัฐ เอกชน สถานศึกษา 3. ใบความรู้ ข้อมูลเรื่อง สิทธิมนุษยชนที่เลือกนามาจากเอกสารหรือเอกสารที่ สาเนามาจากหนังสือพิมพ์ ระยะเวลา 1. การนาเสนอข้อ การอภิปรายถกแถลง การสรุป การเตรียมเพื่อทากิจกรรมสืบเนื่อง รวมทั้ง การสรุป 1 ชั่วโมง 2. กิจกรรมต่อเนื่องใช้เวลาตามความเหมาะสมโดยเน้นการศึกษาด้วยตนเอง นอกเวลา การวัดประเมินผล 1. โดยการสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมของผู้เรียน การร่วมเสนอความคิดเห็น การคิดหา เหตุผล การถกแถลง กระตือรือร้น ความตั้งใจ ความสนใจ 2. ตรวจสอบผลการรวบรวมข้อมูล ความสมบูรณ์ของแฟ้มการเรียนรู้ (portfolio) 3. สังเกตความใส่ใจ จริงจัง ของการทางานกลุ่มของผู้เรียน