SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  24
Télécharger pour lire hors ligne
TOPICS


ระบบภูมิค้ ุมกัน
Immune system
4. IMMUNE SYSTEM
ร่ างกายเรามีกลไกปองกันการรุ กลาทาลายจากสิ่งแปลกปลอม 2 แบบ คือ
                       ้             ้
1. Nonspecific defense mechanisms กลไกการทาลายสิ่งแปลกปลอมแบบไม่ จาเพาะ
    1.1 First line of defense เป็ นกลไกการปองกันที่อยู่ภายนอกร่ างกาย เช่ น ผิวหนัง
                                           ้
    และmucous membrane ที่ทางเดินอาหาร ทางเดินหายใจ ท่ อปั สสาวะและสืบพันธุ์
    1.2 Second line of defense เป็ นกลไกการปองกันที่อยู่ภายในร่ างกาย เมื่อสิ่ง
                                             ้
     แปลกปลอมสามารถแทรกเข้ าสู่ภายในร่ างกายได้ เช่ น การเกิด phagocytosis โดย
     เม็ดเลือดขาว, การผลิต antimicrobial protein, inflammatory response
2. Specific defense mechanisms or third line of defense กลไกการทาลายสิ่ง
     แปลกปลอมแบบจาเพาะ ได้ แก่ การทางานของ lymphocytes และการผลิตantibody
     2.1 Humoral (antibody-mediated) immune response
     2.2 Cell-mediated immune response
The First Line of Defense
-เป็ นการปองกันการรุ กลาจากสิ่งแปลกปลอมโดยผิวหนังและ mucous membrane
          ้              ้
และยังมีการหลั่งสารออกมาช่ วยทาหน้ าที่อีกด้ วย เช่ น การหลั่งสารจากต่ อมเหงื่อ
และต่ อมไขมัน ซึ่งปกติมีค่า pH 3-5 ที่มีความเป็ นกรดสูงพอในการทาลาย
microorganism
-การชาระล้ างออกโดยนาลาย, นาตา และ mucous (มี lysozyme เป็ นส่ วนประกอบ)
                       ้        ้
-Lysozyme สามารถย่ อยผนังเซลล์ ของแบคทีเรี ยได้ หลายชนิด
-Gastric mucous ในกระเพาะมีความเป็ นกรดสูง สามารถทาลายแบคทีเรี ยได้ ดี
The Second Line of Defense
1. Phagocytosis by white blood cell
-เซลล์ ท่ ีสามารถทาหน้ าที่ phagocytosis ได้ มีหลายชนิด ดังนี ้
1. Neutrophils (60-70% ของเม็ดเลือดขาวทังหมด) มีช่วงชีวตประมาณ 2-3 วัน มักจะ
                                               ้              ิ
สลายไปเมื่อทาลายสิ่งแปลกปลอม
2. Monocyte (5% ของเม็ดเลือดขาวทังหมด) หลังจาก monocyte หลั่งสู่กระแสเลือด
                                          ้
ได้ 2-3 ชั่วโมง จะเคลื่อนเข้ าสู่เนือเยื่อ และพัฒนาเป็ นเซลล์ macrphage (“big-eater”)
                                    ้
มีช่วงชีวตค่ อนข้ างยาว
           ิ
3. Eosinophil (1.5% ของเม็ดเลือดขาวทังหมด) ทาหน้ าที่ทาลายพยาธิขนาดใหญ่
                                            ้
4. Natural killer (NK) cell ทาหน้ าที่ทาลาย virus-infected body cell โดยไปจับที่เยื่อ
เซลล์ และทาให้ เซลล์ แตก
เป็ นอวัยวะที่ดักจับสิ่งแปลกปลอม
เป็ นอวัยวะที่มีการเจริญ/พัฒนาของ leukocyte
The Second Line of Defense
2. Antimicrobial protein
-มีโปรตีนหลายชนิดทาหน้ าที่ปองกัน/ทาลายสิ่งแปลกปลอมที่บุกรุ กร่ างกาย ซึ่ง
                                 ้
ทาลายสิ่งแปลกปลอมโดยตรงหรื อยับยังการสืบพันธุ์ ได้ แก่ lysozyme, complement
                                          ้
system, interferons
-complement system ทาหน้ าที่ย่อย microbes และเป็ น chemokines ต่ อ phagocytic
cells
-interferone เป็ นสารที่หลั่งจาก virus-infected cell ภายหลังจากที่เซลล์ (virus-
infected cell) แตกออก จากนันจะแพร่ ไปยังเซลล์ ข้างเคียง เพื่อยับยังการ infect
                               ้                                    ้
ของ virus ไปยังเซลล์ ข้างเคียง จึงสามารถยับยังเจริญของ virus ได้ (เนื่องจากไม่ มี
                                                 ้
host)
The Second Line of Defense
 3. The Inflammatory Response
 -บริเวณที่เป็ นแผลมีการขยายตัวของเส้ นเลือด มีเลือดมาเลียงมาก เกิดการบวมแดง
                                                            ้
 -มีการหลั่ง histamine จากเนือเยื่อ (นอกจากนียังหลั่งได้ จาก basophil &mast cell)
                              ้              ้
 ทาให้ permeability ของ capillary เพิ่ม




