SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  31
Télécharger pour lire hors ligne
(ร่าง)
แผนจัดการมลพิษ
พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕70
กองยุทธศาสตร์และแผนงาน
กรมควบคุมมลพิษ
กันยายน ๒๕๖๕
๑
(ร่าง) แผนจัดการมลพิษ พ.ศ. 2566 – 2570
1. หลักการและเหตุผล
กรมควบคุมมลพิษ ในฐานะหน่วยงานหลักในการเสนอนโยบายการจัดการมลพิษของประเทศ
ได้จัดทาแผนจัดการมลพิษ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นกรอบและทิศทางในการจัดการมลพิษของประเทศ
ที่สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาประเทศและการเปลี่ยนแปลงบริบทในระดับประเทศและระดับโลก และ
เป็นแนวทางเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการพัฒนาประเทศด้านการจัดการมลพิษที่มีเป้าหมาย
และทิศทางร่วมกัน ซึ่งแผนจัดการมลพิษฉบับแรก คือ แผนจัดการมลพิษ พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙ และเมื่อปี 2560
ได้จัดทายุทธศาสตร์การจัดการมลพิษ 20 ปี และแผนจัดการมลพิษ พ.ศ. 2560-2564 เนื่องจากประเทศไทย
มีการจัดทายุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี เพื่อใช้เป็นยุทธศาสตร์ในการพัฒนาประเทศในระยะยาว และ
มีความประสงค์ที่จะให้ประเทศไทยมีการวางแนวทางในการดาเนินงานด้านต่างๆ ในระยะยาวให้สอดคล้องกับ
กรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี กรมควบคุมมลพิษจึงได้จัดทายุทธศาสตร์การจัดการมลพิษ 20 ปี เพื่อให้
สอดรับกับยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี เพื่อกาหนดทิศทางการจัดการมลพิษของประเทศไทยในระยะยาว
และกาหนดแนวทางการดาเนินงานในแต่ละช่วงทุก 5 ปี โดยในช่วงระยะ 5 ปีแรก ได้จัดทาแผนจัดการมลพิษ
พ.ศ. 2560-2564 เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการสิ่งแวดล้อมใน
ระดับประเทศ รวมทั้งนโยบายรัฐบาล การปฏิรูปประเทศไทย แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
(พ.ศ. 2560-2564) แผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔ และนโยบายเกี่ยวกับการจัดการ
มลพิษที่สาคัญในระดับสากล โดยเฉพาะเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals:
SDGs) ในขณะนั้น โดยใช้กรอบแนวคิดบนหลักการของการพัฒนาที่มุ่งไปสู่เศรษฐกิจสีเขียว ส่งเสริมให้เป็น
สังคมของการผลิตและบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และทุกภาคส่วนร่วมรับผิดชอบสิ่งแวดล้อมและจัดการ
ปัญหามลพิษร่วมกัน เพื่อนาไปสู่คุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ได้มาตรฐานและการพัฒนาที่ยั่งยืน
เนื่องด้วยแผนจัดการมลพิษ พ.ศ. 2560-2564 ระยะ 5 ปีแรก สิ้นสุดลง กรมควบคุมมลพิษจึง
ได้วิเคราะห์ผลการดาเนินงานตามมาตรการภายใต้ยุทธศาสตร์การจัดการมลพิษ ๒๐ ปี และแผนจัดการมลพิษ
พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔ ในช่วงที่ผ่านมา และได้วิเคราะห์ยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
แผนการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 และได้พิจารณาให้สอดคล้องกับ
บริบทและสถานการณ์ในปัจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลง ซึ่งส่วนหนึ่งจะต้องมีการปรับตัวให้สอดคล้องกับ
การดาเนินวิถีชีวิตแบบใหม่ ภายหลังจากการได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส
โคโรนาในช่วงปี 2563 – 2564 การดาเนินการเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทย
โดยเฉพาะในสาขาการจัดการของเสีย รวมทั้งสถานการณ์ในอนาคต และได้คานึงถึงนโยบายที่กระแสโลก
ให้ความสาคัญ เช่น การขับเคลื่อนการพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ-เศรษฐกิจหมุนเวียน-
เศรษฐกิจสีเขียว (Bio-Circular-Green Economy : BCG Model) การพัฒนาสู่สังคมคาร์บอนต่า เป็นต้น
Should be 5 years
In summary, the strategy does not state what PCD and Thailand's waste management will be in 5 years.
Not to mention monitoring and control of these outcomes. Thus measuring the success of it will be impossible.
A good strategy should align with the goals of the firm. In this case, we see some strategy addressing
works that are only related to their department/field of interest.Board industries and area of focus were also found
making it harder for staffs to achieve targets stated.
Several action plans are vague and duplicate with other agencies. An integration collaboration between agencies is
a must when working with pollution management and control, especially non-point source pollution like pm2.5.
Not to mention working with international agencies that already have their own pollution standards e.g. IFOAM.
Industrial waste measure is also limited when compared with municipal waste.
The strategic also does not state resource allocation (staffs - knowledge/skill/ budget) monitoring and control mechanism
to ensure effectiveness, not to mention host/leadership for each strategy within the plan period.
๒
(ร่าง) แผนจัดการมลพิษ พ.ศ. 2566 – 2570
2. ผลการดาเนินงานที่สาคัญตามแนวทางการจัดการมลพิษภายใต้แผนจัดการมลพิษ
พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การป้องกันและลดการเกิดมลพิษที่ต้นทาง
1. การผลิตภาคอุตสาหกรรมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
จัดทาแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ส่งเสริมสถานประกอบการในการผลิต
ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Production) ให้คาปรึกษาแนะนาแก่ SMEs ในด้านเทคโนโลยีสะอาด
และเทคโนโลยีสีเขียว ให้คาปรึกษาแนะนาด้านการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Eco -
Packaging) แก่สถานประกอบการ และส่งเสริมผลิตภัณฑ์จากวัสดุเหลือใช้ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
(G -Upcycle) การเลิกใช้พลาสติกหุ้มฝาขวดน้าดื่ม (No Plastic Bottle Cap Seal) การเลิกใช้ไมโครบีดส์
จากพลาสติก (Microbeads) การเลิกใช้ถุงพลาสติกหูหิ้วขนาดบางร่วมกับภาคีเครือข่าย
2. การผลิตภาคเกษตรกรรมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
โครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) ถอดบทเรียน Smart Farmer
ด้านการประมง และคัดเลือกเกษตรกร สถาบันเกษตรกร และสหกรณ์ที่มีผลงานดีเด่น เพื่อเป็นการยกย่อง
ประกาศเกียรติคุณ
3. การท่องเที่ยวและธุรกิจบริการต่อเนื่องที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
กาหนดจานวนนักท่องเที่ยวที่เข้าไปในอุทยานแห่งชาติ เช่น หมู่เกาะสิมิลัน ส่งเสริมการท่องเที่ยว
กลุ่มGreen Tourismเผยแพร่ข้อปฏิบัติสาหรับนักท่องเที่ยว บนเว็บไซต์ของกรมการท่องเที่ยว ตรวจประเมิน
และรับรองคุณภาพมาตรฐานแหล่งท่องเที่ยว และจัดประกวดรางวัลอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
(Thailand Tourism Awards)
4. การคมนาคมขนส่งและการใช้พลังงานที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
พัฒนาระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ก่อสร้างทางจักรยานโครงข่ายทางหลวงชนบท สนับสนุน
การใช้เชื้อเพลิงสะอาดสาหรับยานพาหนะ จัดเก็บภาษีน้ามันเชื้อเพลิงตามหลักการด้านสิ่งแวดล้อม
และรับรองอาคารเขียว (Green building)
5. การส่งเสริมการบริโภคที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ส่งเสริมสานักงานสีเขียว (Green Office) ส่งเสริมการใช้ระบบบัตรสะสมคะแนนในการซื้อสินค้า
และบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Card) ผลิตและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ สร้างกระแสค่านิยม
การผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ผ่านช่องทางสื่อต่างๆ และจัดทาแผน
ส่งเสริมการจัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔
ยุทธศาสตร์ที่ 2 เพิ่มประสิทธิภาพในการบาบัด กาจัดของเสีย และควบคุมมลพิษจากแหล่งกาเนิด
1. การจัดการขยะมูลฝอยชุมชน ของเสียอันตรายชุมชน และมูลฝอยติดเชื้อ
โครงการทาความดีด้วยหัวใจ ลดภัยมลพิษ การจัดทาและขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการจัดการขยะมูลฝอย
ชุมชน “จังหวัดสะอาด” ตามแนวทางประชารัฐ โครงการบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบรวมกลุ่ม (Clusters)
ส่งเสริมการแยกทิ้งของเสียอันตรายจากชุมชนออกจากมูลฝอยทั่วไป และมีจุดทิ้งของเสียอันตรายจากชุมชน
(จุด Drop off) ทุกชุมชน เพื่อรวบรวมนาไปบาบัดและกาจัดอย่างถูกหลักวิชาการ จัดทา Roadmap การ
จัดการขยะพลาสติก แผนปฏิบัติการจัดการขยะพลาสติก มาตรการการจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์ จัดทา
(ร่าง) พระราชบัญญัติการจัดการซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
Should identify
industry/zone/area as it
is to board, hard to
define KPI
Similar to Strategy 1,
should specify
province/industry/area
of focus.
which province? state it
in the statement
Already have -
https://www.pcd.go.th/
wp-
content/uploads/2020/0
5/pcdnew-2020-05-
27_06-47-
53_174751.pdf
จัดทํา?
๓
(ร่าง) แผนจัดการมลพิษ พ.ศ. 2566 – 2570
2. การจัดการกากอุตสาหกรรม
จัดตั้งศูนย์ช่วยเหลือและติดตามการต่ออายุโรงงานที่ขาดอายุในการดาเนินการจัดการกากอุตสาหกรรม
และโครงการยกระดับผู้ประกอบการจัดการของเสีย
3. การจัดการสารอันตรายในภาคเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม
ตรวจสอบติดตามการปนเปื้อนโลหะหนักและสารพิษตกค้างในพื้นที่เกษตร และจัดทาระบบ
รายงานข้อมูลการปลดปล่อยและเคลื่อนย้ายมลพิษจากโรงงานที่มีการถือครองสารเคมีเป้าหมาย
4. การจัดการน้าเสียชุมชน
การจัดทาและขับเคลื่อนแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้า 20 ปี (พ.ศ. 2561- 2580)
แผนปฏิบัติการด้านการจัดการน้าเสียชุมชน ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580) แผนแม่บทด้าน
การจัดการคุณภาพน้าของประเทศ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) และการบริหารจัดการและ
บารุงรักษาระบบบาบัดน้าเสียรวมชุมชนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
5. การตรวจสอบและควบคุมแหล่งกาเนิด
กาหนด/ปรับปรุงมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมและมาตรฐานการระบายมลพิษจากแหล่งกาเนิดมลพิษ
ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน เช่น มาตรฐานค่าความเข้มกลิ่นของอากาศเสียที่ปล่อยทิ้งจาก
โรงงานผลิตยาง มาตรฐานระดับเสียงของรถยนต์ไฮบริด มาตรฐานระดับเสียงของรถจักรยานยนต์
มาตรฐานควบคุมการระบายน้าทิ้งจากแหล่งกาเนิดประเภทการเลี้ยงสุกร เป็นต้น ตรวจสอบเงื่อนไข
ในใบอนุญาตการประกอบกิจการของโรงงานก่อนหมดอายุใบอนุญาต และกากับดูแลแหล่งกาเนิดมลพิษ
ทั้งประเภทอาคาร การจัดสรรที่ดิน บริการชุมชน การติดตามตรวจสอบการดาเนินการตามมาตรการ
ที่กาหนดไว้ในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และให้หน่วยงานท้องถิ่นนาไปใช้ในการกากับ
บังคับใช้กฎหมาย อนุมัติ อนุญาตและต่อใบอนุญาตก่อสร้าง ติดตามตรวจสอบ กากับดูแล ควบคุม
แหล่งกาเนิดมลพิษตาม พ.ร.บ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ ให้ปฏิบัติ
ตามมาตรฐานควบคุมการระบายน้าทิ้งตามที่กฎหมายกาหนด การเสริมสร้างศักยภาพและยกระดับ
ขีดความสามารถเจ้าหน้าที่ของรัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อบังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มงวด และ
การพัฒนาผู้ประกอบการ เจ้าของแหล่งกาเนิดมลพิษให้มีศักยภาพในการปฏิบัติตามกฎหมายสิ่งแวดล้อม
6. การตรวจสอบและควบคุมยานพาหนะ
ติดตั้งระบบตรวจสภาพรถยนต์ให้กับสานักงานขนส่งจังหวัดและสาขาทั่วประเทศ พัฒนา
เครื่องมือตรวจวัดสารมลพิษจากไอเสียรถยนต์เพื่อรองรับมาตรฐานไอเสียรถยนต์ระดับยูโร 5/6
ตรวจสอบ ตรวจจับ และห้ามใช้ยานพาหนะที่ระบายมลพิษเกินค่ามาตรฐาน ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
และจังหวัดที่เป็นพื้นที่วิกฤติด้านฝุ่นละออง กาหนดให้ใช้เครื่องมือวัดความดัน ระบบวัดความทึบแสง
ในการวัดควันดาจากรถยนต์จุดระเบิดด้วยการอัด และการกาหนดให้รถโดยสารเป็นแหล่งกาเนิดมลพิษ
ทางอากาศ
7. การจัดการปัญหาหมอกควัน
กิจกรรมรณรงค์ในพื้นที่เสี่ยงไฟป่าและกิจกรรมรณรงค์ให้ปลอดควันพิษจากไฟป่า สร้างแนวร่วม
ภาคประชาชน ในการเฝ้าระวังและป้องกันการเผาในที่โล่งและลดหมอกควัน การระดมสรรพกาลัง
เพื่อเฝ้าระวัง ลาดตะเวนดับไฟ บังคับใช้กฎหมาย การบริหารจัดการเชื้อเพลิงเพื่อลดการเผา และ
ส่งเสริมการหยุดการเผาในพื้นที่การเกษตร
The center is already up
and running? why
establish more?
This database is already
available at BOI, no
need to create a new
one.
already have -
http://www.onwr.go.th/
?page_id=4207
Should focus on
community cooperation
plan.
Should develop
monitoring and control
dashboard for operation
and management.
ที่เขียนเป็นงานปกติของกร
มอยู่แล ้ว
ไม่น่าจะเอามาใส่ในแผน
ทําไมไม่ใช ้ของกรมการขน
ส่ง? งบซํ้าซ ้อน
ซํ้าซ ้อนกับหน่วยงานอื่น
More EVs are in plan for
city transport
Which area/province?
How? Should state.
๔
(ร่าง) แผนจัดการมลพิษ พ.ศ. 2566 – 2570
8. การจัดการมลพิษเชิงพื้นที่
การจัดทาและขับเคลื่อนแผนสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ.2561 – 2564
และดาเนินงานภายใต้แผนปฏิบัติการเพื่อลดและขจัดมลพิษในเขตควบคุมมลพิษ จัดทาแผนพัฒนาภาค
พ.ศ.2560-2565 ฉบับทบทวน ติดตามตรวจสอบ เฝ้าระวังและควบคุมมลพิษจากแหล่งกาเนิดมลพิษ
ในพื้นที่ รวมทั้งตรวจสอบและแก้ไขปัญหามลพิษจากอุบัติภัยฉุกเฉินจากสารเคมี การลักลอบทิ้งกาก
ของเสีย ปัญหาเรื่องร้องเรียนและความเดือดร้อนของประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากมลพิษในพื้นที่
ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาระบบการบริหารจัดการมลพิษ
1. การบริหารจัดการในภาพรวม
พัฒนาปรับปรุงระบบการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมมาอย่างต่อเนื่อง จัดทาฐานข้อมูล เช่น
ระบบฐานข้อมูลคุณภาพน้าแหล่งน้าผิวดินทั่วประเทศ (IWIS) ฐานข้อมูลคุณภาพอากาศ ฐานข้อมูล
สินค้าและบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เป็นต้น การพัฒนาระบบการจัดการและแก้ไขปัญหาข้อ
ร้องเรียนด้านมลพิษให้กับประชาชนได้อย่างทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพจนได้ข้อยุติ จัดทา
Application Air4Thai มีการแจ้งเตือน และนาข้อมูลการพยากรณ์ของกรมอุตุนิยมวิทยา และ
แบบจาลองมาใช้ในการจัดการคุณภาพอากาศและแจ้งเตือนล่วงหน้า
2. การใช้มาตรการทางเศรษฐศาสตร์และมาตรการทางสังคม
สนับสนุนให้ภาคีเครือข่ายเข้ามามีส่วนร่วมในการติดตามตรวจสอบการดาเนินงานตาม
มาตรการในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และเปิดเผยข้อมูลให้สาธารณชนได้รับทราบ
กาหนดอัตราค่าบริการกาจัดขยะมูลฝอย/บาบัดน้าเสียขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับ
การจัดสรรเงินกองทุนสิ่งแวดล้อม ตามมาตรา 88 แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพ
สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ผลักดันองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นออกเทศบัญญัติการจัดเก็บ
ค่าบริการบาบัดน้าเสียชุมชน
3. การเพิ่มประสิทธิภาพด้านกฎหมาย
ปรับปรุงระเบียบกรมเจ้าท่าว่าด้วยหลักเกณฑ์การออกหนังสือรับรองผู้ให้บริการจัดเก็บและบาบัด
ของเสียจากเรือ ประเภทขยะและกากของเสียต่างๆ พ.ศ. ๒๕๖๐ และจัดทาแนวทางการควบคุมกิจการ
ที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับปรับปรุง)
4. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมและเครือข่ายของภาคส่วนต่างๆ ในการจัดการมลพิษ
สนับสนุนให้ ทสม. มีบทบาทเฝ้าระวัง แจ้งเหตุมลพิษ ส่งเสริมการรวมตัว เป็นกลุ่ม และสร้าง
เครือข่ายทางด้านสิ่งแวดล้อมขององค์กรเอกชน องค์กรอิสระ และอาสาสมัครสิ่งแวดล้อม
5. การดาเนินงานตามพันธกรณีและความร่วมมือระหว่างประเทศ
เข้าร่วมและดาเนินการตามพันธกรณีและความร่วมมือระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้อง เช่น เข้าร่วม
เป็นภาคีอนุสัญญามินามาตะว่าด้วยปรอท ข้อตกลงอาเซียนเรื่องมลพิษจากหมอกควันข้ามแดน จัดทา
แผนการดาเนินงานภายใต้กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
และข้อตกลงปารีส ด้านปฏิบัติการเสริมพลังรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
This is a good example.
Should include plan for
Open Data (DGA) to
enable data sharing.
How? Should clearly
state methodology.
Already have -
http://www.oic.go.th/FI
LEWEB/CABINFOCENTE
R38/DRAWER027/GENE
RAL/DATA0001/000012
60.PDF
องค์กรไหนบ ้าง
หลายองค์กรมีแล ้ว -
https://www.songkhlacit
y.go.th/2020/files/com_
content/2015-
02/20150216_mjluvwas.
pdf
ระเบียบมีอยู่แล ้ว
น่าจะระบุเรื่องการมาตรการ
ในการบังคับใช ้มากกว่า
ควรเพิ่มการบูรณาการกฏห
มายกับทุกภาคส่วนที่เกี่ยว
ข ้องเพื่อความสะดวกและป
ระสิทธิภาพในการบังคับใข ้
Should create tools or
platform for ทสม. to
report/monitor and
control like traffy fondue
Should prioritize the
colloboration, which is
more important as from
the statement, it is not.
๕
(ร่าง) แผนจัดการมลพิษ พ.ศ. 2566 – 2570
3. สาระสาคัญของกรอบแผนจัดการมลพิษ พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕70
ยุทธศาสตร์การจัดการมลพิษ 20 ปี มีการแบ่งการดาเนินงานออกเป็น 4 ช่วง ช่วงละ 5 ปี โดยมี
