SlideShare a Scribd company logo
1 of 63
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา   ,[object Object],บริบทด้าน สังคม บริบทด้าน เศรษฐกิจ บริบทด้าน การเมืองการปกครอง บริบทด้าน วัฒนธรรม บริบทด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บริบทด้าน ประชากร บริบทด้าน โลกาภิวัตน์ บริบทด้าน สื่อสารมวลชน บริบทด้าน สาธารณสุข บริบทด้าน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การศึกษา ความสัมพันธ์ของบริบทต่างๆ กับการศึกษา
บริบทสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อการจัดการศึกษา   บริบท ด้าน สังคม สังคม ครอบครัว ความไม่ใกล้ชิดของครอบครัว สังคม สังคม เครือญาติ เชิงธุรกิจ ครอบครัวขยาย ครอบครัวเดี่ยว พฤติกรรมเด็กและเยาวชนวัยรุ่นเบี่ยงเบนและรุนแรงกว่าเดิม
บริบทสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อการจัดการศึกษา   บริบทด้านเศรษฐกิจ 3  ภาค ส่งผลต่อทรัพยากรนำเข้าและรับผลผลิตจากการศึกษาเข้าเป็นปัจจัยการผลิตของภาคเศรษฐกิจ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การจัดการศึกษาต้องทำความต้องการของภาคเศรษฐกิจทั้ง  3  ภาคมาเป็นพื้นฐานจัดการเรียนการสอน ธุรกิจบริการ ผู้สำเร็จการศึกษา มีคุณสมบัติตอบสนองทั้ง  3  ภาค
บริบทสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อการจัดการศึกษา   บริบทด้านการเมืองการปกครอง ประชาธิปไตย มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข นำหลักประชาธิปไตย เข้าสู่การเรียนการสอน การบริหารราชการแผ่นดิน ( ราชการ ) ม .7  แห่ง พ . ร . บ .  การศึกษาแห่งชาติพ . ศ .2542 -  สภานักเรียน / นักศึกษา -  การปกครองกันเอง -  การมีส่วนร่วม กระทรวง ศึกษาธิการ การจัดการศึกษา ที่ต้องตอบสนอง
บริบทสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อการจัดการศึกษา   บริบทด้านวัฒนธรรม -  สถานศึกษาต้องศึกษาวิจัยเกี่ยวกับวัฒนธรรม -  หลักธรรมของศาสนา -  การเรียนการสอน -  กิจกรรมเสริมหลักสูตร ม .7  แห่ง พ . ร . บ .  การศึกษาแห่งชาติพ . ศ .2542 -  ตระหนักในคุณค่าของวัฒนธรรม -  ธำรงรักษาวัฒนธรรม
บริบทสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อการจัดการศึกษา   บริบทด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดับการศึกษา อุดมศึกษา ผู้เรียนมีทักษะทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประยุกต์ความรู้ในการดำรงชีวิต ผลิตนักวิทยาศาสตร์ สร้างองค์ความรู้เป็นของตนเอง
บริบทสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อการจัดการศึกษา   ด้านประชากร การเกิดน้อย คนชนบท ระบบการศึกษา เด็กนักเรียนน้อย โรงเรียนมีขนาดเล็ก คุณภาพต่ำ เข้าประกอบอาชีพในเมือง เกิดปัญหาการปรับตัว -  ให้ความรู้ -  อบรม -  เตรียมผู้เรียน การย้ายถิ่นเพื่อประกอบอาชีพ เด็กย้ายบ่อย ออกกลางคัน -  ปรับตัว -  ใช้ชีวิตสอดคล้องกับบริบท
บริบทสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อการจัดการศึกษา   บริบทด้านทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม -  หลักสูตรสถานศึกษา -  หลักสูตรท้องถิ่น สถานศึกษาใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนการสอน ม .7  แห่ง พ . ร . บ .  การศึกษาแห่งชาติพ . ศ .2542 -  ต้องเรียนรู้เพื่ออยู่กับธรรมชาติได้อย่างปกติ -  ต้องหาทางแก้ไขกรณีส่งผลทางลบ เช่น น้ำท่วม  ซึนามิ ฯลฯ
บริบทสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อการจัดการศึกษา   บริบทด้านสาธารณสุข -  น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์  7  แสนคน -  ส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์  5  แสนคน -  น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์  5  แสนคน ปัจจุบัน  2548  ของเด็ก สพฐ .  มีปัญหาโภชนาการ -  อาหารกลางวัน -  นมโรงเรียน -  กิจกรรมพลศึกษา -  เครื่องมือปฐมพยาบาล
บริบทสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อการจัดการศึกษา   บริบทด้านสื่อสารมวลชน ข้อมูลข่าวสารทันสมัย จูงใจให้คนเชื่อฟังมากกว่าระบบโรงเรียน ระบบโรงเรียนช่วยให้เด็กและคนในสังคม -  รู้จักวิเคราะห์ แยกแยะ -  พิจารณาข้อมูล -  นำข้อมูลข่าวสารจากสื่อมาใช้ประกอบการเรียนการสอน
บริบทสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อการจัดการศึกษา   บริบทด้านโลกาภิวัตน์ -  เปลี่ยนวิถีชีวิต ระบบคิด -  เปลี่ยนอาชีพ -  ไหลบ่าของข้อมูลข่าวสาร ค่านิยม -  เกิดระบบการแข่งขัน / ร่วมมือ -  ทุกประเทศไม่สามารถสะกัดกั้นกระแสได้ สถานศึกษาต้องให้ความรู้กับเด็กและเยาวชน  รู้จักเลือกรับด้วยความรู้เท่าทันและด้วยสติปัญญา
บริบทสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อการจัดการศึกษา   บริบทด้านกฎหมาย ระบบการศึกษาไทยถูกควบคุมด้วยระบบราชการเป็นส่วนใหญ่ จึงต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบของราชการ -  พ . ร . บ . การศึกษาแห่งชาติ พ . ศ . 2542 -  พ . ร . บ . ระเบียบบริหารราชการกระทรวง ศธ . พ . ศ . 2546 -  พ . ร . บ . ครูและบุคลากรทางการศึกษา พ . ศ . 2547 ฯลฯ
บริบทด้านสังคม  เศรษฐกิจ และการเมือง การปกครอง ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา
บริบทด้านสังคม สังคมไทยในอนาคต 1.  มีการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่นและชุมชนเพิ่มขึ้น 2.  องค์กรต่างๆ มีพลังต่อสังคมมากขึ้น 3.  ระบบเทคโนโลยีและธุรกิจบริการสำคัญมากขึ้น 4.  เป็นสังคมเมืองมากขึ้น 5.  เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้และข้อมูลข่าวสาร 6.  คำนึงถึงสิทธิมนุษยชนมากขึ้น 7.  เห็นความเป็นปัจเจกมากขึ้น
