SlideShare a Scribd company logo
1 of 83
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และคอมพิวเตอร์
เริ่มจากช่วงต้นปี ค.ศ. 1900 ที่มีการพัฒนาเครื่องจักรต่าง ๆ เพื่อใช้ทางานแทนคน จึง
มีการศึกษาเกี่ยวกับประสิทธิภาพและวิธีการทางานของมนุษย์ เพื่อนามาปรับปรุงการ
ทางานของเครื่องจักร ส่งผลให้สามารถผลิตอาวุธที่มีประสิทธิภาพเหนือคู่แข่งได้ จนถึง
ยุคคอมพิวเตอร์เฟื่องฟู ก็ถูกนามาประยุกต์ใช้กับคอมพิวเตอร์ด้วย จนกลายมาเป็น
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ในทุกวันนี้
ความหมายของปฏิสัมพันธ์ระหว่าง
มนุษย์และคอมพิวเตอร์
คานิยาม
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และคอมพิวเตอร์ หมายถึง แนวทางที่
เกี่ยวกับการออกแบบ ประเมินผล และนาไปพัฒนา ของระบบ
คอมพิวเตอร์ที่มีการโต้ตอบเพื่อให้มนุษย์ใช้งาน และแนวทางที่
เกี่ยวข้องกับการศึกษาธรรมชาติของสิ่งที่ปรากฏอยู่ล้อมรอบระบบ
สมาคมคอมพิวเตอร์ ACM และสถาบัน
วิชาชีพวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
ได้ให้ความหมายอย่างเป็นทางการไว้ว่า
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และคอมพิวเตอร์ เป็นระเบียบวิธีที่เกี่ยวข้องกับการ
ออกแบบการประเมินคนและการดาเนินการของระบบคอมพิวเตอร์ ที่สามารถ
ปฏิสัมพันธ์กับมนุษย์เพื่อประโยชน์ของการใช้งาน และกับการศึกษาปรากฏการณ์
ที่สาคัญในสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์
เป้าหมายของการปฏิสัมพันธ์ระหว่าง
มนุษย์กับคอมพิวเตอร์
คือ การออกแบบที่ลดช่องว่างระหว่างมนุษย์และคอมพิวเตอร์ให้เหลือน้อยที่สุด
โดยจะต้องจาลองการทางานและการรับรู้ของมนุษย์ออกมาเป็นโมเดล เพื่อให้
คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจผู้ใช้งานได้
องค์ประกอบที่จะนาไปสู่เป้าหมายของการปฏิสัมพันธ์
ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ มี 5 องค์ประกอบ
ระบบ
System
ความปลอดภัย
Safety
ใช้งานได้จริง
Usability
ทาให้มีประโยชน์ใช้ได้จริง
Utility
การปรับปรุงประสิทธิผล
และประสิทธิภาพ
Effectiveness and Efficiency
ระบบ
System
มีความหมายที่ครอบคลุมไม่ได้มีเพียงแค่ฮาร์ดแวร์หรือ
ซอฟต์แวร์ แต่มาถึงสภาพแวดล้อมทั้งหมดที่ใช้ หรือถูก
กระทบโดยเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ความปลอดภัย
Safety
คือ การมุ่งเน้นในเรื่องการออกแบบให้ระบบที่พัฒนามี
ความปลอดภัยทั้งกับบุคคลและองค์กรที่ใช้งานระบบ
ใช้งานได้จริง
Usability
การทาระบบให้ง่ายต่อการเรียนรู้ และง่ายต่อการใช้งาน
ระบบคอมพิวเตอร์ ไม่ก่อความลาบากหรือราคาญกับผู้ใช้
ทาให้มีประโยชน์ใช้ได้จริง
Utility
คือ การสร้างระบบให้สามารถใช้งานได้จริง
การปรับปรุงประสิทธิผล
และประสิทธิภาพ
Effectiveness and Efficiency
คือ การมุ่งเน้นให้ระบบที่พัฒนาขึ้นมีผลการทางานที่ดี
มีความสะดวกสบายในแต่ละส่วนของระบบ
ขั้นตอนที่จะนาไปสู่เป้าหมายของการ
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์
กับคอมพิวเตอร์
จะต้องมีความเข้าใจ คือ เข้าใจในเรื่องจิตวิทยากายศาสตร์ และปัจจัยเกี่ยวข้อง
กับองค์กร และสังคมของคน เพื่อพัฒนาระบบให้ผู้ใช้สามารถที่จะใช้งานระบบได้
อย่างง่าย จะต้องสามารถพัฒนา คือ มีการใช้เครื่องมือหรือเทคโนโลยีต่าง ๆ ที่
จะนามาใช้ในการพัฒนาระบบ และสุดท้าย คือ จะต้องมีการทาปฏิสัมพันธ์ให้มี
การบรรลุ มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และปลอดภัยต่อทั้งบุคคลและกลุ่ม
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์
ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลักคือ
ปฏิสัมพันธ์
Interactive
ผู้ใช้หรือมนุษย์
User or Human
คอมพิวเตอร์
Computer
ผู้ใช้หรือมนุษย์
User or Human