การวางภาพในอนาคตที่ต้องการจะเห็น ดังนี้
ระยะที่ 1 ระยะ 5 ปีแรก (พ.ศ. 2560-2564) จะมุ่งจัดการมลพิษที่ต้นทาง ส่งเสริมการผลิต
และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยภาคการผลิตจะขับเคลื่อนเศรษฐกิจโดยใช้ทรัพยากรอย่างมี
ประสิทธิภาพ ใช้กระบวนการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อให้เกิดมลพิษต่า มีระบบจัดการของเสียจาก
แหล่งกาเนิดมลพิษทุกประเภทอย่างเพียงพอและจัดการมลพิษได้ตามมาตรฐาน
ระยะที่ 2 - 3 ช่วงระยะ 10-15 ปี (พ.ศ. 2565-2574) มุ่งส่งเสริมให้ภาครัฐ ภาคเอกชน และ
ภาคประชาชนลดการใช้ทรัพยากรที่กาจัดยาก ลดการเกิดของเสียและมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม มีการบริโภคสินค้า
และบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเป็นหลักในชีวิตประจาวัน
ระยะที่ 4 ระยะ 5 ปีสุดท้าย (พ.ศ. 2575-2579) ได้วางกรอบแนวทางดาเนินงานเพื่อให้ประเทศไทย
ก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่า (Low carbon Society) บนพื้นฐานหลักเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาที่ยั่งยืน
อย่างแท้จริง โดยมีฐานองค์ความรู้ เทคโนโลยี กฎระเบียบ และสถาบัน/องค์กรรองรับการพัฒนาประเทศ
แบบไร้ของเสีย (Zero Waste)
ทั้งนี้ เป้าหมายในภาพรวมที่จะเกิดขึ้นในแต่ละช่วงเวลา ดังแสดงตามแผนภาพภูมิทัศน์การจัดการมลพิษ
ของประเทศไทยในระยะ ๒๐ ปี
แผนภาพภูมิทัศน์การจัดการมลพิษของประเทศไทยในระยะเวลา 20 ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙)
๖
(ร่าง) แผนจัดการมลพิษ พ.ศ. 2566 – 2570
เนื่องด้วย แผนจัดการมลพิษ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ ได้สิ้นสุดช่วงแผนในระยะ ๕ ปีแรก จึงได้มีการจัดทา
(ร่าง) แผนจัดการมลพิษ พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕70 เพื่อให้สอดคล้องกับระยะที่ 2 - 3 ช่วงระยะ 10-15 ปี
(พ.ศ. 2565 - 2574) ของยุทธศาสตร์การจัดการมลพิษ ๒๐ ปี ที่จะมุ่งส่งเสริมให้ภาครัฐ ภาคเอกชน และ
ภาคประชาชนลดการใช้ทรัพยากรที่กาจัดยาก ลดการเกิดของเสียและมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม มีการบริโภคสินค้า
และบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเป็นหลักในชีวิตประจาวัน โดยกรมควบคุมมลพิษได้วิเคราะห์ประเด็น
สาคัญภายใต้แผนจัดการมลพิษฯ ให้สอดคล้องกับแผนระดับชาติและนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการมลพิษ อาทิ
ยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรูปประเทศ ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
(ร่าง) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๓(พ.ศ.๒๕๖๖–๒๕๗๐)และแผนระดับที่ ๓แผนที่เกี่ยวข้องกับ
การจัดการมลพิษ อาทิ แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนวาระแห่งชาติ “การแก้ไขปัญหามลพิษด้านฝุ่นละออง” เป้าหมาย
การพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) นโยบายและสถานการณ์ของประเทศไทยในปัจจุบัน และแนวโน้มในอนาคตที่เป็น
ประเด็นสาคัญ เช่น หลักการ BCG Model การมุ่งสู่เป้าหมายการลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก สถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และการพัฒนาเทคโนโลยีด้านการสื่อสารเข้าสู่สังคมดิจิตัล เป็นต้น
โดยสรุปเป็นรายมาตรการแยกตามยุทธศาสตร์ที่ ๑ – ๓ โดยมีมาตรการที่ควรดาเนินการต่อเนื่อง เร่งรัดและขับเคลื่อน
การดาเนินงานในมาตรการที่ยังไม่มีการดาเนินการในช่วงเวลาที่ผ่านมา และมีมาตรการใหม่ที่ควรพิจารณา
ดาเนินการเพิ่มเติมจากแผนจัดการมลพิษ พ.ศ. 2560 - 2564 ดังนี้
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การป้องกันและลดการเกิดมลพิษที่ต้นทาง
สนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจทั้งภาคอุตสาหกรรม ภาคเกษตรกรรม ภาคบริการ ภาคการท่องเที่ยว
ภาคพลังงาน และภาคการขนส่ง ให้ใช้ทรัพยากรในการผลิตอย่างคุ้มค่า ใช้เทคโนโลยีและกระบวนการผลิต
ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนในทุกระดับ
มีส่วนร่วมรับผิดชอบในการรักษาสิ่งแวดล้อม มีจิตสานึกที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การบริโภคและการใช้ทรัพยากร
ที่พอดี
๑. การผลิตภาคอุตสาหกรรมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
โดยมีมาตรการที่ควรดาเนินการในช่วงปี 256๖ – 2570 ได้แก่
มาตรการ
๑) สนับสนุนการปรับปรุงกระบวนการผลิตของผู้ประกอบการที่ต้องการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้
ทรัพยากรพลังงานลดของเสีย นาของเสียหรือวัสดุผลพลอยได้จากกระบวนการผลิตกลับมา
ใช้ใหม่การจัดการผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์เมื่อเสื่อมสภาพ
๒) ส่งเสริมการออกแบบสินค้าและบรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Eco-Design) ให้มีอายุ
การใช้งานนานขึ้น นากลับมาใช้ซ้าได้หลายครั้ง กาหนดให้การผลิตสินค้ามีส่วนประกอบจาก
วัสดุรีไซเคิลเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะวัสดุที่สามารถย่อยสลายได้ในธรรมชาติไม่มีสารพิษ/สารอันตราย
ตกค้างหรือเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม
๓) ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนของเสียจากกระบวนการผลิตระหว่างโรงงานอุตสาหกรรม (Waste
Exchange System) และพัฒนาเป็นกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีกระบวนการผลิตเชื่อมโยงกัน
เพื่อลดของเสียให้เหลือน้อยที่สุด
๔) ส่งเสริมและพัฒนากฎระเบียบควบคุมการนาเข้าส่งออกเศษวัสดุรีไซเคิล และคุณภาพวัตถุดิบ
จากวัสดุใช้แล้ว
Which industry?
How?
How? Carbon credit?
How? Which industry?
what about agricultural
waste?
How? Already have -
https://onestopservice.d
itp.go.th/file/24.11.pdf
๗
(ร่าง) แผนจัดการมลพิษ พ.ศ. 2566 – 2570
๕) ใช้มาตรการทางเศรษฐศาสตร์เป็นแรงจูงใจ ได้แก่ ลดภาษีเครื่องจักรอุปกรณ์ให้กับผู้ผลิตสินค้า
ลดภาษีเงินได้นิติบุคคล จัดทาโปรแกรมส่งเสริมการลงทุนเพื่อให้สามารถแข่งขันกับสินค้าปกติ
ในตลาดได้ และเป็นแรงจูงใจให้ผู้บริโภคหันมาซื้อสินค้าที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น
๖) กาหนดมาตรฐานรับรองสินค้าและผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม กาหนดฉลากสินค้า
และผลิตภัณฑ์และให้เพิ่มคาแนะนาขั้นตอน วิธีการทิ้ง จุดทิ้ง หรือการกาจัดซากผลิตภัณฑ์
ที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ
๗) กาหนดให้มีหน่วยงานให้การรับรองฉลากสิ่งแวดล้อม (Eco-Labeling) เพื่อส่งเสริมการผลิต
และบริโภคที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ผ่านการจัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการที่เป็นมิตรต่อ
สิ่งแวดล้อม (Green Procurement)
๘) ยกระดับศักยภาพของภาคอุตสาหกรรมให้เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และขยายผลสู่ระบบห่วงโซ่
อุปทาน (Green Supply Chain)
๙) ขยายผลหลักการดาเนินงานในลักษณะเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศให้กระจายไปตามภูมิภาค
ที่เป็นพื้นที่เป้าหมายการลงทุนทางเศรษฐกิจ
๑๐) สนับสนุนความร่วมมือระหว่างภาคเอกชนและประชาชนในกระบวนการทาธุรกิจที่เป็นมิตร
ต่อสิ่งแวดล้อมยั่งยืน เพื่อให้เกิดการแบ่งปันและเกิดความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
๑๑) ศึกษาวิจัยระบบการประเมินวัฎจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์ และจัดทาคลังข้อมูลวัฎจักรชีวิตของ
ผลิตภัณฑ์เพื่อประโยชน์ในการกาหนดประเภทฉลากสิ่งแวดล้อม
๑๒) การส่งเสริมผู้ประกอบการอุตสาหกรรมให้เข้ามามีส่วนร่วมในลักษณะไตรภาคีกับภาครัฐ
และภาคประชาชนในการลด เลิกผลิต หรือเลิกใช้ผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ที่เกิดเป็นขยะมูลฝอย
ได้ง่าย ไม่คุ้มค่าในการนากลับใช้ใหม่ กาจัดยากหรือเป็นปัญหาต่อระบบจัดการ รวมทั้งให้มี
การเรียกคืนซากผลิตภัณฑ์หรือบรรจุภัณฑ์กลับมาใช้ซ้า ใช้ใหม่หรือกาจัดอย่างถูกต้องตาม
หลักวิชาการหลังการบริโภค ภายใต้หลักการ Corporate Social Responsibility (CSR)
๑๓) จัดทาทาเนียบการปลดปล่อยและเคลื่อนย้ายมลพิษของภาคอุตสาหกรรม (Pollution Release
and Transfer Registers : PRTR) โดยหน่วยงานราชการเป็นผู้ประเมินหรือคาดประมาณการ
ปลดปล่อยและเคลื่อนย้ายมลพิษ เพื่อใช้ในการวางแผนและกาหนดมาตรการในการป้องกัน
ปัญหามลพิษและการแก้ไขสถานการณ์ กรณีเกิดอุบัติภัยสารเคมีที่ส่งผลกระทบและเกิดความเสียหาย
ต่อประชาชนและสิ่งแวดล้อม
๑๔) ส่งเสริมกระบวนการผลิตในภาคอุตสาหกรรมตามแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ-
เศรษฐกิจหมุนเวียน-เศรษฐกิจสีเขียว (Bio-Circular-Green Economy : BCG Model) เคมีเขียว
(Green Chemistry) และเศรษฐกิจคาร์บอนต่า โดยสนับสนุนให้ผู้ประกอบการประยุกต์ใช้
เทคโนโลยีและนวัตกรรมการจัดการที่จะนาไปสู่การลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต และสร้างความ
หลากหลายให้แก่ผลิตภัณฑ์ ภายใต้เงื่อนไขการดูแลทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม และลดการ
ปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก โดยการออกแบบผลิตภัณฑ์และกระบวนการผลิตให้เกิดของเสีย
น้อยที่สุด ลดการใช้พลังงาน ส่งเสริมการใช้ซ้า และการจัดการของเสียจากการผลิตด้วยการนา
วัตถุดิบเข้าสู่กระบวนการแปรสภาพเพื่อกลับมาใช้ใหม่ รวมถึงการออกแบบผลิตภัณฑ์ และ
กระบวนการทางเคมีที่ลด ไม่ใช้ หรือก่อให้เกิดสารอันตรายตลอดวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์
นับตั้งแต่การออกแบบการผลิต การใช้และการกาจัดขั้นตอนสุดท้าย
This is not PCD's work,
BOI and DOI is the
owner.
Already have -
http://www.tei.or.th/gre
enlabel/th_index.html
How? and which
industry?
ภาคไหน? ควรระบุ
อย่างไร ควรระบุ
ควรตัดออก ซํ้าซ ้อน
ซํ้าซ ้อน
กรมโรงงานทําอยู่แล ้ว
แต่หากอยากทําเอง กรมมี
resource พอเพียงหรือไม่?
๘
(ร่าง) แผนจัดการมลพิษ พ.ศ. 2566 – 2570
๑๕) ส่งเสริมให้เกิดการใช้ผลิตภัณฑ์ของบริษัทที่กาหนดแผนการดูแลดาเนินการควบคุมผลิตภัณฑ์
อย่างครบวงจรตั้งแต่การผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมจนถึงขั้นตอนการกาจัดซากที่ไม่ส่งผลกระทบ
ต่อสิ่งแวดล้อมโดยการเผยแพร่ข้อมูลดังกล่าวไว้ในฉลากผลิตภัณฑ์ รวมถึงการเผยแพร่ให้สาธารณชน
ทราบอย่างทั่วถึงผ่านสื่อต่าง ๆ
๑๖) ส่งเสริมให้เกิดฉลากผลิตภัณฑ์ที่มีการแสดงของระดับมาตรฐานการเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมขั้นต่า
และขั้นสูง และต้องส่งเสริมสนับสนุนผลิตภัณฑ์ที่ผ่านเกณฑ์ระดับต่าให้สามารถพัฒนาไปสู่
มาตรฐานระดับสูงได้
๑๗) ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาเทคโนโลยี และนวัตกรรมสาหรับการผลิตสินค้าจากวัสดุเหลือใช้
หรือวัสดุที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและมีการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกในปริมาณที่ต่า
ตลอดวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์
๑๘) พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ส่งเสริมให้ประเทศไทยเป็นฐานการผลิตอุตสาหกรรม
อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ดิจิทัลคอนเทนต์และเป็นผู้ให้บริการด้านดิจิทัล
ที่สาคัญของอาเซียน รวมทั้งส่งเสริมให้ไทยเป็นฐานการผลิตยานยนต์ไฟฟ้าและชิ้นส่วนที่สาคัญ
ของโลก โดยมุ่งเน้นการพัฒนายานยนต์ที่ปล่อยมลพิษเป็นศูนย์ (Zero Emission Vehicle: ZEV)
๑๙) จัดทาแนวทางการนาน้าทิ้งจากระบบบาบัดน้าเสียของนิคมอุตสาหกรรม สวนอุตสาหกรรม
กลับมาใช้ประโยชน์
๒๐) เชิญชวนให้ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์บาบัดน้าเสียมาเข้ารับการตรวจสอบเพื่อรับรองผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ของสานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.)
๒๑) ประชาสัมพันธ์และสนับสนุนให้อาคารของหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และบ้านเรือน เลือกใช้
ผลิตภัณฑ์ระบบบาบัดน้าเสียที่ได้รับการรับรองผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรมของสานักงานมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) และผลิตภัณฑ์ที่ขึ้นทะเบียน
๒. การผลิตภาคเกษตรกรรมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
โดยมีมาตรการที่ควรดาเนินการในช่วงปี 256๖ – 2570 ได้แก่
มาตรการ
๑) พัฒนาสินค้าเกษตรทั้งการเพาะปลูก การปศุสัตว์ เพาะเลี้ยงสัตว์น้า และอุตสาหกรรมแปรรูปเกษตร
ให้มีกระบวนการผลิตในรูปแบบคาร์บอนต่า และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
๒) ออกนโยบายให้สินค้าเกษตรที่เป็นเป้าหมายสาคัญของประเทศทาการเกษตรโดยวิธีการที่เป็นมิตร
ต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อลดการเกิดมลพิษจากการทาการเกษตรและป้องกันการกีดกันทางการค้า
๓) ผลิตสินค้าเกษตรให้เหมาะสมกับพื้นที่ตามแนวทางการบริหารจัดการเขตความเหมาะสม
สาหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจสาคัญ (Zoning) และไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เช่น ไม่ทา
การเกษตรบนพื้นที่ต้นน้า
๔) ลดการใช้สารเคมีอันตรายโดยส่งเสริมการใช้เทคนิคที่ดีที่สุด (Best Available Techniques
: BAT) และแนวทางปฏิบัติด้านสิ่งแวดล้อมที่ดีที่สุด (Best Environmental Practices: BEP)
หรือการใช้สารทดแทนสารเคมีที่มีความปลอดภัยมากกว่าในการเพาะปลูก
๕) ถอดบทเรียน Smart Farmer ต้นแบบด้านการลดการใช้สารเคมีทางการเกษตร นาไปขยาย
ผลและเผยแพร่ไปใช้ในการปฏิบัติ
๖) กาหนดมาตรฐานรับรองสินค้าเกษตรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ซํ้าซ ้อน เพราะบริษัทต่าง ๆ
ที่ทํา BCG
ส่วนมากจะทําโฆษณาอยู่แ
ล ้ว
ืทําฉลากที่ได ้รับการรับรอง
จากนานาชาติเพื่อการส่งอ
อก
PCD is not an innovation
and research center.
Already have -
http://www.oic.go.th/FI
LEWEB/CABINFOCENTE
R6/DRAWER064/GENER
AL/DATA0000/00000026
.PDF
ระบุว่าร ้วมมือกับ สมอ.
ก็พอ ไม่ต ้องทํางานซํ้าซ ้อน
พัฒนาสินค ้าอะไร?
น่าจะเป็นการส่งเสริมมากก
ว่า
ควรร่วมมือกับกรมวิชาการเ
กษตร/กรมส่งเสริมการเกษ
ตร
PCD จะผลิต?
จัดการอย่างไรเพราะปัจจุบั
นมีอยู่แล ้ว Should focus on ึGAP
and organic farming
practice instead since
BAT and BET are not
that well-known in agri.
มกอช and IFOAM
already has this
standard.
๙
(ร่าง) แผนจัดการมลพิษ พ.ศ. 2566 – 2570
๗) สื่อสารประชาสัมพันธ์เกษตรกรที่ได้รับรางวัลการเกษตรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ยกย่องเชิดชู
ให้มีการรับรู้ในวงกว้าง เพื่อเป็นแรงจูงใจต่อเกษตรกร
๘) พัฒนาเทคโนโลยีเกี่ยวกับการเพาะปลูกการปศุสัตว์ เพาะเลี้ยงสัตว์น้าและอุตสาหกรรมแปรรูปเกษตร
ภายใต้วิธีการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good Agricultural Practice : GAP) ระบบการควบคุม
ความปลอดภัยของอาหารที่มีผลต่อความปลอดภัยของผู้บริโภค (Hazard Analysis and Critical
ControlPoints : HACCP)และหลักเกณฑ์และวิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร (Good Manufacturing
Practice : GMP) ตลอดห่วงโซ่ (Green Supply Chain) โดยให้มีมาตรฐานความปลอดภัย
ที่สูงขึ้นและไร้มลพิษ
๙) มุ่งส่งเสริมให้เกษตรกรปรับเปลี่ยนเข้าสู่ระบบเกษตรอินทรีย์ หรือออร์แกนิก (Organic)
เพื่อยกระดับผลผลิตให้ได้คุณภาพและมีความปลอดภัยขึ้น โดยไม่ใช้ปุ๋ยเคมี สารเคมี และลดการใช้
ปัจจัยการผลิตจากภายนอก ซึ่งจะช่วยลดต้นทุน ส่งผลดีต่อสุขภาพของเกษตรกรผู้ผลิตและ
ผู้บริโภครวมถึงยังช่วยเพิ่มมูลค่าสินค้า
๑๐) สนับสนุนให้เกษตรกรนาเทคโนโลยี Smart Farm มาปรับใช้ เพื่อลดต้นทุนการใช้สารเคมี
ใช้น้าในปริมาณที่เหมาะสมกับสภาพดิน ชนิดของพืช ภูมิอากาศ และเพิ่มประสิทธิภาพและ
ผลิตผลที่ปลอดภัย ได้คุณภาพ และปริมาณคงที่ตรงตามความต้องการและช่วงเวลาของตลาด
รวมทั้งส่งเสริมการแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้าทางการเกษตรให้สูงขึ้น ตามแนวทางการพัฒนา
เศรษฐกิจชีวภาพ-เศรษฐกิจหมุนเวียน-เศรษฐกิจสีเขียว (Bio-Circular-Green Economy :
BCG Model)
๑๑) ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีชีวภาพให้เกิดการนาวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรมาเพิ่มมูลค่า
ซึ่งจะทาให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการขายวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร และลดการเผาได้
๑๒) มุ่งเน้นการพัฒนาสินค้าเกษตรให้ได้มาตรฐานความปลอดภัยระดับสากล และส่งเสริมการทา
เกษตรที่รองรับต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ
๑๓) สนับสนุนองค์กรเกษตรอินทรีย์แบบครบวงจร (งานวิจัย ส่งเสริมคุณค่า การตลาด และการลงทุน)
๑๔) สนับสนุนและขยายเครือข่ายเกษตรสีเขียวที่มีการนาของเสียไปใช้ประโยชน์ (waste to energy)
๑๕) ให้การสนับสนุนงานวิชาการด้านการวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ของภาคการเกษตร ผลิตภัณฑ์
แปรรูปทางการเกษตร วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร เพื่อเพิ่มมูลค่าให้แก่ผลผลิตทางการเกษตร
ให้มีความหลากหลายมากขึ้นในตลาดหรือนาการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์มาสร้างความน่าเชื่อถือ
และเพิ่มมูลค่าของสินค้าเกษตรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อเพิ่มมูลค่าการส่งออกและสร้าง
ทะเบียนสินค้าเกษตรของประเทศไทยต่อไป
๑๖) ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อแปรรูปและสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ผลผลิตและวัสดุเหลือใช้
