SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
ดนตรี ในแต่ละวัฒนธรรม

ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
           ดนตรี เป็นสิ่งสร้างสรรค์จรรโลงโลก ถือเป็นมรดกของทุกชนชาติ ทุกชาติทุกภาษาย่อมมีดนตรีที่เป็น
เอกลักษณ์ประจาชาตินั้น ๆ บ้างก็เอาไว้ขับกล่อม ไว้ผ่อนคลายความตึงเครียด ไว้เป็นสื่อเป็นตัวแทนในสิ่งต่าง ๆ
ไว้เป็นหน้าเป็นตาของเมืองหรือของชาตินั้น ๆ หรืออาจมีไว้เพื่อ                เป็นการต้อนรับแขกบ้านแขกเมืองก็ได้
ดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมล้วนมีวิวัฒนาการที่สั่งสมมาจากภูมิปัญญาชั้นสูงของบรรพบุรุษ ไม่ว่าจะเป็นดนตรี
พื้นบ้านหรือดนตรีคลาสสิก ล้วนกาเนิดมาจากพื้นฐานทางดนตรีด้วยกันทั้งสิ้น ดังนั้นดนตรีจึงเป็นเหมือนภาษา ๆ
หนึ่งที่สามารถทาให้มนุ ษย์ทุกชนชาติเข้าใจกันและกันได้ และดนตรีสามารถกล่อมเกลาจิตใจของมนุษย์ได้
ไม่ว่าจะเป็นดนตรีของชนชาติใด ๆ ในโลกก็ตาม
           1. ลักษณะเด่นของดนตรีไทยในวัฒนธรรมไทย
           ลักษณะเด่นของดนตรีไทยในวัฒนธรรมไทยมีอยู่หลายด้าน ดังนี้
           1) ด้านเครื่องดนตรี เครื่องดนตรีไทยสามารถแบ่งออกได้ 4 ประเภท ได้แก่
                    (1) เครื่องดีด เช่น จะเข้ กระจับปี่ เป็นต้น
                    (2) เครื่องสี เช่น ซออู้ ซอด้วง ซอสามสาย เป็นต้น
                    (3) เครื่องตี เช่น กรับ ระนาด ฆ้อง ฉิ่ง ฉาบ กลองชนิดต่าง ๆ เป็นต้น
                    (4) เครื่องเป่า เช่น ขลุ่ยเพียงออ ขลุ่ยอู้ ขลุ่ยหลีบ ปี่ชวา ปี่นอก ปี่ใน เป็นต้น
           ลักษณะเด่นของเครื่องดนตรีไทยอาจถูกแบ่งไว้ตามลักษณะเฉพาะเครื่องและแบ่งตามบทบาทหน้าที่
ในการบรรเลง ลักษณะเฉพาะเครื่องก็คือ รูปร่าง ลักษณะ วัสดุที่ใช้ทาเครื่องดนตรี ตลอดจนวิธีทาให้เกิดเสียง
ซึ่งถือว่าเป็นปัจจัยสาคัญเบื้องต้นในการกาหนดลีลาการดาเ นินทานอง ส่วนบทบาทหน้าที่ในการบรรเลงของ
เครื่องดนตรีไทยจะถูกกาหนดไว้ 2 กลุ่ม คือ
                    (1) กลุ่มนา ประกอบด้วยเครื่องดนตรีที่มีเสียงสูงทั้งหมด ทาหน้าที่ในการบรรเลงนาทานอง
เช่น ระนาดเอก ฆ้องวงเล็ก ซอด้วง ขลุ่ยหลีบ เป็นต้น
                    (2) กลุ่มตาม ประกอบด้วยเครื่องดนตรีที่มีเสียงทุ้มต่าทั้งหมด ทาหน้าที่ในการบรรเลงตาม
ทานอง เช่น ระนาดทุ้ม ฆ้องวงใหญ่ ซออู้ เป็นต้น
           2) ด้านวงดนตรี สาหรับวงดนตรีไทยนั้น ถูกแบ่งออกเป็นประเภทต่าง ๆ ตามลักษณะของการบรรเลง
และระเบียบของวิธีการเล่น ในปัจจุบันนั้น มีอยู่ 3 ประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ วงเครื่องสาย วงปี่พาทย์ และวงมโหรี
                    (1) ลักษณะเด่นของวงเครื่องสาย วงเครื่องสายจะมีลีลาในการดาเนินทานอง โดยเฉพาะ
“ซอ” ซึ่งจัดได้ว่าเป็นเอกลักษณ์ที่โดดเด่น ซอมีการเคลื่อนที่ของทานองจากต่าไปสูงและจากสูง ลงมาต่าได้
โดดเด่นกว่าเครื่องบรรเลงทานองชนิดอื่ น เนื่องจากเป็นเครื่องดนตรีที่มี ความกว้างของช่วงเสียงหรือ พิสัยเสียง
(Range) ที่แคบกว่าเครื่องดนตรีชนิดอื่น การเคลื่อนที่ของทานองจึงถูกกาหนดอยู่ในกรอบของระดับเสียงที่จากัด
การเคลื่อนที่ของทานองลักษณะนี้จึงถือเป็นเสน่ห์ เฉพาะตัวของวงดนตรีประเภทนี้ได้ เป็นอย่างดี
                    (2) ลักษณะเด่นของวงปี่พาทย์ ในวงปี่พาทย์ส่วนใหญ่จะประกอบไปด้วยเครื่องดนตรีประเภท
เครื่องตีและค่อนข้างมีเสียงดังเป็นหลัก จะมีเพียงปี่เท่านั้นที่เป็นเครื่องเป่ารวมอยู่ด้วย โดยธรรมชาติของ
การสร้างเสียงสาหรับเครื่องดนตรีประเภทตี คือ เมื่อตี 1 ครั้งจะให้เสียงได้ 1 เสียง ลักษณะดังกล่าวนี้จึงทาให้
วงปี่พาทย์เป็นวงดนตรีที่มีลีลาการบรรเลงแบบเก็บในเพลงประเภททางพื้นได้อย่างโดดเด่น
                     (3) ลักษณะเด่นของวงมโหรี วงมโหรีจัดเป็นวงดนตรีที่มีความหลากหลายและสมบูรณ์ใน
ด้านเสียงมากที่สุด เนื่องจากประกอบไปด้วยเครื่องดนตรีหลักในวงเครื่องสายและวงปี่พาทย์ เพียงแต่ปรับเปลี่ยน

          ั
เรี ยนรู้กบครู อานาจ                                                                                  หน้า 1
ดนตรี ในแต่ละวัฒนธรรม