ผู้ใช้หรือมนุษย์ คือ ผู้ใช้หรือกลุ่มผู้ใช้ที่ทางานด้วยกัน ซึ่งจะนาเอา
การรับรู้ของผู้ใช้ เช่น การมองการได้ยินและการสัมผัส มาใช้ในการ
ควบคุมการส่งผ่านข่าวสารข้อมูล ซึ่งจะมีความแตกต่างกัน ตามแต่
ละความถนัดของผู้ใช้ หรือตามหลักการข้อกาหนดของการใช้งานที่
แตกต่างกัน หรือแตกต่างตามความสามารถในการเรียนรู้ และองค์
ความรู้ที่มีอยู่รวมไปถึงความแตกต่างทางธรรมชาติและวัฒนธรรม
คอมพิวเตอร์
Computer
คอมพิวเตอร์ ในที่นี้ หมายถึง ระบบต่าง ๆ ที่มีขอบเขตอย่างกว้างขวาง รวมไปถึงเครื่องจักรกลและระบบอัตโนมัติต่าง ๆ มิใช่เฉพาะเครื่อง
คอมพิวเตอร์เพียงอย่างเดียว
ปฏิสัมพันธ์
Interactive
ปฏิสัมพันธ์ คือ การปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ใช้และคอมพิวเตอร์ ตัวอย่างเช่น ตัวอักษรหรือวัตถุ ที่แสดงบนหน้าจอของเครื่องคอมพิวเตอร์
ผ่านซอฟต์แวร์ การรับข้อมูลจากผู้ใช้ผ่านฮาร์ดแวร์ที่เป็นอุปกรณ์ต่อพ่วงกับคอมพิวเตอร์ เช่น คีย์บอร์ด และเมาส์ การปฏิสัมพันธ์กับ
ผู้ใช้ในระบบคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เช่น ในเครื่องบิน หรือในโรงงานกาเนิดไฟฟ้า เป็นต้น
ส่วนประกอบของปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์
การทางานในสภาพแวดล้อมของคอมพิวเตอร์
Use and Context
เป็นการจัดความเหมาะสมในการทางานของผู้ใช้และระบบคอมพิวเตอร์ ให้ทั้งสองส่วนสามารถ
ทางานด้วยกันได้อย่างสอดคล้องสมดุลโดยวิเคราะห์ 3 ส่วน ได้แก่
Social Organization
and Work
U1 Application Areas
U2
Human-Machine
Fit and Adaptation
U3
U1 Social Organization and Work
เป็นลักษณะการทางานขององค์กร โดยต้องมีการทาการวิเคราะห์การทางานของ
องค์กร การมีปฏิสัมพันธ์ของมนุษย์ในสังคมองค์กร ซึ่งโดยปกติรูปแบบการทางาน
ของมนุษย์มีหลายรูปแบบ เชลล์ ทางานเป็นกลุ่มเล็ก ๆ ทางานเป็นองค์กร หรือ
ทางานเป็นระบบ รวมถึงคุณภาพชีวิตในการทางาน
U2 Application Areas
เป็นลักษณะของระบบงาน โดยจะพิจารณาลักษณะงานของแต่ละระบบ
เช่น งานที่ต้องทาคนเดียว หรืองานที่ต้องทาเป็นกลุ่ม
U3 Human-Machine Fit and Adaptation
เป็นการพัฒนาระบบเพื่อเชื่อมโยงมนุษย์และระบบงานเข้าด้วยกัน เป็นการพัฒนา
ระบบเพื่อเชื่อมโยงมนุษย์และระบบงานเข้าด้วยกัน โดยพิจารณาดูว่าจะปรับระบบงาน
ให้ทางานร่วมกับมนุษย์ได้อย่างไร และปรับขั้นตอนการทางานประจามาใช้งานระบบ
ได้อย่างไร
เป็นการศึกษาทาความเข้าใจเกี่ยวกับมนุษย์ ซึ่งประกอบด้วย 3 ส่วนดังนี้
H2Language Communication and Interaction หมายถึงภาษา การสื่อสาร และการปฏิสัมพันธ์
H1 Human Information Processing หมายถึงกระบวนการรับรู้และการวิเคราะห์ของมนุษย์
H3Ergonomics หมายถึงภาษา การสื่อสาร และการปฏิสัมพันธ์
ลักษณะเฉพาะของมนุษย์
Human
ระบบคอมพิวเตอร์และการติดต่อกับผู้ใช้งาน
Computer
เป็นส่วนประกอบพิเศษที่คอมพิวเตอร์มีเพื่อการปฏิสัมพันธ์ ประกอบด้วย 5 ส่วน ได้แก่
C2Dialogue Techniques
เทคนิคที่ใช้ในขั้นตอนการโต้ตอบระหว่างการใช้งาน
C1 Input and Output Device
อุปกรณ์นาเข้าและแสดงผล เป็นตัวเชื่อมมนุษย์และคอมพิวเตอร์
C3Dialogue Genre
เทคนิคที่ทาให้เกิดผลในการออกแบบขนาดใหญ่
C4Computer Graphic
รายละเอียดในส่วนสนับสนุนการโต้ตอบ
C5Dialogue Architecture
การตอบในเทคนิค ที่นาไปสู่การออกแบบระบบสถาปัตยกรรม
กระบวนการพัฒนาและประเมินค่า
Development Process
เป็นส่วนที่เกี่ยวข้องกับการสร้างและประเมินผลส่วนประสานงานที่ใช้กับมนุษย์ ประกอบด้วย
D2Implementation techniques and tools
เทคนิคและเครื่องมือสาหรับใช้พัฒนาเพื่อให้เกิดผล
D1 Design Approaches
วิธีการออกแบบสาหรับการโต้ตอบ
D3Evaluation technique
เทคนิคที่ใช้ในการประเมินผล
D4Example systems and case studies
ตัวอย่างระบบการออกแบบและกรณีศึกษาที่เหมาะสม
