SlideShare a Scribd company logo
1 of 92
Download to read offline
คู่มอการฝึ ก
                                         ื
                                        ว่ าด้ วย
                                 แบบฝึ กบุคคลท่ าอาวุธ
                                 คฝ.๗-๕ พ.ศ.๒๕๔๔
บทที๑ - กล่ าวทัวไป                                       ๑
บทที ๒ - การฝึ กบุคคลท่ าอาวุธ                             ๕
       - ท่ าเรียบอาวุธ                                    ๕
       - ท่ าพัก                                           ๖
       - ท่ าหันอยู่กบที
                     ั                                   ๑๐
       - ท่ าคอนอาวุธ                                    ๑๔
       - ท่ าเฉียงอาวุธ                                  ๑๕
       - ท่ าอาวุธพร้ อม                                 ๑๙
       - ท่ าสะพายอาวุธ                                  ๒๐
       - ท่ าสะพายขวาง                                   ๒๕
       - ท่ าแบกอาวุธ                                    ๒๘
       - ท่ าเดิน                                         ๓๑
       - ท่ าเคารพ                                        ๓๙
       - ท่ าตรวจอาวุธ                                   ๔๗
       - ท่ ารวมอาวุธ                                     ๖๘
       - ท่ าติดดาบปลดดาบ                                 ๗๔
       - ท่ าถอดหมวกสวมหมวก                               ๗๙
       - ท่ าหมอบและลุก                                   ๘๓
บทที ๓ - การฝึ กแถวชิ ด                                   ๘๘
- ๑ -

                                         บทที ๑
                                        กล่าวทัวไป
๑. กล่าวนํา
    ๑.๑ บุคคลพลเรือนซึงเข้ารับราชการทหารในโอกาสเริมแรกนัน ไม่ว่าจะเข้ามารับราชการใน
ฐานะเข้ารับราชการตามพระราชบัญญัตรบราชการทหาร เข้ารับราชการเป็ นนักเรียนนายสิบ เข้ารับ
                                     ิั
ราชการเป็ นนักเรียนนายทหาร หรือสมัครเข้ารับราชการในอัตราทหารซึงทางราชการจะต้องแต่งตัง
ยศทหารให้กตาม จําเป็ นจะต้องได้รบการฝึกท่าบุคคลท่าเบืองต้นก่อนเสมอ เพือประสงค์จะฝึกให้
            ็                      ั
บุคคล พลเรือนเหล่านีมีบุคคลิกลักษณะเป็ นทหารโดยสมบูรณ์ และให้มความรอบรูในลักษณะท่าทาง
                                                                  ี         ้
ส่วนบุคคล ซึงมีความจําเป็ นจะต้องนําไปใช้ในการปฏิบตตนในเรืองเกียวกับวินยและแบบธรรมเนียม
                                                   ั ิ                   ั
ของทหารตลอดเวลาทีรับราชการทหาร
    ๑.๒ การฝึกบุคคลท่าเบืองต้น จึงถือได้ว่าเป็ นการฝึกเริมแรกทีมีความสําคัญอย่างยิงต่อการเข้า
รับราชการ เนืองจากการฝึกนีจะเป็ นเครืองช่วยปูพนฐานบุคคลพลเรือนให้เปลียนลักษณะท่าทางเป็ น
                                                ื
ทหารได้โดยสมบูรณ์ในโอกาสต่อไป
๒. ความมุ่งหมาย
    คู่มอการฝึกเล่มนีกําหนดขึนโดยมีความมุงหมายเพือให้หน่ วยทหาร หรือผูทมีหน้าทีรับผิดชอบใน
        ื                                ่                            ้ ี
การฝึกท่าเบืองต้นให้กบบุคคลประเภทต่าง ๆ ดังกล่าวข้างต้น ได้นําไปใช้เป็ นแบบฉบับในการฝึก
                      ั
บุคคลท่าอาวุธให้เป็ นมาตรฐานอันเดียวกัน เพือปรับลักษณะท่าทางของบุคคลพลเรือนให้เป็ นทหาร
โดยสมบูรณ์
๓. ขอบเขต
    คู่มอการฝึกเล่มนีจะกล่าวถึงการฝึกบุคคลท่าอาวุธ สําหรับ ปลย.เอ็ม.๑๖ และ ปลย.๑๑ ซึง
        ื
ครอบคลุมท่าทีสําคัญ ๆ และเป็ นท่าหลัก ๆ อันได้แก่ ท่าเรียบอาวุธ, ท่าหัน, ท่าคอนอาวุธ, ท่าเฉียง
อาวุธ, ท่าอาวุธพร้อม, ท่าสะพายอาวุธ, ท่าสะพายขวาง, ท่าแบกอาวุธ, ท่าเดิน, ท่าเคารพ, ท่าตรวจ
อาวุธ, ท่ารวมอาวุธ, ท่าติดดาบและปลดดาบ, ท่าถอดหมวกและสวมหมวก, ท่าหมอบและลุก และ
รวมถึงการฝึกแถวชิดด้วย
๔. การบรรลุผล
    เพือให้การฝึกบรรลุความมุงหมายดังกล่าวข้างต้น ผูบงคับบัญชาทุกระดับชัน ตลอดจนผูมหน้าที
                             ่                     ้ ั                                   ้ ี
ฝึกทุกนาย จะต้องคอยกวดขันและหมันดูแลการฝึกให้ดาเนินไปด้วยดีทสุด โดยจะต้องพยายามคิด
                                                    ํ              ี
ค้นหาวิธฝึกและใช้อุบายในการฝึกอย่างประณีต รอบคอบ เอาใจใส่ และเมือพบข้อบกพร่องทีเกิดขึน
         ี
จากการฝึกจะต้องจัดการแก้ไขทันที
๕. การนําไปใช้
    ๕.๑ ผูฝึกจะต้องใช้ดุลพินิจในการกําหนดวิธการฝึก เพือให้เหมาะสมกับ จํานวนผูรบการฝึก
            ้                               ี                                         ้ั
จํานวนเครืองช่วยฝึก ครูฝึกและผูช่วยครูฝึกทีมีอยู่ ทังนีเพือเป็ นการป้องกันไม่ให้ผรบการฝึกต้อง
                                 ้                                               ู้ ั


                                                                                            ๑
- ๒ -

รอคอยการฝึก อันเนืองจากความจํากัดของเครืองช่วยฝึก นอกจากนันเพือให้สามารถกํากับดูแล
การปฏิบตของครูฝึกและผูช่วยครูฝึกได้อย่างใกล้ชดมิให้ทาการฝึกไปในทางผิด ๆ จากทีกําหนดไว้ใน
           ั ิ            ้                      ิ       ํ
แบบฝึก
    ๕.๒ เนืองจากท่าอาวุธของ ปลย. เอ็ม.๑๖ และ ปลย.๑๑ มีท่าอาวุธทีเหมือนกันเป็ นส่วนใหญ่
และมีขอแตกต่างกันเฉพาะเป็ นบางท่าซึงมีเป็ นส่วนน้อยเท่านัน
         ้                                                         จึงได้รวมคู่มอการฝึกไว้เป็ นเล่ม
                                                                                ื
เดียวกัน ดังนันขอให้ผใช้ค่มอได้ทาความเข้าใจเสียก่อนว่าท่าใดก็ตามทีในคู่มอมิได้บ่งว่าเป็ นท่าอาวุธ
                       ู้ ู ื     ํ                                        ื
ของอาวุธใด ให้เข้าใจว่าเป็ นท่าอาวุธทีนําไปใช้ได้ทงผูทถือ ปลย. เอ็ม.๑๖ และ ปลย.๑๑ และท่าใด
                                                   ั ้ ี
ที คู่มอบ่งว่า “ใช้เฉพาะ” กับอาวุธใด ก็ให้นําไปใช้กบอาวุธชนิดนันเท่านัน
       ื                                            ั
๖. การปรับปรุงแก้ไข
    หากผูใช้ค่มอเล่มนีประสงค์ทจะให้ขอเสนอแนะในการเปลียนแปลงแก้ไข หรือให้ขอคิดเห็นต่าง ๆ
          ้ ู ื               ี     ้                                      ้
เพือปรับปรุงคู่มอให้ดขนย่อมกระทําได้ ข้อคิดเห็นต่าง ๆ ทีเสนอจะให้เปลียนแปลงเหล่านี ควรจะ
                ื     ี ึ
บ่งหน้า ข้อ และบรรทัด ทีปรากฎในคู่มอด้วย และควรให้เหตุผลประกอบเพือให้เกิดความเข้าใจ
                                         ื
อย่างชัดเจน และสามารถนํามาเป็ นข้อมูลประกอบการพิจารณาได้อย่างสมบูรณ์ ข้อคิดเห็นเหล่านี
ขอให้ส่งตรงไปยังแผนกการฝึก กองวิทยาการ ศูนย์การทหารราบ ค่ายธนะรัชต์ อําเภอปราณบุร ี
จังหวัดประจวบคีรขนธ์ ๗๗๑๖๐
                  ี ั
๗. คําแนะนําในการใช้คาบอก ํ
     เพือให้ผมหน้าทีในการฝึกได้มความเข้าใจ และสามารถใช้คาบอกตามทีกําหนดไว้ในคู่มอเล่มนี
             ู้ ี               ี                           ํ                         ื
เพือสังการปฏิบตท่าต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง ไม่สบสน และเป็ นไปในแนวทางเดียวกัน จึงแนะนําให้
                  ั ิ                         ั
ผูใช้ค่มอได้ทราบถึงรายละเอียดเกียวกับการใช้คาบอก ดังต่อไปนี
  ้ ู ื                                     ํ
     ๗.๑ ประเภทคําบอก คําบอกทีกําหนดไว้ในคู่มอเล่มนีแบ่งออกเป็ น ๔ ประเภท คือ
                                                ื
          ๗.๑.๑ คําบอกแบ่ง
          ๗.๑.๒ คําบอกเป็ นคํา ๆ
          ๗.๑.๓ คําบอกรวด
          ๗.๑.๔ คําบอกผสม
     ๗.๒ การใช้คาบอก ลักษณะทีต่างกันของคําบอกประเภทต่าง ๆ จะเป็ นเครืองบ่งให้ทราบถึง
                        ํ
ลักษณะการปฏิบตของท่านัน ๆ
                    ั ิ              แนวทางในการใช้นําเสียงเพือสังการและเขียนไว้ให้เห็นความ
แตกต่างกันอย่างเด่นชัด โดยการแสดงเครืองหมายไว้




