SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  163
Télécharger pour lire hors ligne
น
อนุกรมวิธาน
TAXONOMY
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลาย
ทางชีวภาพ
การจัดหมวดหมู่
ของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลาย
ของพืชและสัตว์
ความหลากหลายทาง
ชีวภาพกับการดารงชีวิต
เทคโนโลยีชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
• ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ ที่ดารงชีวิตอยู่ในแหล่งที่อยู่อาศัยเดียวกันหรือแตกต่างกัน
• สิ่งมีชีวิตต่างชนิดกันจะมีความแตกต่างกันในด้านชนิดและจานวน หรือทางสายพันธุกรรม
ความหมายของความหลากหลายทางชีวภาพ
นกฟินช์ บนหมู่เกาะกาลาปาโกส แต่ละชนิดจะมีขนาด รูปร่าง และจะงอยปาก
แตกต่างกัน เป็นผลมาจากชนิดของอาหารที่กินและสภาพแวดล้อมที่เป็นแหล่งอาศัย
ความหลากหลายทางระบบนิเวศ
เป็นความหลากหลายของแหล่งที่อยู่ที่สิ่งมีชีวิตนั้นอาศัยอยู่ เพราะสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดจะเลือกสภาพแวดล้อม หรือแหล่งที่อยู่อาศัยให้เหมาะสมกับการดารงชีวิตและ
การขยายเผ่าพันธุ์
ประเภทของความหลากหลายทางชีวภาพ
ระบบนิเวศป่าไม้ ระบบนิเวศทะเลทราย
ระบบนิเวศน้าเค็ม
บริเวณต่างๆ ของโลกมีลักษณะทางกายภาพของสิ่งแวดล้อมแตกต่างกัน
ทาให้มีระบบนิเวศแตกต่างกัน
ระบบนิเวศป่าชายเลน
ความหลากหลายทางชนิดพันธุ์
เป็นความหลากหลายที่สามารถพบเห็นได้ชัดเจน เกี่ยวข้องกับจานวนชนิดของสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่บนโลก ซึ่งสิ่งมีชีวิตบนโลกอาจมีจานวนถึง 50 ล้านชนิด
ความหลากหลายทางพันธุกรรม
เป็นความหลากหลายที่ปรากฏไม่ชัดเจน โดยสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะภายนอกคล้ายกันมากอาจมีองค์ประกอบทางพันธุกรรมที่แตกต่าง
ความหลากทางพันธุกรรมที่เกิดโดยธรรมชาติ
สิ่งมีชีวิตมีการสืบพันธุ์เพื่อดารงเผ่าพันธุ์
ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการผสมพันธุ์ภายในสปีชีส์เดียวกัน
เช่น การผสมพันธุ์ระหว่างพืชที่ทนต่อแมลงศัตรูพืชด้วย
กันเอง
แต่บางกรณีเป็นการผสมพันธุ์ข้ามสปีชีส์ ซึ่งจะทาให้เกิดความหลากหลายทางพันธุกรรมขึ้น เช่น การผสมพันธุ์ระหว่างพืชที่ทนต่อแมลงศัตรูพืชกับพืชที่ทนต่อ
เชื้อราซึ่งจะทาให้ได้พืชที่ทนต่อทั้งแมลงศัตรูพืชและเชื้อรา
การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่เกิดจากการกระทาของมนุษย์
• การใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการหลอมรวมเซลล์สืบพันธุ์ของแกะกับแพะ แล้วใส่เข้าไปให้เจริญเติบโตในมดลูกของแกะ ทาให้ได้สัตว์ลูกผสมสายพันธุ์ใหม่มีชื่อว่า
กีป
• ลักษณะเด่นของกีป คือ มีเขาและขน ที่มีลักษณะผสมระหว่างขนแพะกับขนแกะ
• นอกจากนี้ ก็มีการผสมพันธุ์สุนัขระหว่างสายพันธุ์ต่างๆ ด้วย
การจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต
การจาแนกสิ่งมีชีวิตตามลักษณะทางธรรมชาติ
อาศัยลักษณะทางธรรมชาติ ลักษณะภายนอกหรือลักษณะต่างๆ ที่สังเกตเห็นได้
เช่น ลักษณะทางกายวิภาคศาสตร์ สรีรวิทยา การเจริญเติบโตของตัวอ่อน เป็นต้น
ปลา ซาลามานเดอร์ กระต่าย มนุษย์
การจาแนกสิ่งมีชีวิตโดยอาศัยลักษณะทางพันธุกรรม
อาศัยลักษณะทางพันธุกรรมและการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การจาแนกสิ่งมีชีวิต
• ลักษณะภายนอกและโครงสร้างภายในของร่างกาย: ใช้แบ่งสิ่งมีชีวิตออกเป็นกลุ่มใหญ่ๆ
• แบบแผนของการเจริญเติบโต: ใช้หลักง่ายๆ คือ สิ่งมีชีวิตใดที่มีลักษณะของตัวอ่อนคล้ายคลึงกันมาก
ย่อมมีวิวัฒนาการใกล้กันมากด้วย
• ซากดึกดาบรรพ์: สิ่งมีชีวิตใดที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกัน ย่อมมีซากดึกดาบรรพ์คล้ายคลึงกัน และอาจทา
ให้ทราบถึงบรรพบุรุษของสิ่งมีชีวิตนั้นๆ ด้วย
ลักษณะที่ใช้ในการจัดจาแนกสิ่งมีชีวิต
• โครงสร้างของเซลล์และออร์แกเนลล์: เป็นการศึกษาในระดับเซลล์และส่วนประกอบของเซลล์
• สรีรวิทยาและการสังเคราะห์สารเคมี: สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดจะมีโครงสร้างทางสรีรวิทยาต่างกัน ดังนั้นการสังเคราะห์สารต่างๆ ในร่างกายย่อมต่างกันด้วย
• ลักษณะทางพันธุกรรม: เป็นวิธีที่มีกระบวนการซับซ้อนและยุ่งยาก
• ไดโคโตมัสคีย์ เป็นเครื่องมือที่ใช้จัดจาแนกสิ่งมีชีวิตออกเป็นกลุ่มย่อย โดยพิจารณาโครงสร้างที่แตกต่างกันเป็นคู่ๆ ทีละลักษณะ ซึ่งทาให้การพิจารณาง่ายขึ้น
• สิ่งมีชีวิตแต่ละกลุ่มจะมีไดโคโตมัสคีย์ที่ใช้แยกกลุ่มย่อยของสิ่งมีชีวิตนั้นๆ
เกณฑ์ในการจัดจาแนกสิ่งมีชีวิต
1. ก. มีขน.........................................................................................................................ดูข้อ 2.
ข. ไม่มีขน..................................................................................................................ดูข้อ 3.
2. ก. ขนเป็นเส้น.............................................................................สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
ข. ขนเป็นแผงแบบขนนก..............................................................................สัตว์ปีก
3. ก. มีครีบคู่ มีช่องเหงือก...............................................................สัตว์น้ำพวกปลำ
ข. ไม่มีครีบคู่............................................................................................................ดูข้อ 4.
4. ก. ผิวหนังมีเกล็ด.................................................................................สัตว์เลื้อยคลำน
ข. ผิวหนังไม่มีเกล็ด.....................................................สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก
สปีชีส์ (Species)
จีนัส (Genus)