ทางการเกษตรได้รับการวิจัยและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และมีกลไกการถ่ายทอดเทคโนโลยี
ที่ส่งเสริมให้เกิดการนาไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์เพื่อสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ
(Bio economy)
๑๗) ส่งเสริมและสนับสนุนให้ส่วนราชการมีการใช้สินค้าเกษตรและสินค้าเกษตรแปรรูปที่ได้คุณภาพ
๑๘) ส่งเสริมให้มีการนาขยะอินทรีย์ในแหล่งกาเนิดไปใช้ประโยชน์ในภาคการเกษตร เช่น การนาไป
เลี้ยงสัตว์ การนาไปผลิตก๊าซชีวภาพ
Good
ควรเน้นการบูรณาการกับห
น่วยงานที่เกี่ยวข ้องเช่น
กรมวิชาการเกษตร
กรมส่งเสริมการเกษตร
มกอช มากกว่า
เพราะงานจะได ้ไม่ซํ้าซ ้อน
PCD
ในฐานะหน่วยควบคุมมีหน้า
ที่ในการควบคุม กํากับ
ดูแลมากกว่า
๑๐
(ร่าง) แผนจัดการมลพิษ พ.ศ. 2566 – 2570
๓. การท่องเที่ยวและธุรกิจบริการต่อเนื่องที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
โดยมีมาตรการที่ควรดาเนินการในช่วงปี 256๖ – 2570 ได้แก่
มาตรการ
๑) กาหนดปริมาณนักท่องเที่ยวให้เหมาะสมกับศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยวและระบบการจัดการ
ด้านสิ่งแวดล้อมของแหล่งท่องเที่ยว เริ่มจากแหล่งท่องเที่ยวที่มีความอ่อนไหว เช่น อุทยาน
แห่งชาติ พื้นที่เกาะ
๒) ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพให้ผู้ประกอบการบุคลากรและผู้ที่เกี่ยวข้องด้านการท่องเที่ยว
มีกระบวนการดาเนินงานที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ได้แก่ การใช้ทรัพยากร เช่น น้า ไฟฟ้า
พลังงาน ลดการเกิดของเสีย เช่น น้าเสีย มลพิษทางอากาศ ขยะวัสดุ บรรจุภัณฑ์ที่ไม่ใช้แล้ว
และให้ใช้ผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการรับรองฉลากสิ่งแวดล้อม
๓) จัดทาข้อควรปฏิบัติ (Do and Don’t) สาหรับนักท่องเที่ยวที่ต้องดูแลรักษาแหล่งท่องเที่ยว
เช่น ไม่ทิ้งขยะในทะเล ลดและคัดแยกขยะมูลฝอยลดการใช้วัสดุที่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม
อาทิ โฟมถุงพลาสติก ใช้บรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสื่อสาร ให้ข้อมูลคาแนะนา
แก่นักท่องเที่ยวในการปฏิบัติตามข้อควรปฏิบัติดังกล่าว ผ่านธุรกิจนาเที่ยวและมัคคุเทศก์
๔) ใช้มาตรการทางเศรษฐศาสตร์เป็นแรงจูงใจผู้ประกอบการบุคลากรและผู้ที่เกี่ยวข้องด้านการท่องเที่ยว
ได้แก่ จัดทาโปรแกรมส่งเสริมการลงทุน ลดภาษีเงินได้นิติบุคคล อัตราเงินกู้ดอกเบี้ยต่า
เพื่อให้สามารถแข่งขันกับธุรกิจบริการท่องเที่ยวปกติในตลาดได้ และเป็นแรงจูงใจให้ผู้บริโภค
เลือกใช้บริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น
๕) พัฒนามาตรฐานการท่องเที่ยวไทยที่คานึงถึงการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมที่ดี และผลักดัน
ไปสู่การรับรองมาตรฐานในระดับภูมิภาคอาเซียนและระดับสากล
๖) สื่อสารประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวและสถานประกอบการท่องเที่ยวที่ได้รับรองมาตรฐาน
การท่องเที่ยวไทย เช่น การจัดทาทาเนียบนาม การมอบรางวัลประกาศนียบัตร การประชาสัมพันธ์
ทั้งในระดับประเทศและต่างประเทศ
๗) พัฒนาการจัดการแหล่งท่องเที่ยวให้มีคุณภาพในรูปของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศหรือการท่องเที่ยว
ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Ecotourism) และไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมโดยชุมชนสามารถ
บริหารจัดการเองได้
๘) ส่งเสริมการท่องเที่ยวแบบ New Normal ให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เช่น การจองที่พักล่วงหน้า
ผ่านระบบออนไลน์ มีระบบจัดการขยะและของเสียที่ถูกหลักอนามัย ไม่สร้างขยะ ลด เลิก การใช้
พลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวทิ้ง หรือส่งเสริมการใช้ผลิตภัณฑ์ในพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวให้เป็นผลิตภัณฑ์
ที่สามารถนากลับมาใช้ซ้าหรือสามารถย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ
๙) พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวใหม่เพื่อกระจายนักท่องเที่ยวสู่เมืองรองหรือชุมชนท้องถิ่นโดยนาเทคโนโลยีดิจิทัล
มาช่วยท้องถิ่นสร้างเนื้อหาการท่องเที่ยว ตลอดจนบริหารจัดการเส้นทาง และจานวนนักท่องเที่ยว
ตามแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ-เศรษฐกิจหมุนเวียน เศรษฐกิจสีเขียว (Bio-Circular-
Green Economy : BCG Model) รวมทั้งนางานวิจัยเชิงพื้นที่ของสถาบันการศึกษาที่เน้น
การพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชน มาขยายผลต่อยอดให้เป็นการท่องเที่ยวแบบลดมลพิษ ตามหลัก
BCG Model และมีการจัดเก็บภาษีสิ่งแวดล้อมจากนักท่องเที่ยว
๑๐) ส่งเสริมและยกระดับการจัดการสิ่งแวดล้อมในสถานที่ท่องเที่ยว โดยเฉพาะแหล่งท่องเที่ยว
ทางธรรมชาติ โดยเฉพาะพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวสาคัญ เช่น พื้นที่เกาะ ให้เป็นเขตปลอดมลพิษ
ททท กับหน่วยงานใน พท.
ทําอยู่แล ้ว
ททท กับหน่วยงานใน พท.
ทําอยู่แล ้ว
https://secretary.mots.g
o.th/ewtadmin/ewt/secr
etary/download/AseanK
nowledge/ASEAN_Dos_a
nd_Donts_Thailand.pdf
integrate with other
agencies. บูรณาการ
์์Not PCD's role
Integrate with other
agencies e.g. ททท.
๑๑
(ร่าง) แผนจัดการมลพิษ พ.ศ. 2566 – 2570
เช่น การใช้พาหนะที่ไม่ใช้เครื่องยนต์ การใช้รถยนต์และเรือที่ใช้ก๊าซธรรมชาติหรือไฟฟ้า
การห้ามใช้ภาชนะที่ย่อยสลายยากเช่นโฟมพลาสติกการกาหนดให้นักท่องเที่ยวมีการคัดแยกขยะ
และทิ้งขยะในจุดที่กาหนด รวมถึงวางระบบคัดแยก รวบรวม และการจัดการขยะพลาสติก
และขยะประเภทอื่น สาหรับเรือท่องเที่ยว และนักท่องเที่ยว และต้องนามากาจัดบนฝั่ง
ตามที่กาหนด เป็นต้น
๑๑) สนับสนุนกลไกการให้บริการการท่องเที่ยวที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมด้วยวิถีไทย และวิถีชุมชน
ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
๑๒) สนับสนุนการจัดการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนตามแนวคิด BCG โดยพัฒนาระบบการจัดการพื้นที่
และแหล่งท่องเที่ยวให้สอดคล้องกับความสามารถในการรองรับของระบบนิเวศ และการสนับสนุน
การใช้ยานยนต์ไฟฟ้า หรือมาตรการอื่น ๆ เพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในภาคการท่องเที่ยว
๑๓) ส่งเสริมการลดพลาสติกและเลิกใช้กล่องโฟมบรรจุอาหารในสถานที่ท่องเที่ยวรวมถึงอุทยานแห่งชาติ/
อุทยานธรณี และสวนสัตว์
๔. การคมนาคมขนส่งและการใช้พลังงานที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
โดยมีมาตรการที่ควรดาเนินการในช่วงปี 256๖ – 2570 ได้แก่
มาตรการ
๑) ส่งเสริมการใช้เครื่องยนต์และเชื้อเพลิงสะอาด ปรับปรุงระบบขนส่งมวลชนขนาดใหญ่และ
การจัดการจราจร และพัฒนาปรับปรุงวิธีการตรวจสภาพรถยนต์ให้สอดคล้องกับการปรับปรุง
มาตรฐานใหม่ ๆ
๒) ใช้มาตรการลดปริมาณรถยนต์ส่วนบุคคลที่วิ่งในพื้นที่การจราจรหนาแน่น เช่น การจัด Zoning
เพื่อควบคุมปริมาณการจราจรเฉพาะพื้นที่ การลดพื้นที่จราจรที่แบ่งให้กับรถยนต์ส่วนบุคคล
การควบคุมสมรรถนะของเครื่องยนต์ (Performance)
๓) ยกระดับการผลิตยานพาหนะให้รองรับการยกระดับมาตรฐานการควบคุมการระบายมลพิษ
และคุณภาพน้ามันเชื้อเพลิง
๔) สนับสนุนการผลิตยานพาหนะที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยต่อยอดการใช้ภาษีสรรพสามิต
รถยนต์ตามค่าคาร์บอนไดออกไซด์ให้ครอบคลุมมลพิษอื่น การได้รับฉลากรับรอง การลดภาษี
ยานพาหนะที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ให้ภาครัฐเป็นผู้นาในการจัดซื้อจัดจ้างยานยนต์ที่เป็นมิตร
ต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อส่งเสริมการผลิตเชิงพาณิชย์
๕) สนับสนุนให้เกิดการเดินทางที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพิ่มทางเลือกในการเดินทางขนส่ง
สาธารณะ มีการจัดระบบการขนส่งมวลชนที่ดี สะดวก เข้าถึงง่าย มีจุดเชื่อมต่อ สู่ระบบการ
เดินทางอื่น ควบคุมการกาหนดอัตราค่าโดยสารให้เหมาะสม และจัดสภาพแวดล้อมที่สะดวก
ต่อการเดินทางที่ไม่ใช้เครื่องยนต์ เพิ่มการใช้จักรยานสาหรับการเดินทางระยะใกล้ๆ
๖) จัดทาทาเนียบการปลดปล่อยและเคลื่อนย้ายมลพิษของภาคการขนส่ง (Pollution Release
and Transfer Registers : PRTR) โดยหน่วยงานราชการเป็นผู้ประเมินหรือคาดประมาณ
การปลดปล่อยและเคลื่อนย้ายมลพิษ เพื่อใช้ในการวางแผนและกาหนดมาตรการในการป้องกัน
ปัญหามลพิษและการแก้ไขสถานการณ์ กรณีเกิดอุบัติภัยสารเคมีที่ส่งผลกระทบและเกิดความเสียหาย
ต่อประชาชนและสิ่งแวดล้อม
ืNot PCD's role
Not PCD's role
How? To board. Not PCD's rols
ผิดวัดถุประสงค์?
Not PCD's role
ใครเป็นเจ ้าภาพ? คมนาคม
?
How?
๑๒
(ร่าง) แผนจัดการมลพิษ พ.ศ. 2566 – 2570
๗) สนับสนุนการใช้เชื้อเพลิงสะอาดสาหรับยานพาหนะ เช่น ไบโอดีเซล พลังงานไฮโดรเจน การปรับปรุง
คุณภาพน้ามันเชื้อเพลิง และให้ใช้เทคโนโลยีถ่านหินสะอาด (Clean Coal Technology)
เพื่อลดการเกิดมลพิษ
๘) กาหนดมาตรการในการป้องกันและควบคุมมลพิษที่เข้มงวดสาหรับโรงไฟฟ้าที่ใช้ถ่านหินและ
พลังงานทดแทน เช่นก๊าซธรรมชาติ ขยะชีวมวลยางรถยนต์เพื่อป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพอนามัย
๙) กาหนดมาตรการหรือระบบรองรับการกาจัดซากผลิตภัณฑ์ประเภทแบตเตอรี่ที่เกิดจากการสนับสนุน
การใช้รถไฟฟ้า รถ Hybrid ผลิตภัณฑ์จากการใช้พลังงานทดแทนเช่น แผง Solar cell ในการผลิต
ไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ ส่งเสริมการ recycle แผงโซล่า เนื่องจากสามารถนามา recycle ได้
๑๐) พัฒนามาตรฐานอาคารที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมทั้งด้านการจัดการของเสีย การใช้น้า พลังงาน
การใช้วัสดุทดแทนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (กรณีปรับปรุง/ซ่อมแซมอาคาร) และสนับสนุน
การใช้มาตรฐานการอนุรักษ์พลังงานในอาคาร (Building Energy Code) เป็นลาดับแรก
๑๑) ใช้เทคโนโลยีหรือนวัตกรรมใหม่มาแทนการดาเนินกิจกรรมในชีวิตประจาวันการประกอบ
ธุรกิจและการทางาน เพื่อลดการเดินทาง
๑๒) ใช้กลไกทางด้านราคา เพื่อจูงใจให้ประชาชนใช้พลังงานสะอาด พลังงานทดแทน และเพิ่ม
ประสิทธิภาพการใช้พลังงานทั้งในภาคการผลิตไฟฟ้า คมนาคม ขนส่ง อุตสาหกรรม เกษตรกรรม
และการใช้ในครัวเรือนเพื่อลดการระบายมลพิษการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่ส่งผลต่อการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
๑๓) ปรับปรุงถนนโดยใช้วัสดุปูพื้นผิวถนนที่ช่วยลดการเกิดเสียงรบกวนควบคู่กับการจากัด
ความเร็วรถยนต์ ในเส้นทางที่ใกล้พื้นที่อ่อนไหวต่อเสียง อาทิ พื้นที่ชุมชน และพื้นที่อุทยาน
เป็นต้น
๑๔) กาหนดการจัดเก็บภาษีรถยนต์ให้ครอบคลุมการระบายก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และค่าการระบาย
มลพิษอื่น ๆ ตามมาตรฐานของรถยนต์เพื่อเป็นการส่งเสริมให้เกิดการผลิตรถยนต์ที่มาตรฐาน
เข้มงวดโดยเร็ว
๑๕) กาหนดการจัดเก็บภาษีสรรพสามิตและภาษีท้องถิ่นสาหรับน้ามันเชื้อเพลิงให้สอดคล้องกับ
ปัญหามลพิษในแต่ละพื้นที่ และนาเงินภาษีท้องถิ่นกลับมาใช้เพื่อการแก้ไขปัญหามลพิษทาง
อากาศในพื้นที่นั้น
๑๖) กาหนดแนวทางหรือระบบการรวบรวมซากรถยนต์ ซากแบตเตอรี่ของรถยนต์ไฟฟ้าที่หมดอายุ
การใช้งาน และซากผลิตภัณฑ์ไฟฟ้า เพื่อเข้าสู่ระบบการนากลับมาใช้ใหม่ การกาจัดและ
การรีไซเคิลอย่างเป็นระบบ และไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
๑๗) ส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนเพื่อนามาใช้กับยานยนต์ โดยวางแผนส่งเสริม
ให้เกิดการผลิต การจาหน่าย และการใช้งานรถยนต์ไฟฟ้าที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมให้เพิ่มขึ้น
อย่างเป็นระบบและสอดรับกัน
๑๘) กาหนดการจัดเก็บค่าธรรมเนียมเพื่อการกาจัดรถยนต์เมื่อหมดสภาพการใช้งานแล้ว และกาหนด
แนวทาง การกาจัดซากรถยนต์อย่างเหมาะสมและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
๑๙) จัดทาแผนการกาหนดสัดส่วนการผลิตและนาเข้ารถยนต์แต่ละประเภทให้สอดคล้องกับพลังงาน
ที่มีใช้ในประเทศ เพื่อลดปริมาณการนาเข้าพลังงานเชื้อเพลิงจากต่างประเทศ
๒๐) ส่งเสริมและสร้างระบบรองรับการทางานแบบ Work From Home เพื่อช่วยแก้ไขปัญหา
การจราจรและเป็นการลดมลพิษทางอากาศ โดยเฉพาะในช่วงภาวะวิกฤตฝุ่นละออง
Coal and fossil fuel
shoud be enough, no
need for renewal
and hazardous
ีเกณฑ์การประเมินหลักๆ
ที่นิยมอยู่ 2 เกณฑ์คือ
LEED (Leadership in
Energy and
Environmental Design)
ซึ่งเป็นที่ยอมรับทั่วโลกจาก
สหรัฐอเมริกา และ TREES
(Thai’s Rating of Energy
and Environmental
Sustainability)
หรือเกณฑ์การประเมินควา
มยั่งยืนทางพลังงานและสิ่ง
แวดล ้อมไทยจากสถาบันอ
าคารเขียวไทย
How/What? very vague.
Not PCD's role,
กําหนดโดยคณะกรรมการพ
ลังงานแห่งชาติ
PCD ทําถนน?
PCD จัดเก็บภาษี?
Encourage carbon tax
framework/practice
โดยร่วมมือกับหน่วยงานไห
น?
ระบบอะไร หน่วยงานไหน?
๑๓
(ร่าง) แผนจัดการมลพิษ พ.ศ. 2566 – 2570
๒๑) ใช้มาตรการทางเศรษฐศาสตร์เพื่อสนับสนุนการใช้งานรถยนต์ที่มีมลพิษต่า เช่น Zero Emission
Vehicle (ZEV) EURO 5 และ EURO 6 เพื่อส่งเสริมให้ผู้ผลิตหรือผู้ประกอบการเลือกผลิต
รถยนต์ที่มีมลพิษต่าออกสู่ตลาด เนื่องจากต้นทุนการผลิตจะต่ากว่ารถยนต์ที่มีผลกระทบต่อ
สิ่งแวดล้อมสูง
๒๒) การนาเทคโนโลยี AI (Artificial Intelligence) มาใช้ในการวางแผนการเดินทางในชีวิตประจาวัน
เพื่อลดปัญหาการจราจร และช่วยลดปัญหามลพิษ
๒๓) พัฒนาระบบและเพิ่มการขนส่งสินค้าทางรางแทนการขนส่งทางถนน
๒๔) ส่งเสริมการใช้มาตรการใช้พลังงานทดแทนในภาคประชาสังคม ภาคครัวเรือน และการประกอบ
อาชีพ เช่น การใช้โซล่าเซลในการส่องสว่าง การใช้ปั๊มน้าสาหรับการเกษตร การอบตากสินค้า
อาหารทางการเกษตร
๒๕) หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีมาตรการลดผลกระทบที่จะมีต่อผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมยานยนต์ดั้งเดิม
และภาคการผลิตอื่นที่เกี่ยวข้อง อาทิ เกษตรกรผู้ผลิตพืชพลังงาน
๒๖) ปริมาณการใช้ยานยนต์ไฟฟ้าภายในประเทศไทยเพิ่มขึ้นในทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน
และประชาชนทั่วไป รถโดยสารสาธารณะในเมืองหลักปรับสู่ระบบการขับเคลื่อนด้วยพลังงาน
ไฟฟ้าทั้งหมด
๒๗) ส่งเสริมให้ประเทศไทยมีสถานีอัดประจุไฟฟ้าอย่างเพียงพอครอบคลุมเส้นทางคมนาคมที่สาคัญ
ทั่วประเทศ
๒๘) ระบบการขนส่งระหว่างพื้นที่เมืองและชนบทมีมาตรฐานที่ใกล้เคียงกัน เข้าถึงได้ง่าย
ส่งเสริมให้มีระบบขนส่งที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อแก้ปัญหาฝุ่นละออง PM2.5 ในประเทศไทย
ให้มีความยั่งยืน
๒๙) ส่งเสริมการใช้งานยานยนต์ไฟฟ้าให้มีสัดส่วนที่สูงขึ้นทั้งในระบบขนส่งมวลชนและยานพาหนะ
ส่วนบุคคล
๕. การส่งเสริมการบริโภคที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
โดยมีมาตรการที่ควรดาเนินการในช่วงปี 256๖ – 2570 ได้แก่
มาตรการ
๑) เพิ่มการกระตุ้นจิตสานึก ปลูกฝังค่านิยมการบริโภคที่มีความพอดี สร้างความตระหนักในภาครัฐ
ภาคเอกชน และประชาชนให้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและเกิดค่านิยมการใช้
ชีวิตประจาวันในการบริโภคให้มีความพอดี ประหยัด ไม่ฟุ่มเฟือย
๒) ใช้สื่อประชาสัมพันธ์ที่มีอิทธิพลทางสื่อวิทยุ โทรทัศน์ และสื่อออนไลน์ (Social Media)
รวมทั้ง Mobile Application เพื่อสร้างกระแสให้เกิดค่านิยมในการบริโภคและการเลือกใช้
สินค้าและบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
๓) ออกนโยบายรัฐบาลเพื่อกระตุ้นให้ประชาชนเข้าสู่พฤติกรรมการบริโภคที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
และเลือกใช้สินค้าและบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เช่น นาใบเสร็จมาลดภาษี จัดโปรแกรม
ส่งเสริมการซื้อและใช้บริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ออกบัตรสะสมแต้ม หรือบัตรสีเขียว
(Green dot, Green card)
๔) ให้ภาครัฐ ภาคเอกชน เป็นผู้นาในการจัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
(Green Public Procurement) เพื่อสร้างตลาดสินค้า
โดยผ่าน Tools อะไร?
Not PCD's role
ทําอะไร ไม่เข ้าใจ งง??
เพิม
ควรระบุเส ้นทาง / ภาค
และเหตุผล
ซํ่้ากับข ้อ 26
IMO, this is not PCD's role. PCD could
collaborate with other agencies and
provide measures/control/standard to
ensure proper excercise.
เล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_comment
เล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_comment
เล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_comment
เล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_comment
เล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_comment
เล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_comment
เล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_comment
เล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_comment
เล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_comment
เล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_comment
เล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_comment
เล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_comment
เล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_comment
เล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_comment
เล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_comment
เล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_comment
เล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_comment