                                                                                                ๒
- ๓ -

         ๗.๒.๑ คําบอกแบ่ง (รูปที ๑)

                                                          หัน
                                 ขวา

                             รูปที ๑ แสดงการบอก คําบอกแบ่ง

      เป็ นคําบอกทีใช้เพือออกคําสังสําหรับท่าฝึกทีส่วนใหญ่ มักจะกําหนดไว้ให้ปฏิบตเป็ นจังหวะ ๆ
                                                                                ั ิ
ได้ ( หรือจังหวะเดียว ) คําบอกแบ่งนีผูให้คาบอกจะต้องเปล่งเสียงบอกในคําแรกด้วยการลากเสียง
                                         ้ ํ
ค่อนข้างยาว แล้วเว้นจังหวะไว้เล็กน้อยก่อนทีจะเปล่งเสียงบอกในคําหลัง การเปล่งเสียงบอกในคํา
หลัง ต้องเน้นเสียงให้หนักแน่ นและสัน การเขียนคําบอกชนิดนีจะแสดงไว้ให้เห็นโดยใช้เครืองหมาย -
คันกลางไว้ระหว่างคําบอก คําหน้า และคําหลัง ตัวอย่างเช่น “ขวา - หัน” เป็ นต้น
           ๗.๒.๒ คําบอกเป็ นคํา ๆ (รูปที ๒)

                                 ตาม         พัก
                               ระเบียบ

                          รูปที ๒ แสดงการบอก คําบอกเป็ นคํา ๆ

        เป็ นคําบอกทีใช้เพือออกคําสังสําหรับท่าฝึกทีส่วนใหญ่แล้ว มักจะไม่กําหนดให้ปฏิบตแบ่งเป็ น
                                                                                      ั ิ
จังหวะไว้ (แต่สามารถแบ่งการปฏิบตออกเป็ นตอน ๆ ได้) และจําเป็ นต้องใช้คาบอกยืดยาวซึงอาจจะ
                                   ั ิ                                      ํ
มีหลายพยางค์กได้ จึงจําเป็ นต้องเว้นจังหวะการบอกไว้เป็ นตอน ๆ หรือ คํา ๆ คําบอกเป็ นคํา ๆ นี
                 ็
ผูให้คาบอกจะต้องเปล่งเสียงบอกทังในคําแรกและคําหลังด้วยการวางนําหนักเสียงไว้เท่า ๆ กัน โดย
  ้ ํ
เว้นจังหวะระหว่างคําไว้เล็กน้อย และไม่ตองลากเสียงยาวในคําแรกและเน้นหนักในคําหลังเหมือน
                                             ้
คําบอกแบ่ง การเขียนคําบอกชนิดนีจะแสดงไว้ให้เห็นโดยการใช้เครืองหมาย, คันกลางไว้ระหว่าง
คําบอกคําหน้าและคําหลัง ตัวอย่างเช่น “ตามระเบียบ, พัก” เป็ นต้น
        ๗.๒.๓ คําบอกรวด (รูปที ๓)

                                ถอด
                                หมวก

                             รูปที ๓ แสดงการบอก คําบอกรวด




                                                                                              ๓
- ๔ -

         เป็ นคําบอกทีใช้เพือออกคําสังสําหรับท่าฝึกทีส่วนใหญ่แล้ว มักจะไม่กําหนดให้แบ่งการปฏิบติ
                                                                                              ั
ไว้เป็ นจังหวะ (แต่สามารถแบ่งการฝึกออกเป็ นตอน ๆ ได้) และเป็ นคําบอกทีไม่ยดยาวหรือมีหลาย
                                                                                ื
พยางค์ จึงไม่มความจําเป็ นต้องเว้นจังหวะการบอกไว้เป็ นตอน ๆ หรือ คํา ๆ คําบอกรวดนีไม่ว่าจะมี
                  ี
กีพยางค์กตาม ผูให้คาบอกจะต้องบอกรวดเดียวจบโดยวางนําหนักเสียงเป็ นระดับเดียวกัน การเขียน
             ็      ้ ํ
คําบอกชนิดนีจะแสดงไว้ให้เห็นโดยเขียนเป็ นคําติดต่อกันทังหมด ไม่ใช้เครืองหมายใด ๆ ทังสิน
ตัวอย่างเช่น “ถอดหมวก” หรือ “ติดดาบ” เป็ นต้น
         ๗.๒.๔ คําบอกผสม (รูปที ๔)

                                                                ทํา
                         ทางขวา       แลขวา

        เป็ นคําบอกทีมีลกษณะคล้ายคําบอกเป็ นคํา ๆ จะผิดกันก็ตรงทีคําบอกในคําหลังจะเป็ นคํา
                        ั
บอกแบ่ง ดังนันคําบอกประเภทนีจึงเป็ นคําบอกทีใช้เพือออกคําสังสําหรับท่าฝึกทีส่วนใหญ่ มักจะ
กําหนดให้ปฏิบตแบ่งเป็ นจังหวะ ๆ ได้ตามลักษณะของคําบอกแบ่งทีผสมอยูในคําหลังของคําบอก
                 ั ิ                                                     ่
ผสมนีเป็ นหลัก คําบอกผสมนี ผูให้คาบอกจะต้องเปล่งเสียงในคําบอกช่วงแรกเช่นเดียวกับคําบอก
                                  ้ ํ
เป็ นคํา ๆ คือ วางนําหนักเสียงไว้เท่า ๆ กัน ส่วนการเปล่งเสียงในคําช่วงหลัง ก็คงเปล่งเสียงใน
ลักษณะเดียวกันกับคําบอกแบ่ง คือเปล่งเสียงบอกในคําแรกด้วยการลากเสียงค่อนข้างยาว และเว้น
จังหวะไว้เล็กน้อยก่อนทีจะเปล่งเสียงบอกในคําหลังด้วยการเน้นเสียงให้หนักและสัน การเขียนคํา
บอกชนิดนีจะแสดงไว้ให้เห็นโดยใช้เครืองหมาย , คันกลางไว้ระหว่างคําบอกช่วงแรกและช่วงหลัง
ส่วนคําบอกในช่วงหลัง คงใช้เครืองหมายเช่นเดียวกับคําบอกแบ่ง คือ ใช้เครืองหมาย - คันกลาง ไว้
ระหว่างคําหน้าและคําหลังตัวอย่างเช่น “ทางขวา, แลขวา - ทํา” เป็ นต้น
๘. คําแนะนําในการฝึ ก
    ๘.๑ ฝึกปิดตอนหรือปิดจังหวะ ก่อนการฝึกเปิดตอนหรือเปิดจังหวะเพือให้งายต่อการปฏิบตและ
                                                                      ่           ั ิ
การตรวจสอบความถูกต้อง
    ๘.๒ การใช้คาบอกปิดขันตอน
                   ํ
             ๘.๒.๑ “จังหวะ” ใช้กบคําบอกแบ่งและคําบอกผสม
                                  ั
             ๘.๒.๒ “ตอน” ใช้กบคําบอกเป็ นคํา ๆ และคําบอกรวด
                                ั
    ๘.๓ ก่อนการฝึกปิดขันตอนทุกครัง ผูฝึกจะต้องแจ้งให้ทหารทราบก่อนว่า จะฝึกท่าอะไร แบบ
                                         ้
ปิดตอนหรือปิดจังหวะ โดยใช้คาบอกเช่นเดียวกับเปิดตอนหรือเปิดจังหวะ เมือสินคําบอกให้ทหาร
                                    ํ
ปฏิบตเฉพาะตอนทีหนึงหรือจังหวะหนึงค้างไว้ สําหรับตอนหรือจังหวะทีเหลือใช้คาบอก “ต่อไป”
     ั ิ                                                                ํ
ทีละตอนหรือจังหวะตามลําดับ โดยทหารจะต้องปฏิบตไปทีละตอนหรือจังหวะแล้วค้างไว้จนกว่าจะสัง
                                                  ั ิ
ให้ปฏิบตต่อไป
         ั ิ




                                                                                              ๔
- ๕ -

                                       บทที ๒
                                การฝึ กบุคคลท่าอาวุธ
๘. ท่าเรียบอาวุธ (รูปที ๕)




              ด้านหน้า (๕ ก.)                           ด้านหลัง (๕ ข.)