แฟมิลี (Family)
ออร์เดอร์ (Order)
คลาส (Class)
ไฟลัม (Phylum) หรือดิวิชัน (Division)
อาณาจักร (Kingdom)
คาโรลัส ลินเนียส นักธรรมชาติวิทยาชาวสวีเดน ได้ริเริ่มการจัดจาแนกสิ่งมีชีวิต โดยการคัดเลือกประเภทที่มีความใกล้เคียงกันไว้ด้วยกัน ซึ่งจะเริ่มจาก
ขอบเขตที่กว้าง แล้วค่อยๆ แคบลง
ลาดับในการจัดจาแนกสิ่งมีชีวิต
ชื่อสามัญ
• ชื่อที่เรียกกันทั่วไป ตามลักษณะหรือรูปร่างของสิ่งมีชีวิตชนิดนั้น ตัวอย่างเช่น ดาวทะเล ว่านหางจระเข้ ทากบก เป็นต้น
ชื่อวิทยาศาสตร์
• ชื่อที่กาหนดขึ้นตามหลักสากลและเป็นที่ยอมรับกันในกลุ่มนักวิทยาศาสตร์ ซึ่ง
คาโรลัส ลินเนียส เป็นผู้ริเริ่มการใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ โดยกาหนดให้สิ่งมีชีวิตทุกชนิดประกอบด้วยชื่อ 2 ชื่อ โดยชื่อหน้า คือ ชื่อสกุล และชื่อหลัง คือ คาระบุชนิด
• การเรียกชื่อดังกล่าวเรียกว่า การตั้งชื่อแบบทวินาม
ชื่อของสิ่งมีชีวิต
มะม่วงหิมพานต์ ชื่อวิทยาศาสตร์:
Anacardium occidentale L.
ข้าว ชื่อวิทยาศาสตร์: Oryza sativa L.
หลักเกณฑ์การตั้งชื่อแบบทวินาม
• อักษรตัวแรกของชื่อสกุลต้องเป็นภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่ ตัวอักษรที่เหลือเป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมด
• การเขียนจะต้องแตกต่างจากอักษรตัวอื่น โดยการเขียนตัวเอน ตัวหนา หรือขีดเส้นใต้ อย่างใดอย่างหนึ่ง
โลมาปากขวด ชื่อวิทยาศาสตร์:
Tursiops truncatus(Montagu, 1821)
ลิงแสม ชื่อวิทยาศาสตร์:
Macaca fascicularis(Raffles, 1821)
ไก่ฟ้าพญาลอ ชื่อวิทยาศาสตร์:
Lophura diardi (Bonaparte, 1856)
อาริสโตเติล
จัดจาแนกสิ่งมีชีวิต ออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่
1. กลุ่มพืช ใช้อายุและความสูงเป็นเกณฑ์ แบ่งออกเป็น3กลุ่ม คือไม้
ยืนต้น
ไม้พุ่ม และไม้ล้มลุก
2. กลุ่มสัตว์ ใช้สีของเลือดเป็นเกณฑ์ แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ
กลุ่มที่มีเลือดสีแดง และกลุ่มที่ไม่มีเลือดสีแดง
แนวคิดการจัดจาแนกสิ่งมีชีวิต
เอิร์นสต์ แฮคเกล
จัดจาแนกสิ่งมีชีวิต เป็น 3 อาณาจักร
1. อาณาจักรพืช คือ พวกที่สามารถสร้างอาหารเองได้ และเคลื่อนที่ด้วย
ตัวเองไม่ได้
2. อาณาจักรสัตว์ คือ พวกที่ไม่สามารถสร้างอาหารเองได้ และเคลื่อนที่
ด้วยตัวเองได้
3. อาณาจักรโพรทิสตา คือ พวกที่ก้ากึ่งระหว่างพืชและสัตว์ มีโครงสร้าง
ไม่ซับซ้อนนัก เช่น ยูกลีนา พารามีเซียม เป็นต้น
เฮอร์เบิร์ต โคปแลนด์
จัดจาแนกสิ่งมีชีวิต เป็น 4 อาณาจักร
1. อาณาจักรมอเนอรา คือ สิ่งมีชีวิตที่มีเซลล์แบบโพรแคริโอต (ไม่มีเยื่อ
หุ้มนิวเคลียส) ได้แก่ แบคทีเรีย และสาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน
2. อาณาจักรโพรทิสตา คือ สิ่งมีชีวิตที่มีเซลล์แบบยูแคริโอต (มีเยื่อหุ้ม
นิวเคลียส) แต่เซลล์ยังไม่รวมกลุ่มกันเป็นเนื้อเยื่อและอวัยวะ ได้แก่ โพรโตซัว รา
สาหร่าย และราเมือก
3. อาณาจักรพืช คือ สิ่งมีชีวิตที่มีเซลล์แบบยูแคริโอต ซึ่งมีเซลล์หลาย
เซลล์ทางานร่วมกันเป็นระบบเกิดเป็นเนื้อเยื่อและอวัยวะ และสามารถสังเคราะห์ด้วยแสง
ได้
4. อาณาจักรสัตว์ คือ สิ่งมีชีวิตที่มีเซลล์แบบยูแคริโอต ไม่สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้ จึงต้องได้รับอาหารจากสิ่งมีชีวิตอื่น
รอเบิร์ต วิตเทเกอร์
จัดจาแนกสิ่งมีชีวิต เป็น 5 อาณาจักร ซึ่งเป็นที่นิยมในปัจจุบัน
1. อาณาจักรมอเนอรา คล้ายกับแนวคิดของโคปแลนด์
2. อาณาจักรโพรทิสตา คือ กลุ่มสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะแตกต่างกันมาก
และมีลักษณะก้ากึ่งระหว่าพืชและสัตว์
3. อาณาจักรฟังไจ คือ กลุ่มสิ่งมีชีวิตที่ ไม่สามารถสร้างอาหารเองได้
ได้รับอาหารจากการดูดซึมจากภายนอก โดยการปล่อยเอนไซม์ไปย่อยอาหารภายนอก
เซลล์
4. อาณาจักรพืช คือ กลุ่มสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะคล้ายกับแนวคิดของโคปแลนด์
5. อาณาจักรสัตว์ คือ กลุ่มสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะคล้ายกับแนวคิดของโคปแลนด์
อาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera)
- เป็นสิ่งมีชีวิตจาพวกที่นิวเคลียสไม่มีผนัง
ห่อหุ้ม (prokaryotic nucleus)
ภายในเซลล์ไม่แสดงขอบเขตของ
นิวเคลียสชัดเจน
- เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว หรือต่อกันเป็น
สาย
รูปร่างแบคทีเรีย
1. แบบกลม (coccus)
2. แบบท่อน (bacillus)
3. แบบเกลียว (spirallum)
อาร์เคียแบคทีเรีย ผนังเซลล์ไม่มี เพปทิโดไกลแคน ดารงชีวิตในแหล่ง
น้าพุร้อน ทะเลที่มีน้าเค็มจัด บริเวณที่มีความเป็นกรดสูง และบริเวณทะเล
ลึก แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ
1. กลุ่มยูริอาร์เคียโอตา (Euryarchaeota) ซึ่งสร้างมีเทนและชอบความเค็ม
จัด
2. กลุ่มครีนาร์เคียโอตา (Crenarchaeota) ซึ่งชอบอุณหภูมิสูงและกรดจัด
อาณาจักรย่อยอาร์เคียแบคทีเรีย
(Subkingdom Archaebacteria)
อาณาจักรย่อยยูแบคทีเรีย
(Subkingdom Eubacteria)
แบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ ๆ 5 กลุ่ม คือ
1. กลุ่มโพรทีโอแบคทีเรีย (Proteobacteria)
2. กลุ่มคลาไมเดีย (Chlamydias)
3. กลุ่มสไปโรคีท (Spirochetes)
4. กลุ่มแบคทีเรียแกรมบวก (Gram-Positive Bacteria)
5. กลุ่มไซยาโนแบคทีเรีย (Cyanobacteria)
กลุ่มโพรทีโอแบคทีเรีย (Proteobacteria)
• พวกสังเคราะห์ด้วยแสงไม่ได้
• พวกช่วยตรึงแก๊สไนโตรเจนในอากาศมาสร้างเป็นสารประกอบไนโตรเจน
ในดิน
ปมรากถั่ว
การตรึงไนโตรเจน (Nitrogen fixsion)
พืชตระกูลถั่วจะมีความสามารถในการตรึงไนโตรเจนได้ดีกว่าพืชตระกูลอื่น
เนื่องจากมีแบคทีเรีย ไรโซเบียม (Rhizobium sp.) อาศัยอยู่
กลุ่มคลาไมเดีย (Chlamydias)
เป็นปรสิตในเซลล์สัตว์ทาให้เกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น