1.เซลล์ บาดแผลหลั่ง     2.capillary ขยายตัวและ     3.chemokines กระตุ้น       4.phagocytic cell กิน
chemical signal เช่ น   เพิ่ม permeability         ให้ phagocytic cell        pathogens & เศษเซลล์
histamine, PG           ของเหลวและblood            เคลื่อนไปยังเนือเยื่อที่
                                                                  ้           หลังจากนันบาดแผล
                                                                                       ้
                        clotting element เคลื่อน   ถูกทาลาย                   ปิ ด
                        ออกจากเส้ นเลือด
The Third Line of Defense
 -Lymphocytes เป็ นตัวการสาคัญในการทาลายสิ่งแปลกปลอมแบบจาเพาะ
 -Lymphocytes มี 2 ชนิดคือ B lymphocyte (B cell; bursa of Fabricius or bone marrow)&T
 lymphocyte (T cell; thymus) ซึ่ง T หรื อ B cell แต่ ละเซลล์ จะจาเพาะกับ Ag แต่ ละตัว
 โดยมีขัน ตอนการคัดเลือกเพื่อเพิ่มจานวน lymphocyte ที่เฉพาะต่ อ Ag เรี ยก Clonal
         ้
 selection                                             1.Ag จับกับ Ag receptor บน B cell หนึ่งๆ


                                                        2.B cell ที่มี receptor ที่จาเพาะต่ อ
                                                        Agนันจะเพิ่มจานวนได้ เป็ น clone
                                                            ้
4.บางเซลล์ พฒนาไปเป็ น
              ั
long-lived memory cell ที่                                             3.บางเซลล์ พฒนาไปเป็ น
                                                                                     ั
จะทาให้ เกิดการ                                                        short-lived plasma cell
ตอบสนองอย่ างรวดเร็ว                                                   และหลั่ง Ab
เมื่อร่ างกายได้ รับ Ag เดิม
Immunological Memory
-ในการเพิ่มจานวนของ Lymphocytes ที่ถูกคัดเลือก หลังจากเผชิญกับ Ag เป็ นครั ง    ้
แรก ใช้ เวลานานประมาณ 10-17 วัน เรี ยกการตอบสนองในระยะแรกนีว่า primary้
immune response ได้ เซลล์ 2 ชนิดคือshort-lived effector cell (plasma cell(จาก B
cell)&effector T cell(จาก T cell)) และ long-lived memory cells
-ถ้ าร่ างกายมีการเผชิญกับ Ag เดิมอีก เป็ นครั งที่ 2 จะเกิดการตอบสนองเรี ยก
                                                   ้
secondary immune response ซึ่งจะใช้ เวลาในการตอบสนองสันลง เพียง 2-7 วัน
                                                               ้
-Lymphocytes แบ่ งออกเป็ น 2 ชนิด คือ B lymphocyte
และ T lymphocyte โดยทัง 2 เซลล์ เจริญมาจากเซลล์
                            ้
ตังต้ นชนิดเดียวกัน คือ Pluripotent stem cell ใน bone
   ้
marrow
-หลังจากได้ เป็ น lymphocyte stem cell ถ้ าเซลล์ ยังคง
เจริญต่ อไปใน bone marrow สุดท้ ายจะได้ B
lymphocyte
-แต่ ถ้า lymphocyte stem cell เคลื่อนไปและเกิด
maturation ที่ต่อมไทมัส (thymus gland) สุดท้ ายจะได้
T cell
-จากนัน lymphocytes ทังสองชนิดจะเคลื่อนไปอยู่ท่ ี
        ้                 ้
lymphoid tissue เช่ น tonsil, lymph node, spleen
-Lymphocyte ที่มี receptor ที่จาเพาะกับโมเลกุล(Ag)ใน
ร่ างกาย จะกลายสภาพเป็ น non-functional หรื อเกิด
apoptosis จึงทาให้ ไม่ มีการทาลายเซลล์ ในร่ างกายของ
ตัวเองโดยระบบภูมค้ ุมกัน (self-tolerance)
                     ิ
Major Histocompatibility Complex(MHC) and T Cell
-MHC เป็ นสาร glycoprotein
-ในคนเรี ยก Human leukocyte
 antigens (HLA)
-แบ่ งเป็ น class I MHC molecules
 และ class II MHC molecule
-Class I MHC พบใน nucleated
 cell เกือบทุกชนิด จะไปกระตุ้น
 Cytotoxic T cell (cell-mediated
 immune response)
-Class II MHC พบในเซลล์ บางชนิดเช่ น macrophage, B cell, activated T cell
และเซลล์ ใน thymus จะไปกระตุ้น Helper T cell (cell-mediated and humoral
immune response)
Humoral and cell-mediated immune response
บทบาทของ Helper T cell และ CD4




