SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
สถาปั ตยกรรมฐานข้อมูล เป็ นมุมมอง
แนวความคิดที่ใช้ในการอธิบายถึงรูปแบบและ
โครงสร้างของข้อมูลในระบบฐานฐานข้อมูล โดยไม่
ขึ้นอยู่กับโครงสร้างจริงของระบบฐานข้อมูลนั้นๆ
ผู้ใช้ฐานข้อมูลจะมองข้อมูลนี้ในแง่มุมหรือวิวที่
แตกต่างกันไปตามจุดประสงค์ของการประยุกต์ใช้
งาน โดยไม่จาเป็นต้องสนใจว่ามีลักษณะการจัดเก็บ
ข้อมูลแท้จริงเป็ นเช่นไร ระบบฐานข้อมูลจะทาการ
ซ่อนรายละเอียดไว้
แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ
1) ระดับภายใน (Internal Level)
2) ระดับความคิด (Concept Level)
3) ระดับภายนอก (External Level)
ร ะ ดั บ ภ า ย ใ น (Internallevel)
เป็ นระดับที่มองถึงวิธีการจัดเก็บข้อมูลใน
ระดับฟิซิก-คอล ว่ามีรูปแบบและโครงสร้างการ
จัดเก็บข้อมูลอย่างไรซึ่งมีหน้าที่ในการจัดเก็บ
ข้อมูลจริงๆในหน่วยความจา เช่น ดิสก์ว่าอยู่
ตาแหน่งใดรวมทั้งที่เกี่ยวกับดัชนี (Index) ซึ่งใน
ระดับนี้จะเป็นหน้าที่ของผู้ดูแลระบบตัดสินใจใน
ระดับกายภาพ
ระดับความคิด (Conceptual level)
เป็ นระดับที่อยู่ถัดขึ้นมา ได้แก่ ระดับของ
การมองความสัมพันธ์ของข้อมูลในระบบ
ฐานข้อมูล ว่ามีการจัดเก็บข้อมูลอย่างไร มี
ความสัมพันธ์กับข้อมูลอื่นอย่างไรบ้าง รวมทั้ง
กฎเกณฑ์ต่าง ๆ เกี่ยวกับ ข้อมูล เช่น กฎเกณฑ์
ของตัวข้อมูล ความปลอดภัย (Security) และ
ความคงสภาพของข้อมูล
ระดับภายนอก (External level)
คือ หน้าต่างหรือ วิว (View) ที่ผู้ใช้ภายนอกมี
สิทธิเข้าไปใช้ได้ วิว(View) คือ ส่วนของข้อมูลที่ผู้ใช้
ทั่วไปมีความสนใจและมีสิทธิที่เข้านามาใช้ได้จาก สคี
มา (Concept Schema) เราสามารถเรียกสิ่งที่ใช้
อธิบายวิวข้อมูลที่ถูกดึงมาจากฐานข้อมูลที่อยู่ใน
ระดับแนวคิด (Conceptual) นี้ว่า External Schema
หรือ Subschema หรือ view
รูปที่ 2.1 การแบ่งระดับของข้อมูล
ความเป็ นอิสระของข้อมูล (Data Independence)
ความเป็ นอิสระของข้อมูล คือ การที่ผู้ใช้สามารถ
เปลี่ยนแปลงข้อมูลในระดับแนวความคิดหรือระดับ
ภายในได้โดยไม่กระทบกับโปรแกรมที่เรียกใช้ ผู้ใช้ยัง
มองเห็นโครงสร้างข้อมูลในระดับภายนอกเหมือนเดิม
และใช้งานได้ตามปกติ โดยมี DBMS เป็นตัวจัดการใน
การเชื่อมต่อข้อมูลในระดับภายนอกกับระดับ
แนวความคิดและเชื่อมข้อมูลระดับแนวความคิดกับ
ระดับภายใน ซึ่งความเป็นอิสระของข้อมูลแบ่งออกเป็น
2 ลักษณะ
1. ความเป็ นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ
(Logical Data Independence)
คือ การเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างของ
ข้อมูลในระดับแนวความคิดจะไม่มีผลกระทบต่อ
โครงสร้างข้อมูลในระดับภายนอกที่ผู้ใช้งานใช้
อยู่ เช่น การเขียนโปรแกรมเพื่อแสดงข้อมูลของ
พนักงาน
2. ความเป็ นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ
(Physical Data Independence)
คือการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างของ
ข้อมูลในระดับภายใน จะไม่มีผลกระทบต่อ
โครงสร้างข้อมูลในระดับแนวความคิด หรือ
ระดับภายนอก เช่น ในระดับภายในมีการเปลี่ยน
วิธีการจัดเก็บข้อมูลจากแบบเรียงลาดับ ไปเป็น
แบบดัชนี ในระดับภายใน
ประโยชน์ของการจัดแบ่งข้อมูลออกเป็ นลาดับชั้น
