SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  19
Télécharger pour lire hors ligne
P a g e | 1
Trauma Treatment Skills for Nurse
follow Advance Trauma Life Support (ATLS)
P a g e | 2
Approach to the injured patient
ผู้ป่วยอุบัติเหตุเป็นผู้ป่วยที่มีความเปราะบาง เสี่ยงต่อการเกิดภาวะคุกคามชีวิต เนื่องจากพร่องออกซิเจน
ส่วนใหญ่เกิดจากการอุดกั้นของทางเดินหายใจ มีเลือดหรือลมขังอยู่ในช่องเยื่อหุ้มปอด เสียเลือด หรือมีการบาดเจ็บ
ของระบบประสาท การประเมินอาการที่รวดเร็วทันเวลา จะช่วยให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลรักษาที่เหมาะสม (optimal
care) และปลอดภัยจากภาวะคุกคามชีวิต การประเมินอาการผู้ป่วย จึงประกอบด้วย 1) การประเมินแรกรับ (initial
evaluation) เพื่อค้นหาภาวะคุกคามชีวิต 2) การประเมินภาวะช็อกจากการบาดเจ็บ (traumatic shock
evaluation) เพื่อระบุการเกิดภาวะช็อกและชนิดของภาวะช็อกจากการบาดเจ็บ 3) การประเมินเบื้องต้นและการ
ช่วยชีวิต (primary survey and resuscitation) 4) การประเมินอาการโดยละเอียดและการตรวจเพื่อวินิจฉัย
(Secondary survey and management) และ 5) การประเมินซ้้าก่อนการส่งต่อเพื่อการรักษา แต่ทั้งนี้หากพบ
ปัญหาระหว่างการประเมินอาการจะต้องจัดการร่วมกับทีม (trauma team) ตามหน้าที่ความรับผิดชอบ
วัตถุประสงค์
1. ส้ารวจการบาดเจ็บของร่างกายที่เป็นระบบอย่างละเอียดและรวดเร็ว
2. ประเมินภาวะคุกคามชีวิตและภาวะช็อกจากการการบาดเจ็บเมื่อแรกรับ
3. ประเมินอาการซ้้าก่อนส่งต่อเพื่อการรักษา
I. การประเมินแรกรับ (initial evaluation)
เป็นการประเมินทันทีเมื่อแรกรับ เพื่อค้นหาภาวะคุกคามชีวิต โดยการเรียกชื่อผู้ป่วย ถามการบาดเจ็บ และ
ประเมิน ABC หากพบปัญหาอย่างหนึ่งอย่างใดแสดงว่าผู้ป่วยมีภาวะคุกคามชีวิต ในขั้นตอนนี้ควรปฏิบัติและตัดสินว่า
มีภาวะคุกคามชีวิตหรือไม่ ภายใน 1 นาที ดังนี้
1. Airway เป็นการประเมินสิ่งที่อุดกั้นในทางเดินหายใจ
2. Breathing เป็นการประเมินลักษณะการหายใจ การเคลื่อนไหวของทรวงอก เสียงหายใจ อัตราการ
หายใจ และค่าความอิ่มตัวของออกซิเจน
3. Circulation เป็นประเมินลักษณะ ความสม่้าเสมอของชีพจร สัญญาณชีพ อาการแสดงภาวะช็อก และ
ค่าดัชนีภาวะช็อก (shock index)
ในขั้นตอนนี้ผู้ป่วยควรนอนบน long spinal board โดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีภาวะคุกคามชีวิต
P a g e | 3
II. การประเมินภาวะช็อกจากการบาดเจ็บ (traumatic shock evaluation)
เป็นค้นหาภาวะช็อกจากการบาดเจ็บ โดยระบุว่าผู้ป่วยมีภาวะช็อกหรือไม่ และหากมีเป็นภาวะช็อคจากการ
บาดเจ็บชนิดใด ในขั้นตอนนี้อาจปฏิบัติไปพร้อมกับการประเมินทันทีเมื่อแรกรับ ต้องปฏิบัติภายใน 1 นาที เพื่อเตรียม
ให้การช่วยเหลือผู้ป่วยร่วมกับทีมได้ทัน ดังนี้
1. Hypovolemic shock เป็นการประเมิน ABC, Capillary refill ค่าความอิ่มตัวของออกซิเจน และ
ระดับความรู้สึกตัว โดยประเมิน A (alert), V (response to verbal), P (response to pain), U
(unresponse) และภาวะเลือดออกจากบาดแผลต่างๆ
การตัดสิน Hypovolemic shock โดยมีอาการที่ประเมินพบข้างต้น ร่วมกับข้อหนึ่งข้อใด ดังนี้
 ระดับที่ 1 มีการสูญเสียน้้าน้อยกว่า 15% จะมีเพียง Tachycardia
 ระดับที่ 2 มีการสูญเสียน้้า 15-30% จะมีอาการและอาการแสดงภาวะช็อกชัดเจน
 ระดับที่ 3 มีการสูญเสียน้้า 30-40% จะมีอาการแสดง hypoperfusion
 ระดับที่ 4 มีการสูญเสียน้้ามากกว่า 40% ผู้ป่วยจะมีภาวะคุกคามชีวิต
2. Cardiogenic shock เป็นการประเมิน ABC, Capillary refill ค่าความอิ่มตัวของออกซิเจน และระดับ
ความรู้สึกตัว และการบาดเจ็บและกลไกการบาดเจ็บ
การตัดสิน Cardiogenic shock โดยมีอาการที่ประเมินพบข้างต้น ร่วมกับข้อหนึ่งข้อใด ดังนี้
 หายใจล้าบาก หัวใจเต้นเร็ว เสียงหายใจลดลง หรือการใช้กล้ามเนื้อช่วยในการหายใจ
 Trachea deviation, unilateral chest movement หรือ Paradoxical movement
3. Spinal shock เป็นการประเมิน ABC, Capillary refill ค่าความอิ่มตัวของออกซิเจน และระดับความ
รู้สึกตัว และการบาดเจ็บและกลไกการบาดเจ็บ
การตัดสิน Spinal shock โดยมีอาการที่ประเมินพบข้างต้น ร่วมกับข้อหนึ่งข้อใด ดังนี้
 อาการอ่อนแรง หรือเคลื่อนไหวไม่ได้
III. การประเมินเบื้องต้นและการช่วยชีวิต (primary survey and resuscitation)
เป็นการประเมินเบื้องต้น ABCDE อย่างรวดเร็ว อาจปฏิบัติร่วมกับทีม เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยปลอดภัยจากภาวะ
คุกคามชีวิต โดยจะต้องปฏิบัติภายใน 2 นาที ต่อจาก ขั้นตอนที่ I. และ II. ดังนี้
1. Airway and C-spine protection
เป็นการปฏิบัติที่พยาบาลอุบัติเหตุจะต้องปฏิบัติกับผู้ป่วยอุบัติเหตุทุกราย อาจประเมินพร้อมกับทีม โดย
ประเมินความโล่ง หรือการอุดกั้นทางเดินหายใจ และใส่ C-collar เพื่อให้กระดูกส่วนต้นคอ อยู่นิ่งไม่เคลื่อนไหว ดังนี้
การประเมินทางเดินหายใจ การเปิดทางเดินหายใจ (open airway)
 ตรวจสอบความโล่งและการอุดกั้นในทางเดินหายใจ  จัดคอให้นิ่งให้อยู่นิ่งในแนวตรง (manual inline)
 เปิดทางเดินหายใจโดยวิธี chin lift, jaw thrust
 ขจัดสิ่งที่อุดกั้นในทางเดินหายใจ
 ใส่ airway ที่เหมาะสมกับสภาพผู้ป่วยแต่ละราย
 ใส่ C-collar และจัดให้กระชับกับกระดูกส่วนต้นคอ
P a g e | 4
2. Breathing and ventilation
เป็นการปฏิบัติที่พยาบาลอุบัติเหตุจะต้องปฏิบัติภายหลัง Airway and C-spine protection อาจปฏิบัติไป
พร้อมๆ กับการประเมินทางเดินหายใจ โดยประเมินลักษณะการหายใจ การเคลื่อนไหวของทรวงอก อัตราการหายใจ
และความอิ่มตัวของออกซิเจน (O2 saturation) ดังนี้
การประเมินการหายใจ การช่วยหายใจ
 สังเกตลักษณะการหายใจ เสียงหายใจ การขยายตัว  ให้ O2 100% with reservoir bag 10-12 ลิตร/
ของทรวงอกทั้งสองข้าง อัตราการหายใจ และ O2 นาที
saturation  กรณีหายใจผิดปกติ หายใจเร็วตื้น ช้ากว่าปกติ ทรวง
 สังเกต Trachea deviation, Paradoxical อก 2 ข้างขยายไม่เท่ากัน ต้องให้ออกซิเจน 100%
movement และ neck vein engorge
 สังเกตร่องรอยการบาดเจ็บบริเวณทรวงอกและหลัง
ด้วย self inflating bag
 เตรียมเครื่องช่วยหายใจ
 กรณีที่มีแผลเปิดที่ทรวงอก เตรียมปิดแผล
3. Circulation and control bleeding
เป็นการประเมินเลือดและการไหลเวียนเลือด โดยประเมินจากลักษณะ ความสม่้าเสมอ และอัตราการเต้น
ของชีพจร สัญญาณชีพ และภาวะช็อกจากอุบัติเหตุ (Traumatic shock) ดังนี้
การประเมินเลือดและการไหลเวียนเลือด การช่วยการไหลเวียนเลือด
 ประเมินลักษณะ ความสม่้าเสมอ และอัตราการเต้น  กรณีที่มีเลือดออกจากบาดแผลภายนอก ตรวจสอบ
ของชีพจร ค่าความดันโลหิต และ Shock Index บริเวณที่เลือดออก และ direct pressure ห้ามเลือด
 สังเกตอาการและอาการแสดงภาวะช็อก  กรณีที่ต้องให้สารน้้า เตรียมเปิดเส้นด้วยเข็มเบอร์ 16
 ค้นหาบริเวณที่เลือดออก หรือ 18 และที่มีอุณหภูมิประมาณ 39C
 ห่มผ้า ให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย
 กรณีที่มีการเสียเลือดหรือเจาะเลือด ควรส่งเลือด
ตรวจ Hct., CBC, Hb, Electrolyte และอื่นๆ กรณี
ที่มีแผนการรักษา
4. Disability
เป็นการประเมินระบบประสาท โดยการประเมิน AVPU เพื่อบอกถึงระดับความรู้สึกตัว ค่าคะแนน GCS
ขนาดและปฏิกิริยาของรูม่านตา และการเคลื่อนไหวของแขน ขา
P a g e | 5
การประเมินระบบประสาท การจัดการทางระบบประสาท
 ประเมินระดับ AVPU, GCS, Pupils, Motor  เตรียมส่งตรวจเพื่อการวินิจฉัย กรณีที่มีแผนการ
รักษา
 เตรียมท้าหัตถการหรือส่ง OR กรณีที่มีแผนการ
รักษา
 กรณีที่ระดับความรู้สึกตัวผิดปกติ ติดตาม airway
และ fluid management
5. Exposure
เป็นการประเมินเพื่อค้นหาการบาดเจ็บของผู้ป่วยอุบัติเหตุ โดยส้ารวจร่องรอยการบาดเจ็บในบริเวณต่างๆ
ของร่างกาย
การส้ารวจร่องรอยการบาดเจ็บ การจัดการการบาดเจ็บ
 ส้ารวจการบาดเจ็บตั้งแต่ศีรษะถึงปลายเท้า  ถอดเสื้อผ้าและส้ารวจการบาดเจ็บ
 จัดให้บริเวณที่มีการบาดเจ็บอยู่นิ่ง (stabilization)
Pelvic binder รายที่สงสัยว่าปัญหาของ Pelvic
 Log roll อย่างน้อย 3 คน ในการตรวจร่างกาย
ด้านหลัง
IV. การประเมินอาการโดยละเอียดและการตรวจเพื่อวินิจฉัย (Secondary survey and management)
เป็นการตรวจร่างกายโดยละเอียดตั้งแต่ศีรษะจรดปลายเท้า ภายใน 2 นาที ต่อจาก ขั้นตอนที่ I. II. และ III.
โดยรวมถึงการถามประวัติเกี่ยวกับการบาดเจ็บ (MIVT; Mechanism of injury, Injury sustained, Vital signs,
Treatment) และประวัติที่เกี่ยวข้อง (AMPLE; Allergy, Medicine, Past illness, Last meal, Event) ก่อนที่จะ
จัดการให้การดูแล ชะล้างแผล จัดให้ส่วนที่บาดเจ็บอยู่นิ่ง (Stabilize) เย็บปิดแผล RICE (Rest, Immobilize,
Compress, Elevate) และการเตรียมตรวจวินิจฉัยอื่นๆ ดังนี้
การประเมิน การจัดการให้การช่วยเหลือ
Head and maxillofacial
 สังเกตรอยฉีกขาด ก้อนเลือด รอยแตกหัก และ  ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
ลักษณะผิดปกติ  ห้ามเลือด
 ประเมินลานสายตา และการเคลื่อนของเลนส์ของตา  หากมี Contact lenses ให้เอาออก
 ตรวจสอบการมีน้้าไขสันหลังออกจากจมูกและหู  เตรึยมท้าหัตถการ กรณีที่มีแผนการรักษา
 ตรวจสอบฟัน เลือด แผลภายในช่องปาก
 ประเมินหน้าที่ของ Cranial nerve
P a g e | 6
การประเมิน การจัดการให้การช่วยเหลือ
Cervical, spine, neck
 สังเกต Tracheal deviation, neck vein engorge  จัดให้กระดูกส่วนต้นคออยู่นิ่งในแนวตรง
Subcutaneous emphysema  เตรียมส่งตรวจ X-ray กรณีที่มีแผนการรักษา
 ส้ารวจการบาดเจ็บ การบวม และความผิดปกติ
 ประเมิน Bruise ที่ Carotid arteries
Chest
 ส้ารวจการบาดเจ็บบริเวณผนังทรวงอก ทั้งด้านหน้า  ใช้เข็มเจาะระบายอากาศออกจากช่องเยื่อหุ้มปอด
ด้านข้าง และด้านหลัง หรือเตรียม thoracostomy กรณีที่มีแผนการรักษา
 ฟังเสียงอากาศขณะหายใจเข้า-ออกที่ปอดทั้ง 2 ข้าง  เตรียมใส่ท่อระบายทรวงอก หรือ
 สังเกต Subcutaneous emphysema, pericardiocentesis กรณีที่มีแผนการรักษา
crepitation  เตรึยมส่งผู้ป่วยเข้าห้องผ่าตัด กรณีที่มีแผนการรักษา
Abdomen
 สังเกตการบาดเจ็บบริเวณด้านหน้าและด้านหลังของ  กรณีที่มีการแตกหักของกระดูกเชิงกราน ใส่
หน้าท้อง pneumonic antishock garment หรือใช้ผ้ายึด
 สังเกตอาการแสดงการมีเลือดออกในช่องท้อง ตรึงกระดูกเชิงกราน
 สังเกตลักษณะท้องแข็งตึง หรือ gravid uterus  เตรึยมส่งผู้ป่วยเข้าห้องผ่าตัด กรณีที่มีแผนการรักษา
 ฟังเสียง Bowel sound
Perineum, Rectum, Vagina
 ตรวจสอบรอยช้้า ก้อนเลือด แผลฉีกขาด และ  เตรึยมท้าหัตถการ และส่งผู้ป่วยเข้าห้องผ่าตัด
เลือดออกในทางเดินปัสสาวะ กรณีที่มีแผนการรักษา
 ตรวจสอบเลือดออกที่ Anus, sphincter tone และ
ต้าแหน่ง prostate
 ตรวจสอบเลือดออก และแผลฉีกขาดของ Vagina
Musculoskeletal
 ส้ารวจการบาดเจ็บ รอยช้้า แผลฉีกขาด การกดเจ็บ  ดามกระดูกส่วนที่บาดเจ็บ
และลักษณะผิดปกติของกระดูกส่วนต่างๆ  ตรึงส่วนที่บาดเจ็บให้อยู่นิ่งกับที่
 ประเมิน 7 P และ crepitation  ป้องกัน compartment syndrome
 เตรียมส่งตรวจ X-ray กรณีที่มีแผนการรักษา
Neurological
 ประเมินระดับความรู้สึก รูม่านตา และการ  ดูแลให้ได้รับออกซิเจนและมีการแลกเปลี่ยนก๊าซ
เคลื่อนไหวของแขน ขา เพียงพอ
 ประเมินค่าคะแนน GCS  ป้องกัน secondary brain injury
 สังเกตอาการที่บ่งบอกความผิดปกติของทางสมอง
(lateralizing signs)
P a g e | 7
V. การประเมินซ้้าก่อนการส่งต่อเพื่อการรักษา (Focus survey before transfer to definitive care)
เป็นประเมินร่างกายซ้้าโดยเฉพาะบริเวณที่มีการบาดเจ็บ (focus survey) ก่อนส่งต่อผู้ป่วยไปรับการรักษา