บริบทด้านสังคม  ผลกระทบต่อการศึกษา 1.  ระบบสังคมเป็นผู้ส่งตัวป้อนสู่ระบบการศึกษา 2.  มีอิทธิพลในการกำหนดจุดมุ่งหมายของการศึกษา 3.  ให้แหล่งเรียนรู้ในลักษณะต่างๆ 4.  ควบคุมการบริหารจัดการศึกษา
บริบทด้านเศรษฐกิจ ผลกระทบของการพัฒนาเศรษฐกิจอุตสาหกรรม 1.  ด้านบวก 1.1  การปรับเปลี่ยนโครงสร้างการผลิตทำให้เกิดการผลิตสินค้าหลายอย่าง 1.2  ความเจริญของอุตสาหกรรมส่งผลถึงความก้าวหน้าของภาคเกษตรกรรม ธุรกิจบริการ 1.3  จ้างแรงงานมากขึ้น รายได้เพิ่มขึ้น 1.4  การศึกษาขยายตัวมากขึ้น ความต้องการสูงขึ้น 1.5  ชนบทเจริญขึ้น
บริบทด้านเศรษฐกิจ ผลกระทบของการพัฒนาเศรษฐกิจอุตสาหกรรม 2.  ด้านลบ 2.1  คนหนุ่มสาวละทิ้งชนบทและภาคเกษตรเข้าสู่เมือง 2.2  รายได้ภาคอุตสาหกรรมสูงกว่าภาคเกษตรมาก 2.3  เกิดปัญหามลพิษ สิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรม การจราจร ที่อยู่อาศัยแออัด ฯลฯ 2.4  รายได้ส่วนใหญ่ถูกส่งกลับนอกประเทศ เพราะเป็นการรับจ้างผลิต
ด้านธุรกิจบริการ   เกษตร ผู้บริโภค ธุรกิจบริการ อุตสาหกรรม ภาพแสดง  :   ธุรกิจบริการเป็นเครือข่ายเชื่อมโยงภาคอื่นๆ
อาหาร สาธารณสุข ท่องเที่ยว การเงิน บ้านพัก เทคโนโลยี ประเภท ธุรกิจบริการ
ปัจจัยที่มีผลต่อภาคธุรกิจ  1.  การเจริญเติบโตของเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ 2.  ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี 3.  การผลิตภาคพื้นฐานอย่างเพียงพอ 4.  การเปิดประตูสู่ตลาดโลก
ปัจจัยระหว่างประเทศ  1.  การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ เช่น  APEC 2.  ข้อตกลงระหว่างประเทศเรื่องภาษี 3.  การจัดตั้งองค์การค้าโลกเพื่อคุ้มครองการแข่งขันทางการค้า
ระบบเศรษฐกิจยุคใหม่  1.  เน้นการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย และความรู้ในการบริหารองค์กร 2.  เน้นการไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม / ทรัพยากรธรรมชาติ 3.  เน้นความร่วมมือที่เสมอภาค ไม่เลือกปฏิบัติ 4.  เน้นการแข่งขันเสรี เป็นธรรม 5.  ระบบซับซ้อนเชื่อมโยงถึงตั้งแต่ระบบผลิตถึงจำหน่าย 6.  เน้นการผลิตที่ทันสมัย มีคุณภาพมาตรฐาน รวดเร็ว
การพัฒนาการศึกษาที่เชื่อมต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ  1.  ผู้จบการศึกษาทุกระดับมีมาตรฐานตามที่หลักสูตรกำหนด 2.  พัฒนาการเข้าเรียนระดับมัธยมและช่วงชั้นให้สูงขึ้น 3.  อุดมศึกษาและอาชีวศึกษาต้องสอดคล้องกับการพัฒนาเทคโนโลยี 4.  พัฒนา กศน . ศูนย์ฝึกอาชีพ ในการฝึกฝนก่อนและระหว่างทำงาน 5.  พัฒนาแรงงานและประชากรทุกระดับให้มีคุณภาพ
ผลกระทบของบริบทเศรษฐกิจต่อการศึกษา  1.  ท้องถิ่นที่เจริญทางเศรษฐกิจย่อมสนับสนุนการศึกษาให้มากขึ้น 2.  สถานศึกษาต้องผลิตคนให้มีทักษะและประสบการณ์ตามความต้องการแรงงานของภาคต่างๆ 3.  บริบทนี้จะให้ข้อมูลย้อนกลับเกี่ยวกับประสิทธิผลและคุณภาพการจัดการศึกษาแต่ละระดับ
บริบทด้านการเมืองการปกครอง  *  การเมืองมี  2  ระบบ คือ  อำนาจนิยม  และ  ประชาธิปไตย *  การปกครองทุกระบบมีองค์ประกอบสำคัญคือ “อำนาจการตัดสินใจ” ของผู้นำเป็นตัวกำหนดเด็ดขาด -  คนเดียวตัดสินใจ เป็น  เผด็จการ -  คณะบุคคลตัดสินใจ เป็น  คณาธิปไตย -  ประชาชนตัดสินใจ  เป็น  ประชาธิปไตย
แนวทางการตัดสินใจของพระพรหมคุณาภรณ์  ( ประยุตธ์ ปยุตโต )  1.  เอาตัวเองเป็นใหญ่ เรียก  อัตตาธิปไตย 2.  ตัดสินใจตามกระแสนิยม หรือแรงกดดัน เรียก  โลกาธิปไตย 3.  เอาหลักความถูกต้องและสังคมเป็นเกณฑ์ เรียก  ธรรมาธิปไตย ----------------------------------------- *  ธรรมาธิปไตย  คือ เกณฑ์ในการตัดสินใจของทุกกิจการในระบอบประชาธิปไตย  *
ปัจจัยทางการเมืองการปกครองกับการบริหารการศึกษา  1.  การเมืองเป็นผู้กำหนดการศึกษา 2.  ระบบการศึกษาไทยอยู่ภายใต้กรอบของราชการ 3.  ระบบการศึกษาไทยขาดเอกภาพและการประสานระหว่างหน่วยงานผู้รับผิดชอบ 4.  เป็นระบบที่รวมอำนาจเข้าสู่ส่วนกลาง
ผลกระทบของระบบการเมืองการปกครองต่อการศึกษา  1.  ระบบการเมืองการปกครองต้องรับผิดชอบในการกำหนดนโยบายตามกฎหมาย 2.  เป็นผู้จัดโครงสร้างของระบบการศึกษา 3.  เป็นผู้พัฒนาการจัดสรรงบประมาณ เงินอุดหนุน 4.  เป็นผู้รับผิดชอบภารกิจทางการบริหารและตัดสินใจ
แนวโน้มทางการศึกษา  1.  กระบวนการสังเคราะห์แนวโน้ม 2.  ภาพรวมของแนวโน้มทางการศึกษาในกระแสโลก 3.  ผลกระทบของแนวโน้มทางการศึกษาโลกที่มีต่อการบริหารจัดการศึกษาไทย
กระบวนการวิเคราะห์  “ การวิเคราะห์”   ( Analysis )  นั้นเป็นการจำแนกแยกแยะสิ่งใดสิ่งหนึ่งหรือเรื่องใดเรื่องหนึ่งเพื่อค้นหาองค์ประกอบและความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบเหล่านั้น เพื่อช่วยให้เกิดความเข้าใจในเรื่องนั้น  ( ทิศนา แขมณี และคณะ  2549  :  36)  “ การวิเคราะห์”  ถือว่าเป็นกิจกรรมส่วนหนึ่งของ  “การสังเคราะห์”  ทั้งนี้เพราะ  “การสังเคราะห์”  เป็นการนำความรู้ที่ผ่าน “การวิเคราะห์” มาผสมผสานสร้างสิ่งใหม่ขึ้นมา
ทักษะการคิดรูปแบบต่างๆ ทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อกระบวนการสังเคราะห์ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ทักษะการสร้างองค์ความรู้ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
แนวคิดพุทธศาสตร์ รูปแบบต่างๆ ของการคิด แนวคิดพุทธศาสตร์ แนวคิดพุทธศาสตร์ 1.  คิดแบบสืบสาวเหตุปัจจัย 2.  คิดแบบแยกแยะส่วนประกอบ 3.  คิดแบบสามัญลักษณ์ 4.  คิดแบบอริยสัจ 5.  คิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ์ 6.  คิดแบบคุณโทษและทางออก 7.  คิดแบบคุณค่าแท้คุณค่าเทียม 8.  คิดแบบอบายปลุกเร้าคุณธรรม 9.  คิดแบบวิภัชชวาท 1.  คิดแบบเปะปะ 2.  คิดแบบวิทยาศาสตร์ 3.  คิดแบบอิทัปปัจจยตา 4.  คิดแบบอริยสัจ 5.  คิดแบบทวิลักษณ์ 6.  คิดแบบทางบวก 7.  คิดแบบไม่คิด 1.  คิดหลากหลายวิธี 2.  คิดท้าทายความคิดเดิม 3.  คิดให้เกิดผล 4.  คิดแบบใช้แนวคิดเก่าสร้างความคิดใหม่ 5.  คิดที่มุ่งให้ความสำคัญในเรื่อง “ความคิดรวบยอด”  ( Concept )