Contenu connexe

Tendances

Proposal รายการห๊ะอะไรนะ
Proposal รายการห๊ะอะไรนะProposal รายการห๊ะอะไรนะ
Proposal รายการห๊ะอะไรนะTanpisit Lerdbamrungchai
 
การใช้งานหุ่นยนต์ RQ-BOT จากชุด Robo-Creator XT
การใช้งานหุ่นยนต์ RQ-BOT จากชุด Robo-Creator XTการใช้งานหุ่นยนต์ RQ-BOT จากชุด Robo-Creator XT
การใช้งานหุ่นยนต์ RQ-BOT จากชุด Robo-Creator XTInnovative Experiment Co.,Ltd.
 
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...Vorawut Wongumpornpinit
 
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข หลักเกณฑ์และวิธีการในการผลิตยา GMP 2554
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข หลักเกณฑ์และวิธีการในการผลิตยา GMP 2554ประกาศกระทรวงสาธารณสุข หลักเกณฑ์และวิธีการในการผลิตยา GMP 2554
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข หลักเกณฑ์และวิธีการในการผลิตยา GMP 2554Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอยคู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอยSarit Tiyawongsuwan
 
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่าวิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่าCoco Tan
 
แบบฟอร์มรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบฟอร์มรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์แบบฟอร์มรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบฟอร์มรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ณัฐพล บัวพันธ์
 
คู่มือหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline Registration Tradition...
คู่มือหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline Registration Tradition...คู่มือหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline Registration Tradition...
คู่มือหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline Registration Tradition...Vorawut Wongumpornpinit
 
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)Aungkana Na Na
 
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาสามัญใหม่ (New Generic Drugs) แบบ ASEAN ...
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาสามัญใหม่ (New Generic Drugs) แบบ ASEAN ...คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาสามัญใหม่ (New Generic Drugs) แบบ ASEAN ...
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาสามัญใหม่ (New Generic Drugs) แบบ ASEAN ...Vorawut Wongumpornpinit
 
เนื้อหาความตกลงอาเซียนด้านยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และภาคผนวก (ย่อ)
เนื้อหาความตกลงอาเซียนด้านยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และภาคผนวก (ย่อ)เนื้อหาความตกลงอาเซียนด้านยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และภาคผนวก (ย่อ)
เนื้อหาความตกลงอาเซียนด้านยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และภาคผนวก (ย่อ)Parun Rutjanathamrong
 
คู่มือการผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยาจากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งช...
คู่มือการผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยาจากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งช...คู่มือการผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยาจากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งช...
คู่มือการผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยาจากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งช...Vorawut Wongumpornpinit
 
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดบทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดPa'rig Prig
 
การ Scan เอกสารหลายแผ่น เป็น pdf 1 ไฟล์ โดยใช้โปรแกรม adobe acrobat x
การ Scan เอกสารหลายแผ่น เป็น pdf 1 ไฟล์    โดยใช้โปรแกรม adobe acrobat xการ Scan เอกสารหลายแผ่น เป็น pdf 1 ไฟล์    โดยใช้โปรแกรม adobe acrobat x
การ Scan เอกสารหลายแผ่น เป็น pdf 1 ไฟล์ โดยใช้โปรแกรม adobe acrobat xMaitree Rimthong
 

Tendances (20)

Proposal รายการห๊ะอะไรนะ
Proposal รายการห๊ะอะไรนะProposal รายการห๊ะอะไรนะ
Proposal รายการห๊ะอะไรนะ
 
การใช้งานหุ่นยนต์ RQ-BOT จากชุด Robo-Creator XT
การใช้งานหุ่นยนต์ RQ-BOT จากชุด Robo-Creator XTการใช้งานหุ่นยนต์ RQ-BOT จากชุด Robo-Creator XT
การใช้งานหุ่นยนต์ RQ-BOT จากชุด Robo-Creator XT
 
การเขียนโครงการ
การเขียนโครงการการเขียนโครงการ
การเขียนโครงการ
 
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...
 
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข หลักเกณฑ์และวิธีการในการผลิตยา GMP 2554
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข หลักเกณฑ์และวิธีการในการผลิตยา GMP 2554ประกาศกระทรวงสาธารณสุข หลักเกณฑ์และวิธีการในการผลิตยา GMP 2554
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข หลักเกณฑ์และวิธีการในการผลิตยา GMP 2554
 
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอยคู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
 
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่าวิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
 
แบบฟอร์มรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบฟอร์มรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์แบบฟอร์มรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบฟอร์มรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
คู่มือหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline Registration Tradition...
คู่มือหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline Registration Tradition...คู่มือหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline Registration Tradition...
คู่มือหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline Registration Tradition...
 
กลยุทธ์การสืบค้นข้อมูล
กลยุทธ์การสืบค้นข้อมูลกลยุทธ์การสืบค้นข้อมูล
กลยุทธ์การสืบค้นข้อมูล
 
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
 
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาสามัญใหม่ (New Generic Drugs) แบบ ASEAN ...
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาสามัญใหม่ (New Generic Drugs) แบบ ASEAN ...คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาสามัญใหม่ (New Generic Drugs) แบบ ASEAN ...
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาสามัญใหม่ (New Generic Drugs) แบบ ASEAN ...
 
Scratch final
Scratch finalScratch final
Scratch final
 
เนื้อหาความตกลงอาเซียนด้านยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และภาคผนวก (ย่อ)
เนื้อหาความตกลงอาเซียนด้านยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และภาคผนวก (ย่อ)เนื้อหาความตกลงอาเซียนด้านยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และภาคผนวก (ย่อ)
เนื้อหาความตกลงอาเซียนด้านยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และภาคผนวก (ย่อ)
 
Allergen control course by aj.sriprapai
Allergen control course by aj.sriprapaiAllergen control course by aj.sriprapai
Allergen control course by aj.sriprapai
 
คู่มือการผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยาจากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งช...
คู่มือการผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยาจากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งช...คู่มือการผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยาจากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งช...
คู่มือการผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยาจากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งช...
 