1.Antigen presenting        2.activated TH     3.activated TH   4.cytokine กระตุ้น
cell (APC) กิน              จับกับ MHC-        แบ่ งตัวเพิ่ม    TH, B cell & TC cell
แบคทีเรียและขนส่ ง          antigen complex    จานวน และ
ชินส่ วนของแบคทีเรีย
   ้                        โดยมี CD4          หลั่ง cytokine
มาที่ผิวเซลล์ ผ่าน class    interleukin-1 มา
II MHC                      ช่ วย
บทบาทของ Cytotoxic T cell และ CD8




1.Infected cell (cancer cell)   2.Activated TCหลั่ง         3.นาและอิออนเคลื่อนเข้ า
                                                               ้
ขนส่ งชินส่ วนของAg มาที่
        ้                       perforin ทาให้ เกิดรูท่ ี   เซลล์ เซลล์ บวม และแตก
ผิวเซลล์ ผ่าน class I MHC       เยื่อเซลล์ ของ infected
activated TCจับกับ MHC-         cell
antigen complex โดยมี
CD8 &interleukin-2 มาช่ วย
โครงสร้ างและหน้ าที่ของAb




-Epitope or antigenic determinant เป็ นส่ วนของ Ag ที่ Ab เข้ าไปจับ (Ab จะใช้ ส่วน
antigen binding site ในการจับ)
-แบคทีเรี ยตัวหนึ่ง ๆ อาจมี epitope สาหรั บจับกับ Ab ได้ ถง 4 ล้ านโมเลกุล
                                                           ึ
-Ab เป็ น globular serum protein เรี ยก immunoglobulins (Igs) ประกอบด้ วย
polypeptide 4 สาย; 2 สายเป็ น heavy chain และอีก 2 สายเป็ น light chain
-constant region ของ heavy chain จะจาเพาะกับชนิดของ Ig (ใช้ จาแนกชนิดของ Ig)
-variable region ของทัง light & heavy chain จะจาเพาะกับ epitope หนึ่ง ๆ
                       ้
-Immunoglobulin (Ig) มีทังหมด 5 ชนิด
                               ้
1. Ig M (pentamer) เป็ น Ig ที่พบเป็ นชนิดแรก
เมื่อ expose กับ Ag พบครั งแรกในปลาฉลาม
                             ้
และปลากระดูกแข็ง ดังนัน IgM จึงจัดเป็ น Ig ที่
                           ้
เก่ าแก่ ท่ ีสุดตามสายวิวัฒนาการ
2. Ig G (monomer) พบมากในกระแสเลือด
ทาลายแบกทีเรี ย, ไวรั ส และtoxin
3. Ig A (dimer) พบใน mucousและ colostrum
ปองกันการจับของไวรั สและแบกทีเรี ยต่ อ
 ้
epithelial surface
4. Ig D (monomer) พบมากที่ผิวของ B cell คาด
ว่ าช่ วยกระตุ้นการเปลี่ยนจาก B cell ไปเป็ น
plasma cell & memory B cell
5. Ig E (monomer) จับอยู่ท่ ี mast cell&basophil
เมื่อถูกกระตุ้นโดย Ag ทาให้ เกิดการหลั่ง
histamine หรื อสารที่ก่อให้ เกิดอาการแพ้
การกาจัด Ag ของ Ab