โรคโกโนเรียหรือหนองใน เป็นต้น
กลุ่มสไปโรคีท (Spirochetes)
มีรูปทรงเกลียว ดารงชีวิตแบบอิสระ แต่บางสปีชีส์เป็นสาเหตุของโรคซิฟิลิส
โรคฉี่หนู (เล็ปโตสไปโรซีส)
เล็บโตสไปร่า อินเทอโรแกนส์ (Leptospira interrogans)
กลุ่มแบคทีเรียแกรมบวก (Gram-Positive Bacteria)
Steptomyces sp.ใช้ทายาปฏิชีวนะ เช่น ยาสเตร็บโตมัยซิน ยาเต
ตราไซคลิน เป็นต้น
Bacillus sp. สามารถสร้างเอนโดสปอร์ (endospore) ทาให้ทนทาน
ต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมได้ดี
บางชนิดเป็นสาเหตุทาให้เกิดโรคแอนแทรกซ์
Lactobacillus sp. เป็นพวกผลิตกรดแลกติก ได้ เช่นจึงนามาใช้ใน
อุตสาหกรรมอาหาร ได้แก่ การทาเนย ผักดองและโยเกิร์ต
ไมโคพลาสมา (mycoplasma) เป็นเซลล์ที่ไม่มีผนังเซลล์มีเพียง เยื่อหุ้มเซลล์
ที่ประกอบด้วยชั้นของไขมัน ส่วนใหญ่ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตอื่น
แต่มีบางพวกทาให้เกิดโรคปอดบวมในคนและวัว
Lactobacillus bulgaricus
เป็นแบคทีเรียที่ใช้ทาโย
เกิร์ต
กลุ่มไซยาโนแบคทีเรีย (Cyanobacteria)
สังเคราะห์แสงได้ มี คลอโรฟิลล์ เอ แคโรทีนอยด์ และไฟโคบิลิน
นักวิทยาศาสตร์คาดว่า เป็นพวกทาให้ออกซิเจนในบรรยากาศเพิ่มมากขึ้นก่อให้เกิด
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตที่หายใจโดยใช้ออกซิเจนในปัจจุบัน
แอนาบีนา (Anabaena) นอสตอก
(Nostoc) และออสิลลาทอเรีย
(Oscillatoria) สามารถตรึงแก๊สไนโต
เจนในอากาศ ให้เป็นสารประกอบไน
เตรต
แอนนาบีนา
เป็นไซยาโนแบคทีเรียที่สามารถ
ตรึงไนโตรเจนในอากาศได้
Cyanobacteria
สาหร่ายเกลียวทอง คือ สไปรูไลนา พลาเทนสิส (Spirulina
platensis) จัดเป็นแบคทีเรียในกลุ่มที่เรียกว่าไซยาโนแบคทีเรีย
- สาหร่ายเกลียวทองเป็นสาหร่ายที่มีโปรตีนสูงถึงร้อยละ 60-70 เมื่อ
เปรียบเทียบกับพืชชนิดอื่นๆ เช่น ถั่วเหลือง และยังพบว่าโปรตีน
ของสาหร่ายเกลียวทองมีปริมาณสูงกว่าเนื้อสัตว์
- มีวิตามินหลายชนิด เช่น วิตามินบี 1,2,3 และ 12 วิตามินซี
วิตามินอี และเบตาแคโรทีน และยังประกอบไปด้วยกรดแกมมาลิ
โนเลนิก (GLA) แหล่งของโอเมกา 3 (Omega 3)
อาณาจักรโพรติสตา
(Kingdom Protista)
อาณาจักรโพรติสตา ( Kingdom Potista )
ลักษณะของสิ่งมีชีวิต
- เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวหรือหลายเซลล์
- บางชนิดมีคลอโรพลาสต์เหมือนพืช
- บางชนิดมีแฟลเจลลัม บางชนิดมีซีเลีย เป็นโครงสร้างในการเคลื่อนที่
- เป็นยูคาริโอตกลุ่มแรกที่มีวิวัฒนาการมาจากเซลล์โพคาริโอต
- พวกเซลล์เดียวมีขนาดเล็ก พวกหลายเซลล์มีขนาดใหญ่แต่ยังไม่พัฒนาเป็นเนื้อเยื่อ
- การดารงชีวิต มีการดารงชีวิตแบบอิสระ พึ่งพา หรือ ปรสิต
อาณาจักรโพรติสตา ( Kingdom Potista )
ไฟลัมดิโพลโมนาดิดา ( Diplomonadida )
- เป็นกลุ่มโพติสที่เป็นเซลล์ยูคาริโอตที่ยังไม่มีออรืแกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม
- มีนิวเคลียส 2 อัน
- มีแฟลเจลลาหลายเส้น
Ex. Giardia lamblia ปรสิตในลาไส้คน
อาณาจักรโพรติสตา ( Kingdom Potista )
ไฟลัมพาราบาซาลิด ( Parabasalid )
เป็นโพรทิสต์ที่มีแฟลเจลลาเป็นคู่และผิวเยื่อหุ้ม ลักษณะเป็นรอยหยักคล้าย
คลื่น เช่น
- ไตรโคนิมฟา (trichonympha) ที่อาศัยอยู่ในลาไส้ปลวก
จะดารงชีวิตแบบภาวะพึ่งพา โดยสร้างเอนไซม์ย่อยเซลลูโลสในไม้ให้กับปลวก
- ไตรโคโมแนส (trichomonas) เป็นโพรทิสต์ที่ทาให้เกิดอาการติดเชื้อในช่องคลอด
อาณาจักรโพรติสตา ( Kingdom Potista )
ไฟลัมยูกลีโนซัว (Euglenozoa)
เป็นโพรทิสต์กลุ่มที่เคลื่อนที่โดยใช้แฟลเจลลาและขณะเคลื่อนที่รูปร่างจะไม่
คงที่ มีเซลล์เดียว ไม่มีผนังเซลล์ บางชนิดมีรงควัตถุพวกคลอโรฟิลล์จึงสามารถ
สร้างอาหารเองได้โดยกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง พบดารงชีวิตในแหล่งน้าจืดเป็น
ส่วนใหญ่โดยเฉพาะบริเวณที่มีอินทรียสารมาก จึงเป็นสาเหตุทาให้เกิด
water bloom เช่นเดียวกับพวกสาหร่ายสีเขียว มีการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
อาณาจักรโพรติสตา ( Kingdom Potista )
ไฟลัมยูกลีโนซัว ( Euglenozoa )
Ex. ยูกลีนา ( Euglena ) เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่มีสารสีแคโรทีน และ
คลอโรฟิลล์ มีอายสปอต ในการตอบสนองต่อแสง
ทริปพาโนโซม ( Trypanosoma ) โพรติสต์ที่ดารงชีวิตเป็นปรสิตในเลือดสัตว์
ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง ทาให้เกิดโรคเหงาหลับ
อาณาจักรโพรติสตา ( Kingdom Potista )
ไฟลัมแอลวีโอลาตา ( Alveolata )
- โพรติสต์เซลล์เดียว ที่มีช่องว่างใต้เยื่อหุ้มเซลล์ เรียก “ แอลวีโอไล ”
ไดโนฟลเจลเลต
เป็นโพรติสต์เซลล์เดียวที่มีสารแคโรทีน และคลอโรพลาสติด มีแฟลเจลัม 2
เส้น มีการสะสมสารพิษในตัว เมื่อน้าทะเลมีสารอินทรีย์จากมลภาวะซึ่งเป็นอาหารของ
มัน จะมีการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เกิดปรากฏการณ์ขี้ปลาวาฬ ( Red tide )
อาณาจักรโพรติสตา ( Kingdom Potista )
ไฟลัมแอลวีโอลาตา ( Alveolata )
เอพลิคอมเพลซา
1. เป็นโพรทิสต์ที่มีขนาดเล็ก ส่วนใหญ่ดารงชีวิตเป็นปรสิต
2. ไม่มีโครงสร้างในการเคลื่อนที่ ยกเว้นในเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้
3. มีโครงสร้างสาหรับแทงผ่านเซลล์โฮสต์
Ex. พลาสโมเดียม (Plasmodium)
ทาให้เกิดโรคมาลาเรียในคนและสัตว์อื่นๆ
โดยมียุงก้นปล่องเป็นพาหะ
อาณาจักรโพรติสตา ( Kingdom Potista )
ไฟลัมแอลวีโอลาตา ( Alveolata )
ซิลิเอต(Ciliates) จัดเป็นกลุ่มที่มีความหลากหลายของสปีชีส์มากที่สุด มีลักษณะดังนี้
1. เป็นโพรทิสต์ที่ใช้ซิเลียในการเคลื่อนที่
2. อาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีน้าหรือความชื้นสูง
Ex. ตัวอย่างของโพรทิสต์กลุ่มซิลิเอต ได้แก่
พารามีเซียม (Paramecium)
วอร์ติเซลลา (Voticella)
อาณาจักรโพรติสฟตา ( Kingdom Potista )