                                    ปลย.๑๑ (๕ ค.)

                                รูปที ๕ ท่าเรียบอาวุธ



                                                                          ๕
- ๖ -

     ๘.๑ คําบอก “แถว - ตรง” (เป็ นคําบอกแบ่ง)
     ๘.๒ การปฏิบติ ท่านีมีจงหวะเดียว
                   ั             ั
          ๘.๒.๑ ลักษณะของท่าเรียบอาวุธมีดงนี คือ จะต้องยืนให้สนเท้าชิดและอยูในแนวเดียวกัน
                                               ั                  ้                  ่
ปลายเท้าทังสองแบะออกไปทางข้างเท่า ๆ กัน ปลายเท้าห่างกันประมาณ ๑ คืบ หรือให้ทามุม          ํ
ประมาณ ๔๕ องศา เข่าเหยียดตรงและบีบเข้าหากัน มือขวาจับปืนทางด้านสันตรงส่วนใดก็ได้
พอทีจะไม่ทาให้ไหล่ขวาเอียงเมือยืนในท่าตรง ให้สนปืนอยูระหว่างนิวหัวแม่มอกับนิวชี นิวอืนเรียงชิด
            ํ                                    ั      ่                 ื
กับนิวชีตามลําดับ (อุงมือหันลงพืน) ให้แนวปืนตังตรงแนบขาขวา ด้ามปืนหันออกไปทางข้างหน้า
                      ้
วางพานท้ายปืนลงบนพืนให้แง่หน้าของพานท้ายวางเสมอกับปลายนิวก้อยของเท้าขวา แขนทังสอง
                                                                            ่
อยูขางลําตัวในลักษณะงอข้อศอกไว้จนเกิดช่องว่างห่างจากลําตัวประมาณ ๑ ฝามือ พลิกข้อศอกไป
   ่ ้
ข้างหน้าเล็กน้อยจนไหล่ทงสองข้างตึงและเสมอกัน นิวมือซ้ายทังห้าเหยียดตรงเรียงชิดกัน ให้ปลาย
                         ั
                                                                              ่
นิวกลางแตะไว้ตรงกึงกลางขาซ้ายท่อนบนประมาณแนวตะเข็บกางเกง เปิดฝามือทางด้านนิวก้อย
ออกเล็กน้อย ลําคอและใบหน้าตังตรง ไม่ยนคาง สายตามองตรงไปข้างหน้าในแนวระดับวางนําหนัก
                                          ื
ตัวอยูบนเท้าทังสองข้างเท่ากันแล้วนิง
       ่
          ๘.๒.๒ เมือได้ยนคําบอก “แถว” ในขณะอยูในท่าพักตามปกติทหารจะต้องจัดส่วนต่าง ๆ
                           ิ                          ่
ของร่างกายให้ยนอยูในลักษณะของท่าเรียบอาวุธตามทีได้กล่าวไว้ในข้อ ๘.๒.๑ ข้างต้น ยกเว้นเข่า
                ื ่
ขวาหย่อนไว้เล็กน้อย พร้อมกับสูดลมหายใจเข้าปอดให้เต็มทีและยกอกให้ผงผาย   ึ
          ๘.๒.๓ เมือได้ยนคําบอก “ตรง” ให้ทหารกระตุกเข่าขวาเข้ามาอย่างรวดเร็วและแข็งแรง
                             ิ
โดยพยายามรักษาไม่ให้ส่วนใด ๆ ของร่างกายมีการเคลือนไหว เข่าตึงในลักษณะบีบเข่าทังสองเข้า
หากันแล้วนิง
     ๘.๓ คําแนะนําสําหรับผูฝึก ในการฝึกท่าเรียบอาวุธนันจําเป็ นจะต้องสอนให้ผรบการฝึกได้เรียนรู้
                               ้                                                ู้ ั
ในเรืองท่าพักเสียก่อน แล้วจึงทําการฝึกทังท่าเรียบอาวุธและท่าพักควบคู่กนไป
                                                                      ั
๙. ท่าพัก
   ท่าพักแบ่งออกเป็ น ๕ ท่า คือ ท่าพักตามปกติ, ท่าพักตามระเบียบ ท่าพักตามสบาย ท่าพักแถว
และท่าเลิกแถว
   ๙.๑ ท่าพักตามปกติ (รูปที ๖)
          ๙.๑.๑ คําบอก “พัก” (คําบอกรวด)
          ๙.๑.๒ การปฏิบติ ท่านีมีจงหวะเดียว แต่ให้ปฏิบตไปตามลําดับขันตอนดังต่อไปนี
                         ั         ั                   ั ิ
                 ๙.๑.๒.๑ ในขันตอนแรกเมือได้ยนคําบอก “พัก” ให้ทหารหย่อนเข่าขวาลงเล็กน้อย
                                             ิ
พยายามไม่ให้ส่วนอืน ๆ ของร่างกายเคลือนไหวอย่างกระทันหัน มือขวายังคงจับถือปืนอยูในลักษณะ
                                                                               ่
ของท่าเรียบอาวุธโดยไม่มการเคลือนไหวใด ๆ ทังสิน
                       ี
                 ๙.๑.๒.๒ สําหรับในขันตอนต่อไปนัน ท่านีอนุ ญาตให้ทหารเคลือนไหวส่วนต่าง ๆ
ของร่างกายและเปลียนเข่าพักได้ตามสมควรและเท่าทีจําเป็ น
                 ๙.๑.๒.๓ ท่านีห้ามทหารขยับเขยือนหรือเปลียนทียืนของเท้าทังสองข้าง และห้าม
พูดคุยกัน


                                                                                             ๖
- ๗ -

                 ๙.๑.๒.๔ เมือได้ยนคําบอก “แถว” ให้ทหารยืดตัวขึน พร้อมกับสูดลมหายใจเข้า
                                   ิ
ปอดจนเต็มที แล้วจัดทุกส่วนของร่างกายให้อยูในลักษณะของท่าเรียบอาวุธเว้นเข่าขวายังหย่อนอยู่
                                            ่
                 ๙.๑.๒.๕ เมือได้ยนคําบอก “ตรง” ให้กระตุกเข่าขวากลับมาอยูในลักษณะของ
                                     ิ                                       ่
ท่าเรียบอาวุธอย่างรวดเร็ว และแข็งแรง แล้วนิง




                                รูปที ๖ ท่าพักตามปกติ




                                                                                       ๗
- ๘ -

   ๙.๒ ท่าพักตามระเบียบ
       ๙.๒.๑ สําหรับปืนเล็กยาว เอ็ม.๑๖ (รูปที ๗)
              ๙.๒.๑.๑ คําบอก “ตามระเบียบ, พัก” (คําบอกเป็ นคํา ๆ)




       ด้านหน้า (๗ ก.)                ด้านขวา (๗ ข.)                 ด้านหลัง (๗ ค.)