เพียงบางส่วน คือ จะไม่ใช้ปี่แต่จะใช้ขลุ่ยแทน เนื่องจากขลุ่ยมีเสียงที่กลมกลืน ไปกับเครื่องสาย และใช้ไม้นวมตี
ระนาดเอก เพื่อให้เสียงที่บรรเลงออกมามีความนุ่มนวลและประสานกลมกลืนกัน นอกจากนี้การปรับเปลี่ยนลีลา
การบรรเลงทานองของระนาดเอกซึ่งมีช่วงเสียงที่กว้าง ให้มีความกลมกลืนและใกล้เคียงกับเครื่องสายประเภทซอ
ซึ่งมีช่วงเสียงที่แคบกว่า นับว่าเป็นลีลาและเอกลักษณ์เฉพาะตัวและโดดเด่นของวงดนตรีประเภทนี้
           3) ด้านภาษา เนื้อร้อง ลักษณะภาษาที่ใช้ในเพล งไทยเป็นภาษาที่เป็นมาตรฐานและคาร้อยกรอง
มีความวิจิตรบรรจง หรือใช้ภาษาหนังสือตามแบบแผน เนื้อร้องอาจกล่าวถึงเรื่องราวต่างๆ เช่น เรื่องราวในนิทาน
ชาดก นิทานเกี่ยวกับพุทธประวัติ วรรณคดีลายลักษณ์ของไทย ตลอดจนการพรรณาชมธรรมชาติ ความรัก
ความงามต่าง ๆ เป็นต้น ส่วนการขับร้องจะออกเสียงตรงตามวรรณยุกต์ของภาษามาตรฐานที่เป็นแบบแผน
           4) ด้านสาเนียง สาเนียงของเพลงไทยได้รับอิทธิพลจากต่างชาติมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา จะเห็นได้
จากชื่อเพลงที่ใช้ชื่อตามภาษาเดิม ต่อมาในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ได้มีการปรับปรุงใหม่โดยการนาชื่อชนชาติที่ เป็น
เจ้าของสาเนียงนั้นมาตั้งนาหน้าชื่อเพลง เช่น เพลงลาวเจริญศรี เพลงจีนหลวง เป็นต้น เพลงสาเนียงภาษาต่าง ๆ
เหล่านี้ถูกนามาบรรเลงติดต่อกันเป็นชุด มี 12 ภาษา หรือเรียกอีกชื่อว่า “เพลงออกภาษา” สาเนียงทั้ง 12 ภาษา
นี้ประกอบด้วย ไทย จีน พม่า มอญ ลาว แขก ฝรั่ง มล ายู ญี่ปุ่น ญวน เขมร และเงี้ยว ซึ่งแต่ละสาเนียงจะถูก
หยิบมาเฉพาะที่เป็นเอกลักษณ์ของชนชาตินั้น ๆ ส่วนเพลงไทยเดิมที่เป็นของไทยแท้ ๆ เช่น เพลงเทพทอง เพลง
ต้นวรเชษฐ์ เป็นต้น
           5) ด้านองค์ประกอบบทเพลง เมื่อพิจารณาบทเพลงไทยให้ถ่องแท้จะพบว่า เพลงไทยบางเพลงมี
ความหวานซึ้ง ไพเราะจับใจ ในขณะที่เพลงบ้างเพลงฟังแล้วรู้สึกคึกคักหรือฮึกเหิม ซึ่งบทเพลงต่าง ๆ เหล่านั้น
ต่างก็ให้อรรถรสที่แตกต่างกันออกไป การที่ผู้ฟังดนตรีแล้วก่อเกิดอารมณ์และความรู้สึกเหมือนกันหรือต่างกัน
ออกไปนั้น เกิดได้จากปัจจัยหรือองค์ประกอบของบทเพลงหลายอย่างทั้ ง เนื้อร้อง คนร้อง ทางของเพลง สานวน
การประพันธ์ และอื่น ๆ อีกมากมาย แต่สิ่งที่เป็นพื้นฐานที่เพลงสามารถทาให้ผู้ฟังเข้าถึงอรรถรสได้ดี ก็คือ
ลีลาของเพลง นั่นเอง
           2. ลักษณะเด่นของดนตรีสากลในวัฒนธรรมสากล
           ดนตรีสากลในแต่ละยุคแต่ละสมัยล้วนมีความแตกต่างกันออกไป รู ปแบบของเพลงและเครื่องดนตรีนั้น
ได้ถูกพัฒนามาสู่ปัจจุบัน และเป็นที่นิยมกันแพร่หลายไปทั่วโลก เครื่องดนตรีสากลที่นิยมใช้กันในชนชาติต่าง ๆ
ส่วนใหญ่จะเป็นมาตรฐานเดียวกัน เนื่องจากมีการบันทึกทานองเพลงโดยใช้สัญลักษณ์แบบเดียวกัน คือโน้ตสากล
และยังเป็นบทเพลงสากลทีเป็นมาตรฐานอย่างมากมาย ส่วนภาษา เนื้อร้อง และสาเนียงก็เป็นไปตามเอกลักษณ์
                             ่
ของชนชาติที่ผลิตผลงานออกมา
           ลักษณะเด่นของดนตรีสากลที่โดดเด่นที่สุดคือ การที่ดนตรีสากลมีรากฐานมาจากเพลงศาสนา และมีต้น
กาเนิดมาจากโบสถ์ ทั้งนี้เริ่มใช้ครั้งแรกในพิธีทางศาสนา โดยเริ่มจากคา พูดธรรมดาที่ใช้ประกอบพิธี ในเวลา
ต่อมาจึงได้ประดิษฐ์ให้มีระดับเสียงต่าง ๆ ขึ้น จนกลายเป็นทานองเพลงในที่สุด จึงถือได้ว่าดนตรีตะวันตกมี
ความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับศาสนามาก
           บทเพลงที่เกี่ยวกับศาสนานั้น ได้แต่งขึ้นอย่างถูกหลักเกณฑ์ ตามหลักวิชาการทางดนตรี นอกจากนี้ยั ง
แต่งขึ้นด้วยความต้องการพื้นฐานจากความมุ่งหวังในการก้าวไปสู่ชีวิตที่ดีกว่า ดังนั้นดนตรีสากลจึงถือเป็นมรดก
ทางวัฒนธรรมที่สาคัญของชาวตะวันตก




          ั
เรี ยนรู้กบครู อานาจ                                                                               หน้า 2
ดนตรี ในแต่ละวัฒนธรรม