ไฟลัมสตรามีโนพิลา ( Stramenopila )
เป็นโพรทิสต์ที่ส่วนใหญ่สร้างอาหารโดยกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง เรียกกัน
ทั่วไปว่า สาหร่ายหรือแอลจี (Algae)
Ex. สาหร่ายสีน้าตาล (brown algae) สาหร่ายเคลป์ (kelp) สาหร่ายทุ่น ซากัส
ซัม (Sargassum sp.)
- มีรงควัตถุสีน้าตาลที่เรียกว่าฟิวโคแซนทินมากกว่าแคโรทีนและคลอโรฟิลล์
- อาศัยอยู่ในทะเลมักอยู่ในกระแสน้าเย็น
- มีคุณค่าทางเศรษฐกิจ เช่น สาหร่ายทุ่นหรือซากัสซัมเป็น
สาหร่ายที่มีไอโอดีนสูง
อาณาจักรโพรติสตา ( Kingdom Potista )
ไฟลัมสตรามีโนพิลา ( Stramenopila )
ไดอะตอม ( Diatom ) เป็นสาหร่ายที่พบมากที่สุดในกลุ่มนี้ที่สารวจพบแล้ว
มี 5,000 ชนิด
- เซลล์ประกอบด้วยฝา 2 ฝาครอบกันสนิท ผนังเซลล์ประกอบด้วยซิลิกา
แข็งแรงและคงรูป ไม่สลายตัวได้ง่าย
- ซากของไดอะตอมที่ตายทับถมกันนาน ๆ จะกลายเป็นส่วนของพื้นดินใต้แหล่งน้าที่
เรียกว่า ไดอะตอมเอเชียเอิร์ท (diatomaceous earth)
- มีปริมาณมากทั้งในแหล่งน้าจืดและแหล่งน้าเค็ม
อาณาจักรโพรติสตา ( Kingdom Potista )
ไฟลัมโรโดไฟตา ( Rhodophyta )
เรียกโพรทิสต์กลุ่มนี้ว่า สาหร่ายสีแดง (red algae) ซึ่งมีอยู่ประมาณ
3,900 สปีชีส์ ได้แก่ จีฉ่ายหรือพอร์ไฟรา (Porphyra sp.) สาหร่าย
ผมนางหรือกราซิลาเรีย (Gracilarai sp.)
- มีคลอโรฟิลล์เอและดี แคโรทีน แซนโทฟิลล์ และ ไฟโคอิริทริน
(phycoerythrin)
- ผนังเซลล์เป็นสารเซลลูโลส พอลิแซคคาไรด์ที่เป็นเมือกบางชนิดมีแคลเซียม
ด้วย เรียกว่า คาร์แรกจีแนน (carrageenan) สามารถนามาผลิตเป็นวุ้น
อาณาจักรโพรติสตา ( Kingdom Potista )
ไฟลัมคลอโรไฟตา (Phylum Chlorophyta)
ได้แก่สาหร่ายสีเขียว ( green algae) มีทั้วหมดประมาณ 17,500 สปีชีส์
พบอยู่ในน้าจืดมากกว่าในน้าเค็ม พบในดินที่เปียกชื้น แม่น้าลาคลอง ทะเลสาบ และ
ในทะเล แหล่งที่พบ พบทั่วไปตามน้าจืด และในทะเล เช่น อะเซตาบูลาเรีย (มีมาก
เกิดปรากฎการณ์ เรียกว่า วอเตอร์บลูม
Ex. คลอเรลลา (chlorella sp.)
อาณาจักรโพรติสตา ( Kingdom Potista )
ไฟลัมมิกโซไมโคไฟตา (Phylum Myxomycophyta)
- เป็นโปรตีสต์ที่มีช่วงชีวิตที่มีลักษณะคล้ายสัตว์และช่วงชีวิตที่มีลักษณะคล้ายพืช
- แหล่งที่พบ ส่วนใหญ่พบในทะเล
Ex. ราเมือก (Slime mold)
Kingdom Fungi
ลักษณะสาคัญ
- Eukaryotic cell มีผนังเซลล์เป็นสาร chitin
- Heterotrophs ( ไม่มี Chloroplast )
รับสารอาหารโดยวิธี absorption
- unicellular / multicellular organisms
( no tissue ) ต่อกันเป็นสายยาวเรียกว่า Hypha
* เส้นใยมีผนังกั้น (Septate hypha)
* ส้นใยไม่มีผนังกั้น (non-septate hypha)
กลุ่มของเส้นใย เรียกว่า (mycelium)
ซึ่งบางครั้งจะรวมกันเป็นรูปร่างเฉพาะ เรียกว่า
Fruiting body
Fruiting body
ชนิดของ Hypha แบ่งตามหน้าที่
1.Haustoria แทงเข้าไปในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตและดูด cytoplasm
มาใช้ ประโยชน์
2.Rhizoid ยึดเกาะและดูดซึมสารอาหารที่ย่อยแล้วเข้าสู่เซลล์
3.Stolon ทอดขนานไปบนผิว
4.Sporangiophore ชูตั้งฉากกับพื้นผิวทาหน้าที่สร้างอับสปอร์
โทษ - ก่อโรคในมนุษย์ เช่น กลากเกลื้อน
ประโยชน์ อาหาร ( เห็ดชนิดต่าง ๆ )
อยู่ร่วมกับรากของพืชแบบ
พึ่งพาอาศัย เช่น ราไมคอไรซา
- วงชีวิตส่วนใหญ่ - haploid(n)
- ผนังเซลล์ ประกอบด้วยสารประกอบพวก chitin
รำที่มีหลำยเซลล์
ราที่มีเซลล์เดียว คือ Yeast
Saccharomyces cerevisiae
1. Phylum Chytridiomycota
2. Phylum Zygomycota
3. Phylum Ascomycota
4. Phylum Basidiomycota
** กลุ่ม Deuteromycetes **
Classification of fungi
Phylum Chytridiomycota
• เส้นใยไม่มีผนังกั้น(non-septate hyphae)
• parasite ของพืชน้า โพรติสต์ และสัตว์น้า
• เป็นเห็ดรากลุ่มเดียวที่มีเซลล์ที่เคลื่อนที่ได้
• การสืบพันธุ์->อาศัยเพศ(สร้าง Zoospore )
-> ไม่อาศัยเพศ (สร้าง spore )
ตัวอย่างเช่น Chytrids
Phylum Chytridiomycota
phylum Zygomycota
• เส้นใยไม่มีผนังกั้น(non-septate hyphae)
• saprophyte , parasite ของพืชและสัตว์
• การสืบพันธุ์-->อาศัยเพศ/ไม่อาศัยเพศ
ตัวอย่างเช่น ราในสกุล Rhizopus sp.
สร้างเส้นใยพิเศษยกตั้งขึ้น เรียก
sporangiophore (n)
อวัยวะที่สร้างสปอร์ เรียก อับสปอร์
sporangium (n)
sporangiospore (n)
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
zygospores (n)
สร้างสปอร์ผนังหนา เรียก ไซโกตสปอร์ (Zygospore)
โดยวิธี conjugation
Conjugation tube (suspensor)
รา 2 strain
fusion ของนิวเคลียส
zygote (2n)
Zygosporangium
(2n)
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
Meiosis
3. Phylum Ascomycota (sac fungi)
- การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
สร้าง ascospore ภายในถุง ascus
(พหูพจน์; asci)
- การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
* สร้าง conidia (สปอร์ที่ไม่มีอับสปอร์หุ้ม)
* แตกหน่อ (budding)
เส้นใยมีผนังกั้น (septate hyphae)
สร้าง conidia (สปอร์ที่ไม่มีอับสปอร์หุ้ม)
4. Phylum Basidiomycota
ระยะที่ 1 แต่ละเซลล์มีจานวน
โครโมโซม 1 ชุด
ระยะที่ 2 แต่ละเซลล์มี
2 นิวเคลียส เรียก dikaryon
ระยะที่ 3 mycelium มารวม
เป็นเนื้อเยื่อ -> ดอกเห็ด
เส้นใยมีผนังกั้น --> 3 ระยะคือ
เห็ดที่กินได้
เห็ดแชมปิญอง
มีสารต้านเนื้องอกและมะเร็งเสริม
ภูมิคุ้มกัน
เห็ดที่กินได้
เห็ดนางฟ้า
(ช่วยล้างไขมันในตับ บารุงตับ )
เห็ดที่กินได้
เห็ดฟาง
มีสารป้องกันการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็ง ช่วยย่อยอาหาร บารุงโลหิต บารุงกาลัง บารุง
ตับ แก้ร้อนใน แก้ช้าใน และที่เด็ดๆ จริงๆ ก็คือ
ช่วยลดคลอเรสเตอรอล ( LDL )ในเลือดได้
เห็ดที่กินได้
เห็ดหูหนู
ชะล้างและบารุงหลอดเลือด เสริมสร้างโลหิต
ช่วยบารุงสายตา บารุงตับ บารุงผิวให้เปล่งปลั่งสดใส