ทั้งนี้ต้องมีการประสานกับสถานที่ก่อนส่งผู้ป่วยไปตรวจ ดังนี้
1. การประเมิน ABC และการช่วยชีวิต
2. การประเมินการบาดเจ็บและการจัดการช่วยเหลือ
3. การประเมินและการจัดการความปวด
4. บันทึกการบาดเจ็บ การช่วยชีวิต การจัดการช่วยเหลือ และการติดตามเฝ้าระวังอาการ
5. การเตรียมการและการดูแลผู้ป่วยให้ปลอดภัยระหว่างการเคลื่อนย้าย
_____________________________________________________
P a g e | 8
Airway management
การดูแลผู้ป่วยอุบัติเหตุที่มีปัญหาเกี่ยวกับทางเดินหายใจ และการหายใจมีความส้าคัญจ้าเป็นต้องได้รับการ
ช่วยเหลือเป็นอันดับแรก เพราะการขาดออกซิเจนท้าให้สมองและอวัยวะส้าคัญสูญเสียหน้าที่ ผู้ป่วยที่มีภาวะ Life
threatening airway ได้แก่ 1) Maxillofacial Injury รวมถึง burn 2) Laryngeal trauma 3) Neck trauma
อาการแสดงของ Airway obstruction; อาการกระสับกระส่าย ใช้กล้ามเนื้อช่วยหายใจ เสียงหายใจผิดปกติ
หรือหลอดลมไม่อยู่ตรงกลาง
อาการแสดงของผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับการหายใจ มักพบร่วมกับผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับทางเดินหายใจ
ระบบประสาทส่วนกลางถูกกด การได้รับบาดเจ็บบริเวณทรวงอกโดยตรง การบาดเจ็บของกระดูกคอ; มักพบการ
เคลื่อนไหวของทรวงอกไม่เท่ากัน ฟังไม่ได้ยินเสียงการหายใจ
Pitfalls ของการดูแลผู้ป่วยด้านทางเดินหายใจคือ การเกิดการส้าลัก ท้าให้เกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจ
ผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัวเกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจจากลิ้นตก
การจัดการทางเดินหายใจเบื้องต้น ต้องท้าคู่กับ C-spine protection เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยหายใจได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ พร้อมทั้งป้องกันไม่ให้กระดูกคอเคลื่อนที่ การจัดการทางเดินหายใจและการหายใจ จึงประกอบด้วยการ
ใส่ Airway และการใช้ Bag-valve-mask เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยหายใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การเปิดทางเดินหายใจ (open airway)
1. การเปิดทางเดินหายใจเบื้องต้น ต้องป้องกันการเคลื่อนที่ของกระดูกคอ โดยใช้วิธี jaw thrust
maneuver หรือ chin lift maneuver พร้อมทั้งวิธีการใส่ และการเลือกขนาดของ Hard collar ให้
เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย พร้อมทั้งท้า Manual inline stabilization
2. วิธีการเลือก Mask ที่ใช้กับ Ambu bag ควรเลือกขนาดที่ครอบบริเวณคางไปถึงจมูกพอดี ควรใช้วัสดุใส
ให้เห็น secretion การบ้าบัดด้วยออกซิเจนนิยมให้ Oygen mask with reservoir bag ที่เปิด
ออกซิเจนมากกว่า 10 LPM เพื่อให้ได้รับความเข้มข้นออกซิเจน 100%
Pitfalls ขนาดของ Mask และการเปิดออกซิเจน 10 LPM ได้ออกซิเจน 90% แต่ผู้ป่วยอุบัติเหตุจะ
หายใจเร็วท้าให้ได้รับออกซิเจนที่มีความเข้มข้นลดลง
3. การใส่ Oropharyngeal airway วิธีการวัด และวิธีการใส่
Pitfalls การเลือกขนาดเล็กไม่สามารถเปิดทางเดินหายใจได้ ขนาดใหญ่เกินไปจะเข้าไปในหลอดอาหาร
P a g e | 9
4. Nasopharyngeal airway วิธีการวัด และวิธีการใส่ Pitfalls การเลือกขนาดเล็กไม่สามารถเปิดทางเดิน
หายใจได้ ขนาดใหญ่เกินไปจะเข้าไปในหลอดอาหาร และไม่ควรใส่ในผู้ป่วยที่มี Fracture nose,
Fracture base of skull (Sign: raccoon eyes, battlesign, rhinorrhea, otorrhea)
อุปกรณ์
1. การใส่ airway ได้แก่ ถุงมือ oropharyngeal airway เบอร์ 3, 4, 5 nasopharyngeal airway เบอร์
6.5, 7, 7.5, 8 และสารหล่อลื่น
2. การใช้ bag-valve-mask ได้แก่ face mask, AMBU, reservior bag, oxygen
ขั้นตอนการใส่ oropharyngeal airway
ล้างมือให้สะอาด เช็ดให้แห้งก่อนใส่ถุงมือ กรณีที่ผู้ป่วยสึกตัว อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจถึงขั้นตอนในการปฏิบัติ
1. เลือกขนาดและความยาวของท่อให้เหมาะสมกับผู้ป่วย คือ ความยาวความยาวตั้งแต่มุมปากถึงติ่งห
2. เปิดปากผู้ป่วยด้วยวิธี chin lift หรือ crossed finger technique
3. ใส่ tongue blade เหนือโคนลิ้นผู้ป่วย ระวัง gag reflex
4. ใส่ท่อเข้าไปในปาก โดยให้ส่วนโค้งของท่ออยู่บน tongue blade จนกระทั่งปีกของท่อ (Flange) อยู่ที่ริม
ฝีปากของผู้ป่วยพอดี
5. เอา tongue blade ออก
กรณีใส่ท่อโดยไม่ใช้ tongue blade เมื่อใส่ท่อเข้าไปในปาก จนปลายท่อชนเพดานอ่อน ให้หมุนท่อกลับ
ตามเข็มนาฬิกา พร้อมกับสอดท่อผ่านเข้าไป โดยให้ส่วนโค้งของท่ออยู่เหนือโคนลิ้น จนกระทั่งปีกของท่อ
(Flange) อยู่ที่ริมฝีปากของผู้ป่วยพอดี
6. ช่วยหายใจด้วย Bag-valve-mask
กรณีที่ใส่ท่อโดยไม่ใช้ tongue blade เมื่อใส่ท่อเข้าไปในปาก จนปลายท่อชนเพดานอ่อน ให้หมุนท่อกลับ
ตามเข็มนาฬิกา พร้อมกับสอดท่อผ่านเข้าไป โดยให้ส่วนโค้งของท่ออยู่เหนือโคนลิ้น
ขั้นตอนการใส่ nasopharyngeal airway
ล้างมือให้สะอาด เช็ดให้แห้งก่อนใส่ถุงมือ กรณีที่ผู้ป่วยสึกตัว อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจถึงขั้นตอนในการปฏิบัติ
1. ประเมินรูจมูกที่โล่งและสะดวกที่สุด
2. เลือกขนาดและความยาวของท่อให้เหมาะสมกับรูจมูกของผู้ป่วย ระยะทางระหว่างปลายจมูกถึงติ่งหู แล้ว
บวกเพิ่มอีก ๑ นิ้ว
3. ใช้น้้า หรือสารหล่อลื่น ทาบน nasopharyngeal airway
4. ใส่ท่อในรูจมูก โดยให้หน้าตัด Bevel หันเข้าหา septum
5. สอดท่อเข้าไปช้าๆ เมื่อถึง hypopharynx ให้หมุนท่อกลับตามเข็มนาฬิกา จนกระทั่งปีกของท่อ (Flange)
อยู่ที่ปีกจมูกของผู้ป่วยพอดี
6. ช่วยหายใจด้วย Bag-valve-mask
P a g e | 10
ขั้นตอน Bag-valve-mask ventilation
เลือก Face mask ที่มีขนาดพอเหมาะกับใบหน้าของผู้ป่วย
1. ต่อสายน้าออกซิเจนกับ Self Inflating bag เปิดออกซิเจน 10-12 ลิตร/นาที
2. ประเมินความโล่งของทางเดินหายใจซ้้า
3. วาง Face mask บนใบหน้าผู้ป่วย ครอบให้แน่นด้วยมือข้างหนึ่ง
4. ใช้มืออีกข้างหนึ่งบีบ bag
5. ประเมินการหายใจโดยสังเกตที่การเคลื่อนไหวทรวงอกของผู้ป่วย
6. บีบ bag ช่วยการหายใจทุก 5 นาที
ขั้นตอน Self Inflating bag
1. จับ Face mask ให้อยู่ในอุ้งมือ โดยใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้ กดลงบนตัวหน้ากาก อีก ๓ นิ้ว
2. วางใต้ขากรรไกรล่าง กด Face mask ให้แนบกับใบหน้าผู้ป่วยพร้อมกับดึงขากรรไกรล่างขึ้น เพื่อให้ศีรษะ
หงายไปด้านหลัง
3. ต่อส่วนคอของ Face mask กับ Self Inflating bag โดยให้ปลายอีกด้านหนึ่งของ Self Inflating bag ต่อ
กับสายน้าออกซิเจน Reservoir bag
4. เปิดออกซิเจน ๑๐-๑๒ ลิตร/นาที
5. บีบ Self inflating bag ตามจังหวะการหายใจเข้า-ออก ตลอดเวลา เพื่อให้ผู้ป่วยได้ปริมาตรอากาศหายใจ
เข้าได้อย่างเพียงพอ
ข้อควรระวัง
1. การบีบ Self inflating bag เร็วและแรง จะท้าให้ผู้ป่วยเกิดอาการอาเจียนและส้าลักเศษอาหารเข้าปอด
2. น้้าหนักของมือที่กดบน Face mask ที่แรงเกินไปจะท้าให้ผู้ป่วยมีอาการดังต่อไปนี้
 มีอาการชาของบริเวณใบหน้า
 มีอาการบวมอักเสบของเยื่อบุตา
 เกิดอาการแพ้ มีผื่นคันบริเวณผิวหนัง
 กรณีที่ผู้ป่วยมีความผิดปกติของกระดูกต้นคออาจท้าให้เกิดอาการบาดเจ็บของปราสาทไขสันหลังได้
กรณีที่ผู้ป่วยใส่ท่อช่วยหายใจ
1. การเตรียมผู้ป่วย
 จัดให้ผู้ป่วยนอนราบในท่าคอตรง คางเชยขึ้นเล็กน้อย (sniffing) เพื่อให้ระยะทางจากฟันหน้าถึงกล่อง
เสียงเป็นเส้นตรง
 กรณีที่สงสัยว่าผู้ป่วยมีอาการบาดเจ็บที่กระดูกสันหลัง ต้องยึดศีรษะและคอให้อยู่กับที่ไม่เคลื่อนไหว
2. การช่วยแพทย์ขณะใส่ท่อช่วยหายใจ
 จัดให้ผู้ป่วยนอนราบ ยึดคอให้ตรง
 ช่วยการหายใจของผู้ป่วย โดยให้หายใจทาง Face mask 5-6 ลิตร/นาที
P a g e | 11
 เตรียมอุปกรณ์ต่างๆ ได้แก่ blade ที่ต่อกับ handle, ท่อช่วยหายใจที่ใส่ styled และสารหล่อลื่นแล้ว
ส่งปลาย styled ที่โค้งงอออกจากตัวผู้ใส่ท่อช่วยหายใจ, ดึง styled ออก, ยึด tube มุมปากให้แน่น
 ใช้ syringe 10 cc. ดันลมเข้า cuff โดยค่อยๆ ดันทีละ 2-3 cc. และใช้ stethoscope ฟังเสียงลมรั่วที่
ล้าคอ ใส่ลมเข้าไปจนไม่ได้ยินเสียงลมในล้าคอ
 ใส่ orapharyngeal airway เพื่อป้องกันผู้ป่วยกัดท่อช่วยหายใจ
 ผูกยึดท่อช่วยหายใจโดยใช้ผ้าเทปเหนียวติดท่อให้อยู่กับที่ที่ริมฝีปากบนซึ่งมีการเคลื่อนไหวเพื่อ ไม่ให้มี
การรั้งท่อมากเกินไป หรือหลุดเลื่อนง่าย จากเหงื่อ น้้าลาย
____________________________________________________
P a g e | 12
Chest decompression
ปัญหาเกี่ยวกับการหายใจ (B: breathing and ventilation) มีความส้าคัญเป็นล้าดับที่สองในการดูแลรักษา
ผู้บาดเจ็บ เนื่องจากการดูแลรักษาระบบการหายใจผู้ป่วยที่ล่าช้า ท้าให้ผู้ป่วยเสียชีวิตจากการขาดออกซิเจนไปเลี้ยง
ส่วนต่างๆ ของร่างกาย โดยทั่วไปมักเกิดจากการบาดเจ็บทรวงอกท้าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความดันในช่องอก
ส่งผลให้การหายใจและการไหลของอากาศเข้าออกปอดและการแลกเปลี่ยนก๊าซผิดปกติ นอกจากนี้ยังท้าให้ผู้ป่วยเสีย
เลือดได้ในปริมาณมาก
ผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บทุกรายจ้าเป็นต้องได้รับการประเมินการหายใจ และตรวจหาพยาธิสภาพหรือความ
เปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่อาจท้าให้ผู้ป่วยเสียชีวิตในเวลาอันสั้น จุดประสงค์ที่ส้าคัญของการช่วยเหลือ คือ ช่วยให้ระดับ
ออกซิเจนในเลือดอยู่ในระดับปกติน้าออกซิเจนไปสู่เนื้อเยื่อได้อย่างเพียงพอ เมื่อตรวจพบการบาดเจ็บของทรวงอกที่
ท้าให้เสียชีวิตได้อย่างรวดเร็ว (Immediate life threatening conditions) ต้องรีบแก้ไขทันทีโดยการระบายลมหรือ
เลือดในช่องอกออกอย่างรวดเร็ว (Chest decompression)
การประเมิน การจัดการให้การช่วยเหลือ
Tension pneumothorax
 หายใจล้าบาก บ่นแน่นหน้าอก
 เคาะได้เสียงโปร่ง ฟังเสียงหายใจได้เบาลง
 Needle decompression
 Intercostal chest drainage
 หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตต่้า
 หลอดลมจะเอียงไปด้านตรงข้าม
 เส้นเลือดด้าที่คอโป่งพอง
 อาจพบรอยช้้าหรือคล้าได้กระดูกซี่โครงหัก
 มีบาดแผลเปิดแบบ sucking chest wound
 อาจคล้าได้ฟองอากาศใต้ผิวหนัง (subcutaneous
emphysema)
Open pneumothorax
 แผลเปิดที่ผนังทรวงอก
 หายใจเร็ว ตื้น และต้องใช้แรงในการหายใจ
 Three side dressing
 Intercostal chest drainage
 Airway management
P a g e | 13
Massive hemothorax
 ความดันโลหิตต่้า ชีพจรเร็ว
 เคาะปอดได้เสียงทึบ
 เส้นเลือดด้าที่คอแฟบ
 Intercostal chest drainage
 Resuscitation ในรายที่มีภาวะช็อก
Flail chest
 หายใจล้าบาก
 อาจพบ paradoxical movement
 ให้ oxygen
 Airway management
 คล้าพบกระดูกซี่โครงหักหลายต้าแหน่ง  intercostal nerve block หรือ epidural
 เจ็บปวดบริเวณที่กระดูกซี่โครงหัก Anesthesia ในรายที่ปวดมาก
Cardiac tamponade
 ความดันโลหิตต่้า เส้นเลือดด้าที่คอโป่งตึง
 Muffled heart sound
 Pericardiocentesis Intercostal chest drainage
 เจ็บหน้าอก หายใจเร็ว หอบเหนื่อย
 คลื่นไฟฟ้าหัวใจผิดปกติ
 Airway management
การเจาะปอด (Needle Thoracentesis)
อุปกรณ์
1. Antiseptic solution
2. Sterile gloves, caps, gowns, masks, and drapes
3. Protective eyewear
4. Local anesthetic 1% lidocaine solution
5. IV Catheter No. 14 or 16, T-way, syringe 10 cc, Needle
6. ผ้าเจาะกลาง, gauze/cotton
ขั้นตอนการปฏิบัติ การช่วยแพทย์เจาะปอด
1. จัดผู้ป่วยให้นอนหงาย ศีรษะสูงประมาณ 30 องศา และเตรียมบริเวณที่จะท้า Needle Thoracentesis
บริเวณต้าแหน่ง Intercostal space ที่ 2 Midclavicular Line
2. เตรียม gauze ชุบน้้ายาฆ่าเชื้อเพื่อท้าความสะอาดผิวหนังบริเวณที่จะท้า Needle Thoracentesis