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดบทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
 
Beginning with IROVER Robot (IPST WiFi + IKB+1)
Beginning with IROVER Robot (IPST WiFi + IKB+1)Beginning with IROVER Robot (IPST WiFi + IKB+1)
Beginning with IROVER Robot (IPST WiFi + IKB+1)
 
e-commerce
e-commercee-commerce
e-commerce
 
การ Scan เอกสารหลายแผ่น เป็น pdf 1 ไฟล์ โดยใช้โปรแกรม adobe acrobat x
การ Scan เอกสารหลายแผ่น เป็น pdf 1 ไฟล์    โดยใช้โปรแกรม adobe acrobat xการ Scan เอกสารหลายแผ่น เป็น pdf 1 ไฟล์    โดยใช้โปรแกรม adobe acrobat x
การ Scan เอกสารหลายแผ่น เป็น pdf 1 ไฟล์ โดยใช้โปรแกรม adobe acrobat x
 

Similaire à เล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_comment

แนวทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลางในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจแ...
แนวทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลางในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจแ...แนวทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลางในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจแ...
แนวทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลางในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจแ...Dr.Choen Krainara
 
Water plan
Water planWater plan
Water planBbusyew
 
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำSinghanat Sangsehanat
 
Thailand’s National Adaptation Plan (NAP) Processes
Thailand’s National Adaptation Plan (NAP) ProcessesThailand’s National Adaptation Plan (NAP) Processes
Thailand’s National Adaptation Plan (NAP) ProcessesUNDP Climate
 
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5 คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5 Satapon Yosakonkun
 
รายงานผลการดำเนินการป้องกันทุจริต
รายงานผลการดำเนินการป้องกันทุจริตรายงานผลการดำเนินการป้องกันทุจริต
รายงานผลการดำเนินการป้องกันทุจริตWatcharasak Chantong
 
Redd Situation Recoftc
Redd Situation RecoftcRedd Situation Recoftc
Redd Situation RecoftcDow P.
 
oRlREdKL64Tue12905.pdf
oRlREdKL64Tue12905.pdfoRlREdKL64Tue12905.pdf
oRlREdKL64Tue12905.pdfpinit1
 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั...
Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั...Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั...
Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั...Singhanat Sangsehanat
 

Similaire à เล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_comment (19)

Orchid export strategy
Orchid export strategyOrchid export strategy
Orchid export strategy
 
แนวทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลางในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจแ...
แนวทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลางในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจแ...แนวทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลางในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจแ...
แนวทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลางในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจแ...
 
5.กรอบแนวทางการติดตามและประเมินผล
5.กรอบแนวทางการติดตามและประเมินผล5.กรอบแนวทางการติดตามและประเมินผล
5.กรอบแนวทางการติดตามและประเมินผล
 
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
 
Water plan
Water planWater plan
Water plan
 
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
 
Thailand’s National Adaptation Plan (NAP) Processes
Thailand’s National Adaptation Plan (NAP) ProcessesThailand’s National Adaptation Plan (NAP) Processes
Thailand’s National Adaptation Plan (NAP) Processes
 
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5 คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
 
NSTDA-Plan-2561
NSTDA-Plan-2561NSTDA-Plan-2561
NSTDA-Plan-2561
 
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษา
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาแผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษา
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษา
 
รายงานผลการดำเนินการป้องกันทุจริต
รายงานผลการดำเนินการป้องกันทุจริตรายงานผลการดำเนินการป้องกันทุจริต
รายงานผลการดำเนินการป้องกันทุจริต
 
Redd Situation Recoftc
Redd Situation RecoftcRedd Situation Recoftc
Redd Situation Recoftc
 
Spearhead
SpearheadSpearhead
Spearhead
 
Thai Research Policy # 8
Thai Research Policy # 8Thai Research Policy # 8
Thai Research Policy # 8
 
oRlREdKL64Tue12905.pdf
oRlREdKL64Tue12905.pdfoRlREdKL64Tue12905.pdf
oRlREdKL64Tue12905.pdf
 
ต่าย
ต่ายต่าย
ต่าย
 
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
 
Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั...
Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั...Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั...
Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั...
 

Plus de Kitipan Kitbamroong Ph.D. CISA

คู่มือการจัดการปัญหาฝุ่นละออง
คู่มือการจัดการปัญหาฝุ่นละอองคู่มือการจัดการปัญหาฝุ่นละออง
คู่มือการจัดการปัญหาฝุ่นละอองKitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
Mid-century, Long-term Low Greenhouse Gas Emission Development Strategy
Mid-century, Long-term Low Greenhouse Gas Emission Development StrategyMid-century, Long-term Low Greenhouse Gas Emission Development Strategy
Mid-century, Long-term Low Greenhouse Gas Emission Development StrategyKitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญสวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญKitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตการวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตKitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
ระบบการผลิตแบบเป็นงวด
ระบบการผลิตแบบเป็นงวดระบบการผลิตแบบเป็นงวด
ระบบการผลิตแบบเป็นงวดKitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
การครวจสอบสินค้าคงคลัง
การครวจสอบสินค้าคงคลังการครวจสอบสินค้าคงคลัง
การครวจสอบสินค้าคงคลังKitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
Pathways to Net Zero: The Impact of Clean Energy Research
Pathways to Net Zero: The Impact of Clean Energy ResearchPathways to Net Zero: The Impact of Clean Energy Research
Pathways to Net Zero: The Impact of Clean Energy ResearchKitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
รายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อม | State of environment quality 2021
รายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อม | State of environment quality 2021รายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อม | State of environment quality 2021
รายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อม | State of environment quality 2021Kitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย | Thailand state of pollution report 2021
รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย | Thailand state of pollution report 2021รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย | Thailand state of pollution report 2021
รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย | Thailand state of pollution report 2021Kitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 

Plus de Kitipan Kitbamroong Ph.D. CISA (20)

WeGuardSummary
WeGuardSummaryWeGuardSummary
WeGuardSummary
 
Genia Solution
Genia SolutionGenia Solution
Genia Solution
 
คู่มือการจัดการปัญหาฝุ่นละออง
คู่มือการจัดการปัญหาฝุ่นละอองคู่มือการจัดการปัญหาฝุ่นละออง
คู่มือการจัดการปัญหาฝุ่นละออง
 
BMA flood drainage report 2022
BMA flood drainage report 2022BMA flood drainage report 2022
BMA flood drainage report 2022
 
BMA flood drainage plan 2022
BMA flood drainage plan 2022BMA flood drainage plan 2022
BMA flood drainage plan 2022
 
Mid-century, Long-term Low Greenhouse Gas Emission Development Strategy
Mid-century, Long-term Low Greenhouse Gas Emission Development StrategyMid-century, Long-term Low Greenhouse Gas Emission Development Strategy
Mid-century, Long-term Low Greenhouse Gas Emission Development Strategy
 
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญสวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
 
Clean Technology
Clean TechnologyClean Technology
Clean Technology
 
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตการวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
 
งานระหว่าการผลิต
งานระหว่าการผลิตงานระหว่าการผลิต
งานระหว่าการผลิต
 
ระบบการผลิตแบบเป็นงวด
ระบบการผลิตแบบเป็นงวดระบบการผลิตแบบเป็นงวด
ระบบการผลิตแบบเป็นงวด
 
การครวจสอบสินค้าคงคลัง
การครวจสอบสินค้าคงคลังการครวจสอบสินค้าคงคลัง
การครวจสอบสินค้าคงคลัง
 
Circular economy to Zero Waste
Circular economy to Zero WasteCircular economy to Zero Waste
Circular economy to Zero Waste
 
TCAC2022
TCAC2022TCAC2022
TCAC2022
 
THAILAND THIRD BIENNIAL UPDATE REPORT
THAILAND THIRD BIENNIAL UPDATE REPORTTHAILAND THIRD BIENNIAL UPDATE REPORT
THAILAND THIRD BIENNIAL UPDATE REPORT
 
Pathways to Net Zero: The Impact of Clean Energy Research
Pathways to Net Zero: The Impact of Clean Energy ResearchPathways to Net Zero: The Impact of Clean Energy Research
Pathways to Net Zero: The Impact of Clean Energy Research
 
รายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อม | State of environment quality 2021
รายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อม | State of environment quality 2021รายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อม | State of environment quality 2021
รายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อม | State of environment quality 2021
 
รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย | Thailand state of pollution report 2021
รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย | Thailand state of pollution report 2021รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย | Thailand state of pollution report 2021
รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย | Thailand state of pollution report 2021
 
Enabling Asia to Stabilise the Climate
Enabling Asia to Stabilise the ClimateEnabling Asia to Stabilise the Climate
Enabling Asia to Stabilise the Climate
 
KBank Public-Low Carbon and Sustainable Business
KBank Public-Low Carbon and Sustainable BusinessKBank Public-Low Carbon and Sustainable Business
KBank Public-Low Carbon and Sustainable Business
 