                                             คล้ าย agglutination
Opsonization: the bound Ab                   เพียงแต่ เป็ น soluble Ag
enhance macrophage
attachment to, and thus
phagocytosis of, the microbes
The Classical Complement Pathway
-การเกิด lysis เซลล์ Ag โดย complement มี 2 วิธี
1.Classical pathway (ดังรูป) มีAbไปจับกับpathogen’s membrane จากนัน complement
                                                                   ้
ไปจับกับ Ab เกิดการเปลี่ยนแปลงเป็ นลาดับขันทาให้ เกิดรู บนเยื่อเซลล์ มีการ
                                              ้
เคลื่อนของอิออนและนาเข้ าสู่เซลล์ เซลล์ เกิดการบวมและแตก
                         ้
2.Alternative pathway เกิดโดย complement ไปจับกับ substrate ที่อยู่บนแบคทีเรี ย,
ยีสต์ , ไวรั ส และโปรโตซัวได้ โดยตรง
Active and Passive Immunity
Active immunity: การที่เราได้ รับเชือ เข้ า
                                       ้
ไป แล้ วร่ างกายสร้ าง Ab มาทาลาย
ขณะเดียวกันก็เก็บ memory cell ไว้ โดย
เชือที่ได้ รับเข้ าไปอาจเป็ นเชือโรคใน
    ้                           ้
ธรรมชาติ (infection) หรื อโดยการฉีดเชือ     ้
ที่อ่อนกาลังแต่ ยังมี epitope เข้ าร่ างกาย
(vaccination)
Passive immunity: ร่ างกายได้ รับ Ab ของ
เชือนันโดยตรง ซึ่ง Ab ที่ได้ จะคงอยู่ใน
      ้ ้
ร่ างกายเป็ นระยะเวลาสัน ๆ เช่ น Ab ต่ อ
                           ้
พิษงู, พิษสุนัขบ้ า
ระบบภูมิค้ ุมกันและการเกิดโรค
1. Blood group and blood transfusion
-ABO blood group จาแนกตาม Ag ที่อยู่บนผิวเม็ดเลือดแดง ซึ่งคนที่มีเลือดหมู่ A
จะมี Ab หมู่ b เป็ นต้ น
-แต่ เนื่องจาก blood group antigen เป็ น polysachharide จึงทาให้ เกิดการตอบสนอง
ของระบบภูมค้ ุมกันแบบ T-independent response เช่ นเมื่อแม่ เลือดหมู่ O ตังครรภ์
              ิ                                                             ้
ลูกเลือดหมู่ A (Ab-b)เมื่ อคลอดลูก เลือดจากลูกที่ไหลเข้ าสู่แม่ สามารถกระตุ้นการ
สร้ าง Ab-b ได้ แต่ ลักษณะนีจะไม่ เป็ นอันตรายต่ อการตังครรภ์ ลูกคนต่ อมา (เลือด
                               ้                          ้
หมู่ B) เพราะ Ab ที่สร้ างเป็ น IgM ที่ไม่ สามารถแพร่ ผ่านรกได้
-แต่ ในกรณีของหมู่เลือด Rh (แม่ Rh- ลูกRh+) จะเป็ นอันตรายต่ อการตังครรภ์ ลูกคน
                                                                       ้
ต่ อมาเพราะ Ab ที่สร้ างเป็ น IgG ที่สามารถแพร่ ผ่านรกได้
               แม่      A (Ab-b)              แม่          ลูก
                O                             O (Ab-b)     B
2. ภูมิแพ้ (allergy)
-ภูมแพ้ เป็ นสภาวะ hypersensitive ของ
       ิ
ร่ างกายต่ อ environmental Ag (allergens)
มีขันตอนดังนี ้
     ้
1. เมื่อร่ างกายเผชิญกับ allergen ในครั งแรก
                                          ้
B cell เปลี่ยนเป็ น plasma cell และหลั่ง IgE
2. บางส่ วนของ IgE เข้ าจับกับ Mast cell
(โดยใช้ ส่วนหางจับ)
3. เมื่อร่ างกายได้ รับ allergen อีกครั ง
                                        ้
allergen จะจับกับ IgE ที่อยู่บน Mast cell จึง
ไปกระตุ้นให้ mast cell หลั่งสาร เช่ น
histamine (ทาให้ เกิด dilation และเพิ่ม
permeability ของเส้ นเลือด) เกิดอาการแพ้
เช่ น จาม, คัดจมูก, นาตาไหล
                         ้
3. Acquired immunodeficiency syndrome (AIDS)
 -เกิดจากไวรั ส human immunodeficiency
 virus (HIV) เข้ าไปทาลายระบบภูมค้ ุมกัน
                                ิ
ชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune system

Contenu connexe

Tendances

บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกTa Lattapol
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์Phattarawan Wai
 
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์Peangjit Chamnan
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อsukanya petin
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 1เรื่องภูมิคุ้มกัน
บทที่ 1เรื่องภูมิคุ้มกันบทที่ 1เรื่องภูมิคุ้มกัน
บทที่ 1เรื่องภูมิคุ้มกันJurarud Porkhum
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemkasidid20309
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2Wichai Likitponrak
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนkkrunuch
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย Thitaree Samphao
 
ใบกิจกรรมที่ 8การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 8การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกายใบกิจกรรมที่ 8การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 8การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกายAomiko Wipaporn
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารพัน พัน
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยาSircom Smarnbua
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 

Tendances (20)

บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
บทที่ 1เรื่องภูมิคุ้มกัน
บทที่ 1เรื่องภูมิคุ้มกันบทที่ 1เรื่องภูมิคุ้มกัน
บทที่ 1เรื่องภูมิคุ้มกัน
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
การทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาทการทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาท
 
ใบกิจกรรมที่ 8การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 8การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกายใบกิจกรรมที่ 8การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 8การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกาย
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 

Similaire à ชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune system

ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)Thitaree Samphao
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)Thitaree Samphao
 
ระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptx
ระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptxระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptx
ระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptxBewwyKh1
 
Biology bio10
 Biology bio10 Biology bio10
Biology bio10Bios Logos
 
โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.itualeksuriya
 
ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)
ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)
ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)pitsanu duangkartok
 
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive systemระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive systemsupreechafkk
 
4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new
4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new
4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 newเลิกเสี่ยง. ป่าน
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตTakky Pinkgirl
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์tarcharee1980
 
การศึกษาเซลล์
การศึกษาเซลล์การศึกษาเซลล์
การศึกษาเซลล์Issara Mo
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
การแบ่งเซลล์
การแบ่งเซลล์การแบ่งเซลล์
การแบ่งเซลล์Pew Juthiporn
 

Similaire à ชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune system (20)

Immune2551
Immune2551Immune2551
Immune2551
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
 
ระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptx
ระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptxระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptx
ระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptx
 
Biology bio10
 Biology bio10 Biology bio10
Biology bio10
 
โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.
 
ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)
ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)
ระบบภูมิคุ้มกัน (mechanism of body defense)
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive systemระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
 
4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new
4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new
4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
 
4
44
4
 
4
44
4
 
Cell
CellCell
Cell
 
การศึกษาเซลล์
การศึกษาเซลล์การศึกษาเซลล์
การศึกษาเซลล์
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
Kingdom protista
Kingdom protistaKingdom protista
Kingdom protista
 
การแบ่งเซลล์
การแบ่งเซลล์การแบ่งเซลล์
การแบ่งเซลล์
 

Plus de kasidid20309

Quiz Development.pdf
Quiz Development.pdfQuiz Development.pdf
Quiz Development.pdfkasidid20309
 
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormoneเรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormonekasidid20309
 
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...kasidid20309
 
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...kasidid20309
 
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...kasidid20309
 
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1kasidid20309
 
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
 ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t) ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)kasidid20309
 
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respirationชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respirationkasidid20309
 
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system kasidid20309
 
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretionชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretionkasidid20309
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system ตอนที่ 2
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system ตอนที่ 2ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system ตอนที่ 2
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system ตอนที่ 2kasidid20309
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system kasidid20309
 
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive systemชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive systemkasidid20309
 
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์ cell transport
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์  cell transportชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์  cell transport
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์ cell transportkasidid20309
 
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cellชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cellkasidid20309
 
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cellชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cellkasidid20309
 
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส meiosis
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส meiosisชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส meiosis
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส meiosiskasidid20309
 
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส mitosis
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส mitosisชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส mitosis
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส mitosiskasidid20309
 
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2kasidid20309
 
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1kasidid20309
 

Plus de kasidid20309 (20)

Quiz Development.pdf
Quiz Development.pdfQuiz Development.pdf
Quiz Development.pdf
 
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormoneเรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
 
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
 
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
 
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
 
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
 
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
 ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t) ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
 
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respirationชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration
 
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system
 
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretionชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system ตอนที่ 2
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system ตอนที่ 2ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system ตอนที่ 2
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system ตอนที่ 2
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
 
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive systemชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
 
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์ cell transport
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์  cell transportชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์  cell transport
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์ cell transport
 
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cellชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cell
 
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cellชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cell
 
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส meiosis
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส meiosisชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส meiosis
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส meiosis
 
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส mitosis
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส mitosisชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส mitosis
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส mitosis
 