หลักการที่ทาให้แน่ใจว่าเป็นการปฏิสัมพันธ์
ระหว่างมนุษย์และคอมพิวเตอร์ที่ดีก็คือ
Visibility
แนวคิดที่ใช้เพื่อควบคุมการออกแบบให้สามารถมองเห็นว่าเราทาอะไร
และระบบตอบสนองเช่นไร เหมาะสมหรือไม่
Affordance
คือ แนวคิดที่ใช้เพื่อควบคุมการออกแบบให้สามารถสื่อสารกับ
ผู้ใช้งานได้อย่างชัดเจน โดยไม่ต้องอาศัยกระบวนการคิด เช่น เมื่อเรา
เห็นเก้าอี้ ก็เข้าใจได้ทันทีว่าใช้งานอย่างไร
ก้าวแรกสู่โลกแห่ง UI, UX และ HCI
UX UI HCI
ด้วยความที่มนุษย์เรา (ส่วนใหญ่) ไม่มีพลังจิตที่จะสั่งให้อุปกรณ์ต่าง ๆ
ทางานได้อย่างใจเราคิด ด้วยความที่มนุษย์และเครื่องจักร หรือ
คอมพิวเตอร์นั้นมีกลไกการทางานที่ต่างกันโดยสิ้นเชิง ทั้งวิธีการ
รับส่งข้อมูล วิธีการคิดและประมวลผลข้อมูล รวมถึงความสามารถใน
การกระทาหรือตอบสนองต่อสิ่งต่าง ๆ
ดังนั้น สะพานเชื่อมฝั่งมนุษย์และฝั่งคอมพิวเตอร์ หรือส่วนประสานงาน
ผู้ใช้ (UI) จึงยังเป็นสิ่งสาคัญที่ขาดไม่ได้ โดยเฉพาะในยุคนี้ที่ผู้ใช้
คอมพิวเตอร์ไม่ได้จากัดอยู่แค่ผู้เชี่ยวชาญที่ต้องมีความรู้เฉพาะทาง แต่
ใครๆ ก็สามารถใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศได้
คาว่า UI, UX รวมถึงระบบที่มักถูกเรียกว่า Interactive
หรือ Responsive ได้กลายมาเป็นคาพูดติดปากผู้คนใน
แวดวงเทคโนโลยี ตั้งแต่นักพัฒนาโปรแกรมไปจนถึงระดับ
ผู้ประกอบการธุรกิจเทคโนโลยียักษ์ใหญ่ของโลก
UI คืออะไร?
UI หรือ User Interface หรือเรียกว่า ส่วนประสานผู้ใช้ ซึ่งในแง่ของ
เทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึงอุปกรณ์หรือสิ่งที่ทาหน้าที่เป็นตัวกลาง
เชื่อมประสานให้ผู้ใช้ (User) และเครื่องจักร หรือคอมพิวเตอร์ให้
สามารถสื่อสาร และทางานร่วมกันเพื่อบรรลุเป้าหมายหนึ่ง ๆ ได้
ตัวอย่างของ UI สาหรับคอมพิวเตอร์
เช่น หน้าจอมอนิเตอร์ เมาส์ และคีย์บอร์ด โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
เมาส์และคีย์บอร์ด
จะแปลงตาแหน่งของเคอร์เซอร์ คาสั่งการคลิกเลือก หรือตัวอักษรที่
พิมพ์ให้กลายเป็นคาสั่งในรูปของเลขฐานสอง ที่หน่วยประมวลผล
ของคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและทาตามได้
หน้าจอมอนิเตอร์
จะแปลงข้อมูลเลขฐานสองที่เก็บอยู่ในคอมพิวเตอร์ให้ออกมา
เป็นรูปภาพ สีสัน ไอคอนต่าง ๆ ที่มนุษย์สามารถดูแลเข้าใจ
ความหมายได้
สมาร์ทโฟน หรือแท็บเล็ต คอมพิวเตอร์ที่เราใช้กันอยู่นั้น คือ อุปกรณ์ UI ที่รวมเอาความสามารถ
การรับส่งข้อมูลทั้ง 3 อย่างไว้ในตัวเดียว
เมาส์, คีย์บอร์ด, หน้าจอมอนิเตอร์, หน้าจอสัมผัส
(Touch Screen)
=
+ UI
+
ทั้งนี้ UI ไม่ได้จากัดว่าต้องเป็นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์เท่านั้น ภาพไอคอนโปรแกรมต่างๆ บนหน้าจอเดสก์ท็อป
แถบเมนูคาสั่งของโปรแกรม ภาพของปุ่มสาหรับกดบนหน้าจอโปรแกรม เสียงเตือนของโปรแกรม ฯลฯ
ก็ถือเป็น UI เช่นกัน โดยเป็น UI ที่ทาหน้าที่แปลงข้อมูลเลขฐานสองที่เก็บอยู่ในคอมพิวเตอร์ให้ออกมาเป็น
ภาพหรือเสียงที่สื่อความหมายให้กับผู้ใช้คอมพิวเตอร์อย่างพวกเราได้
จากการสังเกตของ (ฐิติรัตน์ ศิริบวรรัตนกุล,2560) พบว่า UI มักจะพูดถึงใน 2 แนวทางต่อไปนี้
ส่วนต่อประสานผู้ใช้
UI : User Interface
UI ในเชิงศาสตร์และศิลป์ของการออกแบบ UI ในเชิงการวิจัยและพัฒนา
UI ในเชิงศาสตร์และศิลป์ของการออกแบบ
เป็นกระแสหลักของ UI ที่คนส่วนใหญ่พูดถึงกัน โดยมากมักหมายความ
ถึงการออกแบบ UI เชิงภาพ เช่น การออกแบบหน้าโฮมเพจ การ
ออกแบบหน้าต่างโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้สื่อความหมายและใช้งานง่าย
รวมถึงการออกแบบเสียงแจ้งเตือนต่าง ๆ ของโปรแกรมให้เหมาะสม
UI ในเชิงการวิจัยและพัฒนา
พบในแวดวงของนักวิจัยและพัฒนาสิ่งประดิษฐ์เทคโนโลยีใหม่ ๆ
เป็นหลัก โดย UI ในส่วนนี้มักเกี่ยวข้องกับเทคนิคเบื้องลึกที่ถูกใช้ใน