ปัจจัยในการสร้างสรรค์ผลงานดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
          ในการสร้างสรรค์ผลงานดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมมีปัจจัยในการสร้างสรรค์หลายอย่าง ได้แก่
          1. ความเชื่อกับการสร้างสรรค์งานดนตรี
          วัฒนธรรมความเชื่อที่เกี่ยวข้องกับดนตรีนั้น มีมาตั้งแต่สมัยดึกดาบรรพ์ ซึ่งมีอยู่มากมายหลายอย่าง
บางอย่างยังคงถือปฏิบัติกันอยู่ บางอย่างได้หายไปจ ากสังคมแล้ว เช่น ในอดีตมนุษย์มีความเชื่อว่า เสียงจาก
ธรรมชาติที่ได้ยินนั้น มีอานาจสามารถที่จะบันดาลสิ่งต่าง ๆ ได้ ขณะที่ได้ยินเสียงจากธรรมชาติ จึงพยายามที่จะ
ทาท่าทางประกอบและเลียนแบบเสียงธรรมชาติให้เหมือนจริง นอกจากนี้ยังเชื่อว่าเสียงดนตรีเป็นมนต์วิเศษที่
สามารถขับไล่ภูตผีปีศาจได้ และทาให้นักรบมีอานาจ ดังนั้น ดนตรีจึงกลายเป็นส่วนหนึ่งของพิธีกรรม เป็นต้น
แต่ก็มีบางวัฒนธรรมที่มีความเชื่อทางวัฒนธรรมดนตรีที่แตกต่างกันออกไป ตัวอย่างเช่น
          1) วัฒนธรรมกรีก ชาวกรีกโบราณมีความเชื่อกันว่า ศิลปินที่ขับร้องและบรรเลงดนตรีเพื่ อขับกล่อม
ผู้คนนั้น เรียกว่า “มินสเตริล ” (minstrel) ซึ่งเป็นที่โปรดปรานของพระเจ้า และเปรียบได้กับทูตสวรรค์ โดยทา
หน้าที่เป็นผู้สื่อสารคาสอนของพระเจ้าด้วยการขับร้องและบรรเลงดนตรีประกอบพิธีกรรมต่าง ๆ
          2) วัฒนธรรมยิว ชาวยิวโบราณเชื่อว่า “จูบาล” ผู้เป็นทายาทของอดัม ซึ่งเชื่อกันว่าเป็นมนุษย์คนแรก
ของโลก เป็นผู้สร้างพิณฮาร์ปและออร์แกนขึ้นมาใช้บรรเลงดนตรี
          3) วัฒนธรรมฮินดู ชาวฮินดูเชื่อว่าดนตรีนั้นถูกสร้างขึ้นโดยพระพรหม ส่วนนาฏศิลป์เชื่อกันว่าถูกสร้าง
ขึ้นโดยพระอิศวร และพระภรตฤษีเป็นผู้จดจาท่าราที่เป็นพื้นฐานไว้ แ ล้วใช้สั่งสอนให้มนุษย์นาไปฝึกหัด จดจา
และนาไปแสดง
          4) วัฒนธรรมจีน ชาวจีนเชื่อว่ามาตรฐานเสียงหรือบันไดเสียง (Scale) ของดนตรีจีนได้มาจาก
การเลียนแบบเสียงร้องของนกฟีนิกซ์
          5) วัฒนธรรมลาว ชาวลาวเชื่อว่าแคนซึ่งเป็นเครื่องดนตรีประจาชาติของลาวนั้น สามารถสื่อถึงพระยา
แถนบนฟ้าได้ จึงเปรียบเครื่องดนตรีชนิดนี้ เป็นเสมือนม้าอาชาไนย เพื่อที่จะให้พระยาแถนขี่ และเสด็จมายัง
บริเวณพิธีกรรมที่มีการอันเชิญ
          2. ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรี
          เรื่องของศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีนั้น หากมองในแง่มุมทางโลกกับทางธรรม ในสายตาของ
บุคคลทั่วไปนั้นแทบไม่มีความเกี่ยวข้องกันเลย เพราะศาสนาเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับการละกิเลส ส่วนดนตรีเป็นเรื่อง
ของกิเลส แต่ทั้งนี้เมื่อนาศาสนาสามารถเข้าไปผสมผสานในงานดนตรี ก็ย่อมสามารถกระตุ้นสันชาตญาณ
แห่งความถูกต้องขึ้นแทนความต้องการทางกิเลสได้เช่นกัน เช่น
          1) คริสต์ศ าสนา คริสต์ศาสนานับว่ามีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับดนตรีตะวันตกมาก โดยได้เข้ามามี
บทบาทในยุโรปและมีส่วนสาคัญในการพัฒนาดนตรีตะวันตก บทเพลงทางคริสต์ศาสนาได้ผสมผสานกับเพลง
ศาสนาของกรีกและโรมัน ทาให้เพลงทางศาสนามีลักษณะและท่วงทานองใหม่ ๆ ที่นามาใช้ในพิธีการสมัย
ต้นคริ สต์ศาสนา ศาสนาจึงเป็นบ่อเกิดแห่งเพลง โบสถ์จึงเป็นที่รวบรวมและก่อกาเนิดเพลงศาสนามากมาย
นับตั้งแต่คริสต์ศาสนาเริ่มแพร่หลาย ดนตรีของโลกก็เจริญขึ้นเป็นลาดับจนทุกวันนี้
          2) พุทธศาสนา ดนตรีกับพุทธศาสนามีความสัมพันธ์กันในฐานะที่ดนตรีสามารถเป็นตัวกลางในการสื่อ
ความรู้ความคิดที่เกี่ยวข้องกับพุทธศาสนา นับตั้งแต่สมัยยุคต้นประวัติศาสตร์มาแล้ว ดนตรีก็ล้วนแต่แสดงออกถึง
ความผูกพันกับพุทธศาสนา แม้ปัจจุบันการสร้างสรรค์ผลงานทางดนตรีต่าง ๆ ได้เข้าสู่ยุคของดนตรีสมัยใหม่
แต่ในส่วนของเนื้อหาในบทเพลงนั้นยังถูกกากับหรือเชื่อมโยงด้วยห ลักความจริงทางพุทธศาสนาอยู่เสมอ เช่น
ความรัก โลภ โกรธ หลง ดี ชั่ว ถูก ผิด เป็นต้น ซึ่งสามารถแสดงออกถึงคตินิยมตามแบบพุทธศาสนาอยู่เสมอ
          ั
เรี ยนรู้กบครู อานาจ                                                                              หน้า 3
ดนตรี ในแต่ละวัฒนธรรม