เล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_comment

  • 1. (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕70 กองยุทธศาสตร์และแผนงาน กรมควบคุมมลพิษ กันยายน ๒๕๖๕
  • 2. ๑ (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ พ.ศ. 2566 – 2570 1. หลักการและเหตุผล กรมควบคุมมลพิษ ในฐานะหน่วยงานหลักในการเสนอนโยบายการจัดการมลพิษของประเทศ ได้จัดทาแผนจัดการมลพิษ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นกรอบและทิศทางในการจัดการมลพิษของประเทศ ที่สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาประเทศและการเปลี่ยนแปลงบริบทในระดับประเทศและระดับโลก และ เป็นแนวทางเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการพัฒนาประเทศด้านการจัดการมลพิษที่มีเป้าหมาย และทิศทางร่วมกัน ซึ่งแผนจัดการมลพิษฉบับแรก คือ แผนจัดการมลพิษ พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙ และเมื่อปี 2560 ได้จัดทายุทธศาสตร์การจัดการมลพิษ 20 ปี และแผนจัดการมลพิษ พ.ศ. 2560-2564 เนื่องจากประเทศไทย มีการจัดทายุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี เพื่อใช้เป็นยุทธศาสตร์ในการพัฒนาประเทศในระยะยาว และ มีความประสงค์ที่จะให้ประเทศไทยมีการวางแนวทางในการดาเนินงานด้านต่างๆ ในระยะยาวให้สอดคล้องกับ กรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี กรมควบคุมมลพิษจึงได้จัดทายุทธศาสตร์การจัดการมลพิษ 20 ปี เพื่อให้ สอดรับกับยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี เพื่อกาหนดทิศทางการจัดการมลพิษของประเทศไทยในระยะยาว และกาหนดแนวทางการดาเนินงานในแต่ละช่วงทุก 5 ปี โดยในช่วงระยะ 5 ปีแรก ได้จัดทาแผนจัดการมลพิษ พ.ศ. 2560-2564 เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการสิ่งแวดล้อมใน ระดับประเทศ รวมทั้งนโยบายรัฐบาล การปฏิรูปประเทศไทย แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) แผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔ และนโยบายเกี่ยวกับการจัดการ มลพิษที่สาคัญในระดับสากล โดยเฉพาะเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) ในขณะนั้น โดยใช้กรอบแนวคิดบนหลักการของการพัฒนาที่มุ่งไปสู่เศรษฐกิจสีเขียว ส่งเสริมให้เป็น สังคมของการผลิตและบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และทุกภาคส่วนร่วมรับผิดชอบสิ่งแวดล้อมและจัดการ ปัญหามลพิษร่วมกัน เพื่อนาไปสู่คุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ได้มาตรฐานและการพัฒนาที่ยั่งยืน เนื่องด้วยแผนจัดการมลพิษ พ.ศ. 2560-2564 ระยะ 5 ปีแรก สิ้นสุดลง กรมควบคุมมลพิษจึง ได้วิเคราะห์ผลการดาเนินงานตามมาตรการภายใต้ยุทธศาสตร์การจัดการมลพิษ ๒๐ ปี และแผนจัดการมลพิษ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔ ในช่วงที่ผ่านมา และได้วิเคราะห์ยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 และได้พิจารณาให้สอดคล้องกับ บริบทและสถานการณ์ในปัจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลง ซึ่งส่วนหนึ่งจะต้องมีการปรับตัวให้สอดคล้องกับ การดาเนินวิถีชีวิตแบบใหม่ ภายหลังจากการได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส โคโรนาในช่วงปี 2563 – 2564 การดาเนินการเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทย โดยเฉพาะในสาขาการจัดการของเสีย รวมทั้งสถานการณ์ในอนาคต และได้คานึงถึงนโยบายที่กระแสโลก ให้ความสาคัญ เช่น การขับเคลื่อนการพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ-เศรษฐกิจหมุนเวียน- เศรษฐกิจสีเขียว (Bio-Circular-Green Economy : BCG Model) การพัฒนาสู่สังคมคาร์บอนต่า เป็นต้น Should be 5 years In summary, the strategy does not state what PCD and Thailand's waste management will be in 5 years. Not to mention monitoring and control of these outcomes. Thus measuring the success of it will be impossible. A good strategy should align with the goals of the firm. In this case, we see some strategy addressing works that are only related to their department/field of interest.Board industries and area of focus were also found making it harder for staffs to achieve targets stated. Several action plans are vague and duplicate with other agencies. An integration collaboration between agencies is a must when working with pollution management and control, especially non-point source pollution like pm2.5. Not to mention working with international agencies that already have their own pollution standards e.g. IFOAM. Industrial waste measure is also limited when compared with municipal waste. The strategic also does not state resource allocation (staffs - knowledge/skill/ budget) monitoring and control mechanism to ensure effectiveness, not to mention host/leadership for each strategy within the plan period.
  • 3. ๒ (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ พ.ศ. 2566 – 2570 2. ผลการดาเนินงานที่สาคัญตามแนวทางการจัดการมลพิษภายใต้แผนจัดการมลพิษ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การป้องกันและลดการเกิดมลพิษที่ต้นทาง 1. การผลิตภาคอุตสาหกรรมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จัดทาแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ส่งเสริมสถานประกอบการในการผลิต ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Production) ให้คาปรึกษาแนะนาแก่ SMEs ในด้านเทคโนโลยีสะอาด และเทคโนโลยีสีเขียว ให้คาปรึกษาแนะนาด้านการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Eco - Packaging) แก่สถานประกอบการ และส่งเสริมผลิตภัณฑ์จากวัสดุเหลือใช้ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (G -Upcycle) การเลิกใช้พลาสติกหุ้มฝาขวดน้าดื่ม (No Plastic Bottle Cap Seal) การเลิกใช้ไมโครบีดส์ จากพลาสติก (Microbeads) การเลิกใช้ถุงพลาสติกหูหิ้วขนาดบางร่วมกับภาคีเครือข่าย 2. การผลิตภาคเกษตรกรรมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) ถอดบทเรียน Smart Farmer ด้านการประมง และคัดเลือกเกษตรกร สถาบันเกษตรกร และสหกรณ์ที่มีผลงานดีเด่น เพื่อเป็นการยกย่อง ประกาศเกียรติคุณ 3. การท่องเที่ยวและธุรกิจบริการต่อเนื่องที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม กาหนดจานวนนักท่องเที่ยวที่เข้าไปในอุทยานแห่งชาติ เช่น หมู่เกาะสิมิลัน ส่งเสริมการท่องเที่ยว กลุ่มGreen Tourismเผยแพร่ข้อปฏิบัติสาหรับนักท่องเที่ยว บนเว็บไซต์ของกรมการท่องเที่ยว ตรวจประเมิน และรับรองคุณภาพมาตรฐานแหล่งท่องเที่ยว และจัดประกวดรางวัลอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย (Thailand Tourism Awards) 4. การคมนาคมขนส่งและการใช้พลังงานที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม พัฒนาระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ก่อสร้างทางจักรยานโครงข่ายทางหลวงชนบท สนับสนุน การใช้เชื้อเพลิงสะอาดสาหรับยานพาหนะ จัดเก็บภาษีน้ามันเชื้อเพลิงตามหลักการด้านสิ่งแวดล้อม และรับรองอาคารเขียว (Green building) 5. การส่งเสริมการบริโภคที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมสานักงานสีเขียว (Green Office) ส่งเสริมการใช้ระบบบัตรสะสมคะแนนในการซื้อสินค้า และบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Card) ผลิตและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ สร้างกระแสค่านิยม การผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ผ่านช่องทางสื่อต่างๆ และจัดทาแผน ส่งเสริมการจัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔ ยุทธศาสตร์ที่ 2 เพิ่มประสิทธิภาพในการบาบัด กาจัดของเสีย และควบคุมมลพิษจากแหล่งกาเนิด 1. การจัดการขยะมูลฝอยชุมชน ของเสียอันตรายชุมชน และมูลฝอยติดเชื้อ โครงการทาความดีด้วยหัวใจ ลดภัยมลพิษ การจัดทาและขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการจัดการขยะมูลฝอย ชุมชน “จังหวัดสะอาด” ตามแนวทางประชารัฐ โครงการบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบรวมกลุ่ม (Clusters) ส่งเสริมการแยกทิ้งของเสียอันตรายจากชุมชนออกจากมูลฝอยทั่วไป และมีจุดทิ้งของเสียอันตรายจากชุมชน (จุด Drop off) ทุกชุมชน เพื่อรวบรวมนาไปบาบัดและกาจัดอย่างถูกหลักวิชาการ จัดทา Roadmap การ จัดการขยะพลาสติก แผนปฏิบัติการจัดการขยะพลาสติก มาตรการการจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์ จัดทา (ร่าง) พระราชบัญญัติการจัดการซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ Should identify industry/zone/area as it is to board, hard to define KPI Similar to Strategy 1, should specify province/industry/area of focus. which province? state it in the statement Already have - https://www.pcd.go.th/ wp- content/uploads/2020/0 5/pcdnew-2020-05- 27_06-47- 53_174751.pdf จัดทํา?
  • 4. ๓ (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ พ.ศ. 2566 – 2570 2. การจัดการกากอุตสาหกรรม จัดตั้งศูนย์ช่วยเหลือและติดตามการต่ออายุโรงงานที่ขาดอายุในการดาเนินการจัดการกากอุตสาหกรรม และโครงการยกระดับผู้ประกอบการจัดการของเสีย 3. การจัดการสารอันตรายในภาคเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม ตรวจสอบติดตามการปนเปื้อนโลหะหนักและสารพิษตกค้างในพื้นที่เกษตร และจัดทาระบบ รายงานข้อมูลการปลดปล่อยและเคลื่อนย้ายมลพิษจากโรงงานที่มีการถือครองสารเคมีเป้าหมาย 4. การจัดการน้าเสียชุมชน การจัดทาและขับเคลื่อนแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้า 20 ปี (พ.ศ. 2561- 2580) แผนปฏิบัติการด้านการจัดการน้าเสียชุมชน ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580) แผนแม่บทด้าน การจัดการคุณภาพน้าของประเทศ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) และการบริหารจัดการและ บารุงรักษาระบบบาบัดน้าเสียรวมชุมชนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 5. การตรวจสอบและควบคุมแหล่งกาเนิด กาหนด/ปรับปรุงมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมและมาตรฐานการระบายมลพิษจากแหล่งกาเนิดมลพิษ ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน เช่น มาตรฐานค่าความเข้มกลิ่นของอากาศเสียที่ปล่อยทิ้งจาก โรงงานผลิตยาง มาตรฐานระดับเสียงของรถยนต์ไฮบริด มาตรฐานระดับเสียงของรถจักรยานยนต์ มาตรฐานควบคุมการระบายน้าทิ้งจากแหล่งกาเนิดประเภทการเลี้ยงสุกร เป็นต้น ตรวจสอบเงื่อนไข ในใบอนุญาตการประกอบกิจการของโรงงานก่อนหมดอายุใบอนุญาต และกากับดูแลแหล่งกาเนิดมลพิษ ทั้งประเภทอาคาร การจัดสรรที่ดิน บริการชุมชน การติดตามตรวจสอบการดาเนินการตามมาตรการ ที่กาหนดไว้ในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และให้หน่วยงานท้องถิ่นนาไปใช้ในการกากับ บังคับใช้กฎหมาย อนุมัติ อนุญาตและต่อใบอนุญาตก่อสร้าง ติดตามตรวจสอบ กากับดูแล ควบคุม แหล่งกาเนิดมลพิษตาม พ.ร.บ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ ให้ปฏิบัติ ตามมาตรฐานควบคุมการระบายน้าทิ้งตามที่กฎหมายกาหนด การเสริมสร้างศักยภาพและยกระดับ ขีดความสามารถเจ้าหน้าที่ของรัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อบังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มงวด และ การพัฒนาผู้ประกอบการ เจ้าของแหล่งกาเนิดมลพิษให้มีศักยภาพในการปฏิบัติตามกฎหมายสิ่งแวดล้อม 6. การตรวจสอบและควบคุมยานพาหนะ ติดตั้งระบบตรวจสภาพรถยนต์ให้กับสานักงานขนส่งจังหวัดและสาขาทั่วประเทศ พัฒนา เครื่องมือตรวจวัดสารมลพิษจากไอเสียรถยนต์เพื่อรองรับมาตรฐานไอเสียรถยนต์ระดับยูโร 5/6 ตรวจสอบ ตรวจจับ และห้ามใช้ยานพาหนะที่ระบายมลพิษเกินค่ามาตรฐาน ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และจังหวัดที่เป็นพื้นที่วิกฤติด้านฝุ่นละออง กาหนดให้ใช้เครื่องมือวัดความดัน ระบบวัดความทึบแสง ในการวัดควันดาจากรถยนต์จุดระเบิดด้วยการอัด และการกาหนดให้รถโดยสารเป็นแหล่งกาเนิดมลพิษ ทางอากาศ 7. การจัดการปัญหาหมอกควัน กิจกรรมรณรงค์ในพื้นที่เสี่ยงไฟป่าและกิจกรรมรณรงค์ให้ปลอดควันพิษจากไฟป่า สร้างแนวร่วม ภาคประชาชน ในการเฝ้าระวังและป้องกันการเผาในที่โล่งและลดหมอกควัน การระดมสรรพกาลัง เพื่อเฝ้าระวัง ลาดตะเวนดับไฟ บังคับใช้กฎหมาย การบริหารจัดการเชื้อเพลิงเพื่อลดการเผา และ ส่งเสริมการหยุดการเผาในพื้นที่การเกษตร The center is already up and running? why establish more? This database is already available at BOI, no need to create a new one. already have - http://www.onwr.go.th/ ?page_id=4207 Should focus on community cooperation plan. Should develop monitoring and control dashboard for operation and management. ที่เขียนเป็นงานปกติของกร มอยู่แล ้ว ไม่น่าจะเอามาใส่ในแผน ทําไมไม่ใช ้ของกรมการขน ส่ง? งบซํ้าซ ้อน ซํ้าซ ้อนกับหน่วยงานอื่น More EVs are in plan for city transport Which area/province? How? Should state.
  • 5. ๔ (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ พ.ศ. 2566 – 2570 8. การจัดการมลพิษเชิงพื้นที่ การจัดทาและขับเคลื่อนแผนสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ.2561 – 2564 และดาเนินงานภายใต้แผนปฏิบัติการเพื่อลดและขจัดมลพิษในเขตควบคุมมลพิษ จัดทาแผนพัฒนาภาค พ.ศ.2560-2565 ฉบับทบทวน ติดตามตรวจสอบ เฝ้าระวังและควบคุมมลพิษจากแหล่งกาเนิดมลพิษ ในพื้นที่ รวมทั้งตรวจสอบและแก้ไขปัญหามลพิษจากอุบัติภัยฉุกเฉินจากสารเคมี การลักลอบทิ้งกาก ของเสีย ปัญหาเรื่องร้องเรียนและความเดือดร้อนของประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากมลพิษในพื้นที่ ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาระบบการบริหารจัดการมลพิษ 1. การบริหารจัดการในภาพรวม พัฒนาปรับปรุงระบบการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมมาอย่างต่อเนื่อง จัดทาฐานข้อมูล เช่น ระบบฐานข้อมูลคุณภาพน้าแหล่งน้าผิวดินทั่วประเทศ (IWIS) ฐานข้อมูลคุณภาพอากาศ ฐานข้อมูล สินค้าและบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เป็นต้น การพัฒนาระบบการจัดการและแก้ไขปัญหาข้อ ร้องเรียนด้านมลพิษให้กับประชาชนได้อย่างทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพจนได้ข้อยุติ จัดทา Application Air4Thai มีการแจ้งเตือน และนาข้อมูลการพยากรณ์ของกรมอุตุนิยมวิทยา และ แบบจาลองมาใช้ในการจัดการคุณภาพอากาศและแจ้งเตือนล่วงหน้า 2. การใช้มาตรการทางเศรษฐศาสตร์และมาตรการทางสังคม สนับสนุนให้ภาคีเครือข่ายเข้ามามีส่วนร่วมในการติดตามตรวจสอบการดาเนินงานตาม มาตรการในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และเปิดเผยข้อมูลให้สาธารณชนได้รับทราบ กาหนดอัตราค่าบริการกาจัดขยะมูลฝอย/บาบัดน้าเสียขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับ การจัดสรรเงินกองทุนสิ่งแวดล้อม ตามมาตรา 88 แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ผลักดันองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นออกเทศบัญญัติการจัดเก็บ ค่าบริการบาบัดน้าเสียชุมชน 3. การเพิ่มประสิทธิภาพด้านกฎหมาย ปรับปรุงระเบียบกรมเจ้าท่าว่าด้วยหลักเกณฑ์การออกหนังสือรับรองผู้ให้บริการจัดเก็บและบาบัด ของเสียจากเรือ ประเภทขยะและกากของเสียต่างๆ พ.ศ. ๒๕๖๐ และจัดทาแนวทางการควบคุมกิจการ ที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับปรับปรุง) 4. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมและเครือข่ายของภาคส่วนต่างๆ ในการจัดการมลพิษ สนับสนุนให้ ทสม. มีบทบาทเฝ้าระวัง แจ้งเหตุมลพิษ ส่งเสริมการรวมตัว เป็นกลุ่ม และสร้าง เครือข่ายทางด้านสิ่งแวดล้อมขององค์กรเอกชน องค์กรอิสระ และอาสาสมัครสิ่งแวดล้อม 5. การดาเนินงานตามพันธกรณีและความร่วมมือระหว่างประเทศ เข้าร่วมและดาเนินการตามพันธกรณีและความร่วมมือระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้อง เช่น เข้าร่วม เป็นภาคีอนุสัญญามินามาตะว่าด้วยปรอท ข้อตกลงอาเซียนเรื่องมลพิษจากหมอกควันข้ามแดน จัดทา แผนการดาเนินงานภายใต้กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และข้อตกลงปารีส ด้านปฏิบัติการเสริมพลังรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ This is a good example. Should include plan for Open Data (DGA) to enable data sharing. How? Should clearly state methodology. Already have - http://www.oic.go.th/FI LEWEB/CABINFOCENTE R38/DRAWER027/GENE RAL/DATA0001/000012 60.PDF องค์กรไหนบ ้าง หลายองค์กรมีแล ้ว - https://www.songkhlacit y.go.th/2020/files/com_ content/2015- 02/20150216_mjluvwas. pdf ระเบียบมีอยู่แล ้ว น่าจะระบุเรื่องการมาตรการ ในการบังคับใช ้มากกว่า ควรเพิ่มการบูรณาการกฏห มายกับทุกภาคส่วนที่เกี่ยว ข ้องเพื่อความสะดวกและป ระสิทธิภาพในการบังคับใข ้ Should create tools or platform for ทสม. to report/monitor and control like traffy fondue Should prioritize the colloboration, which is more important as from the statement, it is not.