                     รูปที ๗ ท่าพักตามระเบียบสําหรับ ปลย.เอ็ม.๑๖

          ๙.๒.๑.๒ การปฏิบติ ท่านีมีจงหวะเดียว แต่ให้ปฏิบตไปตามลําดับขันตอนดังต่อไปนี
                           ั        ั                   ั ิ
                   ๙.๒.๑.๒.๑ เมือได้ยนคําบอก “ตามระเบียบ, พัก” ให้ทหารแยกเท้าซ้ายออกไป
                                        ิ
ทางด้านซ้ายประมาณ ๓๐ ซม. หรือ ประมาณครึงก้าวอย่างแข็งแรงและผึงผาย ในขณะเดียวกันให้ใช้
มือขวาเลือนขึนมาจับลํากล้องปืนตรงประมาณเหนือศูนย์หน้า           แล้วผลักปืนให้เฉียงออกไปทาง
ข้างหน้าตามแนวของปลายเท้าขวา หรือ ทํามุมกับลําตัวประมาณ ๔๕ องศา แขนขวาเหยียดตึง
พร้อมกับนํามือซ้ายไปวางไว้ทางด้านหลัง หันหลังมือแตะไว้ประมาณแนวใต้เข็มขัด นิวทังห้าเหยียด
ตรงเรียงชิดกัน แบะข้อศอกออกไปทางข้างหน้าเล็กน้อยแต่พอสบาย ลักษณะของการยืนจะต้องให้ขา
ทังสองข้างตึง นําหนักตัวอยูบนเท้าทังสองเท่ากัน ยกอกให้สง่าผ่าเผย จัดไหล่ทงสองให้เสมอกัน
                             ่                                                ั
ลําคอและใบหน้าตังตรง สายตามองตรงไปข้างหน้าในแนวระดับแล้วนิง
                   ๙.๒.๑.๒.๒ เมือได้ยนคําบอก “แถว -” ให้ทหารสูดลมหายใจเข้าปอดจนเต็มที
                                      ิ
                   ๙.๒.๑.๒.๓ เมือได้ยนคําบอก “ตรง” ให้ชกเท้าซ้ายกลับมาชิดเท้าขวาโดยให้
                                          ิ                   ั
ส้นเท้าทังสองชิดกันและอยูในแนวเดียวกัน ปลายเท้าทังสองแบะออกไปทางข้าง ข้างละเท่ากันห่าง
                         ่
กันประมาณ ๑ คืบ หรือประมาณ ๔๕ องศา พร้อมกันนันให้ใช้มอขวาดึงปืนเข้ามาหาลําตัวพร้อมกับ
                                                            ื
เปลียนท่าการจับปืนไปเป็ นการจับปืนในท่าเรียบอาวุธ และลดมือซ้ายกลับมาอยูในลักษณะของท่า
                                                                            ่
เรียบอาวุธอย่างแข็งแรง แล้วนิง



                                                                                         ๘
- ๙ -

     ๙.๒.๒ สําหรับปืนเล็กยาว ๑๑ (รูปที ๘)
            ๙.๒.๒.๑ คําบอก “ตามระเบียบ, พัก” (คําบอกเป็ นคํา ๆ)
            ๙.๒.๒.๒ การปฏิบติ ท่านีมีจงหวะเดียว แต่ให้ปฏิบตไปตามลําดับขันตอนดังต่อไปนี
                               ั        ั                   ั ิ
                       ๙.๒.๒.๒.๑ เมือได้ยนคําบอก “ตามระเบียบ, พัก” ให้ทหารแยกเท้าซ้าย
                                          ิ
ออกไปทางด้านซ้ายประมาณ ๓๐ ซม. หรือ ประมาณครึงก้าวอย่างแข็งแรงและผึงผาย ในขณะ
เดียวกันให้ใช้มอขวาจับลํากล้องปืนตรงประมาณเหนือศูนย์หน้า จับไว้ดวยปลายนิวทังห้า ให้นิวหัว
               ื                                                 ้
แม่มออยูทางซ้าย นิวทีเหลือทังสีเรียงชิดกันอยูทางขวาลํากล้องปืน ลํากล้องปืนวางอยูในง่ามนิว
     ื ่                                      ่                                 ่
หัวแม่มอกับนิวชีแล้วผลักปืนให้เฉียงออกไปทางข้างหน้าตามแนวของปลายเท้าขวา แขนขวาเหยียด
        ื
ตึงพร้อมกับนํามือซ้ายไปวางไว้ทางด้านหลังลําตัว หันหลังมือแตะไว้ประมาณแนวเข็มขัด นิวทังห้า
เรียงชิดกันและแบมือออกตามธรรมชาติ แบะข้อศอกออกไปทางข้างหน้าเล็กน้อย แต่พอสบาย
ลักษณะของการยืนจะต้องให้ขาทังสองข้างตึง นําหนักตัวอยูบนเท้าทังสองข้างเท่ากัน ยกอกให้
                                                         ่
สง่าผ่าเผย จัดไหล่ทงสองข้างให้เสมอกัน ลําคอและใบหน้าตังตรงสายตามองตรงไปข้างหน้าในแนว
                     ั
ระดับแล้วนิง




       ด้านหน้า (๘ ก.)               ด้านขวา (๘ ข.)                ด้านหลัง (๘ ค.)
                         รูปที ๘ ท่าพักตามระเบียบสําหรับ ปลย.๑๑
                     ๙.๒.๒.๒.๒ เมือได้ยนคําบอก
                                       ิ              “แถว -” ให้ทหารสูดลมหายใจเข้าปอด
จนเต็มที
                     ๙.๒.๒.๒.๓ เมือได้ยนคําบอก “ตรง” ให้ชกเท้าซ้ายกลับมาชิดเท้าขวา
                                        ิ                     ั
ให้สนเท้าทังสองชิดและอยูในแนวเดียวกัน ปลายเท้าทังสองแบะออกไปทางข้าง เท่า ๆ กัน ห่าง
    ้                   ่
ประมาณ ๑ คืบ หรือประมาณ ๔๕ องศา พร้อมกันนันให้ใช้มอขวาดึงปืนเข้ามาอยูขางลําตัว มือขวา
                                                     ื                  ่ ้
เปลียนไปจับปืนในท่าเรียบอาวุธ     และลดมือซ้ายกลับมาอยูในลักษณะท่าเรียบอาวุธอย่างแข็งแรง
                                                       ่
แล้วนิง


                                                                                       ๙
- ๑๐ -

    ๙.๓ ท่าพักตามสบาย
          ๙.๓.๑ คําบอก “ตามสบาย, พัก” (คําบอกเป็ นคํา ๆ)
          ๙.๓.๒ การปฏิบติ ท่านีมีจงหวะเดียว แต่ให้ปฏิบตไปตามลําดับขันตอนดังต่อไปนี
                          ั            ั                 ั ิ
                  ๙.๓.๒.๑ หย่อนเข่าขวาลงเล็กน้อย โดยพยายามไม่ให้ส่วนอืนของร่างกายมีการ
ไหวติงอย่างกระทันหัน เช่นเดียวกับการทําท่าพักตามปกติในขันตอนแรก
                  ๙.๓.๒.๒ สําหรับในขันตอนต่อไปนัน อนุ ญาตให้ทหารเคลือนไหวอิรยาบถ ห้าม
                                                                                ิ
พูดคุยกันถ้าไม่ได้รบอนุ ญาต ปืนและเท้าข้างใดข้างหนึงจะต้องอยูกบที
                   ั                                         ่ ั
                  ๙.๓.๒.๓ สําหรับการพักในท่านี ห้ามทหารออกนอกแถว และถ้าไม่ได้รบอนุ ญาต
                                                                                    ั
ให้นง ทหารจะนังไม่ได้ ถ้าได้รบอนุ ญาตให้นงจะต้องนังในลักษณะทีเท้าข้างใดข้างหนึงเป็ นหลักอยู่
    ั                          ั            ั
กับทีและวางปืนไว้กบหน้าตักให้ลากล้องปืนหันไปทางด้านซ้าย
                       ั         ํ
                  ๙.๓.๒.๔ เมือได้ยนคําบอก “แถว -” ไม่ว่าทหารจะอยูในอิรยาบถใดก็ตาม ให้
                                   ิ                                   ่ ิ
ทหารรีบกลับมายืนในท่าเรียบอาวุธ ยกเว้นเข่าขวาหย่อนเล็กน้อย พร้อมกับสูดลมหายใจเข้าปอดจน
เต็มทีและยกอกให้ผงผายึ
                  ๙.๓.๒.๕ เมือได้ยนคําบอก “ตรง” ให้ทหารกระตุกเข่าขวาเข้ามาอยูในลักษณะ
                                     ิ                                            ่
ของท่าเรียบอาวุธอย่างรวดเร็วและแข็งแรงแล้วนิง
       สําหรับท่าพักแถวและท่าเลิกแถว       คงยึดถือปฎิบตเช่นเดียวกับท่าพักแถวและเลิกแถวของ
                                                       ั ิ
บุคคลท่ามือเปล่า แต่เพิมเติมเฉพาะการถืออาวุธด้วยมือขวาเท่านัน
๑๐. ท่าหันอยู่กบที
                ั
    ท่าหันอยูกบทีแบ่งออกเป็ น ๓ ท่า คือ ท่าขวาหัน, ท่าซ้ายหัน, และท่ากลับหลังหัน
            ่ ั
    ๑๐.๑ ท่าขวาหัน (รูปที ๙)




   เริมจังหวะหนึง (๙/๑ ก.)       สินสุดจังหวะหนึง (๙/๑ ข.)           จังหวะสอง (๙/๒)
                                    รูปที ๙ ท่าขวาหัน