Deductive ( การอนุมาน ) เครื่องมือของปรัชญา กระบวนการค้นหาเหตุผล  ( Logic ) นำข้อเท็จจริงที่พบมาสรุปเป็นความรู้ใหม่ สรุปจาก ใหญ่ ไปหา ย่อย Inductive ( การอุปมาน ) สังเกตความรู้ย่อย หาเหตุผลมาอ้าง แล้วสรุปเป็นความรู้ใหม่ สรุปจาก ย่อย ไปหา ใหญ่ กระบวนการคิดค้นหาความจริงของศาสตร์ทางปรัชญา
Rationalism เหตุผลนิยม ทฤษฎีกำเนิดความรู้ในมิติปรัชญาของศาสตร์ Rene Descartes ความรู้ได้จากการใช้ความคิด  ( ปัญญา )  มาพิจารณาเหตุผลที่ชัดเจน Empiricism ประจักษ์นิยม  ( อุปมาน นิยม ) John Locke ความรู้เกิดจากประสาทสัมผัส โดยเริ่มจากประสบการณ์ ได้ข้อเท็จจริงแล้วนำมาคิดหาเหตุผล Apriorism อนุมานนิยม Immanuel Kant ความรู้ได้จาก 1.   ประสบการณ์ ได้เนื้อหาความรู้  ( Matter of Knowledge )  2.   การศึกษาหาเหตุผล ได้รูปแบบของความรู้  ( Form of Knowledge ) Intuitionism สัญชาตญาณนิยม Henri Bergson ความรู้จริงแท้ได้มาโดยตรงจากสัญชาตญาณเป็นการหยั่งรู้ฉับพลันด้วยตนเอง
Computer and Communication หลักการสร้างองค์ความรู้ในมิติของปัญญาประดิษฐ์ Hardware  Software People ware Contents Learning Objective Learning Resource Learning IT based activity Learning Analysis and Synthesis Critical Thinking Reasoning Problem Solving Knowledge Construction หลักการสร้างองค์ความรู้ในมิติของปัญญาประดิษฐ์
วิธีการสร้างองค์ความรู้ใหม่ในการประดิษฐ์  ( Computer ) ที่ใช้ในการสร้างฐานความรอบรู้ในระบบ  Expert System 1.   สร้างรูปแบบความรู้จากสิ่งที่ไม่รู้ 2.   สร้างความสมดุลที่เหมาะสมระหว่างการเรียนรู้ด้วยวิธีการอนุมาน  ( Deductive )  และอุปมาน  ( Inductive ) 3.   สร้างความคิดเพื่อหาข้อสรุปโดยการให้เหตุผล
ลำดับขั้นตอนการพัฒนาองค์ความรู้ ( Form of Knowledge  ของ  Kant ) 3. Speculative Knowledge ( ความรู้แห่งญาณ ) 2. Conceptual Knowledge ( ความรู้แห่งมโนภาพ ) 1. Perceptual Knowledge ( ความรู้แห่งผัสสะ )
กระบวนการสังเคราะห์สิ่งใหม่ 5.   สร้างสิ่งใหม่ตามวัตถุประสงค์โดยอาศัยกรอบแนวคิดที่กำหนดรวมทั้งข้อมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 4.  นำข้อมูลมาทำกรอบแนวคิดสำหรับสร้างสิ่งใหม่ 3.  นำข้อมูลที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ 2.  ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 1.  กำหนดวัตถุประสงค์ของสิ่งใหม่ที่ต้องการสร้าง
การวิเคราะห์ การเปรียบเทียบความแตกต่างของขั้นตอน  “ การวิเคราะห์”  และ  “การสังเคราะห์” ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],การสังเคราะห์ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ด้านการเมือง ภาพแนวโน้มทางการศึกษาในกระแสโลกที่สำคัญ Good Governance ด้านสิ่งแวดล้อม Green Environment ด้านเศรษฐกิจ Knowledge-based Economy ด้านสาธารณสุข Holistic ด้านเทคโนโลยี Safe Technology ด้านสังคม Learning Society Weightless Society ด้านการศึกษา Interdisciplinary ด้านวัฒนธรรม Contemporary Culture บริบทโลก ใน ศ . ต . 21
คลื่นลูกที่  5 พลวัตของสังคมโลกในศตวรรษที่  21 สังคมแห่งปัญญา คลื่นลูกที่  1 สังคมเกษตรกรรม คลื่นลูกที่  3 สังคมแห่งเทคโนฯ คลื่นลูกที่  4 สังคมแห่งการเรียนรู้ คลื่นลูกที่  2 สังคมอุตสาหกรรม
ประชาเมธี  ( ประชาชน ) ภาพรวมปราชญสังคมในศตวรรษที่  21   ปราชญาธิบดี  ( ผู้นำสังคม ) สามารถ เป็น ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],คิด ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ใช้ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ควบคุม ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ภาพรวมคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของพลโลก  ( Global Citizen ) Languages Global Citizen Literacy Internet Culture
ระบบการศึกษา ภาพรวมการบริหารจัดการศึกษาไทยในศตวรรษที่  21 ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],การบริหารจัดการศึกษาไทยในศตวรรษที่  21 หลักสูตร -  บูรณาการ -   ครอบคลุมระดับท้องถิ่น ประเทศ และโลก -   ทุกส่วนของสังคม การจัดการเรียนการสอน ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ผู้เรียน -  เรียนรู้ด้วยตนเอง -   มีเสรีภาพ ประชาธิปไตย -   แก้ปัญหาด้วยตนเองได้ -   ดี เก่ง มีความสุข จุดมุ่งหมาย -  พัฒนาชีวิตทุกด้าน -   จัดสอดคล้องบริบท -   จัดสอดคล้องความต้องการ อุดมการณ์ -  เคารพในความเป็นมนุษย์ -   มนุษย์คือ เสรีภาพ มีความเป็นปัจเจกชนมากขึ้น ผู้สอน -  มืออาชีพเฉพาะทาง -   เป็นผู้สร้างองค์ความรู้ใหม่ -   วิทยากรท้องถิ่น -   ลดจำนวนลง การจัดการองค์การ -  กระจายอำนาจ -   ชุมชนมีส่วนร่วม -   สายบังคับบัญชาสั้น -   แบ่งสายชัดเจน -   มีการพัฒนาตลอดเวลา -   การสื่อสารใช้  IT
สังคมแห่งปัญญา ภาพรวมภาพอนาคตของสังคมไทยในศตวรรษที่  21   ตามแนวคิดของ ดร . วิชัย ตันศิริ สังคมแห่งความเป็นพลเมืองดี สังคมแห่งนักบุกเบิกทางเศรษฐกิจและการจัดการ สังคมวิทยาศาสตร์ สังคมไทย ในอนาคต
สถานศึกษา กิจกรรม บุคลากร สถานศึกษา ผลกระทบของบริบทโลก และ แนวโน้มโลก  ที่มีต่อการบริหารจัดการศึกษา ผล กระ ทบ สภาพการณ์ สภาวะการณ์ ปรับเปลี่ยน บริบท โลก แนวโน้ม โลก ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ผลกระทบในรูปของระลอกคลื่นจากระดับบุคคลสู่ระดับสากล เอกัตต ( บุคคล ) ระหว่างบุคคล องค์กร ชุมชน วัฒนธรรม ชาติ นานาชาติ สากล
กฎหมายรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ . ศ . 2540 มาตรา  8 1 -   จัดการศึกษาอบรมให้เกิดความรู้คู่คุณธรรม -   สร้างเสริมความรู้และปลูกจิตสำนึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเมืองการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มิติใหม่ของกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาของไทย ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การศึกษาในระบบโรงเรียน องค์ประกอบของการศึกษาตลอดชีวิต ( Lifelong Education ) Formal Education Formal Education การศึกษานอกระบบโรงเรียน Non-formal Education การศึกษาตามอัธยาศัย Informal Education Informal Education Formal Education
ทักษะหลากหลายที่เน้นในหลักสูตร ตามความสนใจ ความถนัด ทักษะค้นความรู้ใฝ่รู้  ใฝ่เรียน ทักษะความคิดสังเกต ทดลอง ปฏิบัติ ความดีงาม ความรับผิดชอบต่อสังคม ทักษะความ สามารถ เหมาะสมกับทุกระดับ ตามความแตกต่างระหว่างบุคคล ผ่านประสบการณ์ สอดคล้องกับท้องถิ่น ยึดเด็กเป็นสำคัญ มีคุณสมบัติที่พึงประสงค์อยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
“ เนื้อหา” หลักสูตรในยุคสารสนเทศ ลดเนื้อหาที่เป็น “ข้อเท็จจริง” ให้เหลือเฉพาะที่จำเป็นจริงๆ เน้น  Meta-Subject  ( อภิวิชา )  ซึ่งว่าด้วยการเรียนรู้  +  การจัดการสารสนเทศ เน้น  Civic Education  ( ประชาสังคม ) 1.   อภิวิชาว่าด้วยสารสนเทศ 2.   อภิวิชาว่าด้วยสื่อ 3.   อภิวิชาว่าด้วยการเรียนรู้ 4.   อภิวิชาว่าด้วยการนำเสนอและสื่อสาร 5.  อภิวิชาว่าด้วยการทำงานเป็นทีม โครงสร้างเนื้อหาของหลักสูตรในโลกยุคสารสนเทศ
การปรับเปลี่ยนของกระบวนทัศน์ทางการศึกษา   ,[object Object],[object Object],[object Object]
Industrial Revolution ลำดับการเปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญ่ของบริบทโลก Product – focused   Economy of Scales Microchip Silicon Brain – Focused  Knowledge – based Economy Nanochip Smart Material  Economy of Speed
กระบวนทัศน์เก่า การเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างกระบวนทัศน์เก่ากับกระบวนทัศน์ใหม่ 1.  มองโลกแบบแยกส่วน  ( Atomism ) 2.  เชื่อในเรื่องการแข่งขัน แสวงหากำไร 3.   เชื่อว่ามนุษย์อยู่เหนือธรรมชาติ 4.   เชื่อในหลักรวมศูนย์อำนาจ และเชื่อในประชาธิปไตยแบบมีตัวตน 5.   เน้นความสำคัญของวัตถุ สสารที่เหนือจิตวิญญาณ 6.  เน้นความสำคัญของเศรษฐกิจ 7.   เชื่อว่าความจริงต้องเป็นระบบ 8. Text-based Learning กระบวนทัศน์ใหม่ 1.  มองโลกแบบองค์รวม  ( Holistic ) 2.  เชื่อในความร่วมมือ การประสานประโยชน์และสันติภาพ 3.   เชื่อในความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับธรรมชาติและต้องเคารพธรรมชาติ 4.   เชื่อในการกระจายอำนาจและประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม 5.   เน้นความสำคัญของพลังและจิตวิญญาณ 6. เน้นความสำคัญของคุณค่าความเป็นมนุษย์ 7. เชื่อว่าโลกตั้งอยู่บนพื้นฐานความ เปลี่ยนแปลง 8. IT-based Learning
Synohronous Learning รูปแบบใหม่ของการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่  21 -  มีการกำหนดเวลา สถานที่ บุคคลในการเรียนการสอน -   ใช้เทคโนโลยีมาช่วยสอน -   ผู้เรียนและผู้สอนสามารถปฏิบัติสัมพันธ์ได้ทันทีทันใด Asynchronous Learning -  เรียนรู้ด้วยตนเอง -   จัดการเรียนการสอนผ่านเทคโนโลยี -   ผู้เรียนและผู้สอนสามารถปฏิสัมพันธ์ได้หลายทางแต่ต่างเวลา
4   ฐานหลักของเป้าหมายการจัดการศึกษาไทยในอนาคต ฐาน เศรษฐกิจ ฐานปัญญา ฐาน สิ่งแวดล้อม ฐานชุมชน วิสัยทัศน์การจัดการศึกษาไทยในศตวรรษที่  21   ตามแนวคิดของ เสน่ห์ จามริก
ภาพอนาคตของการจัดการศึกษาไทยในยุคโลกาภิวัตน์ รูปแบบการจัดการศึกษา  :   หลากหลาย มีดุลยภาพ อยู่บนฐานเทคโนโลยี เนื้อหา  :   เน้นสุนทรียศึกษา และพลศึกษา เป้าหมายการศึกษา : มุ่งพัฒนาวุฒิภาวะของความเป็นมนุษย์ ปรัชญาการศึกษา  :   ชีวิตที่มีความสุขคือชีวิตที่มีการเรียนรู้ ระบบการศึกษา   :   เน้นการสร้างกระบวนทัศน์การเรียนรู้
กระบวนการสังเคราะห์สิ่งใหม่ ทำการวิเคราะห์โอกาสสำเร็จ และอุปสรรคในการบริหารจัดการศึกษาของสถานศึกษาในอนาคต ศึกษาข้อมูลเพื่อสังเคราะห์แนวโน้มของสถานศึกษาในอนาคต กำหนดปรัชญาและเป้าหมายของสถานศึกษา  ลำดับขั้นตอนการกำหนดกระบวนทัศน์ใหม่ของสถานศึกษา
Revision กระบวนการผลิตการศึกษาของสถานศึกษา Revision Revision ,[object Object],[object Object],[object Object],Feedback ,[object Object],Output ,[object Object]
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการกำหนดลักษณะการศึกษาที่พึงประสงค์ของสถานศึกษา รูปแบบการจัดการศึกษา  :   หลากหลาย มีดุลยภาพ อยู่บนฐานเทคโนโลยี เนื้อหา  :   เน้นสุนทรียศึกษา และพลศึกษา เป้าหมายการศึกษา : มุ่งพัฒนาวุฒิภาวะของความเป็นมนุษย์ ปรัชญาการศึกษา  :   ชีวิตที่มีความสุขคือชีวิตที่มีการเรียนรู้ ระบบการศึกษา   :   เน้นการสร้างกระบวนทัศน์การเรียนรู้
ลำดับขั้นตอน “การออกแบบ” การบริหารจัดการศึกษาของสถานศึกษาให้สอดคล้องกับบริบทโลกและบริบทไทย วิเคราะห์โอกาสสำเร็จของการบริหารจัดการศึกษา กำหนดรูปแบบการบริหารจัดการ วิเคราะห์ผลการะทบของบริบทที่มีต่อสถานศึกษา วิเคราะห์สถานภาพปัจจุบันของสถานศึกษา
ปัจจัยทีมีผลกระทบต่อการกำหนดลักษณะการศึกษา ที่พึงประสงค์ของสถานศึกษา   ,[object Object],ยุทธศาสตร์การบริหารองค์การสมัยใหม่ แนวโน้มบริบทโลกใหม่   ( บริบทภายนอก ) กระบวนทัศน์ใหม่ ทางการศึกษา ( บริบทภายนอก ) กฎหมายเกี่ยวกับ การศึกษา ลักษณะของคนไทยที่ พึงประสงค์ กำหนดลักษณะการศึกษาที่พึงประสงค์ของสถานศึกษา
[object Object]