1. ผู้ใช้งานไม่จาเป็นต้องสนใจรายละเอียดของโครงสร้างใน
การจัดเก็บข้อมูล เพียงแต่ออกแบบฐานข้อมูลในระดับ
แนวความคิด DBMS จะเป็นตัวจัดการจัดเก็บข้อมูล ในอุปกรณ์
เก็บข้อมูลเอง
2. ผู้ใช้แต่ละคนสามารถนาข้อมูลชุดเดียวกันมาใช้งานที่
แตกต่างกันและจัดรูปแบบการแสดงผลต่างๆ ให้แตกต่างกัน
ตามความต้องการของผู้ใช้แต่ละคนได้
3. มีความเป็นอิสระของข้อมูลกับตัวโปรแกรม คือ สามารถ
แก้ไขเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของ ข้อมูลได้ โดยไม่ต้องทาการ
แก้ไขโปรแกรม
การแปลงรูป (Mapping)
คือ การถ่ายทอดมุมมองจากสถาปัตยกรรมใน
ระดับที่สูงกว่า ไปยังระดับที่ต่ากว่า
แบ่งเป็ น 2 ลักษณะคือ
- การแปลงรูประหว่างระดับภายนอกกับระดับ
แนวความคิด
- การแปลงรูปจากระดับแนวความคิดกับระดับ
ภายใน
1. การแปลงรูประหว่างระดับภายนอกกับระดับ
แนวความคิด (External/Conceptual Mapping)
เป็นการกาหนดความสอดคล้องกันระหว่างมุมมอง
ในระดับภายนอกและระดับแนวคิด โดยถ่ายทอดมุมมอง
ที่มีต่อข้อมูลในระดับภายนอกไปยังระดับแนวความคิด
เพื่อให้ผู้ใช้ฐานข้อมูลสามารถมีมุมมองของข้อมูลในแต่ละ
ระดับที่แตกต่างกันได้ โดยสามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไข
ข้อมูลในระดับแนวความคิด
2. การแปลงรูประหว่างระดับแนวความคิดกับ
ระดับภายใน (Conceptual/Internal Mapping)
เป็ นการกาหนดความสอดคล้องกันระหว่าง
มุมมองในระดับแนวคิดกับระดับภายใน โดยถ่ายทอด
มุมมองที่มีต่อข้อมูลในระดับแนวคิดไปยังระดับภายใน
ทาให้สามารถเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของข้อมูลในระดับ
ภายใน โดยไม่ส่งผลกระทบกับโครงสร้างข้อมูลในระดับ
แนวความคิด ซึ่งถือว่าข้อมูลมีความเป็นอิสระของข้อมูล
ในระดับกายภาพนั่นเอง
รูปที่ 2.2 รายละเอยดของสถาปทัตยกรรมคอมพิวเตอร์
การออกแบบฐานข้อมูล
Access เป็นโปรแกรม ฐานข้อมูลในชุด Microsoft Office ที่
ใช้กันอย่างแพร่หลาย โดย Access ได้รับการพัฒนา เป็ น
ฐานข้อมูลแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (relational database)
ในระดับคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ (desktop) มีสมรรถนะในระดับ
ที่ดี การบารุงรักษาทาได้ง่าย และสะดวกภายใน Access
มีอ๊อบเจคต่างๆ ที่ครอบคลุมการพัฒนา เป็ นโปรแกรม
โดยมีการติดต่อแบบ GUI (graphical user interface) ทาให้
การพัฒนาทาได้สะดวก และใช้เวลาน้อย
การเลือกใช้ Access หรือฐานข้อมูลระบบต่างๆ มีข้อ
ควรพิจารณาที่สาคัญ คือ
•รูปแบบและขั้นตอนการทางานมีความแน่นอน
•ปริมาณข้อมูลที่ต้องการจัดเก็บมีมากใช้ข้อมูลแบบ
ร่วมกัน (shared data)
ฐานข้อมูล
ลักษณะของฐานข้อมูลเป็นการจัดเก็บแบบแถว-คอลัมน์
ในแนวแถวเป็นเก็บข้อมูลแต่ละข้อมูล รายละเอียดหรือ
ฟิลด์จะเก็บในแนวคอลัมน์ ส่วนการอ้างอิงข้อมูลของ
Access ใช้ชื่อฟิลด์
http://203.172.182.81/wbidatabase/u
nit2/unit2.php
จัดทาโดย
1. นายภมรพล กาญจนกาเนิด เลขที่ 3
2. นายนราวุฒิ สรรสม เลขที่ 8
3. นางสาวกันตินันท์ รักสมวงษ์ เลขที่ 18
4. นางสาวสุพิชชา เดชรุ่ง เลขที่ 21
5. นางสาวหทัยชนก เกศราช เลขที่ 22
6. นางสาวจิราวรรณ พิศูจน์ เลขที่ 33
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่6/4