3. เตรียมยาชาส้าหรับฉีด Local anesthesia บริเวณที่จะท้า Needle Thoracentesis
4. เตรียมผ้าเจาะกลางเพื่อ Drape บริเวณที่จะท้า Needle Thoracentesis
5. เตรียม IV Catheter ต่อเข้ากับ T-way และ syringe 10 ml. ส้าหรับท้า Needle Thoracentesis
6. ใช้เข็ม No.14 -16 แทงเข้าในช่องอกที่ต้าแหน่ง midclavicular line ของช่องซี่โครงที่ 2
7. ถ้าพบว่าผู้บาดเจ็บมีอาการและอาการแสดงของ Tension pneumothorax ให้รีบปิดด้วย 3 sided
dressing แล้วตามด้วยการใส่ท่อระบายทรวงอก (Intercostal chest drainage)
P a g e | 14
การใส่ท่อระบายทรวงอก (Intercostal chest drainage: ICD)
อุปกรณ์
1. Antiseptic solution
2. Sterile gloves, caps, gowns, masks, and drapes
3. Protective eyewear
4. Local anesthetic 1% lidocaine solution
5. Thoracic catheter No. 28 or 32
6. Closed chest drainage system; 1-L of sterile water or NSS, 50-ml irrigation syringe,
sterile 1-L bottle, one short straw, one long straw, and sterile rubber with two holes
7. Tube thoracotomy tray
8. Surgical blade, syringe 10 cc, Needle, suture material
9. Adhesive tape, plaster ผ้า 1 หรือ 2 นิ้ว
ขั้นตอนการปฏิบัติ การช่วยแพทย์ใส่ท่อระบายทรวงอก
1. จัดให้ผู้ป่วยนอนหงายโดยพาดแขนไปด้านหลังศีรษะ และเตรียมบริเวณที่จะใส่ท่อระบายทรวงอกตรง
ต้าแหน่ง Intercostal space ที่ 5 Midaxillary line
2. เตรียม gauze ชุบน้้ายาฆ่าเชื้อเพื่อให้แพทย์ท้าความสะอาดผิวหนังบริเวณที่ใส่ท่อระบายทรวงอก
3. เตรียมยาชาส้าหรับท้า Local anesthesia บริเวณที่ใส่ระบายทรวงอก
4. เตรียมผ้าเจาะกลางเพื่อ Drape บริเวณที่ใส่ท่อระบายทรวงอก
5. เตรียมด้ามมีดพร้อมใส่ใบมีด เพื่อกรีดเปิดผิวหนังบริเวณที่จะใส่ท่อระบายทรวงอก
6. เตรียม Arterial clamps โค้งส้าหรับใช้เปิด Intercostal Muscle
7. เตรียม Arterial clamps โค้งจับกับปลายท่อระบายทรวงอกเพื่อใส่สายเข้าไปในช่อง
8. เตรียมไหมเพื่อเย็บยึดตรึงท่อระบายทรวงอก
9. เตรียม Connector 3 in 1 เพื่อน้ามาต่อเชื่อมท่อระบายทรวงอกกับสายยางที่ต่อลงขวด
10. เตรียม Y-Gauze เพื่อวางปิดผิวหนังบริเวณที่ใส่ท่อทรวงอก
11. เตรียม Adhesive tape ขนาด 3 หรือ 4 นิ้ว โดยบากบริเวณกึ่งกลางเพื่อปิดให้คลุม gauze และท่อ
ระบายทรวงอก
การเตรียมขวดท่อระบายทรวงอกแบบขวดเดียว
1. เท Sterile rater ลงในขวด Chest drain ประมาณ 400 ml.
2. น้าชุดต่อท่อระบายทรวงอก สวมบนขวดแก้ว Chest drain โดยให้หลอดแก้วยาวจุ่มลงไปต่้ากว่าระดับ
น้้า 2 ซม. เพื่อป้องกันอากาศไหลย้อนเข้าช่องเยื่อหุ้มปอด และใช้สายยางที่ยาวประมาณ 1 เมตร ต่อ
เข้ากับหลอดแก้วยาว
3. ใช้พลาสเตอร์เหนียวขนาด 1 นิ้ว พันปิดบริเวณชุดท่อระบายทรวงอกและขวด และข้อต่อต่าง ให้เป็น
P a g e | 15
ลักษณะ under water seal drainage
4. ติดพลาสเตอร์ระบุต้าแหน่งที่แสดงระดับน้้าที่ใส่ไว้ และติดพลาสเตอร์ตั้งฉากกับระดับน้้า เพื่อเขียน
5. ปริมาณ Content ที่ออกเพิ่มให้ชัดเจน
6. ตรวจสอบข้อต่อทุกข้อให้เรียบร้อย
รูปภาพแสดงการต่อท่อระบายทรวงอกแบบ 1 ขวด 2 ขวด และ 3 ขวด
การเจาะช่องเยื่อหุ้มหัวใจ (Pericardiocentesis)
ขั้นตอนการปฏิบัติ การช่วยแพทย์ท้า Pericardiocentesis
1. จัดผู้ป่วยให้นอนหงาย และเตรียมบริเวณที่จะท้า Pericardiocentesis ต้าแหน่ง Subxiphoid process
บริเวณ Lt .Costal arch
2. เตรียม gauze ชุบน้้ายาฆ่าเชื้อเพื่อท้าความสะอาดผิวหนังบริเวณที่จะท้าPericardiocentesis
3. เตรียมยาชาส้าหรับท้า Local Anesthesia บริเวณที่จะท้า Pericardiocentesis
4. เตรียมผ้าเจาะกลางเพื่อ Drape บริเวณที่จะท้า Pericardiocentesis
5. เตรียม Spinal Needle ต่อกับ Syringe 20ml. ส้าหรับท้า Pericardiocentesis
_____________________________________________________
P a g e | 16
Fluid management
สิ่งส้าคัญในการดูแลผู้ป่วยอุบัติเหตุที่มีภาวะช็อก คือ การตรวจให้พบภาวะช็อกแล้วหาสาเหตุและแก้ไข
พร้อมกับให้ Fluid management ซึ่งสาเหตุที่ท้าให้ผู้ป่วยอุบัติเหตุเกิดภาวะซ็อก ได้แก่ Hypovolemic shock,
Cardiogenic shock และ Spinal shock
ตารางแสดงอาการและอาการแสดงที่เกิดจากการสูญเสียเลือดตามล้าดับปริมาณความรุนแรง
(Classification of Shock) แบ่งเป็น 4 ระดับ (ATLS, 2012)
Signs Monitored on
Initial Presentation
Class I Class II Class III Class IV
Blood loss (ml) Up to 750 750-1500 1500-2000  2000
Blood loss (%) Up to 15 15-30 30-40 > 40
Pulse rate  100 100-120 120-140  140
Blood Pressure (mmHg) Normal Normal  90/60  70/40
Respiratory Rate (/min) 14-20 20-30 30-40  40
Urine output (ml/hr)  30 20-30 2-15  5
Mental Status Slightly
Anxious
Mildly
Anxious
Anxious
Confused
Confused
Lethargic
Fluid replacement Crystalloid Crystalloid Crystalloid
and blood
Crystalloid and
blood
ประเภทของสารน้้า
การให้สารน้้าในระยะแรก แนะน้าให้ใช้ Isotonic crystalloid solutions เป็นสิ่งแรก เพราะสารน้้าเหล่านี้
จะท้าให้เกิดปริมาตรในหลอดเลือดเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว จึงสามารถทดแทนปริมาณเลือดที่เสียไป รวมทั้งเข้าไปสู่
Interstitial และ intravascular space ได้โดยเร็วเช่นกัน โดยมีหลักในการเลือกสารน้้าทดแทน ดังนี้
1. Crystalloid solutions เป็นสารละลายเกลือแร่ที่มีโมเลกุลขนาดเล็กท้าให้สามารถกระจายไปสู่ช่อง
P a g e | 17
ภายในหลอดเลือดได้อย่างรวดเร็ว จึงกระตุ้นให้การ perfusion เกิดได้เร็ว แต่ข้อเสียคือจะกระจายไปสู่ช่อง
นอกหลอดเลือดส่วนอื่นด้วย จึงท้าให้เกิด tissue edema (pulmonary edema, bowel edema และ
compartment syndrome) สารละลายได้แก่
1.1 NSS เป็นสารละลายตัวแรกที่ให้ในผู้ป่วยอุบัติเหตุที่มีภาวะช็อก เมื่อสารน้้าเข้าสู่ร่างกายแล้วจะอยู่
ใน intravascular space ก่อนแล้วจึงกระจายออกสู่ interstitial space ในสัดส่วน 3:1
ข้อเสีย คือ
 NSS มีโซเดียมและคลอไรด์อย่างละ 154 mEq/L ซึ่งความเข้มข้นของคลอไรด์จะสูงกว่าซีรั่ม
ปกติ เมื่อต้องใช้ปริมาณมากจะท้าให้ไตขับออกได้ช้า จนเกิด hyperchloremic metabolic
acidosis, dilutional cogulopathy ซึ่งเป็นสาเหตุท้าให้เกิดการหายใจล้มเหลว
1.2 RLS มีส่วนประกอบใกล้เคียงกับสารน้้านอกเซลล์มากที่สุด จากรายงานในการใช้ท้าการกู้ชีพผู้ป่วย
เสียเลือดโดยไม่มีความผิดปกติของความเข้มข้นและส่วนประกอบนั้นพบว่าได้ผลดีและอัตราการ
เกิด acute tubular necrosis ลดลง นอกจากนี้ lactate จะถูก metabolite ที่ตับเป็น
bicarbonate อย่างรวดเร็ว ช่วยลดการเกิด acidosis ดังนั้น crystalloid solution ที่นิยมใช้มาก
ที่สุดคือ RLS
ข้อเสีย
 ราคาแพงกว่า NSS
 การใช้ RLS จ้านวนมากในการกู้ชีพเป็นผลให้ oncotic pressure ในหลอดเลือดลดลง ท้าให้
สารน้้ารั่วเข้าไปสู่ช่องว่างระหว่างเซลล์อาจเป็นผลให้เกิดปอดบวมน้้า และการหายใจล้มเหลว
ตามมาได้
1.3 Acetar มี acetate เป็นส่วนประกอบ จะถูก metabolite เป็น bicarbonate ที่ตับและ
กล้ามเนื้อ จึงถูกน้ามาใช้ในผู้ป่วยที่มีภาวะผิดปกติ
ข้อเสีย
 เป็น slightly hypotonic solution จะกระตุ้นให้ไตขับน้้าออกมาก ท้าให้เกิด cellular
dehydration และในภาวะ shock การ perfusion ของตับและกล้ามเนื้อไม่ดีท้าให้มีการ
คั่งของ acetate ในเลือดท้าให้เกิด vasodilatation
1.4 Hypertonic crystalloid solution ได้แก่ 3% NaCl, 7.5% NaCl มี osmotic pressure ช่วย
ดึงน้้าออกจาก interstitial space ลด tissue edema ข้อเสียคือ เกิดภาวะ Hypernatremia,
Hypercholoremia, Hypokalemia, Hyperosmolality
2. Colloid solutions เป็นสารละลายที่มีโมเลกุลใหญ่ สามารถอยู่ในหลอดเลือดฝอยได้นานจนเกิด
colloid osmotic pressure ช่วยเพิ่ม intravascular volume ท้าให้ interstitial fluid ไหลกลับเข้า
มาในหลอดเลือด Crystalloid ได้แก่ Albumin, Gelatin, HES (Hydroxyethyl starch)
ข้อเสีย
 ราคาแพง
 ท้าให้เกิด acute renal failure และ coagulopathy มากขึ้น
P a g e | 18
 ท้าให้ isonize fraction ของ calcium ลดลง
 ลด immune reaction ที่มีต่อ tetanus toxoid
3. Blood substitutes คือเลือดเทียม (artificial blood substitutes) ซึ่งอยู่ในระหว่างการคิดค้น
การเปิดเส้นให้สารน้้า
อุปกรณ์
1. IV catheter, IV fluid as prescribed with IV administration set and short extension tubing
attached and prime.
2. Tourniquet
3. 2-3 alcohol prep pad or swabsticks, 2-3 povidine iodine pads or swabsticks
4. 2-in x 2-in sterile gauze pad
5. One roll of 1-in, nonallergenic tape
6. Transparent semipermeable dressing
7. Gloves
8. Venous Cut down set
ขั้นตอนการปฏิบัติ
1. ประเมินสภาพผิวหนังและต้าแหน่งที่จะให้สารน้้า ควรให้หลอดเลือดด้าที่มีขนาดใหญ่ ท้าให้ได้ง่ายและ
รวดเร็ว และควรให้ที่แขน ไม่ควรให้ที่ขา
2. ควรเลือกเข็มที่มีขนาดใหญ่และสั้น ที่เหมาะสมกับขนาดของหลอดเลือดที่ให้ เพราะจะสามารถให้สาร
น้้าได้อย่างรวดเร็ว
3. เตรียมสารน้้าให้เหมาะสมของผู้ป่วย
4. ต่อให้ชุดสารน้้ากับขวดสารน้้าโดยเทคนิคปราศจากเชื้อ ไล่อากาศในสายออกให้หมด
ข้อบ่งชี้
1. ไม่ควรให้ IV บริเวณเส้นเลือดที่มีการซอกซ้้า
2. ไม่ควรให้ IV ต่้ากว่าบริเวณที่มีกระดูกหัก
การช่วยแพทย์ผ่าเปิดเส้นเลือดด้า (Cut down)
ขั้นตอนการปฏิบัติ
1. บอกให้ผู้ป่วยทราบ
2. จัดบริเวณที่ท้า Cut down ให้อยู่ในท่าเหยียดตรง
3. ล้างมือ เปิดชุด Cut down ด้วยเทคนิคปราศจากเชื้อ
P a g e | 19
4. เทน้้ายา Butadiene ลงในถ้วย และเท NSS ในถ้วยอีกใบ ใส่ส้าลีและก๊อซปราศจากเชื้อ กระบอกฉีดยา
5, 10 cc. อย่างละ 1 อัน Blade No.11, 15 ลงในถาด
5. เช็ด Alcohol 70% ที่จุกยางขวดยาชา
6. สังเกตอาการและอาการแสดงผิดปกติ ที่อาจเกิดจากการแพ้การฉีดยาชา
7. เปิดซองและใส่สาย Cut down ลงในถาดเครื่องมือ ด้วยเทคนิคปลอดเชื้อ
8. ต่อสาย Cut down กับชุดให้สารน้้าที่เตรียมไว้ด้วยวิธีปราศจากเชื้อและเปิดสารน้้าตามอัตราที่ก้าหนด
9. ปิดแผลด้วยก๊อซปราศจากเชื้อ adhesive plaster, Me fix, แผ่นใสปราศจากเชื้อระวังอย่าให้สายหัก
ข้อบ่งชี้
1. ไม่ควรท้า Cut down บริเวณหลอดเลือดมีการบาดเจ็บ ชอกช้้า
2. ไม่ควรท้า Cut down ต่้ากว่าบริเวณที่มีกระดูกหัก
ต้าแหน่งในการให้ Fluid resuscitation
1. Peripheral venous catheter ต้าแหน่งที่ดีที่สุดคือ upper extremities ควรเลือก catheter ที่มี
ขนาดใหญ่และสั้น จ้านวน 2 เส้น
2. Venous cutdown ต้าแหน่งที่นิยมให้คือ brachial และ saphenous vein
3. Central venous catheter ต้าแหน่งที่นิยมให้คือ femoral, subclavian และ internal jugular การ
ให้ fluid resuscitation ทางนี้มี Complication ที่ส้าคัญคือ hematoma และ pneumothorax
4. Intraosseus catheter สามารถท้าได้เร็วกว่า Central venous catheter และเกิด complication
น้อยกว่า แต่ไม่นิยมท้า
การเฝ้าระวังภายหลัง Fluid management
1. Rapid response ผู้ป่วยกลุ่มนี้จะตอบสนองอย่างรวดเร็วจากการให้สารน้้าในขนาด bolus และมีชีพจร
ความดันโลหิต และปริมาณปัสสาวะกลับมาสู่ระดับปกติ ผู้ป่วยกลุ่มนี้มักเสียเลือดน้อยกว่า 20%
2. Transient response ผู้ป่วยจะตอบสนองต่อการช่วยชีวิตแล้วกลับมามีความดันโลหิตต่้าอีก มักเกิดจากการ
ให้สารน้้าน้อยเกินไป หรือยังมีการสูญเสียเลือด อาจต้องตรวจเพิ่มเติม ผู้ป่วยกลุ่มนี้ควรได้รับเลือด
3. No response ผู้ป่วยยังคงมีความดันต่้าตลอดเวลา ในระยะนี้ต้องหาต้าแหน่งเลือดออกให้พบโดยเร็ว ต้องให้
เลือดผู้ป่วยและเข้าผ่าตัดโดยเร็วที่สุด
_____________________________________________________