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2
 
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1
 

ชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune system

  • 2. 4. IMMUNE SYSTEM ร่ างกายเรามีกลไกปองกันการรุ กลาทาลายจากสิ่งแปลกปลอม 2 แบบ คือ ้ ้ 1. Nonspecific defense mechanisms กลไกการทาลายสิ่งแปลกปลอมแบบไม่ จาเพาะ 1.1 First line of defense เป็ นกลไกการปองกันที่อยู่ภายนอกร่ างกาย เช่ น ผิวหนัง ้ และmucous membrane ที่ทางเดินอาหาร ทางเดินหายใจ ท่ อปั สสาวะและสืบพันธุ์ 1.2 Second line of defense เป็ นกลไกการปองกันที่อยู่ภายในร่ างกาย เมื่อสิ่ง ้ แปลกปลอมสามารถแทรกเข้ าสู่ภายในร่ างกายได้ เช่ น การเกิด phagocytosis โดย เม็ดเลือดขาว, การผลิต antimicrobial protein, inflammatory response 2. Specific defense mechanisms or third line of defense กลไกการทาลายสิ่ง แปลกปลอมแบบจาเพาะ ได้ แก่ การทางานของ lymphocytes และการผลิตantibody 2.1 Humoral (antibody-mediated) immune response 2.2 Cell-mediated immune response
  • 3. The First Line of Defense -เป็ นการปองกันการรุ กลาจากสิ่งแปลกปลอมโดยผิวหนังและ mucous membrane ้ ้ และยังมีการหลั่งสารออกมาช่ วยทาหน้ าที่อีกด้ วย เช่ น การหลั่งสารจากต่ อมเหงื่อ และต่ อมไขมัน ซึ่งปกติมีค่า pH 3-5 ที่มีความเป็ นกรดสูงพอในการทาลาย microorganism -การชาระล้ างออกโดยนาลาย, นาตา และ mucous (มี lysozyme เป็ นส่ วนประกอบ) ้ ้ -Lysozyme สามารถย่ อยผนังเซลล์ ของแบคทีเรี ยได้ หลายชนิด -Gastric mucous ในกระเพาะมีความเป็ นกรดสูง สามารถทาลายแบคทีเรี ยได้ ดี
  • 4. The Second Line of Defense 1. Phagocytosis by white blood cell -เซลล์ ท่ ีสามารถทาหน้ าที่ phagocytosis ได้ มีหลายชนิด ดังนี ้ 1. Neutrophils (60-70% ของเม็ดเลือดขาวทังหมด) มีช่วงชีวตประมาณ 2-3 วัน มักจะ ้ ิ สลายไปเมื่อทาลายสิ่งแปลกปลอม 2. Monocyte (5% ของเม็ดเลือดขาวทังหมด) หลังจาก monocyte หลั่งสู่กระแสเลือด ้ ได้ 2-3 ชั่วโมง จะเคลื่อนเข้ าสู่เนือเยื่อ และพัฒนาเป็ นเซลล์ macrphage (“big-eater”) ้ มีช่วงชีวตค่ อนข้ างยาว ิ 3. Eosinophil (1.5% ของเม็ดเลือดขาวทังหมด) ทาหน้ าที่ทาลายพยาธิขนาดใหญ่ ้ 4. Natural killer (NK) cell ทาหน้ าที่ทาลาย virus-infected body cell โดยไปจับที่เยื่อ เซลล์ และทาให้ เซลล์ แตก
  • 6. The Second Line of Defense 2. Antimicrobial protein -มีโปรตีนหลายชนิดทาหน้ าที่ปองกัน/ทาลายสิ่งแปลกปลอมที่บุกรุ กร่ างกาย ซึ่ง ้ ทาลายสิ่งแปลกปลอมโดยตรงหรื อยับยังการสืบพันธุ์ ได้ แก่ lysozyme, complement ้ system, interferons -complement system ทาหน้ าที่ย่อย microbes และเป็ น chemokines ต่ อ phagocytic cells -interferone เป็ นสารที่หลั่งจาก virus-infected cell ภายหลังจากที่เซลล์ (virus- infected cell) แตกออก จากนันจะแพร่ ไปยังเซลล์ ข้างเคียง เพื่อยับยังการ infect ้ ้ ของ virus ไปยังเซลล์ ข้างเคียง จึงสามารถยับยังเจริญของ virus ได้ (เนื่องจากไม่ มี ้ host)
  • 7. The Second Line of Defense 3. The Inflammatory Response -บริเวณที่เป็ นแผลมีการขยายตัวของเส้ นเลือด มีเลือดมาเลียงมาก เกิดการบวมแดง ้ -มีการหลั่ง histamine จากเนือเยื่อ (นอกจากนียังหลั่งได้ จาก basophil &mast cell) ้ ้ ทาให้ permeability ของ capillary เพิ่ม 1.เซลล์ บาดแผลหลั่ง 2.capillary ขยายตัวและ 3.chemokines กระตุ้น 4.phagocytic cell กิน chemical signal เช่ น เพิ่ม permeability ให้ phagocytic cell pathogens & เศษเซลล์ histamine, PG ของเหลวและblood เคลื่อนไปยังเนือเยื่อที่ ้ หลังจากนันบาดแผล ้ clotting element เคลื่อน ถูกทาลาย ปิ ด ออกจากเส้ นเลือด