เห็ดที่กินได้
เห็ดหลินเจือ
“เทพเจ้าแห่งชีวิต” ( Spiritual essence ) มีพลังมหัศจรรย์ บารุงร่างกายใช้เป็นยา
อายุวัฒนะในการยืดอายุออกไปให้ยืนยาว ทาให้ผิวพรรณเปล่งปลั่ง และยังสามารถรักษา
โรคต่าง ๆ ได้อย่างกว้างขวาง
เห็ดที่กินไม่ได้
เห็ดที่กินไม่ได้
เห็ดระโงกหิน
ผู้ป่วยจะมีอาการชักกระตุก อาเจียน ท้องเสีย น้าลายฟูมปาก น้าตา-ไหล
รูม่านตามีขนาดเล็กลง ชีพจรเต้นไม่สม่าเสมอและเสียชีวิตได้
ข้อสังเกตของเห็ดที่กินไม่ได้
1. นาข้าวสารมาต้มกับเห็ด ถ้าไม่เป็นพิษข้าวสาร
จะสุก ถ้าเป็นพิษข้าวสารจะสุกๆ ดิบๆ
2. ใช้ช้อนเงินคนต้มเห็ด ถ้าช้อนเงินกลายเป็น สีดา
จะเป็นเห็ดพิษ
3. ใช้ปูนกินหมากป้ายดอกเห็ด ถ้าเป็นเห็ดพิษจะ
กลายเป็นสีดา
ข้อสังเกตของเห็ดที่กินไม่ได้
4. ใช้หัวหอมต้มกับเห็ด ถ้าเป็นเห็ดพิษจะเป็นสีดา
5. ใช้มือถูเห็ดจนเป็นรอยแผล ถ้าเป็นพิษรอยแผล
นั้นจะเป็นสีดา (แต่เห็ดแชมปิญญองเป็นเห็ดที่
รับประทานได้ เมื่อเป็นแผลก็จะเป็นสีดา)
6. ดอกเห็ดที่มีรอยแมลงและสัตว์กัดกิน เห็ดนั้นไม่
เป็นพิษ (กระต่ายและหอยทากสามารถกิน
เห็ดพิษได้)
ข้อสังเกตของเห็ดที่กินไม่ได้
7. เห็ดที่เกิดผิดฤดูกาล มักจะเป็นพิษ
8. เห็ดพิษมักจะมีสีฉูดฉาด เห็ดรับประทานได้จะ
มีสีอ่อน
โครงสร้างของ Fruiting body
โครงสร้างของ Fruiting body
ring
ตัวอย่างเช่น- เห็ดฟาง,เห็ดหูหนู
แบบไม่อาศัยเพศ สร้าง conidia
แบบอาศัยเพศ สร้าง basidiospore บน
basidium
basidium อยู่ในโครงสร้างที่เรียกว่า basidiocarp
การสืบพันธุ์
เส้นใยมีผนังกั้น การสืบพันธุ์ มีเฉพาะแบบไม่อาศัย
เพศ โดยการ สร้าง conidia
ตัวอย่างเช่น Aspergillus niger (Black molds)
Penicillium sp. (Green molds)
กลุ่ม Deuteromycetes (Fungi imperfecti )
รา + สาหร่าย :
แบบพึ่งพาอาศัย มี 3 แบบ :
1. ครัสโตสไลเคนส์ (Crustose Lichen)
2. โฟลิโอสไลเคนส์ (Foliose Lichen)
3. ฟรูติโคสไลเคนส์ (Fruticose Lichen)
ไลเคนส์ (Lichen)
• ครัสโทสไลเคน
• โฟลิโอสไลเคน
• ฟรูทิโคสไลเคน
อาณาจักรพืช
(Kingdom Plantae)
ตัวบ่งชี้ว่าสิ่งมีชีวิตนั้นเป็นพืชคือ
• มีรงควัตถุสีเขียวที่เรียกว่าครอโรฟิล (chlorophylls)
• ไม่มีแฟลกเจลลาสาหรับเคลื่อนที่
• โครงสร้างที่ปรากฏประกอบด้วยเซลล์หลายเซลล์
• อวัยวะที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์ตัวผู้ และอวัยวะที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์ตัวเมีย
ประกอบด้วยเซลล์หลายเซลล์
• ต้นที่เกิดขึ้นมาใหม่ซึ่งต่อไปจะสร้างสปอร์ จะต้องเจริญ
มาจากไซโกต เป็นเอมบริโอ เสียก่อน
สามารถแบ่งพืชออกเป็น 8 division
1. Division Bryophyta มอส
2. Division Psilophyta หวายทะนอย
3. Division Lycophyta พวกสร้อยสุกรม
4. Division Sphenophyta หญ้าหางม้า
สามารถแบ่งพืชออกเป็น 8 division
5. Division Pterophyta พวกเฟิร์น
6. Division Coniferophyta พวกสน
7. Division Cycadophyta พวกปรง
8. Division Anthophyta พวกพืชดอก
1. Division Bryophyta มอส
ลักษณะสาคัญ : ไม่มีราก มีแต่ส่วน
คล้ายราก เรียกว่า ไรซอยด์ ไม่มีลา
ต้นที่แท้จริงสืบพันธุ์โดยการสร้างสปอร์
มอส
Liverwerts (hepatophyta)
hornwerts (anthocerophyta)
2. Division Psilophyta หวายทะนอย
ลักษณะสาคัญ : เป็นพืชโบราณ มี
ลาต้นเป็นเหลี่ยมสีเขียว ไม่มีรากแต่
มี ไรซอยด์ และใบเป็นเกล็ด แตก
กิ่งออกเป็นคู่
หวายทะนอย Dichotomous Branching
ลักษณะสาคัญ : เป็นพืชขนาดเล็ก มี
รากลาต้นใบที่แท้จริง ใบที่ปลายยอด
กิ่งเรียงอัดแน่น เรียกว่า สตรอบีลัส
(Strobilus) ทาหน้าที่สร้างสปอร์
3. Division Lycophyta พวกสร้อยสุกรม
ช้องนางคลี่
ตีนตุ๊กแก
สร้อยนางกรอง
ลักษณะสาคัญ : ลาต้นกลวงเป็นข้อ
ปล้อง ถอดออกเป็นปล้อง ๆ ได้และมี
สีเขียว มีใบเป็นเกล็ดรอบ ๆข้อ และ
มีสตรอบิลัส ทาหน้าที่สร้างสปอร์
4. Division Sphenophyta หญ้าหางม้า
หญ้าถอดปล้อง หญ้าหางม้า
ลักษณะสาคัญ : มีลาต้นใบและราก
แข็งแรง มีท่อลาเลียงน้า ไซเลม สืบพันธุ์
โดยการสร้างสปอร์ ใบอ่อนจะม้วนงอ
คล้ายลานนาฬิกา เรียกว่า เซอร์ซิเนท
เวอเนชัน
5. Division Pterophyta พวกเฟิร์น
เฟิร์น
Asparagus fern
ลักษณะสาคัญ : มีใบเรียวเล็กปลาย
แหลมเหมือนเข็ม มีท่อลาเลียงน้าเจริญดี
สืบพันธุ์โดยใช้เมล็ดซึ่งไม่มีเปลือกหุ้ม
แต่อยู่ใน โคน โคนตัวผู้และโคนตัวเมีย
อยู่ด้วยกัน
6. Division Coniferophyta พวกสน
สน 3 ใบ
สนฉัตร
ลูกสน
ลักษณะสาคัญ : มีใบขนาดใหญ่
ประกอบด้วยใบเรียวแหลมเล็ก ๆ
เมล็ดไม่มีเปลือกหุ้ม โคนตัวผู้และ
โคนตัวเมียอยู่แยกต้นกัน
7. Division Cycadophyta พวกปรง
ปรงตัวผู้ ปรงตัวเมีย
ลักษณะสาคัญ : ที่มีการแยกต้นเป็น
เพศผู้และเพศเมีย ใบมีลักษณะ
คล้าย ใบพัด
Division Ginkgophyta แป๊ะก๊วย
แป๊ะก๊วย
ลักษณะสาคัญ : เป็นพืชที่มี
วิวัฒนาการสูงสุด มีระบบท่อลาเลียง
น้าเจริญดี มีดอกเป็นอวัยวะสืบพันธุ์
เมล็ดมีเปลือกหุ้ม
8. Division Anthophyta พวกพืชดอก
พืชใบเลี้ยงเดี่ยว
มีใบเลี้ยงใบเดียว เส้นใบขนานลาต้น มีข้อป้องชัดเจน ท่อ
ลาเลียงภายในกระจายไม่เป็นระเบียบ ดอกมีกลีบดอก 3
กลีบ หรือ ทวีคูณของ 3
เช่น กล้วย อ้อย พุทธรักษา มะพร้าว ข้าวโพด ปาล์ม ขิง
ข่า
พืชใบเลี้ยงคู่
มีใบเลี้ยง 2 ใบ เส้นใบเป็นร่างแห ท่อลาเลียงน้า
และอาหารภายในลาต้นเรียงตัวเป็นระเบียบดอกมักมี
กลีบดอกจานวน 4 หรือ 5 กลีบ หรือทวีคูณของ 5
เช่น มะม่วง หูกวาง จามจุรี หางนกยูง กะเพรา
พริก บัว สาหร่ายหางกระรอก
สาหร่ายหางกระรอก
บัว
Plant Kingdom
พืชมีท่อลาเลียง
Vascular plant
พืชไม่มีท่อลาเลียง
(non vascular plant)
D.Bryophyta
D.Psilophyta D.Lycophyta D.Sphenophyta D.Pterophyta
พืชมีเมล็ด
(seed plant)
พืชไม่มีเมล็ด
(nonseed plant)
พืชมีเปลือกหุ้มเมล็ด
(seed coat)
พืชไม่มีเปลือกหุ้มเมล็ด
(nonseed coat)
D.CycadophytaD.Coniferophyta D.Anthophyta