More Related Content

What's hot

หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์Kochakorn Noiket
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3nunzaza
 
รูปแบบของระบบฐานข้อมูล
รูปแบบของระบบฐานข้อมูลรูปแบบของระบบฐานข้อมูล
รูปแบบของระบบฐานข้อมูลMareeyalosocity
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์kunanya12
 
งานนำเสนอ1คอม
งานนำเสนอ1คอมงานนำเสนอ1คอม
งานนำเสนอ1คอมkanjana123
 
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลสถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลขาม้า ชนบท
 
สถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูลสถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูลkunanya12
 
งานครูทรงศักดิ์1
งานครูทรงศักดิ์1งานครูทรงศักดิ์1
งานครูทรงศักดิ์1startnaza
 
แบบรูป ลักษณะคุณสมบัติและข้อดีของฐานข้อมูลเชิงวัตถุ
แบบรูป ลักษณะคุณสมบัติและข้อดีของฐานข้อมูลเชิงวัตถุแบบรูป ลักษณะคุณสมบัติและข้อดีของฐานข้อมูลเชิงวัตถุ
แบบรูป ลักษณะคุณสมบัติและข้อดีของฐานข้อมูลเชิงวัตถุAmIndy Thirawut
 
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบบทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบSarawut Panchon
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลkruthanyaporn
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10nunzaza
 
03 data abstraction
03 data abstraction03 data abstraction
03 data abstractionOpas Kaewtai
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6nunzaza
 

What's hot (20)

หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
รูปแบบของระบบฐานข้อมูล
รูปแบบของระบบฐานข้อมูลรูปแบบของระบบฐานข้อมูล
รูปแบบของระบบฐานข้อมูล
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
งานนำเสนอ1คอม
งานนำเสนอ1คอมงานนำเสนอ1คอม
งานนำเสนอ1คอม
 
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลสถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
 
mind map
mind map mind map
mind map
 
สถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูลสถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และการออกแบบฐานข้อมูล
 