                                                                                         ๑๐
- ๑๑ -

            ๑๐.๑.๑ คําบอก “ขวา - หัน” (คําบอกแบ่ง)
            ๑๐.๑.๒ การปฏิบติ ท่านีแบ่งออกเป็ น ๒ จังหวะดังต่อไปนี
                                    ั
                            ๑๐.๑.๒.๑ จังหวะหนึง เมือได้ยนคําบอก “ขวา - หัน” ให้ทหารใช้มอขวาทีจับถือ
                                                            ิ                          ื
                                                                          ่
ปืนอยูในท่าเรียบอาวุธนัน ยกปืนสูงขึนจากพืนเล็กน้อย (ประมาณ ๑ ฝามือ) โดยจับถือปืนในท่าเดิม
        ่
แล้วยกปืนให้สงขึนในแนวดิง และบังคับให้ปืนแนบชิดอยูกบขาข้างขวา พยายามให้แนวปืนตังได้ฉาก
                ู                                               ่ ั
กับพืนดิน ข้อศอกขวางอเล็กน้อยตามธรรมชาติ ขณะเดียวกันนันให้ทหารเปิดปลายเท้าขวาให้สงขึน          ู
จากพืนเล็กน้อยโดยพยายามกดส้นเท้าให้ตรึงอยูกบที และเปิดส้นเท้าซ้ายให้ปลายเท้าซ้ายกดแน่ นไว้
                                                      ่ ั
กับพืนเพือช่วยในการทรงตัวขณะหมุนตัว แล้วใช้ตะโพกเหวียงตัวไปทางขวาจนลําตัวหมุนไปได้ ๙๐
องศา โดยใช้สนเท้าขวาเป็ นจุดหมุน ขณะทีหมุนตัวไปนันจะต้องพยายามรักษาทรวดทรงของลําตัว
                  ้
แขนและมือซ้ายบังคับให้อยูในลักษณะของท่าเรียบอาวุธตลอดเวลา เมือหมุนตัวไปได้ทแล้วทหารจะ
                                  ่                                                      ี
ยืนอยูในลักษณะนําหนักตัวอยูบนเท้าข้างขวา ขาซ้ายเหยียดตึงไปทางด้านหลังทางซ้าย ส้นเท้าเปิด
      ่                               ่
และบิดออกทางด้านนอกลําตัว
                            ๑๐.๑.๒.๒ จังหวะสอง ชักเท้าซ้ายมาชิดกับเท้าขวาเพือยืนในลักษณะของท่า
เรียบอาวุธอย่างรวดเร็วและแข็งแรง ในขณะเดียวกันนันก็ให้ลดปืนให้ตําลงในแนวดิง จนกว่าพานท้าย
ปืนจะวางอยูบนพืนในลักษณะของท่าเรียบอาวุธโดยสมบูรณ์
              ่
            ๑๐.๑.๓ คําแนะนําสําหรับผูฝึก ในการฝึกปิดจังหวะ ผูฝึกจะต้องแจ้งให้ทหารทราบก่อนว่า
                                            ้                           ้
จะฝึกท่าขวาหันแบบปิดจังหวะ แล้วใช้คาบอกเช่นเดียวกับท่าขวาหันเปิดจังหวะคือ “ขวา - หัน” เมือ
                                              ํ
จะให้ทหารปฏิบตในจังหวะต่อไปก็ให้ใช้คาบอก “ต่อไป”
                    ั ิ                         ํ
    ๑๐.๒ ท่าซ้ายหัน (รูปที ๑๐)
             ๑๐.๒.๑ คําบอก “ซ้าย - หัน” (คําบอกแบ่ง)
             ๑๐.๒.๒ การปฏิบตท่านีแบ่งการปฏิบตออกเป็ น ๒ จังหวะ ดังต่อไปนี
                                        ั ิ             ั ิ
                             ๑๐.๒.๒.๑ จังหวะหนึง เมือได้ยนคําบอก “ซ้าย - หัน” ให้ทหารใช้มอขวาทีจับ
                                                              ิ                              ื
          ่                                                                  ่
ถือปืนอยูในท่าเรียบอาวุธนัน ยกปืนสูงขึนจากพืนเล็กน้อย (ประมาณ ๑ ฝามือ) โดยให้จบปืนในท่า    ั
เดิมแล้วยกปืนให้สงขึนในแนวดิง และบังคับให้ปืนแนบชิดอยูกบขาข้างขวา พยายามให้ปืนตังได้ฉาก
                        ู                                           ่ ั
กับพืนดิน ข้อศอกขวางอเล็กน้อยตามธรรมชาติ ขณะเดียวกันนันให้ทหารเปิดปลายเท้าซ้ายให้สงขึน           ู
จากพืนเล็กน้อยโดยพยายามกดส้นเท้าให้ตรึงอยูกบที และเปิดส้นเท้าขวาใช้ปลายเท้าขวากดแน่ นไว้
                                                     ่ ั
กับพืนเพือช่วยในการทรงตัวขณะหมุนตัว                 แล้วใช้ตะโพกเหวียงตัวไปทางซ้ายจนลําตัวหมุนไปได้
๙๐ องศา โดยใช้สนเท้าซ้ายเป็ นจุดหมุน ขณะทีหมุนตัวไปนันจะต้องรักษาทรวดทรงของลําตัว แขน
                          ้
และมือซ้ายให้อยูในลักษณะท่าเรียบอาวุธอยูตลอดเวลา เมือหมุนตัวไปได้ทแล้วทหารจะยืนอยูใน
                      ่                           ่                             ี                  ่
ลักษณะนําหนักตัวอยูบนเท้าข้างซ้าย ขาขวาเหยียดตึงไปทางด้านหลังทางขวา ส้นเท้าเปิดและบิด
                             ่
ออกทางด้านนอกลําตัว




                                                                                                ๑๑
- ๑๒ -




  เริมจังหวะหนึง (๑๐/๑ ก.)       สินสุดจังหวะหนึง (๑๐/๑ ข.)           จังหวะสอง (๑๐/๒)

                                    รูปที ๑๐ ท่าซ้ายหัน

                        ๑๐.๒.๒.๒ จังหวะสอง ชักเท้าขวามาชิดกับเท้าซ้ายเพือยืนในลักษณะของท่า
เรียบอาวุธอย่างรวดเร็วและแข็งแรง ในขณะเดียวกันนันก็ให้ลดปืนให้ตําลงในแนวดิง จนกว่าพานท้าย
ปืนจะวางอยูบนพืนในลักษณะของท่าเรียบอาวุธโดยสมบูรณ์
                 ่
             ๑๐.๒.๓ คําแนะนําสําหรับผูฝึก ในการฝึกปิดจังหวะผูฝึกจะต้องแจ้งให้ทหารทราบก่อน
                                       ้                        ้
ว่าจะฝึกท่าซ้ายหันแบบปิดจังหวะ แล้วใช้คาบอกเช่นเดียวกับท่าซ้ายหันเปิดจังหวะ คือ “ซ้าย - หัน”
                                         ํ
เมือจะให้ทหารปฏิบตในจังหวะต่อไปก็ให้ใช้คาบอก “ต่อไป”
                    ั ิ                      ํ
    ๑๐.๓ ท่ากลับหลังหัน (รูปที ๑๑)
             ๑๐.๓.๑ คําบอก “กลับหลัง - หัน” (คําบอกแบ่ง)
             ๑๐.๓.๒ การปฏิบติ ท่านีแบ่งการปฏิบตออกเป็ น ๒ จังหวะดังต่อไปนี
                               ั                 ั ิ
                        ๑๐.๓.๒.๑ จังหวะหนึง เมือได้ยนคําบอก “กลับหลัง - หัน” ให้ทหารใช้มอขวาที
                                                     ิ                                  ื
               ่                           ู                                  ่
จับถือปืนอยูในท่าเรียบอาวุธนัน ยกปืนให้สงขึนจากพืนเล็กน้อย (ประมาณ ๑ ฝามือ) ในแนวดิงโดย
ให้จบปืนในท่าเดิมแล้วยกปืนให้สงขึนในแนวดิง และบังคับให้ปืนแนบชิดอยูกบขาข้างขวาพยายาม
    ั                            ู                                        ่ ั
ให้ปืนตังได้ฉากกับพืนดิน ข้อศอกขวางอเล็กน้อยตามธรรมชาติ ขณะเดียวกันนันให้ทหารเปิดปลาย
เท้าขวาให้สงขึนจากพืนเล็กน้อย โดยพยายามกดส้นเท้าให้ตรึงอยูกบที และเปิดส้นเท้าซ้ายใช้ปลาย
             ู                                                ่ ั
เท้ากดไว้กบพืน เพือช่วยในการทรงตัวขณะหมุนตัวแล้วใช้ตะโพกเหวียงตัวไปทางขวา
           ั




                                                                                          ๑๒
- ๑๓ -




  เริมจังหวะหนึง (๑๑/๑ ก.)          เปลียนรูป (๑๑/๑ ข.)             จังหวะสอง (๑๑/๒)