  • 6. ๕ (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ พ.ศ. 2566 – 2570 3. สาระสาคัญของกรอบแผนจัดการมลพิษ พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕70 ยุทธศาสตร์การจัดการมลพิษ 20 ปี มีการแบ่งการดาเนินงานออกเป็น 4 ช่วง ช่วงละ 5 ปี โดยมี การวางภาพในอนาคตที่ต้องการจะเห็น ดังนี้ ระยะที่ 1 ระยะ 5 ปีแรก (พ.ศ. 2560-2564) จะมุ่งจัดการมลพิษที่ต้นทาง ส่งเสริมการผลิต และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยภาคการผลิตจะขับเคลื่อนเศรษฐกิจโดยใช้ทรัพยากรอย่างมี ประสิทธิภาพ ใช้กระบวนการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อให้เกิดมลพิษต่า มีระบบจัดการของเสียจาก แหล่งกาเนิดมลพิษทุกประเภทอย่างเพียงพอและจัดการมลพิษได้ตามมาตรฐาน ระยะที่ 2 - 3 ช่วงระยะ 10-15 ปี (พ.ศ. 2565-2574) มุ่งส่งเสริมให้ภาครัฐ ภาคเอกชน และ ภาคประชาชนลดการใช้ทรัพยากรที่กาจัดยาก ลดการเกิดของเสียและมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม มีการบริโภคสินค้า และบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเป็นหลักในชีวิตประจาวัน ระยะที่ 4 ระยะ 5 ปีสุดท้าย (พ.ศ. 2575-2579) ได้วางกรอบแนวทางดาเนินงานเพื่อให้ประเทศไทย ก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่า (Low carbon Society) บนพื้นฐานหลักเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาที่ยั่งยืน อย่างแท้จริง โดยมีฐานองค์ความรู้ เทคโนโลยี กฎระเบียบ และสถาบัน/องค์กรรองรับการพัฒนาประเทศ แบบไร้ของเสีย (Zero Waste) ทั้งนี้ เป้าหมายในภาพรวมที่จะเกิดขึ้นในแต่ละช่วงเวลา ดังแสดงตามแผนภาพภูมิทัศน์การจัดการมลพิษ ของประเทศไทยในระยะ ๒๐ ปี แผนภาพภูมิทัศน์การจัดการมลพิษของประเทศไทยในระยะเวลา 20 ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙)
  • 7. ๖ (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ พ.ศ. 2566 – 2570 เนื่องด้วย แผนจัดการมลพิษ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ ได้สิ้นสุดช่วงแผนในระยะ ๕ ปีแรก จึงได้มีการจัดทา (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕70 เพื่อให้สอดคล้องกับระยะที่ 2 - 3 ช่วงระยะ 10-15 ปี (พ.ศ. 2565 - 2574) ของยุทธศาสตร์การจัดการมลพิษ ๒๐ ปี ที่จะมุ่งส่งเสริมให้ภาครัฐ ภาคเอกชน และ ภาคประชาชนลดการใช้ทรัพยากรที่กาจัดยาก ลดการเกิดของเสียและมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม มีการบริโภคสินค้า และบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเป็นหลักในชีวิตประจาวัน โดยกรมควบคุมมลพิษได้วิเคราะห์ประเด็น สาคัญภายใต้แผนจัดการมลพิษฯ ให้สอดคล้องกับแผนระดับชาติและนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการมลพิษ อาทิ ยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรูปประเทศ ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ร่าง) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๓(พ.ศ.๒๕๖๖–๒๕๗๐)และแผนระดับที่ ๓แผนที่เกี่ยวข้องกับ การจัดการมลพิษ อาทิ แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนวาระแห่งชาติ “การแก้ไขปัญหามลพิษด้านฝุ่นละออง” เป้าหมาย การพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) นโยบายและสถานการณ์ของประเทศไทยในปัจจุบัน และแนวโน้มในอนาคตที่เป็น ประเด็นสาคัญ เช่น หลักการ BCG Model การมุ่งสู่เป้าหมายการลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก สถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และการพัฒนาเทคโนโลยีด้านการสื่อสารเข้าสู่สังคมดิจิตัล เป็นต้น โดยสรุปเป็นรายมาตรการแยกตามยุทธศาสตร์ที่ ๑ – ๓ โดยมีมาตรการที่ควรดาเนินการต่อเนื่อง เร่งรัดและขับเคลื่อน การดาเนินงานในมาตรการที่ยังไม่มีการดาเนินการในช่วงเวลาที่ผ่านมา และมีมาตรการใหม่ที่ควรพิจารณา ดาเนินการเพิ่มเติมจากแผนจัดการมลพิษ พ.ศ. 2560 - 2564 ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การป้องกันและลดการเกิดมลพิษที่ต้นทาง สนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจทั้งภาคอุตสาหกรรม ภาคเกษตรกรรม ภาคบริการ ภาคการท่องเที่ยว ภาคพลังงาน และภาคการขนส่ง ให้ใช้ทรัพยากรในการผลิตอย่างคุ้มค่า ใช้เทคโนโลยีและกระบวนการผลิต ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนในทุกระดับ มีส่วนร่วมรับผิดชอบในการรักษาสิ่งแวดล้อม มีจิตสานึกที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การบริโภคและการใช้ทรัพยากร ที่พอดี ๑. การผลิตภาคอุตสาหกรรมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยมีมาตรการที่ควรดาเนินการในช่วงปี 256๖ – 2570 ได้แก่ มาตรการ ๑) สนับสนุนการปรับปรุงกระบวนการผลิตของผู้ประกอบการที่ต้องการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ ทรัพยากรพลังงานลดของเสีย นาของเสียหรือวัสดุผลพลอยได้จากกระบวนการผลิตกลับมา ใช้ใหม่การจัดการผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์เมื่อเสื่อมสภาพ ๒) ส่งเสริมการออกแบบสินค้าและบรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Eco-Design) ให้มีอายุ การใช้งานนานขึ้น นากลับมาใช้ซ้าได้หลายครั้ง กาหนดให้การผลิตสินค้ามีส่วนประกอบจาก วัสดุรีไซเคิลเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะวัสดุที่สามารถย่อยสลายได้ในธรรมชาติไม่มีสารพิษ/สารอันตราย ตกค้างหรือเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม ๓) ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนของเสียจากกระบวนการผลิตระหว่างโรงงานอุตสาหกรรม (Waste Exchange System) และพัฒนาเป็นกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีกระบวนการผลิตเชื่อมโยงกัน เพื่อลดของเสียให้เหลือน้อยที่สุด ๔) ส่งเสริมและพัฒนากฎระเบียบควบคุมการนาเข้าส่งออกเศษวัสดุรีไซเคิล และคุณภาพวัตถุดิบ จากวัสดุใช้แล้ว Which industry? How? How? Carbon credit? How? Which industry? what about agricultural waste? How? Already have - https://onestopservice.d itp.go.th/file/24.11.pdf
  • 8. ๗ (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ พ.ศ. 2566 – 2570 ๕) ใช้มาตรการทางเศรษฐศาสตร์เป็นแรงจูงใจ ได้แก่ ลดภาษีเครื่องจักรอุปกรณ์ให้กับผู้ผลิตสินค้า ลดภาษีเงินได้นิติบุคคล จัดทาโปรแกรมส่งเสริมการลงทุนเพื่อให้สามารถแข่งขันกับสินค้าปกติ ในตลาดได้ และเป็นแรงจูงใจให้ผู้บริโภคหันมาซื้อสินค้าที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น ๖) กาหนดมาตรฐานรับรองสินค้าและผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม กาหนดฉลากสินค้า และผลิตภัณฑ์และให้เพิ่มคาแนะนาขั้นตอน วิธีการทิ้ง จุดทิ้ง หรือการกาจัดซากผลิตภัณฑ์ ที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ ๗) กาหนดให้มีหน่วยงานให้การรับรองฉลากสิ่งแวดล้อม (Eco-Labeling) เพื่อส่งเสริมการผลิต และบริโภคที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ผ่านการจัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการที่เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม (Green Procurement) ๘) ยกระดับศักยภาพของภาคอุตสาหกรรมให้เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และขยายผลสู่ระบบห่วงโซ่ อุปทาน (Green Supply Chain) ๙) ขยายผลหลักการดาเนินงานในลักษณะเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศให้กระจายไปตามภูมิภาค ที่เป็นพื้นที่เป้าหมายการลงทุนทางเศรษฐกิจ ๑๐) สนับสนุนความร่วมมือระหว่างภาคเอกชนและประชาชนในกระบวนการทาธุรกิจที่เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อมยั่งยืน เพื่อให้เกิดการแบ่งปันและเกิดความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ๑๑) ศึกษาวิจัยระบบการประเมินวัฎจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์ และจัดทาคลังข้อมูลวัฎจักรชีวิตของ ผลิตภัณฑ์เพื่อประโยชน์ในการกาหนดประเภทฉลากสิ่งแวดล้อม ๑๒) การส่งเสริมผู้ประกอบการอุตสาหกรรมให้เข้ามามีส่วนร่วมในลักษณะไตรภาคีกับภาครัฐ และภาคประชาชนในการลด เลิกผลิต หรือเลิกใช้ผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ที่เกิดเป็นขยะมูลฝอย ได้ง่าย ไม่คุ้มค่าในการนากลับใช้ใหม่ กาจัดยากหรือเป็นปัญหาต่อระบบจัดการ รวมทั้งให้มี การเรียกคืนซากผลิตภัณฑ์หรือบรรจุภัณฑ์กลับมาใช้ซ้า ใช้ใหม่หรือกาจัดอย่างถูกต้องตาม หลักวิชาการหลังการบริโภค ภายใต้หลักการ Corporate Social Responsibility (CSR) ๑๓) จัดทาทาเนียบการปลดปล่อยและเคลื่อนย้ายมลพิษของภาคอุตสาหกรรม (Pollution Release and Transfer Registers : PRTR) โดยหน่วยงานราชการเป็นผู้ประเมินหรือคาดประมาณการ ปลดปล่อยและเคลื่อนย้ายมลพิษ เพื่อใช้ในการวางแผนและกาหนดมาตรการในการป้องกัน ปัญหามลพิษและการแก้ไขสถานการณ์ กรณีเกิดอุบัติภัยสารเคมีที่ส่งผลกระทบและเกิดความเสียหาย ต่อประชาชนและสิ่งแวดล้อม ๑๔) ส่งเสริมกระบวนการผลิตในภาคอุตสาหกรรมตามแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ- เศรษฐกิจหมุนเวียน-เศรษฐกิจสีเขียว (Bio-Circular-Green Economy : BCG Model) เคมีเขียว (Green Chemistry) และเศรษฐกิจคาร์บอนต่า โดยสนับสนุนให้ผู้ประกอบการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมการจัดการที่จะนาไปสู่การลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต และสร้างความ หลากหลายให้แก่ผลิตภัณฑ์ ภายใต้เงื่อนไขการดูแลทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม และลดการ ปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก โดยการออกแบบผลิตภัณฑ์และกระบวนการผลิตให้เกิดของเสีย น้อยที่สุด ลดการใช้พลังงาน ส่งเสริมการใช้ซ้า และการจัดการของเสียจากการผลิตด้วยการนา วัตถุดิบเข้าสู่กระบวนการแปรสภาพเพื่อกลับมาใช้ใหม่ รวมถึงการออกแบบผลิตภัณฑ์ และ กระบวนการทางเคมีที่ลด ไม่ใช้ หรือก่อให้เกิดสารอันตรายตลอดวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์ นับตั้งแต่การออกแบบการผลิต การใช้และการกาจัดขั้นตอนสุดท้าย This is not PCD's work, BOI and DOI is the owner. Already have - http://www.tei.or.th/gre enlabel/th_index.html How? and which industry? ภาคไหน? ควรระบุ อย่างไร ควรระบุ ควรตัดออก ซํ้าซ ้อน ซํ้าซ ้อน กรมโรงงานทําอยู่แล ้ว แต่หากอยากทําเอง กรมมี resource พอเพียงหรือไม่?
  • 9. ๘ (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ พ.ศ. 2566 – 2570 ๑๕) ส่งเสริมให้เกิดการใช้ผลิตภัณฑ์ของบริษัทที่กาหนดแผนการดูแลดาเนินการควบคุมผลิตภัณฑ์ อย่างครบวงจรตั้งแต่การผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมจนถึงขั้นตอนการกาจัดซากที่ไม่ส่งผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมโดยการเผยแพร่ข้อมูลดังกล่าวไว้ในฉลากผลิตภัณฑ์ รวมถึงการเผยแพร่ให้สาธารณชน ทราบอย่างทั่วถึงผ่านสื่อต่าง ๆ ๑๖) ส่งเสริมให้เกิดฉลากผลิตภัณฑ์ที่มีการแสดงของระดับมาตรฐานการเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมขั้นต่า และขั้นสูง และต้องส่งเสริมสนับสนุนผลิตภัณฑ์ที่ผ่านเกณฑ์ระดับต่าให้สามารถพัฒนาไปสู่ มาตรฐานระดับสูงได้ ๑๗) ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาเทคโนโลยี และนวัตกรรมสาหรับการผลิตสินค้าจากวัสดุเหลือใช้ หรือวัสดุที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและมีการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกในปริมาณที่ต่า ตลอดวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ ๑๘) พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ส่งเสริมให้ประเทศไทยเป็นฐานการผลิตอุตสาหกรรม อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ดิจิทัลคอนเทนต์และเป็นผู้ให้บริการด้านดิจิทัล ที่สาคัญของอาเซียน รวมทั้งส่งเสริมให้ไทยเป็นฐานการผลิตยานยนต์ไฟฟ้าและชิ้นส่วนที่สาคัญ ของโลก โดยมุ่งเน้นการพัฒนายานยนต์ที่ปล่อยมลพิษเป็นศูนย์ (Zero Emission Vehicle: ZEV) ๑๙) จัดทาแนวทางการนาน้าทิ้งจากระบบบาบัดน้าเสียของนิคมอุตสาหกรรม สวนอุตสาหกรรม กลับมาใช้ประโยชน์ ๒๐) เชิญชวนให้ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์บาบัดน้าเสียมาเข้ารับการตรวจสอบเพื่อรับรองผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ของสานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) ๒๑) ประชาสัมพันธ์และสนับสนุนให้อาคารของหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และบ้านเรือน เลือกใช้ ผลิตภัณฑ์ระบบบาบัดน้าเสียที่ได้รับการรับรองผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรมของสานักงานมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) และผลิตภัณฑ์ที่ขึ้นทะเบียน ๒. การผลิตภาคเกษตรกรรมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยมีมาตรการที่ควรดาเนินการในช่วงปี 256๖ – 2570 ได้แก่ มาตรการ ๑) พัฒนาสินค้าเกษตรทั้งการเพาะปลูก การปศุสัตว์ เพาะเลี้ยงสัตว์น้า และอุตสาหกรรมแปรรูปเกษตร ให้มีกระบวนการผลิตในรูปแบบคาร์บอนต่า และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ๒) ออกนโยบายให้สินค้าเกษตรที่เป็นเป้าหมายสาคัญของประเทศทาการเกษตรโดยวิธีการที่เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อลดการเกิดมลพิษจากการทาการเกษตรและป้องกันการกีดกันทางการค้า ๓) ผลิตสินค้าเกษตรให้เหมาะสมกับพื้นที่ตามแนวทางการบริหารจัดการเขตความเหมาะสม สาหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจสาคัญ (Zoning) และไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เช่น ไม่ทา การเกษตรบนพื้นที่ต้นน้า ๔) ลดการใช้สารเคมีอันตรายโดยส่งเสริมการใช้เทคนิคที่ดีที่สุด (Best Available Techniques : BAT) และแนวทางปฏิบัติด้านสิ่งแวดล้อมที่ดีที่สุด (Best Environmental Practices: BEP) หรือการใช้สารทดแทนสารเคมีที่มีความปลอดภัยมากกว่าในการเพาะปลูก ๕) ถอดบทเรียน Smart Farmer ต้นแบบด้านการลดการใช้สารเคมีทางการเกษตร นาไปขยาย ผลและเผยแพร่ไปใช้ในการปฏิบัติ ๖) กาหนดมาตรฐานรับรองสินค้าเกษตรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ซํ้าซ ้อน เพราะบริษัทต่าง ๆ ที่ทํา BCG ส่วนมากจะทําโฆษณาอยู่แ ล ้ว ืทําฉลากที่ได ้รับการรับรอง จากนานาชาติเพื่อการส่งอ อก PCD is not an innovation and research center. Already have - http://www.oic.go.th/FI LEWEB/CABINFOCENTE R6/DRAWER064/GENER AL/DATA0000/00000026 .PDF ระบุว่าร ้วมมือกับ สมอ. ก็พอ ไม่ต ้องทํางานซํ้าซ ้อน พัฒนาสินค ้าอะไร? น่าจะเป็นการส่งเสริมมากก ว่า ควรร่วมมือกับกรมวิชาการเ กษตร/กรมส่งเสริมการเกษ ตร PCD จะผลิต? จัดการอย่างไรเพราะปัจจุบั นมีอยู่แล ้ว Should focus on ึGAP and organic farming practice instead since BAT and BET are not that well-known in agri. มกอช and IFOAM already has this standard.
  • 10. ๙ (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ พ.ศ. 2566 – 2570 ๗) สื่อสารประชาสัมพันธ์เกษตรกรที่ได้รับรางวัลการเกษตรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ยกย่องเชิดชู ให้มีการรับรู้ในวงกว้าง เพื่อเป็นแรงจูงใจต่อเกษตรกร ๘) พัฒนาเทคโนโลยีเกี่ยวกับการเพาะปลูกการปศุสัตว์ เพาะเลี้ยงสัตว์น้าและอุตสาหกรรมแปรรูปเกษตร ภายใต้วิธีการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good Agricultural Practice : GAP) ระบบการควบคุม ความปลอดภัยของอาหารที่มีผลต่อความปลอดภัยของผู้บริโภค (Hazard Analysis and Critical ControlPoints : HACCP)และหลักเกณฑ์และวิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร (Good Manufacturing Practice : GMP) ตลอดห่วงโซ่ (Green Supply Chain) โดยให้มีมาตรฐานความปลอดภัย ที่สูงขึ้นและไร้มลพิษ ๙) มุ่งส่งเสริมให้เกษตรกรปรับเปลี่ยนเข้าสู่ระบบเกษตรอินทรีย์ หรือออร์แกนิก (Organic) เพื่อยกระดับผลผลิตให้ได้คุณภาพและมีความปลอดภัยขึ้น โดยไม่ใช้ปุ๋ยเคมี สารเคมี และลดการใช้ ปัจจัยการผลิตจากภายนอก ซึ่งจะช่วยลดต้นทุน ส่งผลดีต่อสุขภาพของเกษตรกรผู้ผลิตและ ผู้บริโภครวมถึงยังช่วยเพิ่มมูลค่าสินค้า ๑๐) สนับสนุนให้เกษตรกรนาเทคโนโลยี Smart Farm มาปรับใช้ เพื่อลดต้นทุนการใช้สารเคมี ใช้น้าในปริมาณที่เหมาะสมกับสภาพดิน ชนิดของพืช ภูมิอากาศ และเพิ่มประสิทธิภาพและ ผลิตผลที่ปลอดภัย ได้คุณภาพ และปริมาณคงที่ตรงตามความต้องการและช่วงเวลาของตลาด รวมทั้งส่งเสริมการแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้าทางการเกษตรให้สูงขึ้น ตามแนวทางการพัฒนา เศรษฐกิจชีวภาพ-เศรษฐกิจหมุนเวียน-เศรษฐกิจสีเขียว (Bio-Circular-Green Economy : BCG Model) ๑๑) ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีชีวภาพให้เกิดการนาวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรมาเพิ่มมูลค่า ซึ่งจะทาให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการขายวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร และลดการเผาได้ ๑๒) มุ่งเน้นการพัฒนาสินค้าเกษตรให้ได้มาตรฐานความปลอดภัยระดับสากล และส่งเสริมการทา เกษตรที่รองรับต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ ๑๓) สนับสนุนองค์กรเกษตรอินทรีย์แบบครบวงจร (งานวิจัย ส่งเสริมคุณค่า การตลาด และการลงทุน) ๑๔) สนับสนุนและขยายเครือข่ายเกษตรสีเขียวที่มีการนาของเสียไปใช้ประโยชน์ (waste to energy) ๑๕) ให้การสนับสนุนงานวิชาการด้านการวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ของภาคการเกษตร ผลิตภัณฑ์ แปรรูปทางการเกษตร วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร เพื่อเพิ่มมูลค่าให้แก่ผลผลิตทางการเกษตร ให้มีความหลากหลายมากขึ้นในตลาดหรือนาการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์มาสร้างความน่าเชื่อถือ และเพิ่มมูลค่าของสินค้าเกษตรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อเพิ่มมูลค่าการส่งออกและสร้าง ทะเบียนสินค้าเกษตรของประเทศไทยต่อไป ๑๖) ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อแปรรูปและสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ผลผลิตและวัสดุเหลือใช้ ทางการเกษตรได้รับการวิจัยและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และมีกลไกการถ่ายทอดเทคโนโลยี ที่ส่งเสริมให้เกิดการนาไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์เพื่อสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ (Bio economy) ๑๗) ส่งเสริมและสนับสนุนให้ส่วนราชการมีการใช้สินค้าเกษตรและสินค้าเกษตรแปรรูปที่ได้คุณภาพ ๑๘) ส่งเสริมให้มีการนาขยะอินทรีย์ในแหล่งกาเนิดไปใช้ประโยชน์ในภาคการเกษตร เช่น การนาไป เลี้ยงสัตว์ การนาไปผลิตก๊าซชีวภาพ Good ควรเน้นการบูรณาการกับห น่วยงานที่เกี่ยวข ้องเช่น กรมวิชาการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร มกอช มากกว่า เพราะงานจะได ้ไม่ซํ้าซ ้อน PCD ในฐานะหน่วยควบคุมมีหน้า ที่ในการควบคุม กํากับ ดูแลมากกว่า