อาณาจักรสัตว์
(Kingdom Animalia)
สิ่งมีชีวิตที่จัดอยู่ในอาณาจักรมีมากกว่า 1.7 ล้านสปีชีส์ ในจานวน
นี้เป็นแมลงประมาณ 6 แสนชนิด สัตว์ถือเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีความสาคัญต่อ
ระบบนิเวศในแง่ของผู้บริโภค ซึ่งเป็นผลทาให้มีการถ่ายทอดพลังงานไปยัง
ผู้บริโภคระดับต่างๆ นอกจากนี้สัตว์ยังเป็นตัวทาให้เกิดแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งมีความสาคัญในการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช และ
ก่อให้เกิดความสมดุลในธรรมชาติ
สัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ ไม่มีคลอโรฟิลล์จึงไม่สามารถสร้าง
อาหารได้เอง และมีระยะตัวอ่อน (EMBRYO) สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรสัตว์แบ่ง
ออกเป็นไฟลัมต่างๆดังนี้
ไฟลัมพอริเฟอรา(PHYLUM PORIFERA)
สัตว์ที่ลาตัวเป็นรูพรุน ได้แก่ ฟองน้า
ลักษณะสาคัญของสัตว์ใน Phylum Porifera
- เป็นสัตว์ที่มีวิวัฒนาการต่าสุด และ ไม่มีเนื้อเยื่อแท้จริง (Parazoa)
- ตัวเต็มวัยเกาะกับที่ จึงไม่มี nervous system และ sense organ
- มีทั้งอาศัยในน้าจืดและน้าเค็ม
- มีสีสดใส (แดง ส้ม เหลือง ม่วง) เกิดจากรงควัตถุที่อยู่ในเซลล์ผิว
- ฟองน้าที่มีรูปร่างซับซ้อนน้อยที่สุดจะมีสมมาตรรัศมี แต่ฟองน้าส่วนใหญ่ไม่มีสมมาตร
- จะสร้าง Gemmule (แตกหน่อ)เวลาสภาวะแวดล้อมไม่เหมาะสม
- มีโครงร่างแข็งค้าจุน (Spicule ที่เป็นหินหรือแก้ว , Spongin ที่เป็นเส้นใย
โปรตีน)
ไฟลัมซีเลนเทอราตา(PHYLUM COELENTERATA)
ได้แก่ แมงกะพรุน ดอกไม้ทะเล ปะการัง กัลปังหา และไฮดรา
ลักษณะสาคัญของสัตว์ใน Phylum Coelenterata
- ร่างกายประกอบด้วย เนื้อเยื่อ 2 ชั้นคือ Epidermis เเละ Gastrodermis
- ระหว่างชั้นเนื้อเยื่อมีสารคล้ายวุ้นเรียกว่า Mesoglea เเทรกอยู่
- ลาตัวกลวงลักษณะเป็นถุงตันมีช่องเปิดช่องเดียวเรียกว่า gastrovascula cavity ทา
หน้าที่เป็นทางเดินอาหารอาหารเข้าเเละกากอาหารออกทางช่องเปิดเดียวกัน
- มีหนวดอยู่รอบปากเรียกว่า เทนทาเคิล ( tentacle )ใช้สาหรับจับเหยื่อ
- ที่หนวดมีเซลล์สาหรับต่อยเรียกว่า cnidocyte เเละมีเข็มสาหรับต่อยเรียกว่า
nematocyst
- มีวงจรชีพสลับ
- สืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ โดยการแตกหน่อ
- มี 2 เพศในตัวเดียวกัน
ไฟลัมแพลทิเฮลมินทิส(PHYLUM PLATYHELMINTHES)
ได้แก่ พยาธิใบไม้ พยาธิตัวตืด และพลานาเรีย
ลักษณะสาคัญของสัตว์ใน Phylum Platyhelminthes
- มีสมมาตรเป็นแบบครึ่งซีก (Bilateral symmetry)
- ไม่มีช่องว่างในลาตัว (Acoelomate animal) เนื่องจากเนื้อเยื่อชั้นกลางมีเนื้อเยื่อหยุ่นๆบรรจุอยู่
เต็มไปหมด
- ไม่มีระบบหมุนเวียนโลหิต ไม่มีเส้นเลือด ไม่มีหัวใจ สารอาหารไปเลี้ยงเซลล์โดยการแพร่จาก
ทางเดินอาหารเข้าสู่เซลล์โดยตรง
- มีระบบทางเดินอาหารเป็นแบบไม่สมบูรณ์มีปากแต่ไม่มีทวารหนัก และในพวกพยาธิตัวตืดไม่มี
ทางเดินอาหาร
- มีระบบประสาทอยู่ทางด้านหน้าและแตกแขนงออกไปทางด้านข้างของลาตัว
- มีทั้งสองเพศในตัวเดียวกัน สามารถผสมพันธุ์ได้ภายในตัวเอง (Self fertilization) และผสม
พันธุ์ข้ามตัว (Cross fretilization)
ไฟลัมนีมาโทดา(PHYLUM NEMATOD)
ได้แก่ พยาธิตัวกลมต่างๆ เช่น พยาธิไส้เดือน ไส้เดือนฝอย และหนอนในน้าส้มสายชู
ลักษณะสาคัญของสัตว์ใน Phylum Nemetoda
- ลาตัวกลมยาวหัวท้ายเเหลม ไม่มีรยางค์
- มีเปลือกเป็นคิวติเคิลหนาปกคลุม
- สมมาตรครึ่งซีก
- มีทางเดินอาหารสมบูรณ์ มีทั้งปากเเละทวารหนัก
- ร่างกายมีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น
- มีช่องลาตัวเทียม ( pseudocoelom )อยู่ระหว่างมีโซเดิร์มเเละเอนโดเดิร์มซึ่งมีของเหลว
บรรจุอยู่เต็ม
- ระบบประสาท เป็นวงเเหวนรอบคอ ต่อกับเส้นประสาทที่ยาวตลอดลาตัว
- ไม่มีระบบไหลเวียนเลือดเเละระบบหายใจ
- การสืบพันธุ์เเบบอาศัยเพศ มีตัวผู้ตัวเมียคนละตัวกัน ไข่มีสารไคตินหุ้มจึงทนทานต่อสภาพ
เเวดล้อมได้ดี
ไฟลัมแอนนิลิดา (PHYLUM ANNILIDA)
ได้แก่ ไส้เดือนดิน แม่เพรียง ทากดูดเลือด และปลิงน้าจืด
ลักษณะสาคัญของสัตว์ใน Phylum Annilida
- มีลาตัวกลมยาวเป็นปล้องๆ มองเห็นภายนอกเป็นวงเเละภายในมีเนื้อเยื่อกั้นระหว่าง
ปล้องเรียกว่า เซปตา ( septa )