Contenu connexe

Tendances

แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลpiyarat wongnai
 
Trauma treatment skills for nurses 22 พค.2558
Trauma treatment skills for nurses  22 พค.2558Trauma treatment skills for nurses  22 พค.2558
Trauma treatment skills for nurses 22 พค.2558Krongdai Unhasuta
 
2 trauma care & outcome _ update 17 เมย. 2560
2  trauma care & outcome  _ update 17 เมย. 25602  trauma care & outcome  _ update 17 เมย. 2560
2 trauma care & outcome _ update 17 เมย. 2560Krongdai Unhasuta
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจtechno UCH
 
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองการพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองChutchavarn Wongsaree
 
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยSumon Kananit
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรืองUtai Sukviwatsirikul
 
Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)piyarat wongnai
 
การจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจการจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจKrongdai Unhasuta
 
Common problems in trauma of elderly
Common problems in trauma of elderlyCommon problems in trauma of elderly
Common problems in trauma of elderlyKrongdai Unhasuta
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgtechno UCH
 

Tendances (20)

แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
 
Trauma treatment skills for nurses 22 พค.2558
Trauma treatment skills for nurses  22 พค.2558Trauma treatment skills for nurses  22 พค.2558
Trauma treatment skills for nurses 22 พค.2558
 
Chest drain systems
Chest drain systemsChest drain systems
Chest drain systems
 
Abdominal Trauma (Thai)
Abdominal Trauma (Thai)Abdominal Trauma (Thai)
Abdominal Trauma (Thai)
 
Warning sign iicp
Warning sign iicpWarning sign iicp
Warning sign iicp
 
2 trauma care & outcome _ update 17 เมย. 2560
2  trauma care & outcome  _ update 17 เมย. 25602  trauma care & outcome  _ update 17 เมย. 2560
2 trauma care & outcome _ update 17 เมย. 2560
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
 
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองการพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
 
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
 
2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment
 
Initial Assess Trauma (Thai)
Initial Assess Trauma (Thai)Initial Assess Trauma (Thai)
Initial Assess Trauma (Thai)
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)
 
การจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจการจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจ
 
Septic Shock
Septic ShockSeptic Shock
Septic Shock
 
Common problems in trauma of elderly
Common problems in trauma of elderlyCommon problems in trauma of elderly
Common problems in trauma of elderly
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekg
 
EKG in ACLS
EKG in ACLSEKG in ACLS
EKG in ACLS
 
Traumatic shock
Traumatic shockTraumatic shock
Traumatic shock
 

Similaire à Trauma treatment skills for nurse

Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triagefreelance
 
Kneeligamentinjuries 090531111824-phpapp02
Kneeligamentinjuries 090531111824-phpapp02Kneeligamentinjuries 090531111824-phpapp02
Kneeligamentinjuries 090531111824-phpapp02sanidad
 
การดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msuการดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msuNantawan Tippayanate
 
Conference ortho
Conference orthoConference ortho
Conference orthoToey Sutisa
 
Extern orthopedics conference
Extern orthopedics conferenceExtern orthopedics conference
Extern orthopedics conferenceGene Panaphorn
 
Extern conference ot
Extern conference otExtern conference ot
Extern conference otToey Sutisa
 
Approach to the injured patient.pptx
Approach to the injured patient.pptxApproach to the injured patient.pptx
Approach to the injured patient.pptxKrongdai Unhasuta
 
Approach to the injured patient.pptx
Approach to the injured patient.pptxApproach to the injured patient.pptx
Approach to the injured patient.pptxKrongdai Unhasuta
 
Emergency care to head injured patient
Emergency care to head injured patientEmergency care to head injured patient
Emergency care to head injured patientKrongdai Unhasuta
 
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)Utai Sukviwatsirikul
 
นวัตกรรมแพทย์
นวัตกรรมแพทย์นวัตกรรมแพทย์
นวัตกรรมแพทย์taem
 
Extern conference ortho ethic 1 พย.60
Extern conference ortho ethic 1 พย.60Extern conference ortho ethic 1 พย.60
Extern conference ortho ethic 1 พย.60Toey Sutisa
 
Extern conference : Fracture mid shaft humerus
Extern conference : Fracture mid shaft humerusExtern conference : Fracture mid shaft humerus
Extern conference : Fracture mid shaft humerusThanat Lewsirirat
 
TAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉิน
TAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉินTAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉิน
TAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉินtaem
 

Similaire à Trauma treatment skills for nurse (20)

Fracture Clavicle
Fracture ClavicleFracture Clavicle
Fracture Clavicle
 
Knee Ligament Injuries
Knee  Ligament  InjuriesKnee  Ligament  Injuries
Knee Ligament Injuries
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
 
Triage
TriageTriage
Triage
 
Triage
TriageTriage
Triage
 
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
 
Kneeligamentinjuries 090531111824-phpapp02
Kneeligamentinjuries 090531111824-phpapp02Kneeligamentinjuries 090531111824-phpapp02
Kneeligamentinjuries 090531111824-phpapp02
 
การดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msuการดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msu
 
(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update
 
Conference ortho
Conference orthoConference ortho
Conference ortho
 
Extern orthopedics conference
Extern orthopedics conferenceExtern orthopedics conference
Extern orthopedics conference
 
Extern conference ot
Extern conference otExtern conference ot
Extern conference ot
 
Approach to the injured patient.pptx
Approach to the injured patient.pptxApproach to the injured patient.pptx
Approach to the injured patient.pptx
 
Approach to the injured patient.pptx
Approach to the injured patient.pptxApproach to the injured patient.pptx
Approach to the injured patient.pptx
 
Emergency care to head injured patient
Emergency care to head injured patientEmergency care to head injured patient
Emergency care to head injured patient
 
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)
Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee)
 
นวัตกรรมแพทย์
นวัตกรรมแพทย์นวัตกรรมแพทย์
นวัตกรรมแพทย์
 
Extern conference ortho ethic 1 พย.60
Extern conference ortho ethic 1 พย.60Extern conference ortho ethic 1 พย.60
Extern conference ortho ethic 1 พย.60
 
Extern conference : Fracture mid shaft humerus
Extern conference : Fracture mid shaft humerusExtern conference : Fracture mid shaft humerus
Extern conference : Fracture mid shaft humerus
 
TAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉิน
TAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉินTAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉิน
TAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉิน
 

Plus de Krongdai Unhasuta

Trauma in geriatric patients
Trauma in geriatric patientsTrauma in geriatric patients
Trauma in geriatric patientsKrongdai Unhasuta
 