  • 11. ๑๐ (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ พ.ศ. 2566 – 2570 ๓. การท่องเที่ยวและธุรกิจบริการต่อเนื่องที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยมีมาตรการที่ควรดาเนินการในช่วงปี 256๖ – 2570 ได้แก่ มาตรการ ๑) กาหนดปริมาณนักท่องเที่ยวให้เหมาะสมกับศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยวและระบบการจัดการ ด้านสิ่งแวดล้อมของแหล่งท่องเที่ยว เริ่มจากแหล่งท่องเที่ยวที่มีความอ่อนไหว เช่น อุทยาน แห่งชาติ พื้นที่เกาะ ๒) ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพให้ผู้ประกอบการบุคลากรและผู้ที่เกี่ยวข้องด้านการท่องเที่ยว มีกระบวนการดาเนินงานที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ได้แก่ การใช้ทรัพยากร เช่น น้า ไฟฟ้า พลังงาน ลดการเกิดของเสีย เช่น น้าเสีย มลพิษทางอากาศ ขยะวัสดุ บรรจุภัณฑ์ที่ไม่ใช้แล้ว และให้ใช้ผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการรับรองฉลากสิ่งแวดล้อม ๓) จัดทาข้อควรปฏิบัติ (Do and Don’t) สาหรับนักท่องเที่ยวที่ต้องดูแลรักษาแหล่งท่องเที่ยว เช่น ไม่ทิ้งขยะในทะเล ลดและคัดแยกขยะมูลฝอยลดการใช้วัสดุที่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม อาทิ โฟมถุงพลาสติก ใช้บรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสื่อสาร ให้ข้อมูลคาแนะนา แก่นักท่องเที่ยวในการปฏิบัติตามข้อควรปฏิบัติดังกล่าว ผ่านธุรกิจนาเที่ยวและมัคคุเทศก์ ๔) ใช้มาตรการทางเศรษฐศาสตร์เป็นแรงจูงใจผู้ประกอบการบุคลากรและผู้ที่เกี่ยวข้องด้านการท่องเที่ยว ได้แก่ จัดทาโปรแกรมส่งเสริมการลงทุน ลดภาษีเงินได้นิติบุคคล อัตราเงินกู้ดอกเบี้ยต่า เพื่อให้สามารถแข่งขันกับธุรกิจบริการท่องเที่ยวปกติในตลาดได้ และเป็นแรงจูงใจให้ผู้บริโภค เลือกใช้บริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น ๕) พัฒนามาตรฐานการท่องเที่ยวไทยที่คานึงถึงการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมที่ดี และผลักดัน ไปสู่การรับรองมาตรฐานในระดับภูมิภาคอาเซียนและระดับสากล ๖) สื่อสารประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวและสถานประกอบการท่องเที่ยวที่ได้รับรองมาตรฐาน การท่องเที่ยวไทย เช่น การจัดทาทาเนียบนาม การมอบรางวัลประกาศนียบัตร การประชาสัมพันธ์ ทั้งในระดับประเทศและต่างประเทศ ๗) พัฒนาการจัดการแหล่งท่องเที่ยวให้มีคุณภาพในรูปของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศหรือการท่องเที่ยว ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Ecotourism) และไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมโดยชุมชนสามารถ บริหารจัดการเองได้ ๘) ส่งเสริมการท่องเที่ยวแบบ New Normal ให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เช่น การจองที่พักล่วงหน้า ผ่านระบบออนไลน์ มีระบบจัดการขยะและของเสียที่ถูกหลักอนามัย ไม่สร้างขยะ ลด เลิก การใช้ พลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวทิ้ง หรือส่งเสริมการใช้ผลิตภัณฑ์ในพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวให้เป็นผลิตภัณฑ์ ที่สามารถนากลับมาใช้ซ้าหรือสามารถย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ ๙) พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวใหม่เพื่อกระจายนักท่องเที่ยวสู่เมืองรองหรือชุมชนท้องถิ่นโดยนาเทคโนโลยีดิจิทัล มาช่วยท้องถิ่นสร้างเนื้อหาการท่องเที่ยว ตลอดจนบริหารจัดการเส้นทาง และจานวนนักท่องเที่ยว ตามแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ-เศรษฐกิจหมุนเวียน เศรษฐกิจสีเขียว (Bio-Circular- Green Economy : BCG Model) รวมทั้งนางานวิจัยเชิงพื้นที่ของสถาบันการศึกษาที่เน้น การพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชน มาขยายผลต่อยอดให้เป็นการท่องเที่ยวแบบลดมลพิษ ตามหลัก BCG Model และมีการจัดเก็บภาษีสิ่งแวดล้อมจากนักท่องเที่ยว ๑๐) ส่งเสริมและยกระดับการจัดการสิ่งแวดล้อมในสถานที่ท่องเที่ยว โดยเฉพาะแหล่งท่องเที่ยว ทางธรรมชาติ โดยเฉพาะพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวสาคัญ เช่น พื้นที่เกาะ ให้เป็นเขตปลอดมลพิษ ททท กับหน่วยงานใน พท. ทําอยู่แล ้ว ททท กับหน่วยงานใน พท. ทําอยู่แล ้ว https://secretary.mots.g o.th/ewtadmin/ewt/secr etary/download/AseanK nowledge/ASEAN_Dos_a nd_Donts_Thailand.pdf integrate with other agencies. บูรณาการ ์์Not PCD's role Integrate with other agencies e.g. ททท.
  • 12. ๑๑ (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ พ.ศ. 2566 – 2570 เช่น การใช้พาหนะที่ไม่ใช้เครื่องยนต์ การใช้รถยนต์และเรือที่ใช้ก๊าซธรรมชาติหรือไฟฟ้า การห้ามใช้ภาชนะที่ย่อยสลายยากเช่นโฟมพลาสติกการกาหนดให้นักท่องเที่ยวมีการคัดแยกขยะ และทิ้งขยะในจุดที่กาหนด รวมถึงวางระบบคัดแยก รวบรวม และการจัดการขยะพลาสติก และขยะประเภทอื่น สาหรับเรือท่องเที่ยว และนักท่องเที่ยว และต้องนามากาจัดบนฝั่ง ตามที่กาหนด เป็นต้น ๑๑) สนับสนุนกลไกการให้บริการการท่องเที่ยวที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมด้วยวิถีไทย และวิถีชุมชน ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๑๒) สนับสนุนการจัดการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนตามแนวคิด BCG โดยพัฒนาระบบการจัดการพื้นที่ และแหล่งท่องเที่ยวให้สอดคล้องกับความสามารถในการรองรับของระบบนิเวศ และการสนับสนุน การใช้ยานยนต์ไฟฟ้า หรือมาตรการอื่น ๆ เพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในภาคการท่องเที่ยว ๑๓) ส่งเสริมการลดพลาสติกและเลิกใช้กล่องโฟมบรรจุอาหารในสถานที่ท่องเที่ยวรวมถึงอุทยานแห่งชาติ/ อุทยานธรณี และสวนสัตว์ ๔. การคมนาคมขนส่งและการใช้พลังงานที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยมีมาตรการที่ควรดาเนินการในช่วงปี 256๖ – 2570 ได้แก่ มาตรการ ๑) ส่งเสริมการใช้เครื่องยนต์และเชื้อเพลิงสะอาด ปรับปรุงระบบขนส่งมวลชนขนาดใหญ่และ การจัดการจราจร และพัฒนาปรับปรุงวิธีการตรวจสภาพรถยนต์ให้สอดคล้องกับการปรับปรุง มาตรฐานใหม่ ๆ ๒) ใช้มาตรการลดปริมาณรถยนต์ส่วนบุคคลที่วิ่งในพื้นที่การจราจรหนาแน่น เช่น การจัด Zoning เพื่อควบคุมปริมาณการจราจรเฉพาะพื้นที่ การลดพื้นที่จราจรที่แบ่งให้กับรถยนต์ส่วนบุคคล การควบคุมสมรรถนะของเครื่องยนต์ (Performance) ๓) ยกระดับการผลิตยานพาหนะให้รองรับการยกระดับมาตรฐานการควบคุมการระบายมลพิษ และคุณภาพน้ามันเชื้อเพลิง ๔) สนับสนุนการผลิตยานพาหนะที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยต่อยอดการใช้ภาษีสรรพสามิต รถยนต์ตามค่าคาร์บอนไดออกไซด์ให้ครอบคลุมมลพิษอื่น การได้รับฉลากรับรอง การลดภาษี ยานพาหนะที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ให้ภาครัฐเป็นผู้นาในการจัดซื้อจัดจ้างยานยนต์ที่เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อส่งเสริมการผลิตเชิงพาณิชย์ ๕) สนับสนุนให้เกิดการเดินทางที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพิ่มทางเลือกในการเดินทางขนส่ง สาธารณะ มีการจัดระบบการขนส่งมวลชนที่ดี สะดวก เข้าถึงง่าย มีจุดเชื่อมต่อ สู่ระบบการ เดินทางอื่น ควบคุมการกาหนดอัตราค่าโดยสารให้เหมาะสม และจัดสภาพแวดล้อมที่สะดวก ต่อการเดินทางที่ไม่ใช้เครื่องยนต์ เพิ่มการใช้จักรยานสาหรับการเดินทางระยะใกล้ๆ ๖) จัดทาทาเนียบการปลดปล่อยและเคลื่อนย้ายมลพิษของภาคการขนส่ง (Pollution Release and Transfer Registers : PRTR) โดยหน่วยงานราชการเป็นผู้ประเมินหรือคาดประมาณ การปลดปล่อยและเคลื่อนย้ายมลพิษ เพื่อใช้ในการวางแผนและกาหนดมาตรการในการป้องกัน ปัญหามลพิษและการแก้ไขสถานการณ์ กรณีเกิดอุบัติภัยสารเคมีที่ส่งผลกระทบและเกิดความเสียหาย ต่อประชาชนและสิ่งแวดล้อม ืNot PCD's role Not PCD's role How? To board. Not PCD's rols ผิดวัดถุประสงค์? Not PCD's role ใครเป็นเจ ้าภาพ? คมนาคม ? How?
  • 13. ๑๒ (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ พ.ศ. 2566 – 2570 ๗) สนับสนุนการใช้เชื้อเพลิงสะอาดสาหรับยานพาหนะ เช่น ไบโอดีเซล พลังงานไฮโดรเจน การปรับปรุง คุณภาพน้ามันเชื้อเพลิง และให้ใช้เทคโนโลยีถ่านหินสะอาด (Clean Coal Technology) เพื่อลดการเกิดมลพิษ ๘) กาหนดมาตรการในการป้องกันและควบคุมมลพิษที่เข้มงวดสาหรับโรงไฟฟ้าที่ใช้ถ่านหินและ พลังงานทดแทน เช่นก๊าซธรรมชาติ ขยะชีวมวลยางรถยนต์เพื่อป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพอนามัย ๙) กาหนดมาตรการหรือระบบรองรับการกาจัดซากผลิตภัณฑ์ประเภทแบตเตอรี่ที่เกิดจากการสนับสนุน การใช้รถไฟฟ้า รถ Hybrid ผลิตภัณฑ์จากการใช้พลังงานทดแทนเช่น แผง Solar cell ในการผลิต ไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ ส่งเสริมการ recycle แผงโซล่า เนื่องจากสามารถนามา recycle ได้ ๑๐) พัฒนามาตรฐานอาคารที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมทั้งด้านการจัดการของเสีย การใช้น้า พลังงาน การใช้วัสดุทดแทนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (กรณีปรับปรุง/ซ่อมแซมอาคาร) และสนับสนุน การใช้มาตรฐานการอนุรักษ์พลังงานในอาคาร (Building Energy Code) เป็นลาดับแรก ๑๑) ใช้เทคโนโลยีหรือนวัตกรรมใหม่มาแทนการดาเนินกิจกรรมในชีวิตประจาวันการประกอบ ธุรกิจและการทางาน เพื่อลดการเดินทาง ๑๒) ใช้กลไกทางด้านราคา เพื่อจูงใจให้ประชาชนใช้พลังงานสะอาด พลังงานทดแทน และเพิ่ม ประสิทธิภาพการใช้พลังงานทั้งในภาคการผลิตไฟฟ้า คมนาคม ขนส่ง อุตสาหกรรม เกษตรกรรม และการใช้ในครัวเรือนเพื่อลดการระบายมลพิษการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่ส่งผลต่อการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ๑๓) ปรับปรุงถนนโดยใช้วัสดุปูพื้นผิวถนนที่ช่วยลดการเกิดเสียงรบกวนควบคู่กับการจากัด ความเร็วรถยนต์ ในเส้นทางที่ใกล้พื้นที่อ่อนไหวต่อเสียง อาทิ พื้นที่ชุมชน และพื้นที่อุทยาน เป็นต้น ๑๔) กาหนดการจัดเก็บภาษีรถยนต์ให้ครอบคลุมการระบายก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และค่าการระบาย มลพิษอื่น ๆ ตามมาตรฐานของรถยนต์เพื่อเป็นการส่งเสริมให้เกิดการผลิตรถยนต์ที่มาตรฐาน เข้มงวดโดยเร็ว ๑๕) กาหนดการจัดเก็บภาษีสรรพสามิตและภาษีท้องถิ่นสาหรับน้ามันเชื้อเพลิงให้สอดคล้องกับ ปัญหามลพิษในแต่ละพื้นที่ และนาเงินภาษีท้องถิ่นกลับมาใช้เพื่อการแก้ไขปัญหามลพิษทาง อากาศในพื้นที่นั้น ๑๖) กาหนดแนวทางหรือระบบการรวบรวมซากรถยนต์ ซากแบตเตอรี่ของรถยนต์ไฟฟ้าที่หมดอายุ การใช้งาน และซากผลิตภัณฑ์ไฟฟ้า เพื่อเข้าสู่ระบบการนากลับมาใช้ใหม่ การกาจัดและ การรีไซเคิลอย่างเป็นระบบ และไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ๑๗) ส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนเพื่อนามาใช้กับยานยนต์ โดยวางแผนส่งเสริม ให้เกิดการผลิต การจาหน่าย และการใช้งานรถยนต์ไฟฟ้าที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมให้เพิ่มขึ้น อย่างเป็นระบบและสอดรับกัน ๑๘) กาหนดการจัดเก็บค่าธรรมเนียมเพื่อการกาจัดรถยนต์เมื่อหมดสภาพการใช้งานแล้ว และกาหนด แนวทาง การกาจัดซากรถยนต์อย่างเหมาะสมและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ๑๙) จัดทาแผนการกาหนดสัดส่วนการผลิตและนาเข้ารถยนต์แต่ละประเภทให้สอดคล้องกับพลังงาน ที่มีใช้ในประเทศ เพื่อลดปริมาณการนาเข้าพลังงานเชื้อเพลิงจากต่างประเทศ ๒๐) ส่งเสริมและสร้างระบบรองรับการทางานแบบ Work From Home เพื่อช่วยแก้ไขปัญหา การจราจรและเป็นการลดมลพิษทางอากาศ โดยเฉพาะในช่วงภาวะวิกฤตฝุ่นละออง Coal and fossil fuel shoud be enough, no need for renewal and hazardous ีเกณฑ์การประเมินหลักๆ ที่นิยมอยู่ 2 เกณฑ์คือ LEED (Leadership in Energy and Environmental Design) ซึ่งเป็นที่ยอมรับทั่วโลกจาก สหรัฐอเมริกา และ TREES (Thai’s Rating of Energy and Environmental Sustainability) หรือเกณฑ์การประเมินควา มยั่งยืนทางพลังงานและสิ่ง แวดล ้อมไทยจากสถาบันอ าคารเขียวไทย How/What? very vague. Not PCD's role, กําหนดโดยคณะกรรมการพ ลังงานแห่งชาติ PCD ทําถนน? PCD จัดเก็บภาษี? Encourage carbon tax framework/practice โดยร่วมมือกับหน่วยงานไห น? ระบบอะไร หน่วยงานไหน?
  • 14. ๑๓ (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ พ.ศ. 2566 – 2570 ๒๑) ใช้มาตรการทางเศรษฐศาสตร์เพื่อสนับสนุนการใช้งานรถยนต์ที่มีมลพิษต่า เช่น Zero Emission Vehicle (ZEV) EURO 5 และ EURO 6 เพื่อส่งเสริมให้ผู้ผลิตหรือผู้ประกอบการเลือกผลิต รถยนต์ที่มีมลพิษต่าออกสู่ตลาด เนื่องจากต้นทุนการผลิตจะต่ากว่ารถยนต์ที่มีผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมสูง ๒๒) การนาเทคโนโลยี AI (Artificial Intelligence) มาใช้ในการวางแผนการเดินทางในชีวิตประจาวัน เพื่อลดปัญหาการจราจร และช่วยลดปัญหามลพิษ ๒๓) พัฒนาระบบและเพิ่มการขนส่งสินค้าทางรางแทนการขนส่งทางถนน ๒๔) ส่งเสริมการใช้มาตรการใช้พลังงานทดแทนในภาคประชาสังคม ภาคครัวเรือน และการประกอบ อาชีพ เช่น การใช้โซล่าเซลในการส่องสว่าง การใช้ปั๊มน้าสาหรับการเกษตร การอบตากสินค้า อาหารทางการเกษตร ๒๕) หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีมาตรการลดผลกระทบที่จะมีต่อผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมยานยนต์ดั้งเดิม และภาคการผลิตอื่นที่เกี่ยวข้อง อาทิ เกษตรกรผู้ผลิตพืชพลังงาน ๒๖) ปริมาณการใช้ยานยนต์ไฟฟ้าภายในประเทศไทยเพิ่มขึ้นในทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนทั่วไป รถโดยสารสาธารณะในเมืองหลักปรับสู่ระบบการขับเคลื่อนด้วยพลังงาน ไฟฟ้าทั้งหมด ๒๗) ส่งเสริมให้ประเทศไทยมีสถานีอัดประจุไฟฟ้าอย่างเพียงพอครอบคลุมเส้นทางคมนาคมที่สาคัญ ทั่วประเทศ ๒๘) ระบบการขนส่งระหว่างพื้นที่เมืองและชนบทมีมาตรฐานที่ใกล้เคียงกัน เข้าถึงได้ง่าย ส่งเสริมให้มีระบบขนส่งที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อแก้ปัญหาฝุ่นละออง PM2.5 ในประเทศไทย ให้มีความยั่งยืน ๒๙) ส่งเสริมการใช้งานยานยนต์ไฟฟ้าให้มีสัดส่วนที่สูงขึ้นทั้งในระบบขนส่งมวลชนและยานพาหนะ ส่วนบุคคล ๕. การส่งเสริมการบริโภคที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยมีมาตรการที่ควรดาเนินการในช่วงปี 256๖ – 2570 ได้แก่ มาตรการ ๑) เพิ่มการกระตุ้นจิตสานึก ปลูกฝังค่านิยมการบริโภคที่มีความพอดี สร้างความตระหนักในภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนให้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและเกิดค่านิยมการใช้ ชีวิตประจาวันในการบริโภคให้มีความพอดี ประหยัด ไม่ฟุ่มเฟือย ๒) ใช้สื่อประชาสัมพันธ์ที่มีอิทธิพลทางสื่อวิทยุ โทรทัศน์ และสื่อออนไลน์ (Social Media) รวมทั้ง Mobile Application เพื่อสร้างกระแสให้เกิดค่านิยมในการบริโภคและการเลือกใช้ สินค้าและบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ๓) ออกนโยบายรัฐบาลเพื่อกระตุ้นให้ประชาชนเข้าสู่พฤติกรรมการบริโภคที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และเลือกใช้สินค้าและบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เช่น นาใบเสร็จมาลดภาษี จัดโปรแกรม ส่งเสริมการซื้อและใช้บริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ออกบัตรสะสมแต้ม หรือบัตรสีเขียว (Green dot, Green card) ๔) ให้ภาครัฐ ภาคเอกชน เป็นผู้นาในการจัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green Public Procurement) เพื่อสร้างตลาดสินค้า โดยผ่าน Tools อะไร? Not PCD's role ทําอะไร ไม่เข ้าใจ งง?? เพิม ควรระบุเส ้นทาง / ภาค และเหตุผล ซํ่้ากับข ้อ 26 IMO, this is not PCD's role. PCD could collaborate with other agencies and provide measures/control/standard to ensure proper excercise.