- เเต่ละปล้องมีอวัยวะ คือ เดือย ( saeta ) 4 คู่ เนฟริเดีย ( อวัยวะขับถ่าย )1 คู่
เส้นประสาท 3 คู่ ทางเดินอาหารเเละช่องลาตัวส่วนหนึ่ง ยกเว้นปล้อง
- ที่มีหัวที่ซึ่งมีอวัยวะสาคัญ ( สมอง คอหอย หัวใจ )
- ร่างกายมีสมมาตรครึ่งซีก
- มีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น
- มีช่องลาตัวเเท้จริง ( coelom ) ซึ่งเป็นช่องลาตัวในเนื้อเยื่อมีโซเดิร์ม
- ระบบประสาทประกอบด้วย ปมสมองที่หัว 1 คู่ และ เส้นประสาทใหญ่ด้านท้อง
ไฟลัมอาร์โทรโปดา (PHYLUM ARTHROPODA)
ได้แก่ กุ้ง กั้ง ปู แมลง เห็บ ไร ตะขาบ กิ้งกือ แมงมุม แมงดาทะเล
ลักษณะสาคัญของสัตว์ใน Phylum Arthropoda
- มีลาตัวเป็นปล้องและมีรยางค์เป็นข้อๆต่อกัน (jointed appendage) ยื่นออกมาจากแต่ละปล้อง
ของลาตัว
- มีจานวนชนิดมากที่สุดในอาณาจักรสัตว์ ประมาณว่ามีถึงกว่า 9 แสนชนิดที่มนุษย์เราได้ค้นพบ
- สามารถอาศัยอยู่ได้ในแทบทุกสภาพภูมิประเทศบนโลก นับว่าประสบความสาเร็จในการดารงชีวิต
บนโลกเป็นอย่างมาก เห็นได้จากการที่เราพบสัตว์เหล่านี้ได้แทบทุกหนทุกแห่ง ทุกฤดูกาล และพบเป็น
จานวนมาก
- มีโครงสร้างของร่างกายที่แข็งแรง
- มีระบบประสาทที่เจริญดี มีอวัยวะรับความรู้สึกหลายชนิด
- มีการแบ่งสัดส่วนของร่างกายเป็นข้อปล้องชัดเจน 3ส่วน คือ หัว(Head) , อก(Thorax) และ
ท้อง(Abdomen)
- ระบบหมุนเวียนเป็นระบบเปิด ประกอบไปด้วยหัวใจ เลือด และแอ่งเลือด (Hemocoel)
ไฟลัมมอลลัสกา(PHYLUM MOLLUSCA)
สัตว์ที่มีลาตัวอ่อนนุ่ม ได้แก่ หมึกและหอยชนิดต่างๆ
ลักษณะสาคัญของสัตว์ใน Phylum Mollusca
- ร่างกายจะแบ่งเป็น 3 ส่วนหลัก ได้แก่
1. head and foot
2. visceral mass
3. mantle, palium เกิด mantle cavity มีเหงือกภายใน
- สัตว์ในไฟลัมนี้มีลาตัวอ่อนนุ่ม บางชนิดอาจมีเปลือกแข็งหุ้มลาตัวเป็น CaCO3
- แยกเพศผู้-เมีย
- ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในน้าทั้งน้าจืดและน้าทะเล มีอาศัยอยู่บนบกบ้าง
- อวัยวะในการแลกเปลี่ยนแก๊สประกอบด้วย
1. เหงือก (gill) อยู่ภายในช่องแมนเติล พบในมอลลัสทั่วไป
2. ผิวตัว ในทากทะเล (sea slug, nudibranch) ผิวตัวจะเปลี่ยนรูปไปเป็นแขนงอยู่บนลาตัว เรียกว่า เซอรา
ตา (cerata) หรือบางชนิดมีอยู่รอบทวารหนัก (anal gill)
3. ช่องแมนเติลหรือปอด หอยฝาเดียวที่ขึ้นมาอยู่บนบกจะมีช่องแมนเติลที่มีผนังยื่นลงมากั้นเป็นห้อง มีของเหลว
หล่อเลี้ยงในช่องนี้ทาให้สามารถแลกเปลี่ยนแก๊สได้
ไฟลัมเอไคโนเดอร์มาตา (PHYLUM ECHINODERMATA)
สัตว์ที่ผิวหนังมีหนามขุรขระ ได้แก่ ดาวทะเล เม่นทะเล เหรียญทะเล ปลิงทะเล ดาวเปราะ
ลักษณะสาคัญของสัตว์ใน Phylum Echinoderm
- สมมาตรร่างกาย ตัวอ่อนเป็นเเบบครึ่งซีก ตัวเต็มวัยมีเมเเทมอร์โฟซิสกลายเป็นสมมาตร
เเบบรัศมี
- ลาตัวเเบ่งเป็น 5 ส่วนหรือ ทวีคูณของ 5 ยื่นออกมาจากเเผ่นกลมที่เป็นศูนย์กลาง
- มีโครงร่างเเข็งภายใน มีเเผ่นหินปูนเล็กๆ ที่ยึดติดกันด้วยกล้ามเนื้อหรือผิวหนังที่ปกคลุม
อยู่บางชนิด
- มีเส้นประสาทเป็นวงเเหวนรอบปาก เเละเเยกเเขนงไปตามเเขน
- การเคลื่อนไหวใช้ระบบท่อน้า ( water vascula system ) ภายในร่างกาย
- การสืบพันธุ์ แบ่งเป็นเเบบอาศัยเพศโดยมีการปฎิสนธิภายนอก และ เเบบไม่อาศัยเพศ
บางชนิด เช่น การขาดของเเขนใดเเขนหนึ่ง ส่วนที่ขาดก็จะเจริญไปเป็นตัวเต็มอีกทีหนึ่ง
ไฟลัมคอร์ดาตา (PHYLUM CHORDATA)
คุณสมบัติเฉพาะของ Phylum Chordata
- มีโนโตคอร์ด (Notochord) ซึ่งเป็นแกนค้าจุนหรือพยุงกายเกิดขึ้นในระยะใดระยะหนึ่ง
ของชีวิต หรือตลอดชีวิต ในพวกสัตว์ชั้นสูงมีกระดูกอ่อนหรือกระดูกแข็งแทนโนโตคอร์ด
- มีไขสันหลังเป็นหลอดยาวกลวงอยู่ทางด้านหลัง (Dorsal hollow nerve tube) เหลือ
ทางเดินอาหารซึ่งแตกต่างจากสัตว์พวกไม่มีกระดูกสันหลัง ซึ่งมีระบบประสาทอยู่ทางด้านท้อง
(Ventral nerve cord) ใต้ทางเดินอาหารและเป็นเส้นตัน
- มีช่องเหงือก (Gill slit) ในระยะใดระยะหนึ่งของชีวิต หรือตลอดชีวิตในพวหสัตว์มี
กระดูกสันหลังชั้นสูง เช่น สัตว์ปีก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านมจะมีช่องเหงือกตอนเป็นตัวอ่อนเท่านั้น
เมื่อโตขึ้นช่องเหงือกจะปิดส่วนปลามีช่องเหงือกตลอดชีวิต
- มีหางเป็นกล้ามเนื้อ (Muscular post anal tail)
จัดทาโดย
น.ส.กาญจนา สร้อยแก้ว ม.6/4 เลขที่ 1
น.ส.ณิชกมล ไชยแก้ว ม.6/4 เลขที่ 22