          3. วิถีชีวิตกับการสร้างสรรค์ผลงานดนตรี
          วิถีชีวิตกับการสร้างสรรค์ผลงานดนตรีมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันมาตั้งแต่อดีต เช่น             มนุษย์รู้จักวิธี
การถ่ายทอดความรู้สึกหรือพฤติกรรมพื้นฐานของมนุษย์ เช่น การร้องไห้ การหัวเราะ เป็นต้น มาเป็นภาษาพูด
แล้วนาคาพูดเหล่านั้นมาประดิษฐ์เป็นทานองหรือเสียงสูง ๆ ต่า ๆ และได้นามาร้องบ่อย ๆ เข้าจนเกิดเป็น
บทเพลงต่าง ๆ ขึ้น เช่น เพลงพื้นเมือง เพลงกล่อม เป็นต้น
          นอกจากนั้นในอดีตมนุษย์สามารถใช้เพลงหรือใช้ดนตรีเพื่อการดารงชีวิต เช่น นักล่าสัตว์ใช้ธนูเป็น
อุปกรณ์หรือเครื่องมือในการล่าสัตว์ โดยใช้ปากอมปลายธนูไว้ข้างหนึ่งส่วนอีกข้างหนึ่งจับด้วยมือ แล้วดีดสายธนู
ด้วยมืออีกข้างหนึ่ง ในขณะที่ดีดสายธนูก็จะเปลี่ยนรูป ปากที่อมไปเรื่อย ๆ เพื่อให้เสียงที่เกิดจากการดีดสายธนู
มีเสียงแตกต่างกัน สูงบ้างต่าบ้าง มนุษย์ยุคนั้นเชื่อว่าเสียงที่เกิดขึ้นประดุจมนต์วิเศษ สามารถเรียกกวางหรือสัตว์
ให้ออกมาได้ ทั้งยังสามารถทาให้สัตว์เชื่องอีกด้วย
          นอกจากนั้นเสียงที่เกิดจากการตะโกน การตบมือ การตีเกราะเคาะไม้การกระแทกเท้า เป็นการแสดง
อานาจ และเชื่อว่าเสียงเหล่านี้สามารถรักษาโรค เรียกฝน และทาให้เกิดความเจริญรุ่งเรืองในกลุ่มชนของตนได้
          ที่กล่าวมาแสดงให้ให้เห็นว่า เสียงสูง ๆ ต่า ๆ เหล่านี้คือเสียงดนตรีที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของ
มนุษย์ ต่อม ามนุษย์จึงได้พยายามนาเอาวัสดุเครื่องไม้เครื่องมือที่มีอยู่มาประดิษฐ์เป็นเครื่องประกอบให้เกิด
เสียงดนตรี และกลายเป็นเครื่องดนตรีในปัจจุบันนี้
          4. เทคโนโลยีกับการสร้างสรรค์งานดนตรี
          เมื่อโลกของเรามีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ดนตรีก็มีการพัฒนาตามไปด้วยเช่นกัน โ ดยการประยุกต์ใช้
เทคโนโลยีสมัยใหม่ รวมทั้งมีการนาอุปกรณ์หรือเครื่องไม้เครื่องมือต่าง ๆ เข้ามาช่วยในการสร้างสรรค์ผลงาน
ดนตรี โดยเฉพาะการใช้เทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ (Computer) ซึ่งนับวันจะยิ่งพัฒนาขึ้นเรื่อย ๆ จนทาให้
สามารถเขียนโปรแกรมที่ซับซ้อนต่าง ๆ ได้ ทั้ งนี้ในการใช้คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการสร้างสรรค์บทเพลงหรือ
ผลงานทางดนตรีต่าง ๆ นั้น ทาได้โดยการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ดนตรี (Sequencer) ซึ่งมีการผลิตออกมา
แข่งขันกันอย่างมากมายและมีคุณภาพ เช่น โปรแกรม Sonar, Cakewalk, Nuendo, Logic, และ Cuebase
เป็นต้น ซึ่งโปรแกรมเหล่านี้ สามารถรวบรวมเสียงของเครื่องดนตรีที่มีอยู่ในโลกเกือบทุกเสียงมาใส่ลงในผลงาน
เพลงที่ต้องการได้โดยไม่ต้องอาศัยนักดนตรีอาชีพมาช่วยในการบันทึกเสียงเลย
          โปรแกรมดนตรีต่าง ๆ ที่กล่าวในข้างต้นนี้ สามารถบันทึกเสียงต่าง ๆ ที่ต้องการใช้ด้วยระบบรหัสดิจิตอล
(Digital) และสามารถแปลง สัญญาณดิจิตอล ออกมาได้ในหลาย ๆ รูปแบบ เช่น แปลงออกมาเป็นโน้ต (Note)
คอร์ด (Chord) หรือโน้ตเพลงที่จัดเรียงกันในรูปแบบของสกอร์เพลง (Score) นอกจากนี้ยังสามารถปรับเปลี่ยน
คีย์ (Key) คอร์ด (Chord) ความยาวของเสียง (Duration) รวมไปถึงสามารถปรั บเปลี่ยนจังหวะ (Tempo)
ที่ไม่สม่าเสมอกันให้กลมกลืนกันได้ เป็นต้น ซึ่งการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีในปัจจุบันหรือในอนาคตนั้น
สามารถทาให้ผลงานการสร้างสรรค์ทางดนตรีเปลี่ยนแปลงและมีความแปลกใหม่ ไม่ว่าจะเป็นบทเพลง รูปแบบ
และโครงสร้างเพลงที่แปลกใหม่ หรือส่วนอื่น ๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกับการสร้างสรรค์ทางดนตรีให้เปลี่ยนแปลง
ตามไปด้วย
          อย่างไรก็ตามการที่เราจะสร้างสรรค์ผลงานทางดนตรีจากคอมพิวเตอร์หรือเทคโนโลยีสมัยใหม่ให้ไพเราะ
และเป็นธรรมชาตินั้น ก็ไม่ใช่เรื่องที่ง่ายนัก ถึงแม้จะรู้และเข้าใจวิธีการทางานของเครื่องมือหรือโปร แกรมดนตรี
ทั้งหมด แต่ถ้าเราไม่เคยเล่นดนตรีจริง ๆ ก็ยากที่จะเรียบเรียงให้เหมือนจริงได้ ดังนั้นจึงจาเป็นต้องมี
ความสามารถทางด้านดนตรีมาช่วยเช่นกัน

          ั
เรี ยนรู้กบครู อานาจ                                                                                          หน้า 4

More Related Content

What's hot

เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
panisra
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Kittichai Pinlert
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
primpatcha
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1
Ocean'Funny Haha
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
พัน พัน
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
พัน พัน
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
Naphachol Aon
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
thnaporn999
 

What's hot (20)

เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้น
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1
 
คู่มือฝึกระเบียบแถว
คู่มือฝึกระเบียบแถวคู่มือฝึกระเบียบแถว
คู่มือฝึกระเบียบแถว
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติด
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
สมบัติของคลื่น
สมบัติของคลื่นสมบัติของคลื่น
สมบัติของคลื่น
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 

Similar to ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม

วิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลวิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
อำนาจ ศรีทิม
 
บทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศนบทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศน
peter dontoom
 
การแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมืองการแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมือง
พัน พัน
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2
bmbeam
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9  สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
khomkrit2511
 
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
kruood
 
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
อำนาจ ศรีทิม
 

Similar to ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม (20)

บทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีบทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรี
 
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลวิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
 
บทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศนบทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศน
 
องค์ประกอบดนตรี
องค์ประกอบดนตรีองค์ประกอบดนตรี
องค์ประกอบดนตรี
 
การแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมืองการแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมือง
 
Music drama
Music dramaMusic drama
Music drama
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
 
บทความ วิเคราะห์ เพลง
บทความ   วิเคราะห์ เพลงบทความ   วิเคราะห์ เพลง
บทความ วิเคราะห์ เพลง
 