More Related Content

What's hot

โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)Pongpan Pairojana
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศmaerimwittayakom school
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1Kruthai Kidsdee
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะKittichai Pinlert
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑พัน พัน
 
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผงตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผงkasetpcc
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงChok Ke
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์srkschool
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapkrupornpana55
 

What's hot (20)

โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
 
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผงตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผง
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind map
 

Similar to บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา

สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมjirapom
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404gam030
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5nattawad147
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5benty2443
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5wanneemayss
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5nattawad147
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...Sawittri Phaisal
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8supap6259
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptpronprom11
 
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKruemas Kerdpocha
 

Similar to บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา (20)

สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
รายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seekerรายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seeker
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
 
002
002002
002
 
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 

บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา

  • 1.
  • 2. บริบทสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อการจัดการศึกษา บริบท ด้าน สังคม สังคม ครอบครัว ความไม่ใกล้ชิดของครอบครัว สังคม สังคม เครือญาติ เชิงธุรกิจ ครอบครัวขยาย ครอบครัวเดี่ยว พฤติกรรมเด็กและเยาวชนวัยรุ่นเบี่ยงเบนและรุนแรงกว่าเดิม
  • 3. บริบทสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อการจัดการศึกษา บริบทด้านเศรษฐกิจ 3 ภาค ส่งผลต่อทรัพยากรนำเข้าและรับผลผลิตจากการศึกษาเข้าเป็นปัจจัยการผลิตของภาคเศรษฐกิจ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การจัดการศึกษาต้องทำความต้องการของภาคเศรษฐกิจทั้ง 3 ภาคมาเป็นพื้นฐานจัดการเรียนการสอน ธุรกิจบริการ ผู้สำเร็จการศึกษา มีคุณสมบัติตอบสนองทั้ง 3 ภาค
  • 4. บริบทสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อการจัดการศึกษา บริบทด้านการเมืองการปกครอง ประชาธิปไตย มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข นำหลักประชาธิปไตย เข้าสู่การเรียนการสอน การบริหารราชการแผ่นดิน ( ราชการ ) ม .7 แห่ง พ . ร . บ . การศึกษาแห่งชาติพ . ศ .2542 - สภานักเรียน / นักศึกษา - การปกครองกันเอง - การมีส่วนร่วม กระทรวง ศึกษาธิการ การจัดการศึกษา ที่ต้องตอบสนอง
  • 5. บริบทสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อการจัดการศึกษา บริบทด้านวัฒนธรรม - สถานศึกษาต้องศึกษาวิจัยเกี่ยวกับวัฒนธรรม - หลักธรรมของศาสนา - การเรียนการสอน - กิจกรรมเสริมหลักสูตร ม .7 แห่ง พ . ร . บ . การศึกษาแห่งชาติพ . ศ .2542 - ตระหนักในคุณค่าของวัฒนธรรม - ธำรงรักษาวัฒนธรรม
  • 6. บริบทสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อการจัดการศึกษา บริบทด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดับการศึกษา อุดมศึกษา ผู้เรียนมีทักษะทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประยุกต์ความรู้ในการดำรงชีวิต ผลิตนักวิทยาศาสตร์ สร้างองค์ความรู้เป็นของตนเอง
  • 7. บริบทสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อการจัดการศึกษา ด้านประชากร การเกิดน้อย คนชนบท ระบบการศึกษา เด็กนักเรียนน้อย โรงเรียนมีขนาดเล็ก คุณภาพต่ำ เข้าประกอบอาชีพในเมือง เกิดปัญหาการปรับตัว - ให้ความรู้ - อบรม - เตรียมผู้เรียน การย้ายถิ่นเพื่อประกอบอาชีพ เด็กย้ายบ่อย ออกกลางคัน - ปรับตัว - ใช้ชีวิตสอดคล้องกับบริบท
  • 8. บริบทสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อการจัดการศึกษา บริบทด้านทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - หลักสูตรสถานศึกษา - หลักสูตรท้องถิ่น สถานศึกษาใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนการสอน ม .7 แห่ง พ . ร . บ . การศึกษาแห่งชาติพ . ศ .2542 - ต้องเรียนรู้เพื่ออยู่กับธรรมชาติได้อย่างปกติ - ต้องหาทางแก้ไขกรณีส่งผลทางลบ เช่น น้ำท่วม ซึนามิ ฯลฯ