Contenu connexe

Tendances

ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจพัน พัน
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมฟลุ๊ค ลำพูน
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจkrunidhswk
 
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตSumalee Khvamsuk
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราพัน พัน
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชtarcharee1980
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาพัน พัน
 
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชWichai Likitponrak
 

Tendances (20)

Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
Kingdom_Animalia.pdf
Kingdom_Animalia.pdfKingdom_Animalia.pdf
Kingdom_Animalia.pdf
 
Protista5555
Protista5555Protista5555
Protista5555
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
 
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
 
Kingdom Animalia
Kingdom AnimaliaKingdom Animalia
Kingdom Animalia
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
 
Animal55
Animal55Animal55
Animal55
 
Kingdom animal
Kingdom animalKingdom animal
Kingdom animal
 
Kingdom plantae
Kingdom plantaeKingdom plantae
Kingdom plantae
 
Animalia kingdom
Animalia kingdomAnimalia kingdom
Animalia kingdom
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 
Kingdom fungi 3
Kingdom fungi 3Kingdom fungi 3
Kingdom fungi 3
 
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
Kingdom fungi
Kingdom fungiKingdom fungi
Kingdom fungi
 

Similaire à Taxonomy

ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพSupaluk Juntap
 
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพWichai Likitponrak
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์feeonameray
 
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพSubaidah Yunuh
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพLPRU
 
Unlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
Unlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตUnlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
Unlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตmahachaisomdet
 
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตSumalee Khvamsuk
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2chirapa
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตOui Nuchanart
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตOui Nuchanart
 
ระบบนิเวศน์
 ระบบนิเวศน์ ระบบนิเวศน์
ระบบนิเวศน์Tin Savastham
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)พัน พัน
 

Similaire à Taxonomy (20)

ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
 
Manybio
ManybioManybio
Manybio
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
 
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ม.6biodiver
ม.6biodiverม.6biodiver
ม.6biodiver
 
File[1]
File[1]File[1]
File[1]
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
Unlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
Unlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตUnlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
Unlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
 
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
Biodiversity
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
Biodiversity
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
Biodiversity
 
ระบบนิเวศน์
 ระบบนิเวศน์ ระบบนิเวศน์
ระบบนิเวศน์
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
 

Plus de just2miwz

2557 โครงงาน
2557 โครงงาน2557 โครงงาน
2557 โครงงานjust2miwz
 
2557 โครงงาน
2557 โครงงาน2557 โครงงาน
2557 โครงงานjust2miwz
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์just2miwz
 
7. ข้อสอบ o net - ภาษาอังกฤษ (มัธยมปลาย)
7. ข้อสอบ o net - ภาษาอังกฤษ (มัธยมปลาย)7. ข้อสอบ o net - ภาษาอังกฤษ (มัธยมปลาย)
7. ข้อสอบ o net - ภาษาอังกฤษ (มัธยมปลาย)just2miwz
 
ข้อสอบ O net 48 ภาษาอังกฤษ ม 6
ข้อสอบ O net 48 ภาษาอังกฤษ ม 6ข้อสอบ O net 48 ภาษาอังกฤษ ม 6
ข้อสอบ O net 48 ภาษาอังกฤษ ม 6just2miwz
 
เฉลย O net 48 ภาษาอังกฤษ
เฉลย O net 48 ภาษาอังกฤษเฉลย O net 48 ภาษาอังกฤษ
เฉลย O net 48 ภาษาอังกฤษjust2miwz
 
4. ข้อสอบ o net - สุขศึกษาฯ (มัธยมปลาย) 0
4. ข้อสอบ o net - สุขศึกษาฯ (มัธยมปลาย) 04. ข้อสอบ o net - สุขศึกษาฯ (มัธยมปลาย) 0
4. ข้อสอบ o net - สุขศึกษาฯ (มัธยมปลาย) 0just2miwz
 
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 05. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0just2miwz
 
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 03. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0just2miwz
 
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 01. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0just2miwz
 
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 02. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0just2miwz
 
Blog 140627022109-phpapp01
Blog 140627022109-phpapp01Blog 140627022109-phpapp01
Blog 140627022109-phpapp01just2miwz
 

Plus de just2miwz (14)

Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
 
2557 โครงงาน
2557 โครงงาน2557 โครงงาน
2557 โครงงาน
 
2557 โครงงาน
2557 โครงงาน2557 โครงงาน
2557 โครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
7. ข้อสอบ o net - ภาษาอังกฤษ (มัธยมปลาย)
7. ข้อสอบ o net - ภาษาอังกฤษ (มัธยมปลาย)7. ข้อสอบ o net - ภาษาอังกฤษ (มัธยมปลาย)
7. ข้อสอบ o net - ภาษาอังกฤษ (มัธยมปลาย)
 
ข้อสอบ O net 48 ภาษาอังกฤษ ม 6
ข้อสอบ O net 48 ภาษาอังกฤษ ม 6ข้อสอบ O net 48 ภาษาอังกฤษ ม 6
ข้อสอบ O net 48 ภาษาอังกฤษ ม 6
 
เฉลย O net 48 ภาษาอังกฤษ
เฉลย O net 48 ภาษาอังกฤษเฉลย O net 48 ภาษาอังกฤษ
เฉลย O net 48 ภาษาอังกฤษ
 
4. ข้อสอบ o net - สุขศึกษาฯ (มัธยมปลาย) 0
4. ข้อสอบ o net - สุขศึกษาฯ (มัธยมปลาย) 04. ข้อสอบ o net - สุขศึกษาฯ (มัธยมปลาย) 0
4. ข้อสอบ o net - สุขศึกษาฯ (มัธยมปลาย) 0
 
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 05. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
 
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 03. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0
 
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 01. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
1. ข้อสอบ o net - ภาษาไทย (มัธยมปลาย) 0
 
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 02. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
 
Pat15603
Pat15603Pat15603
Pat15603
 
Blog 140627022109-phpapp01
Blog 140627022109-phpapp01Blog 140627022109-phpapp01
Blog 140627022109-phpapp01
 

Taxonomy