Trauma Care System and Role of Nurses in Trauma Fast Track
Trauma Care System and Role of Nurses in Trauma Fast TrackTrauma Care System and Role of Nurses in Trauma Fast Track
Trauma Care System and Role of Nurses in Trauma Fast TrackKrongdai Unhasuta
 
5 scope and practice _ update 17 เมย. 2560
5  scope and practice  _ update 17 เมย. 25605  scope and practice  _ update 17 เมย. 2560
5 scope and practice _ update 17 เมย. 2560Krongdai Unhasuta
 
4 research utilization & qi _ update 17 เมย. 2560
4  research utilization & qi  _ update 17 เมย. 25604  research utilization & qi  _ update 17 เมย. 2560
4 research utilization & qi _ update 17 เมย. 2560Krongdai Unhasuta
 
3 how to develop guideline and protocol _ update 17 เมยฬ 2560
3  how to develop guideline and protocol  _ update 17 เมยฬ 25603  how to develop guideline and protocol  _ update 17 เมยฬ 2560
3 how to develop guideline and protocol _ update 17 เมยฬ 2560Krongdai Unhasuta
 
1. บทบาทและคุณสมบัติของ te n cs __ update 17 เมย. 2560
1. บทบาทและคุณสมบัติของ te n cs __ update 17 เมย. 25601. บทบาทและคุณสมบัติของ te n cs __ update 17 เมย. 2560
1. บทบาทและคุณสมบัติของ te n cs __ update 17 เมย. 2560Krongdai Unhasuta
 
ความเครียดของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
ความเครียดของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยความเครียดของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
ความเครียดของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยKrongdai Unhasuta
 
Implement life threaten cnpg
Implement life threaten cnpgImplement life threaten cnpg
Implement life threaten cnpgKrongdai Unhasuta
 
Road map to preparedness management in er
Road map to preparedness management in erRoad map to preparedness management in er
Road map to preparedness management in erKrongdai Unhasuta
 
หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติ
หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติหลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติ
หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติKrongdai Unhasuta
 
Trauma scoring 23 พค.2558
Trauma scoring 23 พค.2558Trauma scoring 23 พค.2558
Trauma scoring 23 พค.2558Krongdai Unhasuta
 
Life threatening chest injuries 15 พค.2558
Life threatening chest injuries 15 พค.2558Life threatening chest injuries 15 พค.2558
Life threatening chest injuries 15 พค.2558Krongdai Unhasuta
 
Hemorrhagic shock 15 พค.2558
Hemorrhagic shock 15 พค.2558Hemorrhagic shock 15 พค.2558
Hemorrhagic shock 15 พค.2558Krongdai Unhasuta
 
Management of traumatic brain injury
Management of traumatic brain injuryManagement of traumatic brain injury
Management of traumatic brain injuryKrongdai Unhasuta
 
Management of multiple trauma
Management of multiple traumaManagement of multiple trauma
Management of multiple traumaKrongdai Unhasuta
 
Detect traumatic shock 16 พค.58
Detect traumatic shock  16 พค.58Detect traumatic shock  16 พค.58
Detect traumatic shock 16 พค.58Krongdai Unhasuta
 
Fluid management 14 พค.58
Fluid management 14 พค.58Fluid management 14 พค.58
Fluid management 14 พค.58Krongdai Unhasuta
 
Early detection mods 16 พค.58
Early detection mods  16 พค.58Early detection mods  16 พค.58
Early detection mods 16 พค.58Krongdai Unhasuta
 
Severe trauma and traumatic shock 14 พค.58
Severe trauma and traumatic shock  14 พค.58Severe trauma and traumatic shock  14 พค.58
Severe trauma and traumatic shock 14 พค.58Krongdai Unhasuta
 

Plus de Krongdai Unhasuta (20)

Trauma in geriatric patients
Trauma in geriatric patientsTrauma in geriatric patients
Trauma in geriatric patients
 
Trauma Care System and Role of Nurses in Trauma Fast Track
Trauma Care System and Role of Nurses in Trauma Fast TrackTrauma Care System and Role of Nurses in Trauma Fast Track
Trauma Care System and Role of Nurses in Trauma Fast Track
 
5 scope and practice _ update 17 เมย. 2560
5  scope and practice  _ update 17 เมย. 25605  scope and practice  _ update 17 เมย. 2560
5 scope and practice _ update 17 เมย. 2560
 
4 research utilization & qi _ update 17 เมย. 2560
4  research utilization & qi  _ update 17 เมย. 25604  research utilization & qi  _ update 17 เมย. 2560
4 research utilization & qi _ update 17 เมย. 2560
 
3 how to develop guideline and protocol _ update 17 เมยฬ 2560
3  how to develop guideline and protocol  _ update 17 เมยฬ 25603  how to develop guideline and protocol  _ update 17 เมยฬ 2560
3 how to develop guideline and protocol _ update 17 เมยฬ 2560
 
1. บทบาทและคุณสมบัติของ te n cs __ update 17 เมย. 2560
1. บทบาทและคุณสมบัติของ te n cs __ update 17 เมย. 25601. บทบาทและคุณสมบัติของ te n cs __ update 17 เมย. 2560
1. บทบาทและคุณสมบัติของ te n cs __ update 17 เมย. 2560
 
Trauma scoring
Trauma scoringTrauma scoring
Trauma scoring
 
ความเครียดของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
ความเครียดของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยความเครียดของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
ความเครียดของพยาบาลหัวหน้าเวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
 
Implement life threaten cnpg
Implement life threaten cnpgImplement life threaten cnpg
Implement life threaten cnpg
 
Road map to preparedness management in er
Road map to preparedness management in erRoad map to preparedness management in er
Road map to preparedness management in er
 
หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติ
หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติหลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติ
หลักการ การเตรียมพร้อมและการตั้งรับภัยพิบัติ
 
Trauma scoring 23 พค.2558
Trauma scoring 23 พค.2558Trauma scoring 23 พค.2558
Trauma scoring 23 พค.2558
 
Life threatening chest injuries 15 พค.2558
Life threatening chest injuries 15 พค.2558Life threatening chest injuries 15 พค.2558
Life threatening chest injuries 15 พค.2558
 
Hemorrhagic shock 15 พค.2558
Hemorrhagic shock 15 พค.2558Hemorrhagic shock 15 พค.2558
Hemorrhagic shock 15 พค.2558
 
Management of traumatic brain injury
Management of traumatic brain injuryManagement of traumatic brain injury
Management of traumatic brain injury
 
Management of multiple trauma
Management of multiple traumaManagement of multiple trauma
Management of multiple trauma
 
Detect traumatic shock 16 พค.58
Detect traumatic shock  16 พค.58Detect traumatic shock  16 พค.58
Detect traumatic shock 16 พค.58
 
Fluid management 14 พค.58
Fluid management 14 พค.58Fluid management 14 พค.58
Fluid management 14 พค.58
 
Early detection mods 16 พค.58
Early detection mods  16 พค.58Early detection mods  16 พค.58
Early detection mods 16 พค.58
 
Severe trauma and traumatic shock 14 พค.58
Severe trauma and traumatic shock  14 พค.58Severe trauma and traumatic shock  14 พค.58
Severe trauma and traumatic shock 14 พค.58
 