  • 9. บริบทสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อการจัดการศึกษา บริบทด้านสาธารณสุข - น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ 7 แสนคน - ส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์ 5 แสนคน - น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์ 5 แสนคน ปัจจุบัน 2548 ของเด็ก สพฐ . มีปัญหาโภชนาการ - อาหารกลางวัน - นมโรงเรียน - กิจกรรมพลศึกษา - เครื่องมือปฐมพยาบาล
  • 10. บริบทสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อการจัดการศึกษา บริบทด้านสื่อสารมวลชน ข้อมูลข่าวสารทันสมัย จูงใจให้คนเชื่อฟังมากกว่าระบบโรงเรียน ระบบโรงเรียนช่วยให้เด็กและคนในสังคม - รู้จักวิเคราะห์ แยกแยะ - พิจารณาข้อมูล - นำข้อมูลข่าวสารจากสื่อมาใช้ประกอบการเรียนการสอน
  • 11. บริบทสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อการจัดการศึกษา บริบทด้านโลกาภิวัตน์ - เปลี่ยนวิถีชีวิต ระบบคิด - เปลี่ยนอาชีพ - ไหลบ่าของข้อมูลข่าวสาร ค่านิยม - เกิดระบบการแข่งขัน / ร่วมมือ - ทุกประเทศไม่สามารถสะกัดกั้นกระแสได้ สถานศึกษาต้องให้ความรู้กับเด็กและเยาวชน รู้จักเลือกรับด้วยความรู้เท่าทันและด้วยสติปัญญา
  • 12. บริบทสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อการจัดการศึกษา บริบทด้านกฎหมาย ระบบการศึกษาไทยถูกควบคุมด้วยระบบราชการเป็นส่วนใหญ่ จึงต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบของราชการ - พ . ร . บ . การศึกษาแห่งชาติ พ . ศ . 2542 - พ . ร . บ . ระเบียบบริหารราชการกระทรวง ศธ . พ . ศ . 2546 - พ . ร . บ . ครูและบุคลากรทางการศึกษา พ . ศ . 2547 ฯลฯ
  • 13. บริบทด้านสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง การปกครอง ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา
  • 14. บริบทด้านสังคม สังคมไทยในอนาคต 1. มีการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่นและชุมชนเพิ่มขึ้น 2. องค์กรต่างๆ มีพลังต่อสังคมมากขึ้น 3. ระบบเทคโนโลยีและธุรกิจบริการสำคัญมากขึ้น 4. เป็นสังคมเมืองมากขึ้น 5. เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้และข้อมูลข่าวสาร 6. คำนึงถึงสิทธิมนุษยชนมากขึ้น 7. เห็นความเป็นปัจเจกมากขึ้น
  • 15. บริบทด้านสังคม ผลกระทบต่อการศึกษา 1. ระบบสังคมเป็นผู้ส่งตัวป้อนสู่ระบบการศึกษา 2. มีอิทธิพลในการกำหนดจุดมุ่งหมายของการศึกษา 3. ให้แหล่งเรียนรู้ในลักษณะต่างๆ 4. ควบคุมการบริหารจัดการศึกษา
  • 16. บริบทด้านเศรษฐกิจ ผลกระทบของการพัฒนาเศรษฐกิจอุตสาหกรรม 1. ด้านบวก 1.1 การปรับเปลี่ยนโครงสร้างการผลิตทำให้เกิดการผลิตสินค้าหลายอย่าง 1.2 ความเจริญของอุตสาหกรรมส่งผลถึงความก้าวหน้าของภาคเกษตรกรรม ธุรกิจบริการ 1.3 จ้างแรงงานมากขึ้น รายได้เพิ่มขึ้น 1.4 การศึกษาขยายตัวมากขึ้น ความต้องการสูงขึ้น 1.5 ชนบทเจริญขึ้น
  • 17. บริบทด้านเศรษฐกิจ ผลกระทบของการพัฒนาเศรษฐกิจอุตสาหกรรม 2. ด้านลบ 2.1 คนหนุ่มสาวละทิ้งชนบทและภาคเกษตรเข้าสู่เมือง 2.2 รายได้ภาคอุตสาหกรรมสูงกว่าภาคเกษตรมาก 2.3 เกิดปัญหามลพิษ สิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรม การจราจร ที่อยู่อาศัยแออัด ฯลฯ 2.4 รายได้ส่วนใหญ่ถูกส่งกลับนอกประเทศ เพราะเป็นการรับจ้างผลิต
  • 18. ด้านธุรกิจบริการ เกษตร ผู้บริโภค ธุรกิจบริการ อุตสาหกรรม ภาพแสดง : ธุรกิจบริการเป็นเครือข่ายเชื่อมโยงภาคอื่นๆ
  • 19. อาหาร สาธารณสุข ท่องเที่ยว การเงิน บ้านพัก เทคโนโลยี ประเภท ธุรกิจบริการ
  • 20. ปัจจัยที่มีผลต่อภาคธุรกิจ 1. การเจริญเติบโตของเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ 2. ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี 3. การผลิตภาคพื้นฐานอย่างเพียงพอ 4. การเปิดประตูสู่ตลาดโลก
  • 21. ปัจจัยระหว่างประเทศ 1. การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ เช่น APEC 2. ข้อตกลงระหว่างประเทศเรื่องภาษี 3. การจัดตั้งองค์การค้าโลกเพื่อคุ้มครองการแข่งขันทางการค้า
  • 22. ระบบเศรษฐกิจยุคใหม่ 1. เน้นการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย และความรู้ในการบริหารองค์กร 2. เน้นการไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม / ทรัพยากรธรรมชาติ 3. เน้นความร่วมมือที่เสมอภาค ไม่เลือกปฏิบัติ 4. เน้นการแข่งขันเสรี เป็นธรรม 5. ระบบซับซ้อนเชื่อมโยงถึงตั้งแต่ระบบผลิตถึงจำหน่าย 6. เน้นการผลิตที่ทันสมัย มีคุณภาพมาตรฐาน รวดเร็ว
  • 23. การพัฒนาการศึกษาที่เชื่อมต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ 1. ผู้จบการศึกษาทุกระดับมีมาตรฐานตามที่หลักสูตรกำหนด 2. พัฒนาการเข้าเรียนระดับมัธยมและช่วงชั้นให้สูงขึ้น 3. อุดมศึกษาและอาชีวศึกษาต้องสอดคล้องกับการพัฒนาเทคโนโลยี 4. พัฒนา กศน . ศูนย์ฝึกอาชีพ ในการฝึกฝนก่อนและระหว่างทำงาน 5. พัฒนาแรงงานและประชากรทุกระดับให้มีคุณภาพ
  • 24. ผลกระทบของบริบทเศรษฐกิจต่อการศึกษา 1. ท้องถิ่นที่เจริญทางเศรษฐกิจย่อมสนับสนุนการศึกษาให้มากขึ้น 2. สถานศึกษาต้องผลิตคนให้มีทักษะและประสบการณ์ตามความต้องการแรงงานของภาคต่างๆ 3. บริบทนี้จะให้ข้อมูลย้อนกลับเกี่ยวกับประสิทธิผลและคุณภาพการจัดการศึกษาแต่ละระดับ