MS Access 2010 - Query
MS Access 2010 - QueryMS Access 2010 - Query
MS Access 2010 - Query
 
งานครูทรงศักดิ์1
งานครูทรงศักดิ์1งานครูทรงศักดิ์1
งานครูทรงศักดิ์1
 
แบบรูป ลักษณะคุณสมบัติและข้อดีของฐานข้อมูลเชิงวัตถุ
แบบรูป ลักษณะคุณสมบัติและข้อดีของฐานข้อมูลเชิงวัตถุแบบรูป ลักษณะคุณสมบัติและข้อดีของฐานข้อมูลเชิงวัตถุ
แบบรูป ลักษณะคุณสมบัติและข้อดีของฐานข้อมูลเชิงวัตถุ
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบบทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
 
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลสถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
03 data abstraction
03 data abstraction03 data abstraction
03 data abstraction
 
Ch5 database system
Ch5 database systemCh5 database system
Ch5 database system
 
SA Chapter 6
SA Chapter 6SA Chapter 6
SA Chapter 6
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 

Similar to งานนำเสนอ1

หน่วยที่ 2 (1)
หน่วยที่ 2 (1)หน่วยที่ 2 (1)
หน่วยที่ 2 (1)056777777
 
ฐานข้อมูล
ฐานข้อมูลฐานข้อมูล
ฐานข้อมูลChemist Atom
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2nunzaza
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลIsareeya Keatwuttikan
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลniwat50
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศSrion Janeprapapong
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
Power point2
Power point2Power point2
Power point2056777777
 
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลและแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลและแบบฐานข้อมูลสถาปัตยกรรมฐานข้อมูลและแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลและแบบฐานข้อมูลด.ช. ทีม น่ะจ๊ะ
 
สถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูลสถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูลด.ช. ทีม น่ะจ๊ะ
 
01 introduction to data mining
01 introduction to data mining01 introduction to data mining
01 introduction to data miningphakhwan22
 

Similar to งานนำเสนอ1 (20)

หน่วยที่ 2 (1)
หน่วยที่ 2 (1)หน่วยที่ 2 (1)
หน่วยที่ 2 (1)
 
Jameball
JameballJameball
Jameball
 
ฐานข้อมูล
ฐานข้อมูลฐานข้อมูล
ฐานข้อมูล
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
Power point2
Power point2Power point2
Power point2
 
สถาปัตยกรรม
สถาปัตยกรรมสถาปัตยกรรม
สถาปัตยกรรม
 
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลและแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลและแบบฐานข้อมูลสถาปัตยกรรมฐานข้อมูลและแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลและแบบฐานข้อมูล
 
สถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูลสถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรม และแบบฐานข้อมูล
 
01 introduction to data mining
01 introduction to data mining01 introduction to data mining
01 introduction to data mining
 

More from Kittipong Joy

สถิติเบื้องต้น ข้อมูลสถิติหรือข้อมูล
สถิติเบื้องต้น ข้อมูลสถิติหรือข้อมูลสถิติเบื้องต้น ข้อมูลสถิติหรือข้อมูล
สถิติเบื้องต้น ข้อมูลสถิติหรือข้อมูลKittipong Joy
 
'กูเกิล' จับมือ 4 ค่ายรถดัง พัฒนารถยนต์ระบบปฏิบัติการ 'แอนดรอยด์'
'กูเกิล' จับมือ 4 ค่ายรถดัง พัฒนารถยนต์ระบบปฏิบัติการ 'แอนดรอยด์''กูเกิล' จับมือ 4 ค่ายรถดัง พัฒนารถยนต์ระบบปฏิบัติการ 'แอนดรอยด์'
'กูเกิล' จับมือ 4 ค่ายรถดัง พัฒนารถยนต์ระบบปฏิบัติการ 'แอนดรอยด์'Kittipong Joy
 