การสร้างและพัฒนานวัตกรรมฮาร์ดแวร์หรือซอฟต์แวร์ หรือทั้งคู่
จึงต้องอาศัยความรู้ทางเทคโนโลยีเฉพาะทางในการทาความเข้าใจ
UX คืออะไร?
จะเห็นว่า UI สาหรับคอมพิวเตอร์นั้นเรียกได้ว่ามีมาพร้อมๆกับการเกิดของ
คอมพิวเตอร์เลยก็ว่าได้ แต่ระยะหลังนี้คาว่า User Experience (UX) หรือ
ประสบการณ์ผู้ใช้กลับเป็นคาที่ถูกพูดถึงกันอย่างกว้างขวางมากกว่า ซึ่ง
ความหมายของ UX นั้นก็ตรงตามตัวอักษร โดยตัวอย่างของ UX ที่ไม่ดี
ผู้ใช้ใช้แล้วไม่ชอบ ไม่ประทับใจ หรือแม้แต่เวลาใช้แล้วหงุดหงิดอารมณ์เสีย
เช่น
คลิกเข้าเว็บไซต์ไป แต่มองหาหัวข้อที่ต้องการอ่านไม่พบ
ตัวหนังสือเล็กหรือสีอ่อนอ่านยาก
เข้าเว็บไซต์ขายของออนไลน์ กดของที่ต้องการใส่ลงในตะกร้าสินค้าครบ
แล้ว แต่พอจะจ่ายเงินไม่มีอะไรบอกเลยว่าควรต้องกดปุ่มอะไร หรือไปหน้า
ไหนต่อ
ใช้โปรแกรมบนสมาร์ทโฟน แต่กดไปกดมาเจอทางตันกดไปไหนต่อไม่ได้
ใช้คอมพิวเตอร์ทางานอยู่ๆก็มีข้อความแจ้งเตือนที่อ่านยังไงก็ไม่เข้าใจโผล่ขึ้นมา
ซึ่งหากเป็นการออกแบบ UX ที่ดีนั้นก็จะตรงกันข้าม คือ เป็นการออกแบบมาให้ผู้ใช้
สามารถทาสิ่งที่ต้องการได้สาเร็จลุล่วงโดยไม่ต้องลงเเรงกายเเรงสมองมากเกิน
ความจาเป็น UX ถือว่าเป็นเรื่องที่ค่อนข้างจุกจิกไม่สามารถมีมาตรฐานชี้ชัดได้
เพราะผู้ใช้แต่ละคนมีความต้องการ มุมมอง หรือความพึงพอใจต่อเทคโนโลยี หรือ
การออกแบบหนึ่ง ๆ ต่างกัน การออกแบบ UX ที่ดีจึงไม่ใช่แค่เรื่องความทันสมัยหรือ
ไฮเทคของเทคโนโลยี แต่ต้องมีความละเอียดอ่อนในการเข้าใจถึงความต้องการและ
พฤติกรรมของผู้ใช้งานส่วนใหญ่ด้วย
แต่ถ้าถามว่าตกลงแล้ว UX ประกอบจากอะไร จะทา UX ที่ดีต้อง
คานึงถึงอะไรบ้าง ก็มีคาตอบเป็นแบบจาลอง UX ที่หลากหลายเสนอ
โดยผู้เชี่ยวชาญหลายท่าน ซึ่งแบบจาลองจาก Dan Olsen ผู้แต่ง
หนังสือชื่อ The Lean Product Playbook (2015) คือการใช้ภูเขา
น้าแข็งเพื่อแสดงให้เห็นว่า UX ที่ดีนั้นไม่ใช่แค่ส่วนของการออกแบบที่
มองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ซึ่งเป็นยอดของภูเขาน้าแข็ง แต่ยังมีส่วนอื่น ๆ
ที่ซ่อนอยู่ใต้ผิวน้าไปรากฐานสาคัญที่จะละเลยไปไม่ได้ด้วย
ทั้งนี้รายละเอียดของแต่ละส่วนของภูเขาน้าแข็งไล่จากล่างขึ้นบน ได้แก่
What most
People see
And react to
What good
product
people
think about
Visual
Design
Interaction
Design
Information
Architecture
Conceptual
Design
กรอบแนวคิดในการออกแบบ
Conceptual Design
เกี่ยวข้องกับความหมาย หรือนวัตกรรมว่าผลิตภัณฑ์นั้น ๆ ได้นาเสนอแนวคิดหรือ
ฟังก์ชันการทางานอะไรที่ช่วยสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ผู้ใช้บ้าง
การออกแบบและจัดโครงสร้างของข้อมูล และสารสนเทศ รวมถึงฟังก์ชัน
ความสามารถของผลิตภัณฑ์ โดยสถาปัตยกรรมสารสนเทศที่ดีจะช่วยให้
ค้นหาสิ่งที่ต้องการและการใช้งานผลิตภัณฑ์ทาได้ง่าย ซึ่งส่วนนี้ถือเป็น
รากฐานสาคัญของการได้มาซึ่ง UX ที่ดี
สถาปัตยกรรมสารสนเทศ
Information Architecture
การออกแบบปฏิสัมพันธ์
Interaction Design
การออกแบบว่าระหว่างผู้ใช้กับตัวผลิตภัณฑ์มีขั้นตอนการปฏิสัมพันธ์ตามลาดับ
อย่างไร ซึ่งรวมถึงว่าควรต้องมีการสร้างผลตอบกลับ (feedback) ให้ผู้ใช้อย่างไร
บ้างด้วย
การออกแบบภายนอกในส่วนที่ผู้ใช้สามารถมองเห็นทันทีด้วยตาเปล่า
ซึ่งเป็นองค์ประกอบของ UX ส่วนที่เด่นชัดที่สุดสาหรับผู้ใช้
การออกแบบเชิงกายภาพ
Visual Design
Usability และ User Friendly
นอกจากคาว่า UX และ UI แล้วอีกคาหนึ่งที่มีการพูดถึงบ่อยครั้งก็คือคาว่า
Usability หรือความสามารถในการใช้งาน ผู้ใช้จะสามารถใช้สิ่งของนี้ได้สาเร็จ
อย่างยากลาบากหรือง่ายดายมากเพียงใด โดยคาคานี้สามารถนาไปใช้ได้กับเกือบ
ทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็นการออกแบบหน้าตาเว็บไซต์ การออกแบบเตาไมโครเวฟ