  • 8. The Third Line of Defense -Lymphocytes เป็ นตัวการสาคัญในการทาลายสิ่งแปลกปลอมแบบจาเพาะ -Lymphocytes มี 2 ชนิดคือ B lymphocyte (B cell; bursa of Fabricius or bone marrow)&T lymphocyte (T cell; thymus) ซึ่ง T หรื อ B cell แต่ ละเซลล์ จะจาเพาะกับ Ag แต่ ละตัว โดยมีขัน ตอนการคัดเลือกเพื่อเพิ่มจานวน lymphocyte ที่เฉพาะต่ อ Ag เรี ยก Clonal ้ selection 1.Ag จับกับ Ag receptor บน B cell หนึ่งๆ 2.B cell ที่มี receptor ที่จาเพาะต่ อ Agนันจะเพิ่มจานวนได้ เป็ น clone ้ 4.บางเซลล์ พฒนาไปเป็ น ั long-lived memory cell ที่ 3.บางเซลล์ พฒนาไปเป็ น ั จะทาให้ เกิดการ short-lived plasma cell ตอบสนองอย่ างรวดเร็ว และหลั่ง Ab เมื่อร่ างกายได้ รับ Ag เดิม
  • 9. Immunological Memory -ในการเพิ่มจานวนของ Lymphocytes ที่ถูกคัดเลือก หลังจากเผชิญกับ Ag เป็ นครั ง ้ แรก ใช้ เวลานานประมาณ 10-17 วัน เรี ยกการตอบสนองในระยะแรกนีว่า primary้ immune response ได้ เซลล์ 2 ชนิดคือshort-lived effector cell (plasma cell(จาก B cell)&effector T cell(จาก T cell)) และ long-lived memory cells -ถ้ าร่ างกายมีการเผชิญกับ Ag เดิมอีก เป็ นครั งที่ 2 จะเกิดการตอบสนองเรี ยก ้ secondary immune response ซึ่งจะใช้ เวลาในการตอบสนองสันลง เพียง 2-7 วัน ้
  • 10. -Lymphocytes แบ่ งออกเป็ น 2 ชนิด คือ B lymphocyte และ T lymphocyte โดยทัง 2 เซลล์ เจริญมาจากเซลล์ ้ ตังต้ นชนิดเดียวกัน คือ Pluripotent stem cell ใน bone ้ marrow -หลังจากได้ เป็ น lymphocyte stem cell ถ้ าเซลล์ ยังคง เจริญต่ อไปใน bone marrow สุดท้ ายจะได้ B lymphocyte -แต่ ถ้า lymphocyte stem cell เคลื่อนไปและเกิด maturation ที่ต่อมไทมัส (thymus gland) สุดท้ ายจะได้ T cell -จากนัน lymphocytes ทังสองชนิดจะเคลื่อนไปอยู่ท่ ี ้ ้ lymphoid tissue เช่ น tonsil, lymph node, spleen -Lymphocyte ที่มี receptor ที่จาเพาะกับโมเลกุล(Ag)ใน ร่ างกาย จะกลายสภาพเป็ น non-functional หรื อเกิด apoptosis จึงทาให้ ไม่ มีการทาลายเซลล์ ในร่ างกายของ ตัวเองโดยระบบภูมค้ ุมกัน (self-tolerance) ิ
  • 11. Major Histocompatibility Complex(MHC) and T Cell -MHC เป็ นสาร glycoprotein -ในคนเรี ยก Human leukocyte antigens (HLA) -แบ่ งเป็ น class I MHC molecules และ class II MHC molecule -Class I MHC พบใน nucleated cell เกือบทุกชนิด จะไปกระตุ้น Cytotoxic T cell (cell-mediated immune response) -Class II MHC พบในเซลล์ บางชนิดเช่ น macrophage, B cell, activated T cell และเซลล์ ใน thymus จะไปกระตุ้น Helper T cell (cell-mediated and humoral immune response)
  • 12. Humoral and cell-mediated immune response
  • 13. บทบาทของ Helper T cell และ CD4 1.Antigen presenting 2.activated TH 3.activated TH 4.cytokine กระตุ้น cell (APC) กิน จับกับ MHC- แบ่ งตัวเพิ่ม TH, B cell & TC cell แบคทีเรียและขนส่ ง antigen complex จานวน และ ชินส่ วนของแบคทีเรีย ้ โดยมี CD4 หลั่ง cytokine มาที่ผิวเซลล์ ผ่าน class interleukin-1 มา II MHC ช่ วย
  • 14. บทบาทของ Cytotoxic T cell และ CD8 1.Infected cell (cancer cell) 2.Activated TCหลั่ง 3.นาและอิออนเคลื่อนเข้ า ้ ขนส่ งชินส่ วนของAg มาที่ ้ perforin ทาให้ เกิดรูท่ ี เซลล์ เซลล์ บวม และแตก ผิวเซลล์ ผ่าน class I MHC เยื่อเซลล์ ของ infected activated TCจับกับ MHC- cell antigen complex โดยมี CD8 &interleukin-2 มาช่ วย
  • 15. โครงสร้ างและหน้ าที่ของAb -Epitope or antigenic determinant เป็ นส่ วนของ Ag ที่ Ab เข้ าไปจับ (Ab จะใช้ ส่วน antigen binding site ในการจับ) -แบคทีเรี ยตัวหนึ่ง ๆ อาจมี epitope สาหรั บจับกับ Ab ได้ ถง 4 ล้ านโมเลกุล ึ