สร้างแผ่นพับ 3 ตอน ด้วย microsoft word
สร้างแผ่นพับ 3 ตอน ด้วย microsoft wordสร้างแผ่นพับ 3 ตอน ด้วย microsoft word
สร้างแผ่นพับ 3 ตอน ด้วย microsoft wordKittipong Joy
 
นอร์มัลไลเซชัน
นอร์มัลไลเซชัน นอร์มัลไลเซชัน
นอร์มัลไลเซชัน Kittipong Joy
 

More from Kittipong Joy (9)

สถิติเบื้องต้น ข้อมูลสถิติหรือข้อมูล
สถิติเบื้องต้น ข้อมูลสถิติหรือข้อมูลสถิติเบื้องต้น ข้อมูลสถิติหรือข้อมูล
สถิติเบื้องต้น ข้อมูลสถิติหรือข้อมูล
 
#1
#1#1
#1
 
'กูเกิล' จับมือ 4 ค่ายรถดัง พัฒนารถยนต์ระบบปฏิบัติการ 'แอนดรอยด์'
'กูเกิล' จับมือ 4 ค่ายรถดัง พัฒนารถยนต์ระบบปฏิบัติการ 'แอนดรอยด์''กูเกิล' จับมือ 4 ค่ายรถดัง พัฒนารถยนต์ระบบปฏิบัติการ 'แอนดรอยด์'
'กูเกิล' จับมือ 4 ค่ายรถดัง พัฒนารถยนต์ระบบปฏิบัติการ 'แอนดรอยด์'
 
Doc1
Doc1Doc1
Doc1
 
Doc1
Doc1Doc1
Doc1
 
มายแมป
มายแมปมายแมป
มายแมป
 
ปราย (1)
ปราย (1)ปราย (1)
ปราย (1)
 
สร้างแผ่นพับ 3 ตอน ด้วย microsoft word
สร้างแผ่นพับ 3 ตอน ด้วย microsoft wordสร้างแผ่นพับ 3 ตอน ด้วย microsoft word
สร้างแผ่นพับ 3 ตอน ด้วย microsoft word
 