                                 รูปที ๑๑ ท่ากลับหลังหัน

จนได้ ๑๘๐ องศา (กลับหน้าเป็ นหลัง) ด้วยการใช้สนเท้าขวาเป็ นจุดหมุน ขณะเดียวกันนันให้เหวียง
                                                 ้
เท้าซ้ายไปทางซ้ายตามจังหวะการหมุนตัว และเมือหมุนตัวไปได้ทแล้ว (๑๘๐ องศา) ให้นําปลาย
                                                              ี
เท้าซ้ายไปแตะพืนไว้ทางด้านหลังในทิศทางเฉียงไปข้างหลังทางซ้าย ส้นเท้าเปิด เข่าเหยียดตึง
ในขณะทีหมุนตัวไปนันจะต้องพยายามรักษาทรวดทรงของลําตัว และวางมือซ้ายให้อยูในลักษณะของ
                                                                              ่
ท่าเรียบอาวุธตลอดเวลาด้วย เมือหมุนตัวไปได้ทแล้วนําหนักตัวอยูบนเท้าขวา ขาซ้ายเหยียดตึง
                                               ี                ่
ปลายเท้าข้างซ้ายวางอยูทางด้านหลังทางซ้าย ส้นเท้าเปิดและบิดออกข้างนอกลําตัว
                        ่
                     ๑๐.๓.๒.๒ จังหวะสอง ชักเท้าซ้ายมาชิดกับเท้าขวาเพือยืนในลักษณะของท่า
เรียบอาวุธอย่างรวดเร็วและแข็งแรง ในขณะเดียวกันนันก็ให้ลดปืนให้ตําลงในแนวดิง จนกว่าพานท้าย
ปืนจะวางอยูบนพืนในลักษณะของท่าเรียบอาวุธโดยสมบูรณ์
             ่
            ๑๐.๓.๓ คําแนะนําสําหรับผูฝึก ในการฝึกปิดจังหวะผูฝึกจะต้องแจ้งให้ทหารก่อนว่าจะฝึก
                                       ้                    ้
ท่ากลับหลังหันแบบปิดจังหวะ แล้วใช้คาบอกเช่นเดียวกับท่ากลับหลังหันเปิดจังหวะ คือ “ กลับหลัง
                                     ํ
– หัน ” เมือจะให้ทหารปฏิบตในจังหวะต่อไปก็ให้ใช้คาบอก “ ต่อไป ”
                            ั ิ                    ํ
        สําหรับท่าหันอยูกบทีนี นอกเหนือไปจากท่าขวาหัน, ท่าซ้ายหัน, และท่ากลับหลังหันตามทีได้
                       ่ ั
กล่าวไปแล้ว อาจจะให้ทาท่ากึงขวาหรือท่ากึงซ้ายหันอีกก็ได้ ส่วนการปฏิบตในท่าดังกล่าวนี ก็คงมี
                          ํ                                           ั ิ
ลักษณะเช่นเดียวกันกับท่าขวาหันหรือท่าซ้ายหันนันเอง จะแตกต่างกันเฉพาะให้ทาท่าหันไปทางขวา
                                                                            ํ
หรือทางซ้ายเพียง ๔๕ องศา เท่านัน




                                                                                        ๑๓
- ๑๔ -

๑๑. ท่าคอนอาวุธ
      ท่าคอนอาวุธแบ่งการปฏิบตออกเป็ น ๒ ท่า คือ ท่าคอนอาวุธ, และท่าเรียบอาวุธ
                             ั ิ
      ๑๑.๑ ท่าคอนอาวุธ (รูปที ๑๒)
            ๑๑.๑.๑ คําบอก “คอน, อาวุธ” (คําบอกเป็ นคํา ๆ)
            ๑๑.๑.๒ การปฏิบติ เมือได้ยนคําบอก “คอน, อาวุธ” ให้ทหารใช้มอขวาทีจับถือปืนอยู่
                              ั        ิ                                 ื
                                                          ่
ในท่าเรียบอาวุธนัน มากํารอบบริเวณใต้ศูนย์หน้าในลักษณะหันฝามือเข้าหาลําตัว พร้อมกับยกปืนให้
สูงขึนจากพืนในแนวดิงมากดแนบไว้กบตะโพกประมาณใต้เข็มขัดเล็กน้อย โดยข้อศอกขวากางออก
                                  ั
ตามธรรมชาติ แล้วผลักปากลํากล้องปืนเฉียงออกไปข้างหน้า และพานท้ายปืนชีเฉียงไปทางข้างหลัง
ให้แนวตัวปืนทํามุมกับลําตัว ประมาณ ๑๕ องศา ส่วนอืน ๆ ของร่างกายยังคงอยูในลักษณะท่า
                                                                              ่
เรียบอาวุธ




              ด้านหน้า (๑๒ ก.)                               ด้านขวา (๑๒ ข.)

                                  รูปที ๑๒ ท่าคอนอาวุธ

    ๑๑.๒ ท่าเรียบอาวุธ (จากท่าคอนอาวุธ)
           ๑๑.๒.๑ คําบอก “เรียบ, อาวุธ” (คําบอกเป็ นคํา ๆ)
           ๑๑.๒.๒ การปฏิบติ เมือได้ยนคําบอก “เรียบ, อาวุธ” ให้เลือนมือขวาทีกําปืนอยูในท่า
                             ั          ิ                                             ่
คอนอาวุธค่อย ๆ ลดปืนตําลงไปในแนวดิง ในขณะเดียวกันนันก็ให้เปลียนมือจากท่ากํามือใต้
ศูนย์หน้าไปเป็ นการจับปืนในท่าเรียบอาวุธคือจับปืนทางด้านสันตรงส่วนใดก็ได้ โดยไหล่ขวาไม่เอียง

                                                                                        ๑๔
- ๑๕ -

และให้สนปืนอยูระหว่างนิวหัวแม่มอกับนิวชี พยายามรักษาแนวปืนให้ตงตรงในแนวดิง จากนันก็ลด
        ั     ่                ื                              ั
ปืนลงจนกว่าพานท้ายปืนจะวางอยูบนพืนในลักษณะของท่าเรียบอาวุธ โดยไม่กระแทกแล้วยืนอยูใน
                                 ่                                                 ่
ท่าเรียบอาวุธ

    ๑๑.๓ คําแนะนําสําหรับผูฝึก
                            ้
            ๑๑.๓.๑ ในการดําเนินการฝึกผูฝึกจะต้องให้ทหารเรียนรูทงท่าคอนอาวุธและท่าเรียบอาวุธ
                                           ้                      ้ ั
เสียก่อนแล้วจึงจะเริมให้ทหารฝึกปฏิบติั
            ๑๑.๓.๒ ผูฝึกควรอธิบายเพิมเติมให้ทหารทราบว่าท่าคอนอาวุธนี เป็ นท่าทีนําไปใช้ใน
                       ้
โอกาสทีทหารจะต้องเคลือนทีระยะใกล้ ๆ ขณะถืออาวุธปืนเล็กทังในขณะทีอยูตามลําพังและอยูใน
                                                                          ่                   ่
แถวภายใต้การควบคุม เช่น ทหารได้ยนผูควบคุมแถวให้คาบอก “ข้างหน้า ๕ ก้าว, หน้า - เดิน”
                                         ิ ้                ํ
“ก้าวทางขวา ๗ ก้าว, ทํา” หรือ “ก้าวถอยหลัง ๖ ก้าว , ทํา” เป็ นต้น ก่อนทีทหารจะปฏิบตตาม ั ิ
คําสัง ทหารจะต้องทําท่าคอนอาวุธเองตามลําพังก่อนโดยไม่ตองรอคําสัง และเมือได้ปฏิบตการ
                                                                ้                       ั ิ
เคลือนทีไปครบตามจํานวนก้าวทีผูควบคุมแถวสังแล้ว ให้ทาท่าเรียบอาวุธเองโดยไม่ตองรอคําสัง
                                 ้                            ํ                   ้
เช่นเดียวกัน
            ๑๑.๓.๓ หากประสงค์จะให้แถวทหารเคลือนทีไปข้างหน้าระยะค่อนข้างไกลและประสงค์
ให้ทหารถือปืนในท่าคอนอาวุธ ก็ยอมจะกระทําได้โดยให้ผควบคุมแถวใช้คาบอกดังนี “คอน, อาวุธ”
                                   ่                     ู้             ํ
“หน้า - เดิน” “แถว - หยุด” “เรียบ , อาวุธ” ตามลําดับเป็ นต้น และในกรณีเช่นนีทหารจะทําท่าคอน
อาวุธและท่าเรียบอาวุธเองโดยอัตโนมัตไม่ได้คงปฏิบตไปตามคําสังของผูควบคุมแถว
                                       ิ         ั ิ                  ้
            ๑๑.๓.๔ ในการฝึกควรจะได้ให้ทหารปฏิบตท่าคอนอาวุธ ทังโดยมีการสังการและไม่ตอง
                                                     ั ิ                                    ้
สังการทังสองกรณี