  • 16. -Ab เป็ น globular serum protein เรี ยก immunoglobulins (Igs) ประกอบด้ วย polypeptide 4 สาย; 2 สายเป็ น heavy chain และอีก 2 สายเป็ น light chain -constant region ของ heavy chain จะจาเพาะกับชนิดของ Ig (ใช้ จาแนกชนิดของ Ig) -variable region ของทัง light & heavy chain จะจาเพาะกับ epitope หนึ่ง ๆ ้
  • 17. -Immunoglobulin (Ig) มีทังหมด 5 ชนิด ้ 1. Ig M (pentamer) เป็ น Ig ที่พบเป็ นชนิดแรก เมื่อ expose กับ Ag พบครั งแรกในปลาฉลาม ้ และปลากระดูกแข็ง ดังนัน IgM จึงจัดเป็ น Ig ที่ ้ เก่ าแก่ ท่ ีสุดตามสายวิวัฒนาการ 2. Ig G (monomer) พบมากในกระแสเลือด ทาลายแบกทีเรี ย, ไวรั ส และtoxin 3. Ig A (dimer) พบใน mucousและ colostrum ปองกันการจับของไวรั สและแบกทีเรี ยต่ อ ้ epithelial surface 4. Ig D (monomer) พบมากที่ผิวของ B cell คาด ว่ าช่ วยกระตุ้นการเปลี่ยนจาก B cell ไปเป็ น plasma cell & memory B cell 5. Ig E (monomer) จับอยู่ท่ ี mast cell&basophil เมื่อถูกกระตุ้นโดย Ag ทาให้ เกิดการหลั่ง histamine หรื อสารที่ก่อให้ เกิดอาการแพ้
  • 18. การกาจัด Ag ของ Ab คล้ าย agglutination Opsonization: the bound Ab เพียงแต่ เป็ น soluble Ag enhance macrophage attachment to, and thus phagocytosis of, the microbes
  • 19. The Classical Complement Pathway -การเกิด lysis เซลล์ Ag โดย complement มี 2 วิธี 1.Classical pathway (ดังรูป) มีAbไปจับกับpathogen’s membrane จากนัน complement ้ ไปจับกับ Ab เกิดการเปลี่ยนแปลงเป็ นลาดับขันทาให้ เกิดรู บนเยื่อเซลล์ มีการ ้ เคลื่อนของอิออนและนาเข้ าสู่เซลล์ เซลล์ เกิดการบวมและแตก ้ 2.Alternative pathway เกิดโดย complement ไปจับกับ substrate ที่อยู่บนแบคทีเรี ย, ยีสต์ , ไวรั ส และโปรโตซัวได้ โดยตรง
  • 20. Active and Passive Immunity Active immunity: การที่เราได้ รับเชือ เข้ า ้ ไป แล้ วร่ างกายสร้ าง Ab มาทาลาย ขณะเดียวกันก็เก็บ memory cell ไว้ โดย เชือที่ได้ รับเข้ าไปอาจเป็ นเชือโรคใน ้ ้ ธรรมชาติ (infection) หรื อโดยการฉีดเชือ ้ ที่อ่อนกาลังแต่ ยังมี epitope เข้ าร่ างกาย (vaccination) Passive immunity: ร่ างกายได้ รับ Ab ของ เชือนันโดยตรง ซึ่ง Ab ที่ได้ จะคงอยู่ใน ้ ้ ร่ างกายเป็ นระยะเวลาสัน ๆ เช่ น Ab ต่ อ ้ พิษงู, พิษสุนัขบ้ า
  • 21. ระบบภูมิค้ ุมกันและการเกิดโรค 1. Blood group and blood transfusion -ABO blood group จาแนกตาม Ag ที่อยู่บนผิวเม็ดเลือดแดง ซึ่งคนที่มีเลือดหมู่ A จะมี Ab หมู่ b เป็ นต้ น -แต่ เนื่องจาก blood group antigen เป็ น polysachharide จึงทาให้ เกิดการตอบสนอง ของระบบภูมค้ ุมกันแบบ T-independent response เช่ นเมื่อแม่ เลือดหมู่ O ตังครรภ์ ิ ้ ลูกเลือดหมู่ A (Ab-b)เมื่ อคลอดลูก เลือดจากลูกที่ไหลเข้ าสู่แม่ สามารถกระตุ้นการ สร้ าง Ab-b ได้ แต่ ลักษณะนีจะไม่ เป็ นอันตรายต่ อการตังครรภ์ ลูกคนต่ อมา (เลือด ้ ้ หมู่ B) เพราะ Ab ที่สร้ างเป็ น IgM ที่ไม่ สามารถแพร่ ผ่านรกได้ -แต่ ในกรณีของหมู่เลือด Rh (แม่ Rh- ลูกRh+) จะเป็ นอันตรายต่ อการตังครรภ์ ลูกคน ้ ต่ อมาเพราะ Ab ที่สร้ างเป็ น IgG ที่สามารถแพร่ ผ่านรกได้ แม่ A (Ab-b) แม่ ลูก O O (Ab-b) B
  • 22. 2. ภูมิแพ้ (allergy) -ภูมแพ้ เป็ นสภาวะ hypersensitive ของ ิ ร่ างกายต่ อ environmental Ag (allergens) มีขันตอนดังนี ้ ้ 1. เมื่อร่ างกายเผชิญกับ allergen ในครั งแรก ้ B cell เปลี่ยนเป็ น plasma cell และหลั่ง IgE 2. บางส่ วนของ IgE เข้ าจับกับ Mast cell (โดยใช้ ส่วนหางจับ) 3. เมื่อร่ างกายได้ รับ allergen อีกครั ง ้ allergen จะจับกับ IgE ที่อยู่บน Mast cell จึง ไปกระตุ้นให้ mast cell หลั่งสาร เช่ น histamine (ทาให้ เกิด dilation และเพิ่ม permeability ของเส้ นเลือด) เกิดอาการแพ้ เช่ น จาม, คัดจมูก, นาตาไหล ้
  • 23. 3. Acquired immunodeficiency syndrome (AIDS) -เกิดจากไวรั ส human immunodeficiency virus (HIV) เข้ าไปทาลายระบบภูมค้ ุมกัน ิ