นอร์มัลไลเซชัน
นอร์มัลไลเซชัน นอร์มัลไลเซชัน
นอร์มัลไลเซชัน
 

งานนำเสนอ1

  • 1.
  • 2. สถาปั ตยกรรมฐานข้อมูล เป็ นมุมมอง แนวความคิดที่ใช้ในการอธิบายถึงรูปแบบและ โครงสร้างของข้อมูลในระบบฐานฐานข้อมูล โดยไม่ ขึ้นอยู่กับโครงสร้างจริงของระบบฐานข้อมูลนั้นๆ ผู้ใช้ฐานข้อมูลจะมองข้อมูลนี้ในแง่มุมหรือวิวที่ แตกต่างกันไปตามจุดประสงค์ของการประยุกต์ใช้ งาน โดยไม่จาเป็นต้องสนใจว่ามีลักษณะการจัดเก็บ ข้อมูลแท้จริงเป็ นเช่นไร ระบบฐานข้อมูลจะทาการ ซ่อนรายละเอียดไว้
  • 3. แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ 1) ระดับภายใน (Internal Level) 2) ระดับความคิด (Concept Level) 3) ระดับภายนอก (External Level)
  • 4. ร ะ ดั บ ภ า ย ใ น (Internallevel) เป็ นระดับที่มองถึงวิธีการจัดเก็บข้อมูลใน ระดับฟิซิก-คอล ว่ามีรูปแบบและโครงสร้างการ จัดเก็บข้อมูลอย่างไรซึ่งมีหน้าที่ในการจัดเก็บ ข้อมูลจริงๆในหน่วยความจา เช่น ดิสก์ว่าอยู่ ตาแหน่งใดรวมทั้งที่เกี่ยวกับดัชนี (Index) ซึ่งใน ระดับนี้จะเป็นหน้าที่ของผู้ดูแลระบบตัดสินใจใน ระดับกายภาพ
  • 5. ระดับความคิด (Conceptual level) เป็ นระดับที่อยู่ถัดขึ้นมา ได้แก่ ระดับของ การมองความสัมพันธ์ของข้อมูลในระบบ ฐานข้อมูล ว่ามีการจัดเก็บข้อมูลอย่างไร มี ความสัมพันธ์กับข้อมูลอื่นอย่างไรบ้าง รวมทั้ง กฎเกณฑ์ต่าง ๆ เกี่ยวกับ ข้อมูล เช่น กฎเกณฑ์ ของตัวข้อมูล ความปลอดภัย (Security) และ ความคงสภาพของข้อมูล
  • 6. ระดับภายนอก (External level) คือ หน้าต่างหรือ วิว (View) ที่ผู้ใช้ภายนอกมี สิทธิเข้าไปใช้ได้ วิว(View) คือ ส่วนของข้อมูลที่ผู้ใช้ ทั่วไปมีความสนใจและมีสิทธิที่เข้านามาใช้ได้จาก สคี มา (Concept Schema) เราสามารถเรียกสิ่งที่ใช้ อธิบายวิวข้อมูลที่ถูกดึงมาจากฐานข้อมูลที่อยู่ใน ระดับแนวคิด (Conceptual) นี้ว่า External Schema หรือ Subschema หรือ view
  • 8. ความเป็ นอิสระของข้อมูล (Data Independence) ความเป็ นอิสระของข้อมูล คือ การที่ผู้ใช้สามารถ เปลี่ยนแปลงข้อมูลในระดับแนวความคิดหรือระดับ ภายในได้โดยไม่กระทบกับโปรแกรมที่เรียกใช้ ผู้ใช้ยัง มองเห็นโครงสร้างข้อมูลในระดับภายนอกเหมือนเดิม และใช้งานได้ตามปกติ โดยมี DBMS เป็นตัวจัดการใน การเชื่อมต่อข้อมูลในระดับภายนอกกับระดับ แนวความคิดและเชื่อมข้อมูลระดับแนวความคิดกับ ระดับภายใน ซึ่งความเป็นอิสระของข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ
  • 9. 1. ความเป็ นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (Logical Data Independence) คือ การเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างของ ข้อมูลในระดับแนวความคิดจะไม่มีผลกระทบต่อ โครงสร้างข้อมูลในระดับภายนอกที่ผู้ใช้งานใช้ อยู่ เช่น การเขียนโปรแกรมเพื่อแสดงข้อมูลของ พนักงาน
  • 10. 2. ความเป็ นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (Physical Data Independence) คือการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างของ ข้อมูลในระดับภายใน จะไม่มีผลกระทบต่อ โครงสร้างข้อมูลในระดับแนวความคิด หรือ ระดับภายนอก เช่น ในระดับภายในมีการเปลี่ยน วิธีการจัดเก็บข้อมูลจากแบบเรียงลาดับ ไปเป็น แบบดัชนี ในระดับภายใน