๑๒. ท่าเฉี ยงอาวุธ
      ท่าเฉียงอาวุธแบ่งการปฏิบตออกเป็ น ๒ ท่า คือ ท่าเฉียงอาวุธ และท่าเรียบอาวุธ
                                  ั ิ
      ๑๒.๑ ท่าเฉียงอาวุธ (รูปที ๑๓)
                 ๑๒.๑.๑ คําบอก “เฉียง, อาวุธ” (คําบอกเป็ นคํา ๆ)
                 ๑๒.๑.๒ การปฏิบติ ท่านีแบ่งการปฏิบตออกได้เป็ น ๒ ตอน ดังต่อไปนีคือ
                                ั                     ั ิ
                        ๑๒.๑.๒.๑ ตอนทีหนึง เมือได้ยนคําบอก “เฉียง, อาวุธ” ให้ทหารใช้มอขวาที
                                                          ิ                            ื
จับปืนอยูในท่าเรียบอาวุธนัน ยกปืนขึนเฉียงผ่านไปทางข้างหน้า พร้อมกับเปลียนท่าการจับถือปืนไป
           ่
เป็ นท่ากําปืนแบบท่าคอนอาวุธ            ให้ดามปืนหันไปทางข้างหน้าปากลํากล้องปืนชีไปทางเบืองบน
                                            ้
ด้านซ้าย พานท้ายปืนชีไปทางเบืองล่างด้านขวา ให้ปืนไปหยุดอยูตรงข้างหน้าลําตัว บังคับให้
                                                                   ่
                  ่                               ่                       ่
กระบอกปืนอยูในลักษณะทะแยงกับลําตัว และอยูห่างจากลําตัวประมาณหนึงฝามือ ลํากล้องปืนเฉียง
ขึนบนอยูประมาณหน้าไหล่ซาย พานท้ายปืนอยูทางขวาของตะโพกขาขวา มือขวากําปืนสูงเสมอ
             ่               ้                      ่
ระดับไหล่ซาย กางข้อศอกขวาออกจนแขนท่อนบนขนานกับพืนระดับ ขณะเดียวกันนันก็ให้ยกมือ
               ้
ซ้ายมาจับปืนในลักษณะกํารอบใต้มอขวา ประมาณกึงกลางฝาประกับลํากล้องปืน (ปลย. เอ็ม.๑๖)
                                      ื


                                                                                           ๑๕
- ๑๖ -

                                             ่
หรือประมาณกึงกลางรองลํากล้องปืน (ปลย.๑๑) หันฝามือไปทางด้านขวาและบีบข้อศอกซ้ายแนบชิด
กับลําตัว




             ตอนทีหนึง (๑๓/๑)                              ตอนทีสอง (๑๓/๒)

                                 รูปที ๑๓ ท่าเฉี ยงอาวุธ

                        ๑๒.๑.๒.๒ ตอนทีสอง ลดมือขวาลงไปกําคอปืนในลักษณะควําฝามือลง   ่
ข้างล่างอย่างแข็งแรง และให้มอขวาอยูบริเวณระดับแนวเข็มขัดทางขวาของสะเอว ข้อศอกขวากาง
                              ื      ่
ออกเล็กน้อยประมาณให้แนวแขนขวาท่อนล่างตังฉากกับแนวตัวปืน ยืนอยูในลักษณะท่าตรงแล้วนิง
                                                                   ่
      ๑๒.๒ ท่าเรียบอาวุธ (จากท่าเฉียงอาวุธ)
             ๑๒.๒.๑ คําบอก “เรียบ, อาวุธ” (คําบอกเป็ นคํา ๆ)
             ๑๒.๒.๒ การปฏิบติ ท่านีแบ่งการปฏิบตออกได้เป็ น ๓ ตอน ดังนี
                                ั                ั ิ
                        ๑๒.๒.๒.๑ ตอนทีหนึง เมือได้ยนคําบอก “เรียบ, อาวุธ” ให้ทหารปล่อยมือ
                                                     ิ
                                                             ่
ขวาทีกําคอปืนขึนไปจับปืนในลักษณะกํารอบเหนือมือซ้ายหันฝามือไปทางด้านซ้าย กางข้อศอกขวา
ออกจนแขนท่อนล่างและแขนท่อนบนขนานกับพืนระดับ
                        ๑๒.๒.๒.๒ ตอนทีสอง ปล่อยมือซ้าย แล้วใช้มอขวานําปืนลดลงไปอยูทางขวา
                                                               ื                  ่
ชิดข้างลําตัวทางด้านขวา ให้กระบอกปืนตังดิงได้ฉากกับพืนระดับ พร้อมกับเปลียนลักษณะการจับ
ปืนไปเป็ นการจับปืนด้วยนิวหัวแม่มออยูดานใน และนิวทังสีเรียงชิดกันอยูดานนอกแบะข้อศอกขวา
                                  ื ่ ้                              ่ ้
ไปทางข้างหลังจนรูสกว่าไหล่ขวาตึง ขณะทีลดปืนลงไปอยูขางลําตัวทางขวานันให้นํามือซ้ายไปจับ
                    ้ ึ                                  ่ ้
บริเวณปลอกลดแสง โดยให้นิวหัวแม่มออยูดานในและให้นิวทังสีซึงเรียงชิดกันอยูดานนอก ปลายนิว
                                    ื ่ ้                                ่ ้
ทังสีเฉียงลงข้างล่างทางขวาเล็กน้อย แล้วนําปากกระบอกปืนวางไว้ในร่องไหล่ขวา ยกศอกซ้ายสูงขึน
จนแขนท่อนล่างและท่อนบนขนานกับพืนระดับ ส่วนอืนของร่างกายอยูในลักษณะท่าตรง
                                                                 ่

                                                                                      ๑๖
- ๑๗ -




     ตอนทีหนึง (๑๔/๑)               ตอนทีสอง (๑๔/๒)                  ตอนทีสาม (๑๔/๓)

                        รูปที ๑๔ ท่าเรียบอาวุธ (จากท่าเฉี ยงอาวุธ)

                       ๑๒.๒.๒.๓ ตอนทีสาม ใช้มอขวาทีจับปืนอยูนน ลดปืนลงจนกว่าพานท้ายปืน
                                                ื              ่ ั
จะวางอยูบนพืนในลักษณะของท่าเรียบอาวุธโดยไม่กระแทก พร้อมกับปล่อยมือซ้ายแล้วสะบัดลงไป
         ่
อยูขางลําตัวอย่างแข็งแรงในท่าเรียบอาวุธแล้วนิง
   ่ ้
     ๑๒.๓ คําแนะนําสําหรับผูฝึก
                             ้
            ๑๒.๓.๑ ในการฝึกปิดตอน ผูฝึกจะต้องแจ้งให้ทหารทราบก่อนว่า จะฝึกท่าเฉียงอาวุธ
                                         ้
และท่าเรียบอาวุธจากท่าเฉียงอาวุธแบบปิดตอน โดยใช้คาบอกเช่นเดียวกับเปิดตอน คือ
                                                          ํ
                      ๑๒.๓.๑.๑ ท่าเฉียงอาวุธ ใช้คาบอก “เฉียง, อาวุธ” ให้ทหารปฏิบตเฉพาะตอน
                                                  ํ                             ั ิ
ทีหนึงแล้วค้างไว้ สําหรับตอนทีสองใช้คาบอก “ต่อไป”
                                     ํ
                      ๑๒.๓.๑.๒ ท่าเรียบอาวุธ ใช้คาบอก “เรียบ, อาวุธ” ให้ทหารปฏิบตเฉพาะตอน
                                                    ํ                            ั ิ
ทีหนึงแล้วค้างไว้ สําหรับตอนทีสองและตอนทีสาม ใช้คาบอก “ต่อไป” ทีละตอนตามลําดับ
                                                        ํ
            ๑๒.๓.๒ การฝึกท่าเรียบอาวุธ ผูฝึกจะต้องให้ทหารเรียนรูทงท่าเฉียงอาวุธและท่าเรียบ
                                            ้                        ้ ั
อาวุธเสียก่อน แล้วจึงเริมฝึกปฏิบติ
                                ั
            ๑๒.๓.๓ อธิบายให้ทหารทราบว่า ท่าเฉียงอาวุธนีจะนําไปใช้ในโอกาสทีทหารจะต้อง
เคลือนทีในระยะไกล ขณะถืออาวุธปืนเล็กทังในขณะอยูตามลําพังและอยูในแถวภายใต้การควบคุม
                                                      ่            ่




                                                                                       ๑๗
- ๑๘ -

๑๓. ท่าอาวุธพร้อม
    ท่าอาวุธพร้อมแบ่งการปฏิบตออกเป็ น ๒ ท่า คือ ท่าอาวุธพร้อม และท่าเรียบอาวุธ
                            ั ิ
    ๑๓.๑ ท่าอาวุธพร้อม (รูปที ๑๕)




     ตอนทีหนึง (๑๕/๑)               ตอนทีสอง (๑๕/๒)                ตอนทีสาม (๑๕/๓)