  • 25. บริบทด้านการเมืองการปกครอง * การเมืองมี 2 ระบบ คือ อำนาจนิยม และ ประชาธิปไตย * การปกครองทุกระบบมีองค์ประกอบสำคัญคือ “อำนาจการตัดสินใจ” ของผู้นำเป็นตัวกำหนดเด็ดขาด - คนเดียวตัดสินใจ เป็น เผด็จการ - คณะบุคคลตัดสินใจ เป็น คณาธิปไตย - ประชาชนตัดสินใจ เป็น ประชาธิปไตย
  • 26. แนวทางการตัดสินใจของพระพรหมคุณาภรณ์ ( ประยุตธ์ ปยุตโต ) 1. เอาตัวเองเป็นใหญ่ เรียก อัตตาธิปไตย 2. ตัดสินใจตามกระแสนิยม หรือแรงกดดัน เรียก โลกาธิปไตย 3. เอาหลักความถูกต้องและสังคมเป็นเกณฑ์ เรียก ธรรมาธิปไตย ----------------------------------------- * ธรรมาธิปไตย คือ เกณฑ์ในการตัดสินใจของทุกกิจการในระบอบประชาธิปไตย *
  • 27. ปัจจัยทางการเมืองการปกครองกับการบริหารการศึกษา 1. การเมืองเป็นผู้กำหนดการศึกษา 2. ระบบการศึกษาไทยอยู่ภายใต้กรอบของราชการ 3. ระบบการศึกษาไทยขาดเอกภาพและการประสานระหว่างหน่วยงานผู้รับผิดชอบ 4. เป็นระบบที่รวมอำนาจเข้าสู่ส่วนกลาง
  • 28. ผลกระทบของระบบการเมืองการปกครองต่อการศึกษา 1. ระบบการเมืองการปกครองต้องรับผิดชอบในการกำหนดนโยบายตามกฎหมาย 2. เป็นผู้จัดโครงสร้างของระบบการศึกษา 3. เป็นผู้พัฒนาการจัดสรรงบประมาณ เงินอุดหนุน 4. เป็นผู้รับผิดชอบภารกิจทางการบริหารและตัดสินใจ
  • 29. แนวโน้มทางการศึกษา 1. กระบวนการสังเคราะห์แนวโน้ม 2. ภาพรวมของแนวโน้มทางการศึกษาในกระแสโลก 3. ผลกระทบของแนวโน้มทางการศึกษาโลกที่มีต่อการบริหารจัดการศึกษาไทย
  • 30. กระบวนการวิเคราะห์ “ การวิเคราะห์” ( Analysis ) นั้นเป็นการจำแนกแยกแยะสิ่งใดสิ่งหนึ่งหรือเรื่องใดเรื่องหนึ่งเพื่อค้นหาองค์ประกอบและความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบเหล่านั้น เพื่อช่วยให้เกิดความเข้าใจในเรื่องนั้น ( ทิศนา แขมณี และคณะ 2549 : 36) “ การวิเคราะห์” ถือว่าเป็นกิจกรรมส่วนหนึ่งของ “การสังเคราะห์” ทั้งนี้เพราะ “การสังเคราะห์” เป็นการนำความรู้ที่ผ่าน “การวิเคราะห์” มาผสมผสานสร้างสิ่งใหม่ขึ้นมา
  • 31.
  • 32. แนวคิดพุทธศาสตร์ รูปแบบต่างๆ ของการคิด แนวคิดพุทธศาสตร์ แนวคิดพุทธศาสตร์ 1. คิดแบบสืบสาวเหตุปัจจัย 2. คิดแบบแยกแยะส่วนประกอบ 3. คิดแบบสามัญลักษณ์ 4. คิดแบบอริยสัจ 5. คิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ์ 6. คิดแบบคุณโทษและทางออก 7. คิดแบบคุณค่าแท้คุณค่าเทียม 8. คิดแบบอบายปลุกเร้าคุณธรรม 9. คิดแบบวิภัชชวาท 1. คิดแบบเปะปะ 2. คิดแบบวิทยาศาสตร์ 3. คิดแบบอิทัปปัจจยตา 4. คิดแบบอริยสัจ 5. คิดแบบทวิลักษณ์ 6. คิดแบบทางบวก 7. คิดแบบไม่คิด 1. คิดหลากหลายวิธี 2. คิดท้าทายความคิดเดิม 3. คิดให้เกิดผล 4. คิดแบบใช้แนวคิดเก่าสร้างความคิดใหม่ 5. คิดที่มุ่งให้ความสำคัญในเรื่อง “ความคิดรวบยอด” ( Concept )
  • 33. Deductive ( การอนุมาน ) เครื่องมือของปรัชญา กระบวนการค้นหาเหตุผล ( Logic ) นำข้อเท็จจริงที่พบมาสรุปเป็นความรู้ใหม่ สรุปจาก ใหญ่ ไปหา ย่อย Inductive ( การอุปมาน ) สังเกตความรู้ย่อย หาเหตุผลมาอ้าง แล้วสรุปเป็นความรู้ใหม่ สรุปจาก ย่อย ไปหา ใหญ่ กระบวนการคิดค้นหาความจริงของศาสตร์ทางปรัชญา
  • 34. Rationalism เหตุผลนิยม ทฤษฎีกำเนิดความรู้ในมิติปรัชญาของศาสตร์ Rene Descartes ความรู้ได้จากการใช้ความคิด ( ปัญญา ) มาพิจารณาเหตุผลที่ชัดเจน Empiricism ประจักษ์นิยม ( อุปมาน นิยม ) John Locke ความรู้เกิดจากประสาทสัมผัส โดยเริ่มจากประสบการณ์ ได้ข้อเท็จจริงแล้วนำมาคิดหาเหตุผล Apriorism อนุมานนิยม Immanuel Kant ความรู้ได้จาก 1. ประสบการณ์ ได้เนื้อหาความรู้ ( Matter of Knowledge ) 2. การศึกษาหาเหตุผล ได้รูปแบบของความรู้ ( Form of Knowledge ) Intuitionism สัญชาตญาณนิยม Henri Bergson ความรู้จริงแท้ได้มาโดยตรงจากสัญชาตญาณเป็นการหยั่งรู้ฉับพลันด้วยตนเอง
  • 35. Computer and Communication หลักการสร้างองค์ความรู้ในมิติของปัญญาประดิษฐ์ Hardware Software People ware Contents Learning Objective Learning Resource Learning IT based activity Learning Analysis and Synthesis Critical Thinking Reasoning Problem Solving Knowledge Construction หลักการสร้างองค์ความรู้ในมิติของปัญญาประดิษฐ์
  • 36. วิธีการสร้างองค์ความรู้ใหม่ในการประดิษฐ์ ( Computer ) ที่ใช้ในการสร้างฐานความรอบรู้ในระบบ Expert System 1. สร้างรูปแบบความรู้จากสิ่งที่ไม่รู้ 2. สร้างความสมดุลที่เหมาะสมระหว่างการเรียนรู้ด้วยวิธีการอนุมาน ( Deductive ) และอุปมาน ( Inductive ) 3. สร้างความคิดเพื่อหาข้อสรุปโดยการให้เหตุผล
  • 37. ลำดับขั้นตอนการพัฒนาองค์ความรู้ ( Form of Knowledge ของ Kant ) 3. Speculative Knowledge ( ความรู้แห่งญาณ ) 2. Conceptual Knowledge ( ความรู้แห่งมโนภาพ ) 1. Perceptual Knowledge ( ความรู้แห่งผัสสะ )
  • 38. กระบวนการสังเคราะห์สิ่งใหม่ 5. สร้างสิ่งใหม่ตามวัตถุประสงค์โดยอาศัยกรอบแนวคิดที่กำหนดรวมทั้งข้อมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 4. นำข้อมูลมาทำกรอบแนวคิดสำหรับสร้างสิ่งใหม่ 3. นำข้อมูลที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ 2. ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 1. กำหนดวัตถุประสงค์ของสิ่งใหม่ที่ต้องการสร้าง
  • 39.
  • 40. ด้านการเมือง ภาพแนวโน้มทางการศึกษาในกระแสโลกที่สำคัญ Good Governance ด้านสิ่งแวดล้อม Green Environment ด้านเศรษฐกิจ Knowledge-based Economy ด้านสาธารณสุข Holistic ด้านเทคโนโลยี Safe Technology ด้านสังคม Learning Society Weightless Society ด้านการศึกษา Interdisciplinary ด้านวัฒนธรรม Contemporary Culture บริบทโลก ใน ศ . ต . 21