  • 11. ประโยชน์ของการจัดแบ่งข้อมูลออกเป็ นลาดับชั้น 1. ผู้ใช้งานไม่จาเป็นต้องสนใจรายละเอียดของโครงสร้างใน การจัดเก็บข้อมูล เพียงแต่ออกแบบฐานข้อมูลในระดับ แนวความคิด DBMS จะเป็นตัวจัดการจัดเก็บข้อมูล ในอุปกรณ์ เก็บข้อมูลเอง 2. ผู้ใช้แต่ละคนสามารถนาข้อมูลชุดเดียวกันมาใช้งานที่ แตกต่างกันและจัดรูปแบบการแสดงผลต่างๆ ให้แตกต่างกัน ตามความต้องการของผู้ใช้แต่ละคนได้ 3. มีความเป็นอิสระของข้อมูลกับตัวโปรแกรม คือ สามารถ แก้ไขเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของ ข้อมูลได้ โดยไม่ต้องทาการ แก้ไขโปรแกรม
  • 12. การแปลงรูป (Mapping) คือ การถ่ายทอดมุมมองจากสถาปัตยกรรมใน ระดับที่สูงกว่า ไปยังระดับที่ต่ากว่า แบ่งเป็ น 2 ลักษณะคือ - การแปลงรูประหว่างระดับภายนอกกับระดับ แนวความคิด - การแปลงรูปจากระดับแนวความคิดกับระดับ ภายใน
  • 13. 1. การแปลงรูประหว่างระดับภายนอกกับระดับ แนวความคิด (External/Conceptual Mapping) เป็นการกาหนดความสอดคล้องกันระหว่างมุมมอง ในระดับภายนอกและระดับแนวคิด โดยถ่ายทอดมุมมอง ที่มีต่อข้อมูลในระดับภายนอกไปยังระดับแนวความคิด เพื่อให้ผู้ใช้ฐานข้อมูลสามารถมีมุมมองของข้อมูลในแต่ละ ระดับที่แตกต่างกันได้ โดยสามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไข ข้อมูลในระดับแนวความคิด
  • 14. 2. การแปลงรูประหว่างระดับแนวความคิดกับ ระดับภายใน (Conceptual/Internal Mapping) เป็ นการกาหนดความสอดคล้องกันระหว่าง มุมมองในระดับแนวคิดกับระดับภายใน โดยถ่ายทอด มุมมองที่มีต่อข้อมูลในระดับแนวคิดไปยังระดับภายใน ทาให้สามารถเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของข้อมูลในระดับ ภายใน โดยไม่ส่งผลกระทบกับโครงสร้างข้อมูลในระดับ แนวความคิด ซึ่งถือว่าข้อมูลมีความเป็นอิสระของข้อมูล ในระดับกายภาพนั่นเอง
  • 16. การออกแบบฐานข้อมูล Access เป็นโปรแกรม ฐานข้อมูลในชุด Microsoft Office ที่ ใช้กันอย่างแพร่หลาย โดย Access ได้รับการพัฒนา เป็ น ฐานข้อมูลแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (relational database) ในระดับคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ (desktop) มีสมรรถนะในระดับ ที่ดี การบารุงรักษาทาได้ง่าย และสะดวกภายใน Access มีอ๊อบเจคต่างๆ ที่ครอบคลุมการพัฒนา เป็ นโปรแกรม โดยมีการติดต่อแบบ GUI (graphical user interface) ทาให้ การพัฒนาทาได้สะดวก และใช้เวลาน้อย
  • 17. การเลือกใช้ Access หรือฐานข้อมูลระบบต่างๆ มีข้อ ควรพิจารณาที่สาคัญ คือ •รูปแบบและขั้นตอนการทางานมีความแน่นอน •ปริมาณข้อมูลที่ต้องการจัดเก็บมีมากใช้ข้อมูลแบบ ร่วมกัน (shared data) ฐานข้อมูล ลักษณะของฐานข้อมูลเป็นการจัดเก็บแบบแถว-คอลัมน์ ในแนวแถวเป็นเก็บข้อมูลแต่ละข้อมูล รายละเอียดหรือ ฟิลด์จะเก็บในแนวคอลัมน์ ส่วนการอ้างอิงข้อมูลของ Access ใช้ชื่อฟิลด์
  • 18.
  • 20. จัดทาโดย 1. นายภมรพล กาญจนกาเนิด เลขที่ 3 2. นายนราวุฒิ สรรสม เลขที่ 8 3. นางสาวกันตินันท์ รักสมวงษ์ เลขที่ 18 4. นางสาวสุพิชชา เดชรุ่ง เลขที่ 21 5. นางสาวหทัยชนก เกศราช เลขที่ 22 6. นางสาวจิราวรรณ พิศูจน์ เลขที่ 33 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่6/4