หรือแม้แต่การออกแบบประตูบานหมุนก็ตาม
คาจากัดความของ Usability มีการ
จัดแยกองค์ประกอบได้ดังต่อไปนี้
มีประโยชน์
Useful
สามารถเรียนรู้
Learnable
สามารถจาได้
Memorable
มีประสิทธิผล
Effective
มีประสิทธิภาพ
Efficient
เป็นที่ต้องการ
Desirable
ให้ความสุขใจ
Delightful
1. มีประโยชน์
มีประโยชน์ไหม ทาเรื่องที่ผู้ใช้ต้องการจะทาจริงๆ หรือเปล่า
Useful
2. สามารถเรียนรู้
ผู้ใช้สามารถรู้วิธีใช้สิ่งนี้ได้เองหรือเปล่า
Learnable
3. สามารถจาได้
เวลากลับมาใช้อีกภายหลัง ยังจะต้องมาเรียนวิธีใช้ใหม่อีกไหม
Memorable
4.มีประสิทธิผล
สามารถทาสิ่งที่ผู้ใช้ต้องการได้สาเร็จหรือไม่
Effective
5.มีประสิทธิภาพ
เวลาและความพยายามที่ต้องใช้ กับผลที่ได้สมเหตุสมผลกันหรือไม่
Efficient
6.เป็นที่ต้องการ
มีคนต้องการสิ่งนี้อยู่หรือไม่
Desirable
7.ให้ความสุขใจ
ใช่แล้วทาให้รู้สึกสนุกหรือมีความสุขหรือไม่
Delightful
Usability
คือ การที่คนทั่วไปที่มีความสามารถและประสบการณ์อยู่ในระดับค่าเฉลี่ย
(หรือแม้แต่คนที่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย) สามารถจะรู้วิธีการใช้ของสิ่งนั้น
(Learnable) เพื่อทาสิ่งที่ต้องการได้สาเร็จ (Effective) โดยไม่ต้องพบ
ปัญหามากเกินกว่าความจาเป็น (Efficient)
นั้นอยู่ที่การมุ่งหวังประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพราะในขณะที่ User Friendly เน้นสร้าง
ความพึงพอใจให้ผู้ใช้เป็นหลัก โดยอาจจะไม่สนใจว่าผลิตภัณฑ์นี้ได้ทาในสิ่งที่ผู้ใช้ต้องการ
สาเร็จลุล่วงอย่างถูกต้องหรือไม่ เพิ่มภาระการทางานให้ผู้ใช้เกินความจาเป็นไปหรือเปล่า ซึ่ง
หากเป็นผู้เชี่ยวชาญด้าน Usability แม้ความพึงพอใจของผู้ใช้จะสาคัญ แต่ก็ไม่ทิ้งประเด็นของ
การทางานที่ผู้ชายต้องการทาสาเร็จและถูกต้อง ด้วยการลงแรงที่สมเหตุสมผลกัน
ความแตกต่างของ Usability
และ User Friendly
ความเป็นมิตรกับผู้ใช้
UX, UI และ USABILITY ต่างกันอย่างไร
มีคาตอบจากผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ตอบโจทย์และตรงใจผู้ใช้ว่า “การออกแบบ UI
นั่นเป็นเพียงส่วนหนึ่งของการได้มาซึ่ง UX ที่ดี” โดยสาหรับ Dan Olsen นั้นได้เน้นย้าถึงกุญแจ
สาคัญในการได้มาซึ่ง UX ที่ดีคือ “Usability (ความสามารถในการใช้งาน) + Delightful
(ความสุขใจและความสนุกของผู้ใช้)” หรือนอกจากผู้ใช้จะต้องใช้งานผลิตภัณฑ์ได้ง่ายแล้วยังต้องใช้
แล้วรู้สึกสนุกหรือมีความสุขด้วยถึงจะครบองค์ประกอบของ UX ที่ดี พ่อจะสร้างความแตกต่างในยุค
การแข่งขันสูงนี้ได้
การออกแบบโดยมีผู้ใช้เป็นศูนย์กลาง
User-Centered Design (UCD)
ในช่วงก่อนปี ค.ศ.2000 คาว่า UCD หมายถึง การออกแบบที่คานึงถึงผู้ใช้ซึ่งแบ่งความ
เชี่ยวชาญออกเป็น 2 ฝั่งUsability พี่มีหน้าที่ทาให้การออกแบบนี้สามารถถูกใช้โดยผู้
ใช้ได้สาเร็จ และฝั่งผู้เชี่ยวชาญสถาปัตยกรรมสารสนเทศ (Information
Architecture) ที่มีหน้าที่ออกแบบเรียบเรียงเนื้อหา ให้อยู่ในลักษณะที่ผู้ใช้จะหาสิ่งที่
ต้องการพบเสมอ
UCD และ UX มีความต่างกันอย่างไร
UCD UX
สื่อถึงการออกแบบให้ถูกกับผู้ใช้
และทาให้แน่ใจว่ามันสามารถใช้งานได้
(Usable)
สื่อนัยของการนาความต้องการของผู้ใช้
(User’s needs) เข้าเป็นส่วนหนึ่งของวงจร
การพัฒนาผลิตภัณฑ์อยู่ตลอด
หากเปรียบเทียบคาว่า UX กับคาว่า UI และ Usability ต่างก็สาคัญ
และไม่สามารถเลือกละเลยเรื่องใดไปได้ เนื่องจากเหตุผล 2 ข้อ ดังนี้
UI เป็นส่วนหนึ่งของ UX ดังนั้นการสร้าง UX ที่ดีก็ละเลยส่วนของ UI
ไปไม่ได้ ในทางกลับกันแม้จะออกแบบ UI มาดี แต่หากองค์ประกอบอื่น
ทาไม่ได้ก็ไม่สามารถให้ผลลัพธ์ของ UX ที่ดีได้
1
การจะสร้าง UX ที่ดีต้องเรียนรู้ความต้องการและลักษณะของผู้ใช้ ทดสอบ
ว่าผู้ชายสามารถใช้ผลิตภัณฑ์ที่สร้างมานี้ได้จริงหรือไม่ นาผลการทดสอบ