Elements
ElementsElements
Elements
 
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.doc
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.docหน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.doc
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.doc
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2
 
ความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรีความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรี
 
งานคอมเครื่องดนตรีไทย
งานคอมเครื่องดนตรีไทยงานคอมเครื่องดนตรีไทย
งานคอมเครื่องดนตรีไทย
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9  สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
 
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
 
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
 
สังคีตวิทยา.docx
สังคีตวิทยา.docxสังคีตวิทยา.docx
สังคีตวิทยา.docx
 
ใบความรู้ ดนตรีไทย กศน
ใบความรู้ ดนตรีไทย กศนใบความรู้ ดนตรีไทย กศน
ใบความรู้ ดนตรีไทย กศน
 

More from อำนาจ ศรีทิม

องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
อำนาจ ศรีทิม
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
อำนาจ ศรีทิม
 
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
อำนาจ ศรีทิม
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
อำนาจ ศรีทิม
 
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
อำนาจ ศรีทิม
 
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
อำนาจ ศรีทิม
 
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ินช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
อำนาจ ศรีทิม
 

More from อำนาจ ศรีทิม (20)

ประวัติดนตรีไทย 56
ประวัติดนตรีไทย 56ประวัติดนตรีไทย 56
ประวัติดนตรีไทย 56
 
วงดนตรีไทย ม.2 56
วงดนตรีไทย ม.2 56วงดนตรีไทย ม.2 56
วงดนตรีไทย ม.2 56
 
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
 
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
 
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
 
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
 
บทคัดย่องานวิจัย
บทคัดย่องานวิจัยบทคัดย่องานวิจัย
บทคัดย่องานวิจัย
 
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
 
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
 
ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้
 
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
 
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ินช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
 
การป้องกันอุบัติเหตุ
การป้องกันอุบัติเหตุการป้องกันอุบัติเหตุ
การป้องกันอุบัติเหตุ
 

ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม

  • 1. ดนตรี ในแต่ละวัฒนธรรม ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม ดนตรี เป็นสิ่งสร้างสรรค์จรรโลงโลก ถือเป็นมรดกของทุกชนชาติ ทุกชาติทุกภาษาย่อมมีดนตรีที่เป็น เอกลักษณ์ประจาชาตินั้น ๆ บ้างก็เอาไว้ขับกล่อม ไว้ผ่อนคลายความตึงเครียด ไว้เป็นสื่อเป็นตัวแทนในสิ่งต่าง ๆ ไว้เป็นหน้าเป็นตาของเมืองหรือของชาตินั้น ๆ หรืออาจมีไว้เพื่อ เป็นการต้อนรับแขกบ้านแขกเมืองก็ได้ ดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมล้วนมีวิวัฒนาการที่สั่งสมมาจากภูมิปัญญาชั้นสูงของบรรพบุรุษ ไม่ว่าจะเป็นดนตรี พื้นบ้านหรือดนตรีคลาสสิก ล้วนกาเนิดมาจากพื้นฐานทางดนตรีด้วยกันทั้งสิ้น ดังนั้นดนตรีจึงเป็นเหมือนภาษา ๆ หนึ่งที่สามารถทาให้มนุ ษย์ทุกชนชาติเข้าใจกันและกันได้ และดนตรีสามารถกล่อมเกลาจิตใจของมนุษย์ได้ ไม่ว่าจะเป็นดนตรีของชนชาติใด ๆ ในโลกก็ตาม 1. ลักษณะเด่นของดนตรีไทยในวัฒนธรรมไทย ลักษณะเด่นของดนตรีไทยในวัฒนธรรมไทยมีอยู่หลายด้าน ดังนี้ 1) ด้านเครื่องดนตรี เครื่องดนตรีไทยสามารถแบ่งออกได้ 4 ประเภท ได้แก่ (1) เครื่องดีด เช่น จะเข้ กระจับปี่ เป็นต้น (2) เครื่องสี เช่น ซออู้ ซอด้วง ซอสามสาย เป็นต้น (3) เครื่องตี เช่น กรับ ระนาด ฆ้อง ฉิ่ง ฉาบ กลองชนิดต่าง ๆ เป็นต้น (4) เครื่องเป่า เช่น ขลุ่ยเพียงออ ขลุ่ยอู้ ขลุ่ยหลีบ ปี่ชวา ปี่นอก ปี่ใน เป็นต้น ลักษณะเด่นของเครื่องดนตรีไทยอาจถูกแบ่งไว้ตามลักษณะเฉพาะเครื่องและแบ่งตามบทบาทหน้าที่ ในการบรรเลง ลักษณะเฉพาะเครื่องก็คือ รูปร่าง ลักษณะ วัสดุที่ใช้ทาเครื่องดนตรี ตลอดจนวิธีทาให้เกิดเสียง ซึ่งถือว่าเป็นปัจจัยสาคัญเบื้องต้นในการกาหนดลีลาการดาเ นินทานอง ส่วนบทบาทหน้าที่ในการบรรเลงของ เครื่องดนตรีไทยจะถูกกาหนดไว้ 2 กลุ่ม คือ (1) กลุ่มนา ประกอบด้วยเครื่องดนตรีที่มีเสียงสูงทั้งหมด ทาหน้าที่ในการบรรเลงนาทานอง เช่น ระนาดเอก ฆ้องวงเล็ก ซอด้วง ขลุ่ยหลีบ เป็นต้น (2) กลุ่มตาม ประกอบด้วยเครื่องดนตรีที่มีเสียงทุ้มต่าทั้งหมด ทาหน้าที่ในการบรรเลงตาม ทานอง เช่น ระนาดทุ้ม ฆ้องวงใหญ่ ซออู้ เป็นต้น 2) ด้านวงดนตรี สาหรับวงดนตรีไทยนั้น ถูกแบ่งออกเป็นประเภทต่าง ๆ ตามลักษณะของการบรรเลง และระเบียบของวิธีการเล่น ในปัจจุบันนั้น มีอยู่ 3 ประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ วงเครื่องสาย วงปี่พาทย์ และวงมโหรี (1) ลักษณะเด่นของวงเครื่องสาย วงเครื่องสายจะมีลีลาในการดาเนินทานอง โดยเฉพาะ “ซอ” ซึ่งจัดได้ว่าเป็นเอกลักษณ์ที่โดดเด่น ซอมีการเคลื่อนที่ของทานองจากต่าไปสูงและจากสูง ลงมาต่าได้ โดดเด่นกว่าเครื่องบรรเลงทานองชนิดอื่ น เนื่องจากเป็นเครื่องดนตรีที่มี ความกว้างของช่วงเสียงหรือ พิสัยเสียง (Range) ที่แคบกว่าเครื่องดนตรีชนิดอื่น การเคลื่อนที่ของทานองจึงถูกกาหนดอยู่ในกรอบของระดับเสียงที่จากัด การเคลื่อนที่ของทานองลักษณะนี้จึงถือเป็นเสน่ห์ เฉพาะตัวของวงดนตรีประเภทนี้ได้ เป็นอย่างดี (2) ลักษณะเด่นของวงปี่พาทย์ ในวงปี่พาทย์ส่วนใหญ่จะประกอบไปด้วยเครื่องดนตรีประเภท เครื่องตีและค่อนข้างมีเสียงดังเป็นหลัก จะมีเพียงปี่เท่านั้นที่เป็นเครื่องเป่ารวมอยู่ด้วย โดยธรรมชาติของ การสร้างเสียงสาหรับเครื่องดนตรีประเภทตี คือ เมื่อตี 1 ครั้งจะให้เสียงได้ 1 เสียง ลักษณะดังกล่าวนี้จึงทาให้ วงปี่พาทย์เป็นวงดนตรีที่มีลีลาการบรรเลงแบบเก็บในเพลงประเภททางพื้นได้อย่างโดดเด่น (3) ลักษณะเด่นของวงมโหรี วงมโหรีจัดเป็นวงดนตรีที่มีความหลากหลายและสมบูรณ์ใน ด้านเสียงมากที่สุด เนื่องจากประกอบไปด้วยเครื่องดนตรีหลักในวงเครื่องสายและวงปี่พาทย์ เพียงแต่ปรับเปลี่ยน ั เรี ยนรู้กบครู อานาจ หน้า 1
  • 2. ดนตรี ในแต่ละวัฒนธรรม เพียงบางส่วน คือ จะไม่ใช้ปี่แต่จะใช้ขลุ่ยแทน เนื่องจากขลุ่ยมีเสียงที่กลมกลืน ไปกับเครื่องสาย และใช้ไม้นวมตี ระนาดเอก เพื่อให้เสียงที่บรรเลงออกมามีความนุ่มนวลและประสานกลมกลืนกัน นอกจากนี้การปรับเปลี่ยนลีลา การบรรเลงทานองของระนาดเอกซึ่งมีช่วงเสียงที่กว้าง ให้มีความกลมกลืนและใกล้เคียงกับเครื่องสายประเภทซอ ซึ่งมีช่วงเสียงที่แคบกว่า นับว่าเป็นลีลาและเอกลักษณ์เฉพาะตัวและโดดเด่นของวงดนตรีประเภทนี้ 3) ด้านภาษา เนื้อร้อง ลักษณะภาษาที่ใช้ในเพล งไทยเป็นภาษาที่เป็นมาตรฐานและคาร้อยกรอง มีความวิจิตรบรรจง หรือใช้ภาษาหนังสือตามแบบแผน เนื้อร้องอาจกล่าวถึงเรื่องราวต่างๆ เช่น เรื่องราวในนิทาน ชาดก นิทานเกี่ยวกับพุทธประวัติ วรรณคดีลายลักษณ์ของไทย ตลอดจนการพรรณาชมธรรมชาติ ความรัก ความงามต่าง ๆ เป็นต้น ส่วนการขับร้องจะออกเสียงตรงตามวรรณยุกต์ของภาษามาตรฐานที่เป็นแบบแผน 4) ด้านสาเนียง สาเนียงของเพลงไทยได้รับอิทธิพลจากต่างชาติมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา จะเห็นได้ จากชื่อเพลงที่ใช้ชื่อตามภาษาเดิม ต่อมาในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ได้มีการปรับปรุงใหม่โดยการนาชื่อชนชาติที่ เป็น เจ้าของสาเนียงนั้นมาตั้งนาหน้าชื่อเพลง เช่น เพลงลาวเจริญศรี เพลงจีนหลวง เป็นต้น เพลงสาเนียงภาษาต่าง ๆ เหล่านี้ถูกนามาบรรเลงติดต่อกันเป็นชุด มี 12 ภาษา