  • 41. คลื่นลูกที่ 5 พลวัตของสังคมโลกในศตวรรษที่ 21 สังคมแห่งปัญญา คลื่นลูกที่ 1 สังคมเกษตรกรรม คลื่นลูกที่ 3 สังคมแห่งเทคโนฯ คลื่นลูกที่ 4 สังคมแห่งการเรียนรู้ คลื่นลูกที่ 2 สังคมอุตสาหกรรม
  • 42.
  • 44.
  • 45. สังคมแห่งปัญญา ภาพรวมภาพอนาคตของสังคมไทยในศตวรรษที่ 21 ตามแนวคิดของ ดร . วิชัย ตันศิริ สังคมแห่งความเป็นพลเมืองดี สังคมแห่งนักบุกเบิกทางเศรษฐกิจและการจัดการ สังคมวิทยาศาสตร์ สังคมไทย ในอนาคต
  • 46.
  • 47. ผลกระทบในรูปของระลอกคลื่นจากระดับบุคคลสู่ระดับสากล เอกัตต ( บุคคล ) ระหว่างบุคคล องค์กร ชุมชน วัฒนธรรม ชาติ นานาชาติ สากล
  • 48.
  • 49. การศึกษาในระบบโรงเรียน องค์ประกอบของการศึกษาตลอดชีวิต ( Lifelong Education ) Formal Education Formal Education การศึกษานอกระบบโรงเรียน Non-formal Education การศึกษาตามอัธยาศัย Informal Education Informal Education Formal Education
  • 50. ทักษะหลากหลายที่เน้นในหลักสูตร ตามความสนใจ ความถนัด ทักษะค้นความรู้ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน ทักษะความคิดสังเกต ทดลอง ปฏิบัติ ความดีงาม ความรับผิดชอบต่อสังคม ทักษะความ สามารถ เหมาะสมกับทุกระดับ ตามความแตกต่างระหว่างบุคคล ผ่านประสบการณ์ สอดคล้องกับท้องถิ่น ยึดเด็กเป็นสำคัญ มีคุณสมบัติที่พึงประสงค์อยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
  • 51. “ เนื้อหา” หลักสูตรในยุคสารสนเทศ ลดเนื้อหาที่เป็น “ข้อเท็จจริง” ให้เหลือเฉพาะที่จำเป็นจริงๆ เน้น Meta-Subject ( อภิวิชา ) ซึ่งว่าด้วยการเรียนรู้ + การจัดการสารสนเทศ เน้น Civic Education ( ประชาสังคม ) 1. อภิวิชาว่าด้วยสารสนเทศ 2. อภิวิชาว่าด้วยสื่อ 3. อภิวิชาว่าด้วยการเรียนรู้ 4. อภิวิชาว่าด้วยการนำเสนอและสื่อสาร 5. อภิวิชาว่าด้วยการทำงานเป็นทีม โครงสร้างเนื้อหาของหลักสูตรในโลกยุคสารสนเทศ
  • 52.
  • 53. Industrial Revolution ลำดับการเปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญ่ของบริบทโลก Product – focused  Economy of Scales Microchip Silicon Brain – Focused  Knowledge – based Economy Nanochip Smart Material  Economy of Speed
  • 54. กระบวนทัศน์เก่า การเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างกระบวนทัศน์เก่ากับกระบวนทัศน์ใหม่ 1. มองโลกแบบแยกส่วน ( Atomism ) 2. เชื่อในเรื่องการแข่งขัน แสวงหากำไร 3. เชื่อว่ามนุษย์อยู่เหนือธรรมชาติ 4. เชื่อในหลักรวมศูนย์อำนาจ และเชื่อในประชาธิปไตยแบบมีตัวตน 5. เน้นความสำคัญของวัตถุ สสารที่เหนือจิตวิญญาณ 6. เน้นความสำคัญของเศรษฐกิจ 7. เชื่อว่าความจริงต้องเป็นระบบ 8. Text-based Learning กระบวนทัศน์ใหม่ 1. มองโลกแบบองค์รวม ( Holistic ) 2. เชื่อในความร่วมมือ การประสานประโยชน์และสันติภาพ 3. เชื่อในความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับธรรมชาติและต้องเคารพธรรมชาติ 4. เชื่อในการกระจายอำนาจและประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม 5. เน้นความสำคัญของพลังและจิตวิญญาณ 6. เน้นความสำคัญของคุณค่าความเป็นมนุษย์ 7. เชื่อว่าโลกตั้งอยู่บนพื้นฐานความ เปลี่ยนแปลง 8. IT-based Learning
  • 55. Synohronous Learning รูปแบบใหม่ของการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 - มีการกำหนดเวลา สถานที่ บุคคลในการเรียนการสอน - ใช้เทคโนโลยีมาช่วยสอน - ผู้เรียนและผู้สอนสามารถปฏิบัติสัมพันธ์ได้ทันทีทันใด Asynchronous Learning - เรียนรู้ด้วยตนเอง - จัดการเรียนการสอนผ่านเทคโนโลยี - ผู้เรียนและผู้สอนสามารถปฏิสัมพันธ์ได้หลายทางแต่ต่างเวลา
  • 56. 4 ฐานหลักของเป้าหมายการจัดการศึกษาไทยในอนาคต ฐาน เศรษฐกิจ ฐานปัญญา ฐาน สิ่งแวดล้อม ฐานชุมชน วิสัยทัศน์การจัดการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21 ตามแนวคิดของ เสน่ห์ จามริก
  • 57. ภาพอนาคตของการจัดการศึกษาไทยในยุคโลกาภิวัตน์ รูปแบบการจัดการศึกษา : หลากหลาย มีดุลยภาพ อยู่บนฐานเทคโนโลยี เนื้อหา : เน้นสุนทรียศึกษา และพลศึกษา เป้าหมายการศึกษา : มุ่งพัฒนาวุฒิภาวะของความเป็นมนุษย์ ปรัชญาการศึกษา : ชีวิตที่มีความสุขคือชีวิตที่มีการเรียนรู้ ระบบการศึกษา : เน้นการสร้างกระบวนทัศน์การเรียนรู้
  • 58. กระบวนการสังเคราะห์สิ่งใหม่ ทำการวิเคราะห์โอกาสสำเร็จ และอุปสรรคในการบริหารจัดการศึกษาของสถานศึกษาในอนาคต ศึกษาข้อมูลเพื่อสังเคราะห์แนวโน้มของสถานศึกษาในอนาคต กำหนดปรัชญาและเป้าหมายของสถานศึกษา ลำดับขั้นตอนการกำหนดกระบวนทัศน์ใหม่ของสถานศึกษา
  • 59.
  • 60. ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการกำหนดลักษณะการศึกษาที่พึงประสงค์ของสถานศึกษา รูปแบบการจัดการศึกษา : หลากหลาย มีดุลยภาพ อยู่บนฐานเทคโนโลยี เนื้อหา : เน้นสุนทรียศึกษา และพลศึกษา เป้าหมายการศึกษา : มุ่งพัฒนาวุฒิภาวะของความเป็นมนุษย์ ปรัชญาการศึกษา : ชีวิตที่มีความสุขคือชีวิตที่มีการเรียนรู้ ระบบการศึกษา : เน้นการสร้างกระบวนทัศน์การเรียนรู้
  • 61. ลำดับขั้นตอน “การออกแบบ” การบริหารจัดการศึกษาของสถานศึกษาให้สอดคล้องกับบริบทโลกและบริบทไทย วิเคราะห์โอกาสสำเร็จของการบริหารจัดการศึกษา กำหนดรูปแบบการบริหารจัดการ วิเคราะห์ผลการะทบของบริบทที่มีต่อสถานศึกษา วิเคราะห์สถานภาพปัจจุบันของสถานศึกษา
  • 62.
  • 63.