มาปรับปรุงผลิตภัณฑ์อย่างไร ฯลฯ ซึ่งกระบวนการได้มาซึ่งข้อมูลเหล่านี้ก็
คือส่วนหนึ่งของการทดสอบ Usability และ Usability Testing นั่นเอง
2
ความสาคัญของ UX และ UI
ถ้าย้อนกลับไปก่อนหน้านี้เราไม่สามารถปฏิเสธได้ว่าความโด่งดังและเป็นที่กล่าวขานถึงของ UI และ
UX ในตอนนี้นั้นได้อานิสงส์มาจาก Steve Jobs และ Jonathanlve ซึ่งแสดงให้เห็นด้วยความสาเร็จ
ทางธุรกิจของผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีจากบริษัท Apple Inc. ที่เปลี่ยนความเชื่อเดิม ๆ และตอกย้าว่า
การเอาใจใส่และให้ความสาคัญกับผู้ใช้หรือการสร้าง UX ที่ดีนั้นมีความสาคัญไม่ได้ยิ่งหย่อนไปกว่า
การประดิษฐ์ วิจัย และพัฒนาส่วนของเทคนิคและเทคโนโลยีเลย
หากมองในแง่มุมของผู้เชี่ยวชาญการทดสอบ Usability (Usability
Testing) อย่าง Steve Krug และ Jakob Nielsen บ้าง พวกเขาก็มี
แนวคิดร่วมกันว่า การศึกษา และการทาความเข้าใจผู้ใช้นั้นให้ผลลัพธ์ที่
ยั่งยืน และใช้ได้ยาวนานมากกว่าการวิ่งไล่ตามเทคโนโลยีเพียง ดังคา
กล่าวว่า
“Usability นั้นไม่ใช่เรื่องของเทคโนโลยี แต่เป็นเรื่องของผู้ใช้และการ
รู้จักว่าพวกเขาเข้าใจและใช้งานสิ่งต่างๆ ได้อย่างไร เพราะในขณะที่
เทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงไปเร็ว แต่คนกลับเปลี่ยนไปช้ามาก”
ความสามารถของสมองของคนเรานั้นไม่ใช่จะเปลี่ยนแปลงไปได้ปีต่อปี
ดังนั้นความรู้จากการศึกษาเบื้องลึกพฤติกรรมของคนจึงมีอายุการใช้
งานที่ยืนยาวกว่า เพราะอะไรที่มันเคยยากสาหรับผู้ใช้เมื่อ 20 ปีที่แล้ว
มันก็คงจะยากสาหรับผู้ใช้ในปัจจุบันอยู่
การพัฒนา Usability และ UX ที่ดีให้กับผลิตภัณฑ์หรือบริการ
แต่แรกจะให้ผลตอบแทนกลับในระยะยาวในรูปแบบต่างๆ ต่อไปนี้
การได้ใจ
ของลูกค้า
1
ลดเวลา
และทรัพยากร
ที่ต้องสูญเสียใน
ระยะยาว
2
ผลพลอยได้
เรื่องการจัด
อันดับ SEO ที่ดี
3
ทาให้สามารถรักษาผู้ใช้ไว้กับผลิตภัณฑ์หรือบริการได้อย่างต่อเนื่อง
โดยไม่เลิกใช้หรือหนีไปใช้ผลิตภัณฑ์คู่แข่ง ในขณะเดียวกันลูกค้าที่พึง
พอใจเหล่านั้นยังจะช่วยแนะนาผลิตภัณฑ์หรือบริการต่อไปแบบปาก
ต่อปากเป็นการตลาดแบบไวรัล (Viral Marketing) ไปในตัว
1. การได้ใจของลูกค้า
เช่น ลดทรัพยากรที่ต้องใช้กับการให้บริการลูกค้า (Customer
Support) เพื่อแก้ปัญหา UX ของผลิตภัณฑ์ และลดการต้องมา
ตามแก้ไขปัญหา UX ที่พบภายหลังการออกแบบผลิตภัณฑ์ ซึ่ง
การแก้ไขภายหลังนี้สิ้นเปลืองกว่าการแก้ไขปัญหาเดียวกันตั้งแต่
แรกในช่วงระหว่างพัฒนาผลิตภัณฑ์มาก
2. ลดเวลาและทรัพยากรที่ต้อง
สูญเสียในระยะยาว
เนื่องจากเสิร์ชเอนจินอย่าง Google มีนโยบายจะจัดอันดับ
ให้การค้นหาที่สูงกว่ากับเว็บไซต์ที่สร้างมาให้มี UX ที่ดี
สาหรับผู้ใช้แพลตฟอร์มต่างๆของ Google เอง
3. ผลพลอยได้เรื่องการจัดอันดับ
SEO ที่ดี
นอกจากคาว่า UI และ UX แล้ว ยังมีคาว่า การปฏิสัมพันธ์ (Interaction)
และการตอบกลับหรือการตอบสนอง (Responsiveness) ที่ถูกพูดถึง
บ่อยไม่แพ้กัน เหตุผลเนื่องจากคาสองคานี้มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับ UI
และ UX อย่างลึกซึ้ง ซึ่งการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design)
ถูกจัดให้เป็นส่วนหนึ่งของภูเขาน้าแข็ง UX
รู้จักกับ Interactive และ Responsive
การปฏิสัมพันธ์
Interaction
มีความหมายตรงตามตัวอักษรคือ การสื่อสารหรือการกระทาที่มีลักษณะของการ
โต้ตอบหรือโต้กลับระหว่างกัน ไม่ใช่การปล่อยให้ฝั่งใดฝั่งหนึ่งมีหน้าที่กระทาหรือ
ป้อนข้อมูลเข้าไปอย่างเดียว โดยที่อีกฝั่งไม่แสดงปฏิริยาโต้ตอบกลับมาในรูปแบบใด ๆ
เลย ตัวอย่างของการปฏิสัมพันธ์ เช่น
เช่น ผู้ใช้ ผู้ใช้คลิกลิงค์บนเว็บไซต์แล้วเว็บไซต์ตอบสนองด้วยการแสดง
ข้อมูลในลิงค์ปลายทางได้
การปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ใช้และเว็บไซต์