หรือเรียกอีกชื่อว่า “เพลงออกภาษา” สาเนียงทั้ง 12 ภาษา นี้ประกอบด้วย ไทย จีน พม่า มอญ ลาว แขก ฝรั่ง มล ายู ญี่ปุ่น ญวน เขมร และเงี้ยว ซึ่งแต่ละสาเนียงจะถูก หยิบมาเฉพาะที่เป็นเอกลักษณ์ของชนชาตินั้น ๆ ส่วนเพลงไทยเดิมที่เป็นของไทยแท้ ๆ เช่น เพลงเทพทอง เพลง ต้นวรเชษฐ์ เป็นต้น 5) ด้านองค์ประกอบบทเพลง เมื่อพิจารณาบทเพลงไทยให้ถ่องแท้จะพบว่า เพลงไทยบางเพลงมี ความหวานซึ้ง ไพเราะจับใจ ในขณะที่เพลงบ้างเพลงฟังแล้วรู้สึกคึกคักหรือฮึกเหิม ซึ่งบทเพลงต่าง ๆ เหล่านั้น ต่างก็ให้อรรถรสที่แตกต่างกันออกไป การที่ผู้ฟังดนตรีแล้วก่อเกิดอารมณ์และความรู้สึกเหมือนกันหรือต่างกัน ออกไปนั้น เกิดได้จากปัจจัยหรือองค์ประกอบของบทเพลงหลายอย่างทั้ ง เนื้อร้อง คนร้อง ทางของเพลง สานวน การประพันธ์ และอื่น ๆ อีกมากมาย แต่สิ่งที่เป็นพื้นฐานที่เพลงสามารถทาให้ผู้ฟังเข้าถึงอรรถรสได้ดี ก็คือ ลีลาของเพลง นั่นเอง 2. ลักษณะเด่นของดนตรีสากลในวัฒนธรรมสากล ดนตรีสากลในแต่ละยุคแต่ละสมัยล้วนมีความแตกต่างกันออกไป รู ปแบบของเพลงและเครื่องดนตรีนั้น ได้ถูกพัฒนามาสู่ปัจจุบัน และเป็นที่นิยมกันแพร่หลายไปทั่วโลก เครื่องดนตรีสากลที่นิยมใช้กันในชนชาติต่าง ๆ ส่วนใหญ่จะเป็นมาตรฐานเดียวกัน เนื่องจากมีการบันทึกทานองเพลงโดยใช้สัญลักษณ์แบบเดียวกัน คือโน้ตสากล และยังเป็นบทเพลงสากลทีเป็นมาตรฐานอย่างมากมาย ส่วนภาษา เนื้อร้อง และสาเนียงก็เป็นไปตามเอกลักษณ์ ่ ของชนชาติที่ผลิตผลงานออกมา ลักษณะเด่นของดนตรีสากลที่โดดเด่นที่สุดคือ การที่ดนตรีสากลมีรากฐานมาจากเพลงศาสนา และมีต้น กาเนิดมาจากโบสถ์ ทั้งนี้เริ่มใช้ครั้งแรกในพิธีทางศาสนา โดยเริ่มจากคา พูดธรรมดาที่ใช้ประกอบพิธี ในเวลา ต่อมาจึงได้ประดิษฐ์ให้มีระดับเสียงต่าง ๆ ขึ้น จนกลายเป็นทานองเพลงในที่สุด จึงถือได้ว่าดนตรีตะวันตกมี ความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับศาสนามาก บทเพลงที่เกี่ยวกับศาสนานั้น ได้แต่งขึ้นอย่างถูกหลักเกณฑ์ ตามหลักวิชาการทางดนตรี นอกจากนี้ยั ง แต่งขึ้นด้วยความต้องการพื้นฐานจากความมุ่งหวังในการก้าวไปสู่ชีวิตที่ดีกว่า ดังนั้นดนตรีสากลจึงถือเป็นมรดก ทางวัฒนธรรมที่สาคัญของชาวตะวันตก ั เรี ยนรู้กบครู อานาจ หน้า 2
  • 3. ดนตรี ในแต่ละวัฒนธรรม ปัจจัยในการสร้างสรรค์ผลงานดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม ในการสร้างสรรค์ผลงานดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมมีปัจจัยในการสร้างสรรค์หลายอย่าง ได้แก่ 1. ความเชื่อกับการสร้างสรรค์งานดนตรี วัฒนธรรมความเชื่อที่เกี่ยวข้องกับดนตรีนั้น มีมาตั้งแต่สมัยดึกดาบรรพ์ ซึ่งมีอยู่มากมายหลายอย่าง บางอย่างยังคงถือปฏิบัติกันอยู่ บางอย่างได้หายไปจ ากสังคมแล้ว เช่น ในอดีตมนุษย์มีความเชื่อว่า เสียงจาก ธรรมชาติที่ได้ยินนั้น มีอานาจสามารถที่จะบันดาลสิ่งต่าง ๆ ได้ ขณะที่ได้ยินเสียงจากธรรมชาติ จึงพยายามที่จะ ทาท่าทางประกอบและเลียนแบบเสียงธรรมชาติให้เหมือนจริง นอกจากนี้ยังเชื่อว่าเสียงดนตรีเป็นมนต์วิเศษที่ สามารถขับไล่ภูตผีปีศาจได้ และทาให้นักรบมีอานาจ ดังนั้น ดนตรีจึงกลายเป็นส่วนหนึ่งของพิธีกรรม เป็นต้น แต่ก็มีบางวัฒนธรรมที่มีความเชื่อทางวัฒนธรรมดนตรีที่แตกต่างกันออกไป ตัวอย่างเช่น 1) วัฒนธรรมกรีก ชาวกรีกโบราณมีความเชื่อกันว่า ศิลปินที่ขับร้องและบรรเลงดนตรีเพื่ อขับกล่อม ผู้คนนั้น เรียกว่า “มินสเตริล ” (minstrel) ซึ่งเป็นที่โปรดปรานของพระเจ้า และเปรียบได้กับทูตสวรรค์ โดยทา หน้าที่เป็นผู้สื่อสารคาสอนของพระเจ้าด้วยการขับร้องและบรรเลงดนตรีประกอบพิธีกรรมต่าง ๆ 2) วัฒนธรรมยิว ชาวยิวโบราณเชื่อว่า “จูบาล” ผู้เป็นทายาทของอดัม ซึ่งเชื่อกันว่าเป็นมนุษย์คนแรก ของโลก เป็นผู้สร้างพิณฮาร์ปและออร์แกนขึ้นมาใช้บรรเลงดนตรี 3) วัฒนธรรมฮินดู ชาวฮินดูเชื่อว่าดนตรีนั้นถูกสร้างขึ้นโดยพระพรหม ส่วนนาฏศิลป์เชื่อกันว่าถูกสร้าง ขึ้นโดยพระอิศวร และพระภรตฤษีเป็นผู้จดจาท่าราที่เป็นพื้นฐานไว้ แ ล้วใช้สั่งสอนให้มนุษย์นาไปฝึกหัด จดจา และนาไปแสดง 4) วัฒนธรรมจีน ชาวจีนเชื่อว่ามาตรฐานเสียงหรือบันไดเสียง (Scale) ของดนตรีจีนได้มาจาก การเลียนแบบเสียงร้องของนกฟีนิกซ์ 5) วัฒนธรรมลาว ชาวลาวเชื่อว่าแคนซึ่งเป็นเครื่องดนตรีประจาชาติของลาวนั้น สามารถสื่อถึงพระยา แถนบนฟ้าได้ จึงเปรียบเครื่องดนตรีชนิดนี้ เป็นเสมือนม้าอาชาไนย เพื่อที่จะให้พระยาแถนขี่ และเสด็จมายัง บริเวณพิธีกรรมที่มีการอันเชิญ 2. ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรี เรื่องของศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีนั้น หากมองในแง่มุมทางโลกกับทางธรรม ในสายตาของ บุคคลทั่วไปนั้นแทบไม่มีความเกี่ยวข้องกันเลย เพราะศาสนาเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับการละกิเลส ส่วนดนตรีเป็นเรื่อง ของกิเลส แต่ทั้งนี้เมื่อนาศาสนาสามารถเข้าไปผสมผสานในงานดนตรี ก็ย่อมสามารถกระตุ้นสันชาตญาณ แห่งความถูกต้องขึ้นแทนความต้องการทางกิเลสได้เช่นกัน เช่น 1) คริสต์ศ าสนา คริสต์ศาสนานับว่ามีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับดนตรีตะวันตกมาก โดยได้เข้ามามี บทบาทในยุโรปและมีส่วนสาคัญในการพัฒนาดนตรีตะวันตก บทเพลงทางคริสต์ศาสนาได้ผสมผสานกับเพลง ศาสนาของกรีกและโรมัน ทาให้เพลงทางศาสนามีลักษณะและท่วงทานองใหม่ ๆ ที่นามาใช้ในพิธีการสมัย ต้นคริ สต์ศาสนา ศาสนาจึงเป็นบ่อเกิดแห่งเพลง โบสถ์จึงเป็นที่รวบรวมและก่อกาเนิดเพลงศาสนามากมาย นับตั้งแต่คริสต์ศาสนาเริ่มแพร่หลาย ดนตรีของโลกก็เจริญขึ้นเป็นลาดับจนทุกวันนี้ 2) พุทธศาสนา ดนตรีกับพุทธศาสนามีความสัมพันธ์กันในฐานะที่ดนตรีสามารถเป็นตัวกลางในการสื่อ ความรู้ความคิดที่เกี่ยวข้องกับพุทธศาสนา นับตั้งแต่สมัยยุคต้นประวัติศาสตร์มาแล้ว ดนตรีก็ล้วนแต่แสดงออกถึง ความผูกพันกับพุทธศาสนา แม้ปัจจุบันการสร้างสรรค์ผลงานทางดนตรีต่าง ๆ ได้เข้าสู่ยุคของดนตรีสมัยใหม่ แต่ในส่วนของเนื้อหาในบทเพลงนั้นยังถูกกากับหรือเชื่อมโยงด้วยห ลักความจริงทางพุทธศาสนาอยู่เสมอ เช่น ความรัก โลภ โกรธ หลง ดี ชั่ว ถูก ผิด เป็นต้น ซึ่งสามารถแสดงออกถึงคตินิยมตามแบบพุทธศาสนาอยู่เสมอ ั เรี ยนรู้กบครู อานาจ หน้า 3
  • 4. ดนตรี ในแต่ละวัฒนธรรม 3. วิถีชีวิตกับการสร้างสรรค์ผลงานดนตรี วิถีชีวิตกับการสร้างสรรค์ผลงานดนตรีมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันมาตั้งแต่อดีต เช่น มนุษย์รู้จักวิธี การถ่ายทอดความรู้สึกหรือพฤติกรรมพื้นฐานของมนุษย์ เช่น การร้องไห้ การหัวเราะ เป็นต้น มาเป็นภาษาพูด แล้วนาคาพูดเหล่านั้นมาประดิษฐ์เป็นทานองหรือเสียงสูง ๆ ต่า ๆ และได้นามาร้องบ่อย ๆ เข้าจนเกิดเป็น บทเพลงต่าง ๆ ขึ้น เช่น เพลงพื้นเมือง เพลงกล่อม เป็นต้น นอกจากนั้นในอดีตมนุษย์สามารถใช้เพลงหรือใช้ดนตรีเพื่อการดารงชีวิต เช่น นักล่าสัตว์ใช้ธนูเป็น อุปกรณ์หรือเครื่องมือในการล่าสัตว์ โดยใช้ปากอมปลายธนูไว้ข้างหนึ่งส่วนอีกข้างหนึ่งจับด้วยมือ แล้วดีดสายธนู ด้วยมืออีกข้างหนึ่ง ในขณะที่ดีดสายธนูก็จะเปลี่ยนรูป ปากที่อมไปเรื่อย ๆ เพื่อให้เสียงที่เกิดจากการดีดสายธนู มีเสียงแตกต่างกัน สูงบ้างต่าบ้าง มนุษย์ยุคนั้นเชื่อว่าเสียงที่เกิดขึ้นประดุจมนต์วิเศษ สามารถเรียกกวางหรือสัตว์ ให้ออกมาได้ ทั้งยังสามารถทาให้สัตว์เชื่องอีกด้วย นอกจากนั้นเสียงที่เกิดจากการตะโกน การตบมือ การตีเกราะเคาะไม้การกระแทกเท้า เป็นการแสดง อานาจ และเชื่อว่าเสียงเหล่านี้สามารถรักษาโรค เรียกฝน และทาให้เกิดความเจริญรุ่งเรืองในกลุ่มชนของตนได้ ที่กล่าวมาแสดงให้ให้เห็นว่า เสียงสูง ๆ ต่า ๆ เหล่านี้คือเสียงดนตรีที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของ มนุษย์ ต่อม ามนุษย์จึงได้พยายามนาเอาวัสดุเครื่องไม้เครื่องมือที่มีอยู่มาประดิษฐ์เป็นเครื่องประกอบให้เกิด เสียงดนตรี และกลายเป็นเครื่องดนตรีในปัจจุบันนี้ 4. เทคโนโลยีกับการสร้างสรรค์งานดนตรี เมื่อโลกของเรามีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ดนตรีก็มีการพัฒนาตามไปด้วยเช่นกัน โ ดยการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีสมัยใหม่ รวมทั้งมีการนาอุปกรณ์หรือเครื่องไม้เครื่องมือต่าง ๆ เข้ามาช่วยในการสร้างสรรค์ผลงาน ดนตรี โดยเฉพาะการใช้เทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ (Computer) ซึ่งนับวันจะยิ่งพัฒนาขึ้นเรื่อย ๆ จนทาให้ สามารถเขียนโปรแกรมที่ซับซ้อนต่าง ๆ ได้ ทั้ งนี้ในการใช้คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการสร้างสรรค์บทเพลงหรือ ผลงานทางดนตรีต่าง ๆ นั้น ทาได้โดยการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ดนตรี (Sequencer) ซึ่งมีการผลิตออกมา แข่งขันกันอย่างมากมายและมีคุณภาพ เช่น โปรแกรม Sonar, Cakewalk, Nuendo, Logic, และ Cuebase เป็นต้น ซึ่งโปรแกรมเหล่านี้ สามารถรวบรวมเสียงของเครื่องดนตรีที่มีอยู่ในโลกเกือบทุกเสียงมาใส่ลงในผลงาน เพลงที่ต้องการได้โดยไม่ต้องอาศัยนักดนตรีอาชีพมาช่วยในการบันทึกเสียงเลย โปรแกรมดนตรีต่าง ๆ ที่กล่าวในข้างต้นนี้ สามารถบันทึกเสียงต่าง ๆ ที่ต้องการใช้ด้วยระบบรหัสดิจิตอล (Digital) และสามารถแปลง สัญญาณดิจิตอล ออกมาได้ในหลาย ๆ รูปแบบ เช่น แปลงออกมาเป็นโน้ต (Note) คอร์ด (Chord) หรือโน้ตเพลงที่จัดเรียงกันในรูปแบบของสกอร์เพลง (Score) นอกจากนี้ยังสามารถปรับเปลี่ยน คีย์ (Key) คอร์ด (Chord) ความยาวของเสียง (Duration) รวมไปถึงสามารถปรั บเปลี่ยนจังหวะ (Tempo) ที่ไม่สม่าเสมอกันให้กลมกลืนกันได้ เป็นต้น ซึ่งการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีในปัจจุบันหรือในอนาคตนั้น สามารถทาให้ผลงานการสร้างสรรค์ทางดนตรีเปลี่ยนแปลงและมีความแปลกใหม่ ไม่ว่าจะเป็นบทเพลง รูปแบบ และโครงสร้างเพลงที่แปลกใหม่ หรือส่วนอื่น ๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกับการสร้างสรรค์ทางดนตรีให้เปลี่ยนแปลง ตามไปด้วย อย่างไรก็ตามการที่เราจะสร้างสรรค์ผลงานทางดนตรีจากคอมพิวเตอร์หรือเทคโนโลยีสมัยใหม่ให้ไพเราะ และเป็นธรรมชาตินั้น ก็ไม่ใช่เรื่องที่ง่ายนัก ถึงแม้จะรู้และเข้าใจวิธีการทางานของเครื่องมือหรือโปร แกรมดนตรี ทั้งหมด แต่ถ้าเราไม่เคยเล่นดนตรีจริง ๆ ก็ยากที่จะเรียบเรียงให้เหมือนจริงได้ ดังนั้นจึงจาเป็นต้องมี ความสามารถทางด้านดนตรีมาช่วยเช่นกัน ั เรี ยนรู้กบครู อานาจ หน้า 4