Trauma treatment skills for nurse

  • 1. P a g e | 1 Trauma Treatment Skills for Nurse follow Advance Trauma Life Support (ATLS)
  • 2. P a g e | 2 Approach to the injured patient ผู้ป่วยอุบัติเหตุเป็นผู้ป่วยที่มีความเปราะบาง เสี่ยงต่อการเกิดภาวะคุกคามชีวิต เนื่องจากพร่องออกซิเจน ส่วนใหญ่เกิดจากการอุดกั้นของทางเดินหายใจ มีเลือดหรือลมขังอยู่ในช่องเยื่อหุ้มปอด เสียเลือด หรือมีการบาดเจ็บ ของระบบประสาท การประเมินอาการที่รวดเร็วทันเวลา จะช่วยให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลรักษาที่เหมาะสม (optimal care) และปลอดภัยจากภาวะคุกคามชีวิต การประเมินอาการผู้ป่วย จึงประกอบด้วย 1) การประเมินแรกรับ (initial evaluation) เพื่อค้นหาภาวะคุกคามชีวิต 2) การประเมินภาวะช็อกจากการบาดเจ็บ (traumatic shock evaluation) เพื่อระบุการเกิดภาวะช็อกและชนิดของภาวะช็อกจากการบาดเจ็บ 3) การประเมินเบื้องต้นและการ ช่วยชีวิต (primary survey and resuscitation) 4) การประเมินอาการโดยละเอียดและการตรวจเพื่อวินิจฉัย (Secondary survey and management) และ 5) การประเมินซ้้าก่อนการส่งต่อเพื่อการรักษา แต่ทั้งนี้หากพบ ปัญหาระหว่างการประเมินอาการจะต้องจัดการร่วมกับทีม (trauma team) ตามหน้าที่ความรับผิดชอบ วัตถุประสงค์ 1. ส้ารวจการบาดเจ็บของร่างกายที่เป็นระบบอย่างละเอียดและรวดเร็ว 2. ประเมินภาวะคุกคามชีวิตและภาวะช็อกจากการการบาดเจ็บเมื่อแรกรับ 3. ประเมินอาการซ้้าก่อนส่งต่อเพื่อการรักษา I. การประเมินแรกรับ (initial evaluation) เป็นการประเมินทันทีเมื่อแรกรับ เพื่อค้นหาภาวะคุกคามชีวิต โดยการเรียกชื่อผู้ป่วย ถามการบาดเจ็บ และ ประเมิน ABC หากพบปัญหาอย่างหนึ่งอย่างใดแสดงว่าผู้ป่วยมีภาวะคุกคามชีวิต ในขั้นตอนนี้ควรปฏิบัติและตัดสินว่า มีภาวะคุกคามชีวิตหรือไม่ ภายใน 1 นาที ดังนี้ 1. Airway เป็นการประเมินสิ่งที่อุดกั้นในทางเดินหายใจ 2. Breathing เป็นการประเมินลักษณะการหายใจ การเคลื่อนไหวของทรวงอก เสียงหายใจ อัตราการ หายใจ และค่าความอิ่มตัวของออกซิเจน 3. Circulation เป็นประเมินลักษณะ ความสม่้าเสมอของชีพจร สัญญาณชีพ อาการแสดงภาวะช็อก และ ค่าดัชนีภาวะช็อก (shock index) ในขั้นตอนนี้ผู้ป่วยควรนอนบน long spinal board โดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีภาวะคุกคามชีวิต
  • 3. P a g e | 3 II. การประเมินภาวะช็อกจากการบาดเจ็บ (traumatic shock evaluation) เป็นค้นหาภาวะช็อกจากการบาดเจ็บ โดยระบุว่าผู้ป่วยมีภาวะช็อกหรือไม่ และหากมีเป็นภาวะช็อคจากการ บาดเจ็บชนิดใด ในขั้นตอนนี้อาจปฏิบัติไปพร้อมกับการประเมินทันทีเมื่อแรกรับ ต้องปฏิบัติภายใน 1 นาที เพื่อเตรียม ให้การช่วยเหลือผู้ป่วยร่วมกับทีมได้ทัน ดังนี้ 1. Hypovolemic shock เป็นการประเมิน ABC, Capillary refill ค่าความอิ่มตัวของออกซิเจน และ ระดับความรู้สึกตัว โดยประเมิน A (alert), V (response to verbal), P (response to pain), U (unresponse) และภาวะเลือดออกจากบาดแผลต่างๆ การตัดสิน Hypovolemic shock โดยมีอาการที่ประเมินพบข้างต้น ร่วมกับข้อหนึ่งข้อใด ดังนี้  ระดับที่ 1 มีการสูญเสียน้้าน้อยกว่า 15% จะมีเพียง Tachycardia  ระดับที่ 2 มีการสูญเสียน้้า 15-30% จะมีอาการและอาการแสดงภาวะช็อกชัดเจน  ระดับที่ 3 มีการสูญเสียน้้า 30-40% จะมีอาการแสดง hypoperfusion  ระดับที่ 4 มีการสูญเสียน้้ามากกว่า 40% ผู้ป่วยจะมีภาวะคุกคามชีวิต 2. Cardiogenic shock เป็นการประเมิน ABC, Capillary refill ค่าความอิ่มตัวของออกซิเจน และระดับ ความรู้สึกตัว และการบาดเจ็บและกลไกการบาดเจ็บ การตัดสิน Cardiogenic shock โดยมีอาการที่ประเมินพบข้างต้น ร่วมกับข้อหนึ่งข้อใด ดังนี้  หายใจล้าบาก หัวใจเต้นเร็ว เสียงหายใจลดลง หรือการใช้กล้ามเนื้อช่วยในการหายใจ  Trachea deviation, unilateral chest movement หรือ Paradoxical movement 3. Spinal shock เป็นการประเมิน ABC, Capillary refill ค่าความอิ่มตัวของออกซิเจน และระดับความ รู้สึกตัว และการบาดเจ็บและกลไกการบาดเจ็บ การตัดสิน Spinal shock โดยมีอาการที่ประเมินพบข้างต้น ร่วมกับข้อหนึ่งข้อใด ดังนี้  อาการอ่อนแรง หรือเคลื่อนไหวไม่ได้ III. การประเมินเบื้องต้นและการช่วยชีวิต (primary survey and resuscitation) เป็นการประเมินเบื้องต้น ABCDE อย่างรวดเร็ว อาจปฏิบัติร่วมกับทีม เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยปลอดภัยจากภาวะ คุกคามชีวิต โดยจะต้องปฏิบัติภายใน 2 นาที ต่อจาก ขั้นตอนที่ I. และ II. ดังนี้ 1. Airway and C-spine protection เป็นการปฏิบัติที่พยาบาลอุบัติเหตุจะต้องปฏิบัติกับผู้ป่วยอุบัติเหตุทุกราย อาจประเมินพร้อมกับทีม โดย ประเมินความโล่ง หรือการอุดกั้นทางเดินหายใจ และใส่ C-collar เพื่อให้กระดูกส่วนต้นคอ อยู่นิ่งไม่เคลื่อนไหว ดังนี้ การประเมินทางเดินหายใจ การเปิดทางเดินหายใจ (open airway)  ตรวจสอบความโล่งและการอุดกั้นในทางเดินหายใจ  จัดคอให้นิ่งให้อยู่นิ่งในแนวตรง (manual inline)  เปิดทางเดินหายใจโดยวิธี chin lift, jaw thrust  ขจัดสิ่งที่อุดกั้นในทางเดินหายใจ  ใส่ airway ที่เหมาะสมกับสภาพผู้ป่วยแต่ละราย  ใส่ C-collar และจัดให้กระชับกับกระดูกส่วนต้นคอ
  • 4. P a g e | 4 2. Breathing and ventilation เป็นการปฏิบัติที่พยาบาลอุบัติเหตุจะต้องปฏิบัติภายหลัง Airway and C-spine protection อาจปฏิบัติไป พร้อมๆ กับการประเมินทางเดินหายใจ โดยประเมินลักษณะการหายใจ การเคลื่อนไหวของทรวงอก อัตราการหายใจ และความอิ่มตัวของออกซิเจน (O2 saturation) ดังนี้ การประเมินการหายใจ การช่วยหายใจ  สังเกตลักษณะการหายใจ เสียงหายใจ การขยายตัว  ให้ O2 100% with reservoir bag 10-12 ลิตร/ ของทรวงอกทั้งสองข้าง อัตราการหายใจ และ O2 นาที saturation  กรณีหายใจผิดปกติ หายใจเร็วตื้น ช้ากว่าปกติ ทรวง  สังเกต Trachea deviation, Paradoxical อก 2 ข้างขยายไม่เท่ากัน ต้องให้ออกซิเจน 100% movement และ neck vein engorge  สังเกตร่องรอยการบาดเจ็บบริเวณทรวงอกและหลัง ด้วย self inflating bag  เตรียมเครื่องช่วยหายใจ  กรณีที่มีแผลเปิดที่ทรวงอก เตรียมปิดแผล 3. Circulation and control bleeding เป็นการประเมินเลือดและการไหลเวียนเลือด โดยประเมินจากลักษณะ ความสม่้าเสมอ และอัตราการเต้น ของชีพจร สัญญาณชีพ และภาวะช็อกจากอุบัติเหตุ (Traumatic shock) ดังนี้ การประเมินเลือดและการไหลเวียนเลือด การช่วยการไหลเวียนเลือด  ประเมินลักษณะ ความสม่้าเสมอ และอัตราการเต้น  กรณีที่มีเลือดออกจากบาดแผลภายนอก ตรวจสอบ ของชีพจร ค่าความดันโลหิต และ Shock Index บริเวณที่เลือดออก และ direct pressure ห้ามเลือด  สังเกตอาการและอาการแสดงภาวะช็อก  กรณีที่ต้องให้สารน้้า เตรียมเปิดเส้นด้วยเข็มเบอร์ 16  ค้นหาบริเวณที่เลือดออก หรือ 18 และที่มีอุณหภูมิประมาณ 39C  ห่มผ้า ให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย  กรณีที่มีการเสียเลือดหรือเจาะเลือด ควรส่งเลือด ตรวจ Hct., CBC, Hb, Electrolyte และอื่นๆ กรณี ที่มีแผนการรักษา 4. Disability เป็นการประเมินระบบประสาท โดยการประเมิน AVPU เพื่อบอกถึงระดับความรู้สึกตัว ค่าคะแนน GCS ขนาดและปฏิกิริยาของรูม่านตา และการเคลื่อนไหวของแขน ขา
  • 5. P a g e | 5 การประเมินระบบประสาท การจัดการทางระบบประสาท  ประเมินระดับ AVPU, GCS, Pupils, Motor  เตรียมส่งตรวจเพื่อการวินิจฉัย กรณีที่มีแผนการ รักษา  เตรียมท้าหัตถการหรือส่ง OR กรณีที่มีแผนการ รักษา  กรณีที่ระดับความรู้สึกตัวผิดปกติ ติดตาม airway และ fluid management 5. Exposure เป็นการประเมินเพื่อค้นหาการบาดเจ็บของผู้ป่วยอุบัติเหตุ โดยส้ารวจร่องรอยการบาดเจ็บในบริเวณต่างๆ ของร่างกาย การส้ารวจร่องรอยการบาดเจ็บ การจัดการการบาดเจ็บ  ส้ารวจการบาดเจ็บตั้งแต่ศีรษะถึงปลายเท้า  ถอดเสื้อผ้าและส้ารวจการบาดเจ็บ  จัดให้บริเวณที่มีการบาดเจ็บอยู่นิ่ง (stabilization) Pelvic binder รายที่สงสัยว่าปัญหาของ Pelvic  Log roll อย่างน้อย 3 คน ในการตรวจร่างกาย ด้านหลัง IV. การประเมินอาการโดยละเอียดและการตรวจเพื่อวินิจฉัย (Secondary survey and management) เป็นการตรวจร่างกายโดยละเอียดตั้งแต่ศีรษะจรดปลายเท้า ภายใน 2 นาที ต่อจาก ขั้นตอนที่ I. II. และ III. โดยรวมถึงการถามประวัติเกี่ยวกับการบาดเจ็บ (MIVT; Mechanism of injury, Injury sustained, Vital signs, Treatment) และประวัติที่เกี่ยวข้อง (AMPLE; Allergy, Medicine, Past illness, Last meal, Event) ก่อนที่จะ จัดการให้การดูแล ชะล้างแผล จัดให้ส่วนที่บาดเจ็บอยู่นิ่ง (Stabilize) เย็บปิดแผล RICE (Rest, Immobilize, Compress, Elevate) และการเตรียมตรวจวินิจฉัยอื่นๆ ดังนี้ การประเมิน การจัดการให้การช่วยเหลือ Head and maxillofacial  สังเกตรอยฉีกขาด ก้อนเลือด รอยแตกหัก และ  ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง ลักษณะผิดปกติ  ห้ามเลือด  ประเมินลานสายตา และการเคลื่อนของเลนส์ของตา  หากมี Contact lenses ให้เอาออก  ตรวจสอบการมีน้้าไขสันหลังออกจากจมูกและหู  เตรึยมท้าหัตถการ กรณีที่มีแผนการรักษา  ตรวจสอบฟัน เลือด แผลภายในช่องปาก  ประเมินหน้าที่ของ Cranial nerve
  • 6. P a g e | 6 การประเมิน การจัดการให้การช่วยเหลือ Cervical, spine, neck  สังเกต Tracheal deviation, neck vein engorge  จัดให้กระดูกส่วนต้นคออยู่นิ่งในแนวตรง Subcutaneous emphysema  เตรียมส่งตรวจ X-ray กรณีที่มีแผนการรักษา  ส้ารวจการบาดเจ็บ การบวม และความผิดปกติ  ประเมิน Bruise ที่ Carotid arteries Chest  ส้ารวจการบาดเจ็บบริเวณผนังทรวงอก ทั้งด้านหน้า  ใช้เข็มเจาะระบายอากาศออกจากช่องเยื่อหุ้มปอด ด้านข้าง และด้านหลัง หรือเตรียม thoracostomy กรณีที่มีแผนการรักษา  ฟังเสียงอากาศขณะหายใจเข้า-ออกที่ปอดทั้ง 2 ข้าง  เตรียมใส่ท่อระบายทรวงอก หรือ  สังเกต Subcutaneous emphysema, pericardiocentesis กรณีที่มีแผนการรักษา crepitation  เตรึยมส่งผู้ป่วยเข้าห้องผ่าตัด กรณีที่มีแผนการรักษา Abdomen  สังเกตการบาดเจ็บบริเวณด้านหน้าและด้านหลังของ  กรณีที่มีการแตกหักของกระดูกเชิงกราน ใส่ หน้าท้อง pneumonic antishock garment หรือใช้ผ้ายึด  สังเกตอาการแสดงการมีเลือดออกในช่องท้อง ตรึงกระดูกเชิงกราน  สังเกตลักษณะท้องแข็งตึง หรือ gravid uterus  เตรึยมส่งผู้ป่วยเข้าห้องผ่าตัด กรณีที่มีแผนการรักษา  ฟังเสียง Bowel sound Perineum, Rectum, Vagina  ตรวจสอบรอยช้้า ก้อนเลือด แผลฉีกขาด และ  เตรึยมท้าหัตถการ และส่งผู้ป่วยเข้าห้องผ่าตัด เลือดออกในทางเดินปัสสาวะ กรณีที่มีแผนการรักษา  ตรวจสอบเลือดออกที่ Anus, sphincter tone และ ต้าแหน่ง prostate  ตรวจสอบเลือดออก และแผลฉีกขาดของ Vagina Musculoskeletal  ส้ารวจการบาดเจ็บ รอยช้้า แผลฉีกขาด การกดเจ็บ  ดามกระดูกส่วนที่บาดเจ็บ และลักษณะผิดปกติของกระดูกส่วนต่างๆ  ตรึงส่วนที่บาดเจ็บให้อยู่นิ่งกับที่  ประเมิน 7 P และ crepitation  ป้องกัน compartment syndrome  เตรียมส่งตรวจ X-ray กรณีที่มีแผนการรักษา Neurological  ประเมินระดับความรู้สึก รูม่านตา และการ  ดูแลให้ได้รับออกซิเจนและมีการแลกเปลี่ยนก๊าซ เคลื่อนไหวของแขน ขา เพียงพอ  ประเมินค่าคะแนน GCS  ป้องกัน secondary brain injury  สังเกตอาการที่บ่งบอกความผิดปกติของทางสมอง (lateralizing signs)