เช่น หุ่นยนต์กู้ภัยเมื่อเจอสิ่งกีดขวางจะสามารถเปลี่ยนเส้นทางเดิน
เพื่อหลบสิ่งกีดขวางเองได้
การปฏิสัมพันธ์ระหว่างหุ่นยนต์
และสิ่งแวดล้อม
เช่น โทรทัศน์อัจฉริยะ (Smart TV) ที่ตอบสนองต่อคาสั่ง
ที่เป็นสัญลักษณ์มือของผู้ใช้จากระยะไกลได้
การปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ใช้
และโทรทัศน์อัจฉริยะ
ระบบคอมพิวเตอร์ที่จะถูกเรียกว่า ระบบปฏิสัมพันธ์ (Interactive
System) ได้นั้น คือ ระบบที่มีจานวนหรือระดับความเข้มข้นของการ
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และคอมพิวเตอร์สูงระดับหนึ่ง
การตอบสนอง/การตอบรับ
ในระบบปฏิสัมพันธ์
Responsiveness
กลไกของระบบปฏิสัมพันธ์ที่คอยติดตาม ตอบสนอง และแจ้งเตือนให้ผู้ใช้รับรู้ถึง
สถานะของตัวเองในปัจจุบัน เช่น ตอนนี้ดาวน์โหลดไฟล์เสร็จไปกี่เปอร์เซ็นต์ ที่กด
ปุ่มสั่งจ่ายเงินไปนั้นระบบได้รับรู้และดาเนินการหากจากบัตรเครดิตแล้วหรือยัง
มีเสียงร้องเตือนมาแสดงว่าแบตเตอรี่กาลังจะหมด เป็นต้น ซึ่งก็เป็นความหมาย
ในทานองเดียวกับคาว่า Responsive web design ที่หมายถึง สามารถ
ตอบสนองต่อหน้าจอแสดงผลที่มีขนาดหรือความละเอียดต่างกันก็ได้ โดยการ
เปลี่ยนหน้าตาและขนาดการแสดงผลไปตามแต่ละหน้าจอแสดงผลนั้น ๆ
การตอบสนอง/การตอบกลับ (Responsiveness) คือ ส่วนหนึ่ง
ของระบบปฏิสัมพันธ์ และการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction
Design) ที่ดีนั้นก็คือส่วนหนึ่งของการสร้าง UX ที่ดีนั่นเอง
สรุปได้ว่า
คาว่า UI, UX, Interactive และ Responsive นั้นเป็นคาที่ได้ยินกัน
ทั่วไปในยุคที่ผู้ใช้เป็นศูนย์กลาง (User centered) อย่างตอนนี้ แต่ถ้า
จะพูดถึงชื่ออย่างเป็นทางการที่พบได้บ่อยที่สุดสาหรับการศึกษาและ
วิจัยทางด้านนี้ก็ คือ คาว่า การปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับ
คอมพิวเตอร์ (HCI : Human-Computer Interaction) ซึ่งสมาคม
ระหว่างประเทศ ACM ได้ให้คาวิยามไว้ว่า
คือ สาขาที่สนใจในเรื่องของการออกแบบ (Design) การประเมิน (Evaluation)
และ การสร้าง (Implementation) ระบบปฏิสัมพันธ์คอมพิวเตอร์สาหรับใช้กับ
มนุษย์ ซึ่งรวมถึงการศึกษาเกี่ยวกับปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องอยู่ในการใช้งาน
ระบบนั้น ๆ ด้วย
การปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์
และคอมพิวเตอร์
เทียบกับศาสตร์การศึกษาด้านอื่น HCI ถือว่ามีอายุน้อยโดยมีหลักฐานย้อนไปถึง
ช่วงปี ค.ศ.1982 เท่านั้น ลักษณะเด่นของศาสตร์ HCI คือ ความเป็นสหวิทยาการ
(Interdiscipline) ที่หลอมเอาทั้งวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์เข้าด้วยกัน ตัวอย่าง
ของศาสตร์และศิลป์ที่สามารถพบได้ในการศึกษาวิจัยด้าน HCI เช่น
ประสาทวิทยาศาสตร์
Neuroscience
วิทยาการคอมพิวเตอร์
Computer Science
มนุษย์ปัจจัย
Ergonomics หรือ Human Factors
ปัญญาประดิษฐ์
Artificial Intelligence
สังคมวิทยา
Sociology
วิชาปรัชญา
Philosophy
มานุษยวิทยา
Anthropology
วิศวกรรมศาสตร์
Engineering
วิชาการออกแบบ
Design
ภาษาศาสตร์
Linguistics
จิตวิทยาการรู้คิด
Cognitive Psychology
นอกจากนี้เทคโนโลยีที่ใช้ในการศึกษาวิจัยด้าน HCI ก็ไม่จากัดแค่คอมพิวเตอร์ แต่
เป็นเทคโนโลยีอะไรก็ได้ ที่จะให้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุดสาหรับผู้ใช้ ตัวอย่างเช่น ปลอกแขน
MYO ที่การรู้จาสัญลักษณ์มือไม่ได้ใช้กล้องและความรู้ด้านการประมวลผล
ภาพเหมือนเทคโนโลยีอื่นที่ให้ผลลัพธ์เดียวกัน แต่ใช้การวิเคราะห์และแปรผล
กระแสไฟที่ถูกสร้างขึ้นในกล้ามเนื้อมนุษย์แทนเพื่อให้สามารถใช้งานกลางแจ้ง หรือ
ระหว่างเล่นกีฬาได้ ซึ่งความรู้ในเรื่องกระแสไฟในกล้ามเนื้อนี้เป็นความรู้ที่ใช้กันมา
นานแล้วในทางการแพทย์

More Related Content

What's hot

พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ประสบการณ์ผู้ใช้ / ส่วนต่อประสานงานกับผู้ใช้ / ปฏิสัมพันธ์ / การตอบสนอง (UX /...
ประสบการณ์ผู้ใช้ / ส่วนต่อประสานงานกับผู้ใช้ / ปฏิสัมพันธ์ / การตอบสนอง (UX /...ประสบการณ์ผู้ใช้ / ส่วนต่อประสานงานกับผู้ใช้ / ปฏิสัมพันธ์ / การตอบสนอง (UX /...
ประสบการณ์ผู้ใช้ / ส่วนต่อประสานงานกับผู้ใช้ / ปฏิสัมพันธ์ / การตอบสนอง (UX /...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
คู่มือการอบรมครู การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ด้วย MIT App Inventor
คู่มือการอบรมครู การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ด้วย MIT App Inventorคู่มือการอบรมครู การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ด้วย MIT App Inventor
คู่มือการอบรมครู การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ด้วย MIT App InventorSomchart Phaeumnart
 
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การทดสอบส่วนติดต่อผู้ใช้งาน (User Interface Testing)
การทดสอบส่วนติดต่อผู้ใช้งาน (User Interface Testing)การทดสอบส่วนติดต่อผู้ใช้งาน (User Interface Testing)
การทดสอบส่วนติดต่อผู้ใช้งาน (User Interface Testing)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงAR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลThanawut Rattanadon
 
การถ่ายภาพเร่งเวลา (Time-Lapse)
การถ่ายภาพเร่งเวลา (Time-Lapse)การถ่ายภาพเร่งเวลา (Time-Lapse)
การถ่ายภาพเร่งเวลา (Time-Lapse)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)
ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)
ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบอินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 

What's hot (20)

พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
 
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
 
ประสบการณ์ผู้ใช้ / ส่วนต่อประสานงานกับผู้ใช้ / ปฏิสัมพันธ์ / การตอบสนอง (UX /...
ประสบการณ์ผู้ใช้ / ส่วนต่อประสานงานกับผู้ใช้ / ปฏิสัมพันธ์ / การตอบสนอง (UX /...ประสบการณ์ผู้ใช้ / ส่วนต่อประสานงานกับผู้ใช้ / ปฏิสัมพันธ์ / การตอบสนอง (UX /...
ประสบการณ์ผู้ใช้ / ส่วนต่อประสานงานกับผู้ใช้ / ปฏิสัมพันธ์ / การตอบสนอง (UX /...
 
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
 
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
 
คู่มือการอบรมครู การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ด้วย MIT App Inventor
คู่มือการอบรมครู การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ด้วย MIT App Inventorคู่มือการอบรมครู การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ด้วย MIT App Inventor
คู่มือการอบรมครู การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ด้วย MIT App Inventor
 
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
 
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
 
การทดสอบส่วนติดต่อผู้ใช้งาน (User Interface Testing)
การทดสอบส่วนติดต่อผู้ใช้งาน (User Interface Testing)การทดสอบส่วนติดต่อผู้ใช้งาน (User Interface Testing)
การทดสอบส่วนติดต่อผู้ใช้งาน (User Interface Testing)
 
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงAR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
 
การถ่ายภาพเร่งเวลา (Time-Lapse)
การถ่ายภาพเร่งเวลา (Time-Lapse)การถ่ายภาพเร่งเวลา (Time-Lapse)
การถ่ายภาพเร่งเวลา (Time-Lapse)
 
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
 
ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)
ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)
ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)
 
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบอินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
 
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
 
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
 
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
 

Similar to ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)

2 ความหมายและคุณค่าของการทำ
2 ความหมายและคุณค่าของการทำ2 ความหมายและคุณค่าของการทำ
2 ความหมายและคุณค่าของการทำOrapan Chamnan
 
(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)JoyCe Zii Zii
 
(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)JoyCe Zii Zii
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1Rattana Wongphu-nga
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3Aungkana Na Na
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3Aungkana Na Na
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานGuideZa KaiNoi
 
ใบงานที่2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์Kanravee Chawalit
 
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงานAungkana Na Na
 
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงานAungkana Na Na
 
Computer14
Computer14Computer14
Computer14stampmin
 
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์Ekkachai Juneg
 
Ict300_2_edit
Ict300_2_editIct300_2_edit
Ict300_2_editNicemooon
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานcartoon656
 

Similar to ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction) (20)

2 ความหมายและคุณค่าของการทำ
2 ความหมายและคุณค่าของการทำ2 ความหมายและคุณค่าของการทำ
2 ความหมายและคุณค่าของการทำ
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)
 
(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
ใบงานที่2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่2 ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
Computer14
Computer14Computer14
Computer14
 
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Ict300_2_edit
Ict300_2_editIct300_2_edit
Ict300_2_edit
 
3.3
3.33.3
3.3
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
7
77
7
 

More from Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai

ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาลAR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาลDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย VidinotiDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheetsการเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google SheetsDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverseการสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial MetaverseDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 

More from Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai (20)

ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
 
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
 
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
 
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
 
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
 
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
 
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
 
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
 
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาลAR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
 
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
 
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheetsการเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
 
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
 
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverseการสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
 
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
 

ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)