  • 7. P a g e | 7 V. การประเมินซ้้าก่อนการส่งต่อเพื่อการรักษา (Focus survey before transfer to definitive care) เป็นประเมินร่างกายซ้้าโดยเฉพาะบริเวณที่มีการบาดเจ็บ (focus survey) ก่อนส่งต่อผู้ป่วยไปรับการรักษา ทั้งนี้ต้องมีการประสานกับสถานที่ก่อนส่งผู้ป่วยไปตรวจ ดังนี้ 1. การประเมิน ABC และการช่วยชีวิต 2. การประเมินการบาดเจ็บและการจัดการช่วยเหลือ 3. การประเมินและการจัดการความปวด 4. บันทึกการบาดเจ็บ การช่วยชีวิต การจัดการช่วยเหลือ และการติดตามเฝ้าระวังอาการ 5. การเตรียมการและการดูแลผู้ป่วยให้ปลอดภัยระหว่างการเคลื่อนย้าย _____________________________________________________
  • 8. P a g e | 8 Airway management การดูแลผู้ป่วยอุบัติเหตุที่มีปัญหาเกี่ยวกับทางเดินหายใจ และการหายใจมีความส้าคัญจ้าเป็นต้องได้รับการ ช่วยเหลือเป็นอันดับแรก เพราะการขาดออกซิเจนท้าให้สมองและอวัยวะส้าคัญสูญเสียหน้าที่ ผู้ป่วยที่มีภาวะ Life threatening airway ได้แก่ 1) Maxillofacial Injury รวมถึง burn 2) Laryngeal trauma 3) Neck trauma อาการแสดงของ Airway obstruction; อาการกระสับกระส่าย ใช้กล้ามเนื้อช่วยหายใจ เสียงหายใจผิดปกติ หรือหลอดลมไม่อยู่ตรงกลาง อาการแสดงของผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับการหายใจ มักพบร่วมกับผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับทางเดินหายใจ ระบบประสาทส่วนกลางถูกกด การได้รับบาดเจ็บบริเวณทรวงอกโดยตรง การบาดเจ็บของกระดูกคอ; มักพบการ เคลื่อนไหวของทรวงอกไม่เท่ากัน ฟังไม่ได้ยินเสียงการหายใจ Pitfalls ของการดูแลผู้ป่วยด้านทางเดินหายใจคือ การเกิดการส้าลัก ท้าให้เกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจ ผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัวเกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจจากลิ้นตก การจัดการทางเดินหายใจเบื้องต้น ต้องท้าคู่กับ C-spine protection เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยหายใจได้อย่างมี ประสิทธิภาพ พร้อมทั้งป้องกันไม่ให้กระดูกคอเคลื่อนที่ การจัดการทางเดินหายใจและการหายใจ จึงประกอบด้วยการ ใส่ Airway และการใช้ Bag-valve-mask เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยหายใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ การเปิดทางเดินหายใจ (open airway) 1. การเปิดทางเดินหายใจเบื้องต้น ต้องป้องกันการเคลื่อนที่ของกระดูกคอ โดยใช้วิธี jaw thrust maneuver หรือ chin lift maneuver พร้อมทั้งวิธีการใส่ และการเลือกขนาดของ Hard collar ให้ เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย พร้อมทั้งท้า Manual inline stabilization 2. วิธีการเลือก Mask ที่ใช้กับ Ambu bag ควรเลือกขนาดที่ครอบบริเวณคางไปถึงจมูกพอดี ควรใช้วัสดุใส ให้เห็น secretion การบ้าบัดด้วยออกซิเจนนิยมให้ Oygen mask with reservoir bag ที่เปิด ออกซิเจนมากกว่า 10 LPM เพื่อให้ได้รับความเข้มข้นออกซิเจน 100% Pitfalls ขนาดของ Mask และการเปิดออกซิเจน 10 LPM ได้ออกซิเจน 90% แต่ผู้ป่วยอุบัติเหตุจะ หายใจเร็วท้าให้ได้รับออกซิเจนที่มีความเข้มข้นลดลง 3. การใส่ Oropharyngeal airway วิธีการวัด และวิธีการใส่ Pitfalls การเลือกขนาดเล็กไม่สามารถเปิดทางเดินหายใจได้ ขนาดใหญ่เกินไปจะเข้าไปในหลอดอาหาร
  • 9. P a g e | 9 4. Nasopharyngeal airway วิธีการวัด และวิธีการใส่ Pitfalls การเลือกขนาดเล็กไม่สามารถเปิดทางเดิน หายใจได้ ขนาดใหญ่เกินไปจะเข้าไปในหลอดอาหาร และไม่ควรใส่ในผู้ป่วยที่มี Fracture nose, Fracture base of skull (Sign: raccoon eyes, battlesign, rhinorrhea, otorrhea) อุปกรณ์ 1. การใส่ airway ได้แก่ ถุงมือ oropharyngeal airway เบอร์ 3, 4, 5 nasopharyngeal airway เบอร์ 6.5, 7, 7.5, 8 และสารหล่อลื่น 2. การใช้ bag-valve-mask ได้แก่ face mask, AMBU, reservior bag, oxygen ขั้นตอนการใส่ oropharyngeal airway ล้างมือให้สะอาด เช็ดให้แห้งก่อนใส่ถุงมือ กรณีที่ผู้ป่วยสึกตัว อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจถึงขั้นตอนในการปฏิบัติ 1. เลือกขนาดและความยาวของท่อให้เหมาะสมกับผู้ป่วย คือ ความยาวความยาวตั้งแต่มุมปากถึงติ่งห 2. เปิดปากผู้ป่วยด้วยวิธี chin lift หรือ crossed finger technique 3. ใส่ tongue blade เหนือโคนลิ้นผู้ป่วย ระวัง gag reflex 4. ใส่ท่อเข้าไปในปาก โดยให้ส่วนโค้งของท่ออยู่บน tongue blade จนกระทั่งปีกของท่อ (Flange) อยู่ที่ริม ฝีปากของผู้ป่วยพอดี 5. เอา tongue blade ออก กรณีใส่ท่อโดยไม่ใช้ tongue blade เมื่อใส่ท่อเข้าไปในปาก จนปลายท่อชนเพดานอ่อน ให้หมุนท่อกลับ ตามเข็มนาฬิกา พร้อมกับสอดท่อผ่านเข้าไป โดยให้ส่วนโค้งของท่ออยู่เหนือโคนลิ้น จนกระทั่งปีกของท่อ (Flange) อยู่ที่ริมฝีปากของผู้ป่วยพอดี 6. ช่วยหายใจด้วย Bag-valve-mask กรณีที่ใส่ท่อโดยไม่ใช้ tongue blade เมื่อใส่ท่อเข้าไปในปาก จนปลายท่อชนเพดานอ่อน ให้หมุนท่อกลับ ตามเข็มนาฬิกา พร้อมกับสอดท่อผ่านเข้าไป โดยให้ส่วนโค้งของท่ออยู่เหนือโคนลิ้น ขั้นตอนการใส่ nasopharyngeal airway ล้างมือให้สะอาด เช็ดให้แห้งก่อนใส่ถุงมือ กรณีที่ผู้ป่วยสึกตัว อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจถึงขั้นตอนในการปฏิบัติ 1. ประเมินรูจมูกที่โล่งและสะดวกที่สุด 2. เลือกขนาดและความยาวของท่อให้เหมาะสมกับรูจมูกของผู้ป่วย ระยะทางระหว่างปลายจมูกถึงติ่งหู แล้ว บวกเพิ่มอีก ๑ นิ้ว 3. ใช้น้้า หรือสารหล่อลื่น ทาบน nasopharyngeal airway 4. ใส่ท่อในรูจมูก โดยให้หน้าตัด Bevel หันเข้าหา septum 5. สอดท่อเข้าไปช้าๆ เมื่อถึง hypopharynx ให้หมุนท่อกลับตามเข็มนาฬิกา จนกระทั่งปีกของท่อ (Flange) อยู่ที่ปีกจมูกของผู้ป่วยพอดี 6. ช่วยหายใจด้วย Bag-valve-mask
  • 10. P a g e | 10 ขั้นตอน Bag-valve-mask ventilation เลือก Face mask ที่มีขนาดพอเหมาะกับใบหน้าของผู้ป่วย 1. ต่อสายน้าออกซิเจนกับ Self Inflating bag เปิดออกซิเจน 10-12 ลิตร/นาที 2. ประเมินความโล่งของทางเดินหายใจซ้้า 3. วาง Face mask บนใบหน้าผู้ป่วย ครอบให้แน่นด้วยมือข้างหนึ่ง 4. ใช้มืออีกข้างหนึ่งบีบ bag 5. ประเมินการหายใจโดยสังเกตที่การเคลื่อนไหวทรวงอกของผู้ป่วย 6. บีบ bag ช่วยการหายใจทุก 5 นาที ขั้นตอน Self Inflating bag 1. จับ Face mask ให้อยู่ในอุ้งมือ โดยใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้ กดลงบนตัวหน้ากาก อีก ๓ นิ้ว 2. วางใต้ขากรรไกรล่าง กด Face mask ให้แนบกับใบหน้าผู้ป่วยพร้อมกับดึงขากรรไกรล่างขึ้น เพื่อให้ศีรษะ หงายไปด้านหลัง 3. ต่อส่วนคอของ Face mask กับ Self Inflating bag โดยให้ปลายอีกด้านหนึ่งของ Self Inflating bag ต่อ กับสายน้าออกซิเจน Reservoir bag 4. เปิดออกซิเจน ๑๐-๑๒ ลิตร/นาที 5. บีบ Self inflating bag ตามจังหวะการหายใจเข้า-ออก ตลอดเวลา เพื่อให้ผู้ป่วยได้ปริมาตรอากาศหายใจ เข้าได้อย่างเพียงพอ ข้อควรระวัง 1. การบีบ Self inflating bag เร็วและแรง จะท้าให้ผู้ป่วยเกิดอาการอาเจียนและส้าลักเศษอาหารเข้าปอด 2. น้้าหนักของมือที่กดบน Face mask ที่แรงเกินไปจะท้าให้ผู้ป่วยมีอาการดังต่อไปนี้  มีอาการชาของบริเวณใบหน้า  มีอาการบวมอักเสบของเยื่อบุตา  เกิดอาการแพ้ มีผื่นคันบริเวณผิวหนัง  กรณีที่ผู้ป่วยมีความผิดปกติของกระดูกต้นคออาจท้าให้เกิดอาการบาดเจ็บของปราสาทไขสันหลังได้ กรณีที่ผู้ป่วยใส่ท่อช่วยหายใจ 1. การเตรียมผู้ป่วย  จัดให้ผู้ป่วยนอนราบในท่าคอตรง คางเชยขึ้นเล็กน้อย (sniffing) เพื่อให้ระยะทางจากฟันหน้าถึงกล่อง เสียงเป็นเส้นตรง  กรณีที่สงสัยว่าผู้ป่วยมีอาการบาดเจ็บที่กระดูกสันหลัง ต้องยึดศีรษะและคอให้อยู่กับที่ไม่เคลื่อนไหว 2. การช่วยแพทย์ขณะใส่ท่อช่วยหายใจ  จัดให้ผู้ป่วยนอนราบ ยึดคอให้ตรง  ช่วยการหายใจของผู้ป่วย โดยให้หายใจทาง Face mask 5-6 ลิตร/นาที
  • 11. P a g e | 11  เตรียมอุปกรณ์ต่างๆ ได้แก่ blade ที่ต่อกับ handle, ท่อช่วยหายใจที่ใส่ styled และสารหล่อลื่นแล้ว ส่งปลาย styled ที่โค้งงอออกจากตัวผู้ใส่ท่อช่วยหายใจ, ดึง styled ออก, ยึด tube มุมปากให้แน่น  ใช้ syringe 10 cc. ดันลมเข้า cuff โดยค่อยๆ ดันทีละ 2-3 cc. และใช้ stethoscope ฟังเสียงลมรั่วที่ ล้าคอ ใส่ลมเข้าไปจนไม่ได้ยินเสียงลมในล้าคอ  ใส่ orapharyngeal airway เพื่อป้องกันผู้ป่วยกัดท่อช่วยหายใจ  ผูกยึดท่อช่วยหายใจโดยใช้ผ้าเทปเหนียวติดท่อให้อยู่กับที่ที่ริมฝีปากบนซึ่งมีการเคลื่อนไหวเพื่อ ไม่ให้มี การรั้งท่อมากเกินไป หรือหลุดเลื่อนง่าย จากเหงื่อ น้้าลาย ____________________________________________________
  • 12. P a g e | 12 Chest decompression ปัญหาเกี่ยวกับการหายใจ (B: breathing and ventilation) มีความส้าคัญเป็นล้าดับที่สองในการดูแลรักษา ผู้บาดเจ็บ เนื่องจากการดูแลรักษาระบบการหายใจผู้ป่วยที่ล่าช้า ท้าให้ผู้ป่วยเสียชีวิตจากการขาดออกซิเจนไปเลี้ยง ส่วนต่างๆ ของร่างกาย โดยทั่วไปมักเกิดจากการบาดเจ็บทรวงอกท้าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความดันในช่องอก ส่งผลให้การหายใจและการไหลของอากาศเข้าออกปอดและการแลกเปลี่ยนก๊าซผิดปกติ นอกจากนี้ยังท้าให้ผู้ป่วยเสีย เลือดได้ในปริมาณมาก ผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บทุกรายจ้าเป็นต้องได้รับการประเมินการหายใจ และตรวจหาพยาธิสภาพหรือความ เปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่อาจท้าให้ผู้ป่วยเสียชีวิตในเวลาอันสั้น จุดประสงค์ที่ส้าคัญของการช่วยเหลือ คือ ช่วยให้ระดับ ออกซิเจนในเลือดอยู่ในระดับปกติน้าออกซิเจนไปสู่เนื้อเยื่อได้อย่างเพียงพอ เมื่อตรวจพบการบาดเจ็บของทรวงอกที่ ท้าให้เสียชีวิตได้อย่างรวดเร็ว (Immediate life threatening conditions) ต้องรีบแก้ไขทันทีโดยการระบายลมหรือ เลือดในช่องอกออกอย่างรวดเร็ว (Chest decompression) การประเมิน การจัดการให้การช่วยเหลือ Tension pneumothorax  หายใจล้าบาก บ่นแน่นหน้าอก  เคาะได้เสียงโปร่ง ฟังเสียงหายใจได้เบาลง  Needle decompression  Intercostal chest drainage  หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตต่้า  หลอดลมจะเอียงไปด้านตรงข้าม  เส้นเลือดด้าที่คอโป่งพอง  อาจพบรอยช้้าหรือคล้าได้กระดูกซี่โครงหัก  มีบาดแผลเปิดแบบ sucking chest wound  อาจคล้าได้ฟองอากาศใต้ผิวหนัง (subcutaneous emphysema) Open pneumothorax  แผลเปิดที่ผนังทรวงอก  หายใจเร็ว ตื้น และต้องใช้แรงในการหายใจ  Three side dressing  Intercostal chest drainage  Airway management
  • 13. P a g e | 13 Massive hemothorax  ความดันโลหิตต่้า ชีพจรเร็ว  เคาะปอดได้เสียงทึบ  เส้นเลือดด้าที่คอแฟบ  Intercostal chest drainage  Resuscitation ในรายที่มีภาวะช็อก Flail chest  หายใจล้าบาก  อาจพบ paradoxical movement  ให้ oxygen  Airway management  คล้าพบกระดูกซี่โครงหักหลายต้าแหน่ง  intercostal nerve block หรือ epidural  เจ็บปวดบริเวณที่กระดูกซี่โครงหัก Anesthesia ในรายที่ปวดมาก Cardiac tamponade  ความดันโลหิตต่้า เส้นเลือดด้าที่คอโป่งตึง  Muffled heart sound  Pericardiocentesis Intercostal chest drainage  เจ็บหน้าอก หายใจเร็ว หอบเหนื่อย  คลื่นไฟฟ้าหัวใจผิดปกติ  Airway management การเจาะปอด (Needle Thoracentesis) อุปกรณ์ 1. Antiseptic solution 2. Sterile gloves, caps, gowns, masks, and drapes 3. Protective eyewear 4. Local anesthetic 1% lidocaine solution 5. IV Catheter No. 14 or 16, T-way, syringe 10 cc, Needle 6. ผ้าเจาะกลาง, gauze/cotton ขั้นตอนการปฏิบัติ การช่วยแพทย์เจาะปอด 1. จัดผู้ป่วยให้นอนหงาย ศีรษะสูงประมาณ 30 องศา และเตรียมบริเวณที่จะท้า Needle Thoracentesis บริเวณต้าแหน่ง Intercostal space ที่ 2 Midclavicular Line 2. เตรียม gauze ชุบน้้ายาฆ่าเชื้อเพื่อท้าความสะอาดผิวหนังบริเวณที่จะท้า Needle Thoracentesis 3. เตรียมยาชาส้าหรับฉีด Local anesthesia บริเวณที่จะท้า Needle Thoracentesis 4. เตรียมผ้าเจาะกลางเพื่อ Drape บริเวณที่จะท้า Needle Thoracentesis 5. เตรียม IV Catheter ต่อเข้ากับ T-way และ syringe 10 ml. ส้าหรับท้า Needle Thoracentesis 6. ใช้เข็ม No.14 -16 แทงเข้าในช่องอกที่ต้าแหน่ง midclavicular line ของช่องซี่โครงที่ 2 7. ถ้าพบว่าผู้บาดเจ็บมีอาการและอาการแสดงของ Tension pneumothorax ให้รีบปิดด้วย 3 sided dressing แล้วตามด้วยการใส่ท่อระบายทรวงอก (Intercostal chest drainage)
  • 14. P a g e | 14 การใส่ท่อระบายทรวงอก (Intercostal chest drainage: ICD) อุปกรณ์ 1. Antiseptic solution 2. Sterile gloves, caps, gowns, masks, and drapes 3. Protective eyewear 4. Local anesthetic 1% lidocaine solution 5. Thoracic catheter No. 28 or 32 6. Closed chest drainage system; 1-L of sterile water or NSS, 50-ml irrigation syringe, sterile 1-L bottle, one short straw, one long straw, and sterile rubber with two holes 7. Tube thoracotomy tray 8. Surgical blade, syringe 10 cc, Needle, suture material 9. Adhesive tape, plaster ผ้า 1 หรือ 2 นิ้ว ขั้นตอนการปฏิบัติ การช่วยแพทย์ใส่ท่อระบายทรวงอก 1. จัดให้ผู้ป่วยนอนหงายโดยพาดแขนไปด้านหลังศีรษะ และเตรียมบริเวณที่จะใส่ท่อระบายทรวงอกตรง ต้าแหน่ง Intercostal space ที่ 5 Midaxillary line 2. เตรียม gauze ชุบน้้ายาฆ่าเชื้อเพื่อให้แพทย์ท้าความสะอาดผิวหนังบริเวณที่ใส่ท่อระบายทรวงอก 3. เตรียมยาชาส้าหรับท้า Local anesthesia บริเวณที่ใส่ระบายทรวงอก 4. เตรียมผ้าเจาะกลางเพื่อ Drape บริเวณที่ใส่ท่อระบายทรวงอก 5. เตรียมด้ามมีดพร้อมใส่ใบมีด เพื่อกรีดเปิดผิวหนังบริเวณที่จะใส่ท่อระบายทรวงอก 6. เตรียม Arterial clamps โค้งส้าหรับใช้เปิด Intercostal Muscle 7. เตรียม Arterial clamps โค้งจับกับปลายท่อระบายทรวงอกเพื่อใส่สายเข้าไปในช่อง 8. เตรียมไหมเพื่อเย็บยึดตรึงท่อระบายทรวงอก 9. เตรียม Connector 3 in 1 เพื่อน้ามาต่อเชื่อมท่อระบายทรวงอกกับสายยางที่ต่อลงขวด 10. เตรียม Y-Gauze เพื่อวางปิดผิวหนังบริเวณที่ใส่ท่อทรวงอก 11. เตรียม Adhesive tape ขนาด 3 หรือ 4 นิ้ว โดยบากบริเวณกึ่งกลางเพื่อปิดให้คลุม gauze และท่อ ระบายทรวงอก การเตรียมขวดท่อระบายทรวงอกแบบขวดเดียว 1. เท Sterile rater ลงในขวด Chest drain ประมาณ 400 ml. 2. น้าชุดต่อท่อระบายทรวงอก สวมบนขวดแก้ว Chest drain โดยให้หลอดแก้วยาวจุ่มลงไปต่้ากว่าระดับ น้้า 2 ซม. เพื่อป้องกันอากาศไหลย้อนเข้าช่องเยื่อหุ้มปอด และใช้สายยางที่ยาวประมาณ 1 เมตร ต่อ เข้ากับหลอดแก้วยาว 3. ใช้พลาสเตอร์เหนียวขนาด 1 นิ้ว พันปิดบริเวณชุดท่อระบายทรวงอกและขวด และข้อต่อต่าง ให้เป็น
  • 15. P a g e | 15 ลักษณะ under water seal drainage 4. ติดพลาสเตอร์ระบุต้าแหน่งที่แสดงระดับน้้าที่ใส่ไว้ และติดพลาสเตอร์ตั้งฉากกับระดับน้้า เพื่อเขียน 5. ปริมาณ Content ที่ออกเพิ่มให้ชัดเจน 6. ตรวจสอบข้อต่อทุกข้อให้เรียบร้อย รูปภาพแสดงการต่อท่อระบายทรวงอกแบบ 1 ขวด 2 ขวด และ 3 ขวด การเจาะช่องเยื่อหุ้มหัวใจ (Pericardiocentesis) ขั้นตอนการปฏิบัติ การช่วยแพทย์ท้า Pericardiocentesis 1. จัดผู้ป่วยให้นอนหงาย และเตรียมบริเวณที่จะท้า Pericardiocentesis ต้าแหน่ง Subxiphoid process บริเวณ Lt .Costal arch 2. เตรียม gauze ชุบน้้ายาฆ่าเชื้อเพื่อท้าความสะอาดผิวหนังบริเวณที่จะท้าPericardiocentesis 3. เตรียมยาชาส้าหรับท้า Local Anesthesia บริเวณที่จะท้า Pericardiocentesis 4. เตรียมผ้าเจาะกลางเพื่อ Drape บริเวณที่จะท้า Pericardiocentesis 5. เตรียม Spinal Needle ต่อกับ Syringe 20ml. ส้าหรับท้า Pericardiocentesis _____________________________________________________
  • 16. P a g e | 16 Fluid management สิ่งส้าคัญในการดูแลผู้ป่วยอุบัติเหตุที่มีภาวะช็อก คือ การตรวจให้พบภาวะช็อกแล้วหาสาเหตุและแก้ไข พร้อมกับให้ Fluid management ซึ่งสาเหตุที่ท้าให้ผู้ป่วยอุบัติเหตุเกิดภาวะซ็อก ได้แก่ Hypovolemic shock, Cardiogenic shock และ Spinal shock ตารางแสดงอาการและอาการแสดงที่เกิดจากการสูญเสียเลือดตามล้าดับปริมาณความรุนแรง (Classification of Shock) แบ่งเป็น 4 ระดับ (ATLS, 2012) Signs Monitored on Initial Presentation Class I Class II Class III Class IV Blood loss (ml) Up to 750 750-1500 1500-2000  2000 Blood loss (%) Up to 15 15-30 30-40 > 40 Pulse rate  100 100-120 120-140  140 Blood Pressure (mmHg) Normal Normal  90/60  70/40 Respiratory Rate (/min) 14-20 20-30 30-40  40 Urine output (ml/hr)  30 20-30 2-15  5 Mental Status Slightly Anxious Mildly Anxious Anxious Confused Confused Lethargic Fluid replacement Crystalloid Crystalloid Crystalloid and blood Crystalloid and blood ประเภทของสารน้้า การให้สารน้้าในระยะแรก แนะน้าให้ใช้ Isotonic crystalloid solutions เป็นสิ่งแรก เพราะสารน้้าเหล่านี้ จะท้าให้เกิดปริมาตรในหลอดเลือดเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว จึงสามารถทดแทนปริมาณเลือดที่เสียไป รวมทั้งเข้าไปสู่ Interstitial และ intravascular space ได้โดยเร็วเช่นกัน โดยมีหลักในการเลือกสารน้้าทดแทน ดังนี้ 1. Crystalloid solutions เป็นสารละลายเกลือแร่ที่มีโมเลกุลขนาดเล็กท้าให้สามารถกระจายไปสู่ช่อง
  • 17. P a g e | 17 ภายในหลอดเลือดได้อย่างรวดเร็ว จึงกระตุ้นให้การ perfusion เกิดได้เร็ว แต่ข้อเสียคือจะกระจายไปสู่ช่อง นอกหลอดเลือดส่วนอื่นด้วย จึงท้าให้เกิด tissue edema (pulmonary edema, bowel edema และ compartment syndrome) สารละลายได้แก่ 1.1 NSS เป็นสารละลายตัวแรกที่ให้ในผู้ป่วยอุบัติเหตุที่มีภาวะช็อก เมื่อสารน้้าเข้าสู่ร่างกายแล้วจะอยู่ ใน intravascular space ก่อนแล้วจึงกระจายออกสู่ interstitial space ในสัดส่วน 3:1 ข้อเสีย คือ  NSS มีโซเดียมและคลอไรด์อย่างละ 154 mEq/L ซึ่งความเข้มข้นของคลอไรด์จะสูงกว่าซีรั่ม ปกติ เมื่อต้องใช้ปริมาณมากจะท้าให้ไตขับออกได้ช้า จนเกิด hyperchloremic metabolic acidosis, dilutional cogulopathy ซึ่งเป็นสาเหตุท้าให้เกิดการหายใจล้มเหลว 1.2 RLS มีส่วนประกอบใกล้เคียงกับสารน้้านอกเซลล์มากที่สุด จากรายงานในการใช้ท้าการกู้ชีพผู้ป่วย เสียเลือดโดยไม่มีความผิดปกติของความเข้มข้นและส่วนประกอบนั้นพบว่าได้ผลดีและอัตราการ เกิด acute tubular necrosis ลดลง นอกจากนี้ lactate จะถูก metabolite ที่ตับเป็น bicarbonate อย่างรวดเร็ว ช่วยลดการเกิด acidosis ดังนั้น crystalloid solution ที่นิยมใช้มาก ที่สุดคือ RLS ข้อเสีย  ราคาแพงกว่า NSS  การใช้ RLS จ้านวนมากในการกู้ชีพเป็นผลให้ oncotic pressure ในหลอดเลือดลดลง ท้าให้ สารน้้ารั่วเข้าไปสู่ช่องว่างระหว่างเซลล์อาจเป็นผลให้เกิดปอดบวมน้้า และการหายใจล้มเหลว ตามมาได้ 1.3 Acetar มี acetate เป็นส่วนประกอบ จะถูก metabolite เป็น bicarbonate ที่ตับและ กล้ามเนื้อ จึงถูกน้ามาใช้ในผู้ป่วยที่มีภาวะผิดปกติ ข้อเสีย  เป็น slightly hypotonic solution จะกระตุ้นให้ไตขับน้้าออกมาก ท้าให้เกิด cellular dehydration และในภาวะ shock การ perfusion ของตับและกล้ามเนื้อไม่ดีท้าให้มีการ คั่งของ acetate ในเลือดท้าให้เกิด vasodilatation 1.4 Hypertonic crystalloid solution ได้แก่ 3% NaCl, 7.5% NaCl มี osmotic pressure ช่วย ดึงน้้าออกจาก interstitial space ลด tissue edema ข้อเสียคือ เกิดภาวะ Hypernatremia, Hypercholoremia, Hypokalemia, Hyperosmolality 2. Colloid solutions เป็นสารละลายที่มีโมเลกุลใหญ่ สามารถอยู่ในหลอดเลือดฝอยได้นานจนเกิด colloid osmotic pressure ช่วยเพิ่ม intravascular volume ท้าให้ interstitial fluid ไหลกลับเข้า มาในหลอดเลือด Crystalloid ได้แก่ Albumin, Gelatin, HES (Hydroxyethyl starch) ข้อเสีย  ราคาแพง  ท้าให้เกิด acute renal failure และ coagulopathy มากขึ้น
  • 18. P a g e | 18  ท้าให้ isonize fraction ของ calcium ลดลง  ลด immune reaction ที่มีต่อ tetanus toxoid 3. Blood substitutes คือเลือดเทียม (artificial blood substitutes) ซึ่งอยู่ในระหว่างการคิดค้น การเปิดเส้นให้สารน้้า อุปกรณ์ 1. IV catheter, IV fluid as prescribed with IV administration set and short extension tubing attached and prime. 2. Tourniquet 3. 2-3 alcohol prep pad or swabsticks, 2-3 povidine iodine pads or swabsticks 4. 2-in x 2-in sterile gauze pad 5. One roll of 1-in, nonallergenic tape 6. Transparent semipermeable dressing 7. Gloves 8. Venous Cut down set ขั้นตอนการปฏิบัติ 1. ประเมินสภาพผิวหนังและต้าแหน่งที่จะให้สารน้้า ควรให้หลอดเลือดด้าที่มีขนาดใหญ่ ท้าให้ได้ง่ายและ รวดเร็ว และควรให้ที่แขน ไม่ควรให้ที่ขา 2. ควรเลือกเข็มที่มีขนาดใหญ่และสั้น ที่เหมาะสมกับขนาดของหลอดเลือดที่ให้ เพราะจะสามารถให้สาร น้้าได้อย่างรวดเร็ว 3. เตรียมสารน้้าให้เหมาะสมของผู้ป่วย 4. ต่อให้ชุดสารน้้ากับขวดสารน้้าโดยเทคนิคปราศจากเชื้อ ไล่อากาศในสายออกให้หมด ข้อบ่งชี้ 1. ไม่ควรให้ IV บริเวณเส้นเลือดที่มีการซอกซ้้า 2. ไม่ควรให้ IV ต่้ากว่าบริเวณที่มีกระดูกหัก การช่วยแพทย์ผ่าเปิดเส้นเลือดด้า (Cut down) ขั้นตอนการปฏิบัติ 1. บอกให้ผู้ป่วยทราบ 2. จัดบริเวณที่ท้า Cut down ให้อยู่ในท่าเหยียดตรง 3. ล้างมือ เปิดชุด Cut down ด้วยเทคนิคปราศจากเชื้อ
  • 19. P a g e | 19 4. เทน้้ายา Butadiene ลงในถ้วย และเท NSS ในถ้วยอีกใบ ใส่ส้าลีและก๊อซปราศจากเชื้อ กระบอกฉีดยา 5, 10 cc. อย่างละ 1 อัน Blade No.11, 15 ลงในถาด 5. เช็ด Alcohol 70% ที่จุกยางขวดยาชา 6. สังเกตอาการและอาการแสดงผิดปกติ ที่อาจเกิดจากการแพ้การฉีดยาชา 7. เปิดซองและใส่สาย Cut down ลงในถาดเครื่องมือ ด้วยเทคนิคปลอดเชื้อ 8. ต่อสาย Cut down กับชุดให้สารน้้าที่เตรียมไว้ด้วยวิธีปราศจากเชื้อและเปิดสารน้้าตามอัตราที่ก้าหนด 9. ปิดแผลด้วยก๊อซปราศจากเชื้อ adhesive plaster, Me fix, แผ่นใสปราศจากเชื้อระวังอย่าให้สายหัก ข้อบ่งชี้ 1. ไม่ควรท้า Cut down บริเวณหลอดเลือดมีการบาดเจ็บ ชอกช้้า 2. ไม่ควรท้า Cut down ต่้ากว่าบริเวณที่มีกระดูกหัก ต้าแหน่งในการให้ Fluid resuscitation 1. Peripheral venous catheter ต้าแหน่งที่ดีที่สุดคือ upper extremities ควรเลือก catheter ที่มี ขนาดใหญ่และสั้น จ้านวน 2 เส้น 2. Venous cutdown ต้าแหน่งที่นิยมให้คือ brachial และ saphenous vein 3. Central venous catheter ต้าแหน่งที่นิยมให้คือ femoral, subclavian และ internal jugular การ ให้ fluid resuscitation ทางนี้มี Complication ที่ส้าคัญคือ hematoma และ pneumothorax 4. Intraosseus catheter สามารถท้าได้เร็วกว่า Central venous catheter และเกิด complication น้อยกว่า แต่ไม่นิยมท้า การเฝ้าระวังภายหลัง Fluid management 1. Rapid response ผู้ป่วยกลุ่มนี้จะตอบสนองอย่างรวดเร็วจากการให้สารน้้าในขนาด bolus และมีชีพจร ความดันโลหิต และปริมาณปัสสาวะกลับมาสู่ระดับปกติ ผู้ป่วยกลุ่มนี้มักเสียเลือดน้อยกว่า 20% 2. Transient response ผู้ป่วยจะตอบสนองต่อการช่วยชีวิตแล้วกลับมามีความดันโลหิตต่้าอีก มักเกิดจากการ ให้สารน้้าน้อยเกินไป หรือยังมีการสูญเสียเลือด อาจต้องตรวจเพิ่มเติม ผู้ป่วยกลุ่มนี้ควรได้รับเลือด 3. No response ผู้ป่วยยังคงมีความดันต่้าตลอดเวลา ในระยะนี้ต้องหาต้าแหน่งเลือดออกให้พบโดยเร็ว ต้องให้ เลือดผู้ป่วยและเข้าผ่าตัดโดยเร็วที่สุด _____________________________________________________