                                รูปที ๑๕ ท่าอาวุธพร้อม

          ๑๓.๑.๑ คําบอก “พร้อม, อาวุธ” (คําบอกเป็ นคํา ๆ)
          ๑๓.๑.๒ การปฏิบติ ท่านีแบ่งการปฏิบตออกเป็ น ๓ ตอนดังต่อไปนี
                             ั                 ั ิ
                    ๑๓.๑.๒.๑ ตอนทีหนึง เมือได้ยนคําบอก “พร้อม, อาวุธ” ให้ทหารใช้มอขวาทีจับ
                                                   ิ                              ื
ปืนอยูนน ยกปืนขึนให้เฉียงผ่านไปทางข้างหน้า พร้อมกับเปลียนท่าการจับปืนเป็ น ท่ากําปืนแบบท่า
      ่ ั
คอนอาวุธ          ให้ดามปืนหันไปข้างหน้าแนวปืนเฉียงจากไหล่ซายมายังแนวโคนขาขวาในลักษณะ
                      ้                                     ้
                          ่                          ่
ทะแยงกับลําตัว และอยูห่างจากลําตัวประมาณหนึงฝามือ มือขวากําปืนอยูเสมอระดับไหล่ซาย
                                                                          ่            ้
พานท้ายปืนอยูทางขวาของตะโพกขาขวา ข้อศอกขวากางออกจนแขนท่อนล่างและท่อนบนขนานกับ
                ่
พืนระดับ ขณะเดียวกันให้ยกมือซ้ายขึนจับปืนในลักษณะกํารอบใต้มอขวา หรือประมาณกึงกลาง
                                                               ื
ฝาประกับ ลํากล้องปืน (สําหรับ ปลย.เอ็ม.๑๖) หรือประมาณกึงกลางรองลํากล้องปืน (สําหรับ
              ่
ปลย.๑๑) หันฝามือไปทางด้านขวาและบีบศอกซ้ายแนบชิดกับลําตัว
                    ๑๓.๑.๒.๒ ตอนทีสอง ลดมือขวาลงไปจับกําทีด้ามปืนในลักษณะนิวหัวแม่มอ     ื
อยูทางด้านล่างและนิวทังสีเรียงชิดกันอยูดานบน โดยให้นิวชีเหยียดตรงทาบติดกับทางด้านขวาของ
   ่                                  ่ ้
โกร่งไก ต่อจากนันใช้มอซ้ายผลักกระบอกปืนให้เฉียงไปข้างหน้าทางขวาจนแขนเหยียดตึง มือขวาดึง
                        ื
พานท้ายปืนเข้าหาลําตัวให้พานท้ายปืนวางอยูทหน้าท้องทางขวาประมาณเหนือแนวเข็มขัด และให้
                                           ่ ี
พลิกปืนหงายไปทางขวาเล็กน้อย เพือให้ทางด้านขวาของพานท้ายปืนวางอยูบนแขนขวาท่อนล่าง
                                                                        ่
พยายามบีบข้อศอกขวาให้แนบชิดกับลําตัวแต่พอสบาย แนวปืนทํามุมประมาณ ๔๕ องศากับลําตัว


                                                                                      ๑๘
- ๑๙ -

ขณะเดียวกันก็ให้แยกเท้าซ้ายออกไปทางซ้ายประมาณ ๓๐ ซม. หรือ ประมาณครึงก้าวอย่างแข็งแรง
และผึงผาย
                     ๑๓.๑.๒.๓ ตอนทีสาม ให้ปล่อยมือซ้ายจากการจับถือปืนแล้วนํามือซ้ายไปวาง
ทาบไว้ทางเบืองหลังในลักษณะหันหลังมือเข้าหาลําตัวและแนบไว้ประมาณใต้แนวเข็มขัด ส่วนนิวทัง
ห้าเหยียดตรงเรียงชิดกัน แบะข้อศอกซ้ายออกไปข้างหน้าเล็กน้อยแต่พอสบาย ส่วนมือขวาให้ยกปาก
กระบอกปืนให้สงขึนเล็กน้อยเพือจับปืนได้อย่างมันคง การยืนต้องให้ขาทังสองข้างตึง นําหนักตัวอยู่
               ู
บนเท้าทังสองเท่ากัน ยกอกให้ผงผาย จัดไหล่ทงสองข้างให้เสมอกัน ลําคอและใบหน้าตังตรง สายตา
                               ึ             ั
มองตรงออกไปข้างหน้าในแนวระดับแล้วนิง
     ๑๓.๒ ท่าเรียบอาวุธ (จากท่าอาวุธพร้อม) รูปที ๑๖
            ๑๓.๒.๑ คําบอก “เรียบ, อาวุธ (คําบอกเป็ นคํา ๆ)
            ๑๓.๒.๒ การปฏิบติ ท่านีแบ่งการปฏิบตออกเป็ น ๔ ตอน ดังต่อไปนี
                                 ั                ั ิ
                      ๑๓.๒.๒.๑ ตอนทีหนึง เมือได้ยนคําบอก “เรียบ, อาวุธ” ให้ทหารยกมือซ้าย
                                                      ิ
ไปจับปืนตรงประมาณกึงกลางฝาประกับลํากล้องปืน (สําหรับ ปลย.เอ็ม.๑๖) หรือประมาณกึงกลาง
รองลํากล้องปืน (สําหรับ ปลย.๑๑) แขนเหยียดตึงพร้อมกับชักเท้าซ้ายมาชิดเท้าขวาให้สนเท้าทังสอง
                                                                               ้
ชิดและอยูในแนวเดียวกัน ปลายเท้าทังสองข้างแบะออกไปทางข้างเท่า ๆ กัน และห่างกันประมาณ
          ่
หนึงคืบ
                      ๑๓.๒.๒.๒ ตอนทีสอง ใช้มอซ้ายดึงลํากล้องปืนเข้าหาลําตัว พร้อมกับใช้มอ
                                                ื                                         ื
ขวาทีกําด้ามปืนอยูผลักพานท้ายปืนให้ห่างออกไปจากลําตัว โดยให้อยูในลักษณะทีให้กระบอกปืน
                   ่                                              ่
                 ่                         ่
วางทะแยงและอยูห่างจากลําตัวประมาณหนึงฝามือคล้ายท่าเฉียงอาวุธ มือซ้ายสูงเสมอระดับไหล่ซาย ้
ข้อศอกซ้ายและข้อศอกขวาอยูห่างลําตัวเล็กน้อย ต่อจากนันให้ปล่อยมือขวาจากการกําด้ามปืนมาจับ
                             ่
ปืนเหนือมือซ้ายในลักษณะกําปืนประมาณใต้ศูนย์หน้า ยกข้อศอกขวาให้สงจนแขนท่อนบน และท่อน
                                                                    ู
ล่างขนานกับพืนระดับ




  ตอนทีหนึง (๑๖/๑)       ตอนทีสอง (๑๖/๒)         ตอนทีสาม (๑๖/๓)          ตอนทีสี (๑๖/๔)
                       รูปที ๑๖ ท่าเรียบอาวุธ (จากท่าอาวุธพร้อม)



                                                                                           ๑๙
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ
การฝึกบุคคลท่าอาวุธ

More Related Content

What's hot

เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑พัน พัน
 
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสีสำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสีariga sara
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4Itt Bandhudhara
 
แบบฝึกการอ่านคำที่ประสมกับสระหลายรูปแบบ เล่ม ๑
แบบฝึกการอ่านคำที่ประสมกับสระหลายรูปแบบ เล่ม ๑แบบฝึกการอ่านคำที่ประสมกับสระหลายรูปแบบ เล่ม ๑
แบบฝึกการอ่านคำที่ประสมกับสระหลายรูปแบบ เล่ม ๑Sam Uijoy
 
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายenksodsoon
 
วรรคทองในวรรณคดี
วรรคทองในวรรณคดีวรรคทองในวรรณคดี
วรรคทองในวรรณคดีkingkarn somchit
 
ใบงานจำนวนนับ
ใบงานจำนวนนับใบงานจำนวนนับ
ใบงานจำนวนนับReungWora
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2supap6259
 
Lแบบธรรมเนียมทหาร
LแบบธรรมเนียมทหารLแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหารi_cavalry
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยssuser456899
 
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวมประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวมthinnakornsripho
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานีkhorntee
 
Astronomy VI
Astronomy VIAstronomy VI
Astronomy VIChay Kung
 
มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์Krawchai Santadwattana
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศssuser456899
 
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่Sopa
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...พิทักษ์ ทวี
 
ใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการtassanee chaicharoen
 

What's hot (20)

เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
 
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสีสำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
 
แบบฝึกการอ่านคำที่ประสมกับสระหลายรูปแบบ เล่ม ๑
แบบฝึกการอ่านคำที่ประสมกับสระหลายรูปแบบ เล่ม ๑แบบฝึกการอ่านคำที่ประสมกับสระหลายรูปแบบ เล่ม ๑
แบบฝึกการอ่านคำที่ประสมกับสระหลายรูปแบบ เล่ม ๑
 
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่าย
 
วรรคทองในวรรณคดี
วรรคทองในวรรณคดีวรรคทองในวรรณคดี
วรรคทองในวรรณคดี
 
ใบงานจำนวนนับ
ใบงานจำนวนนับใบงานจำนวนนับ
ใบงานจำนวนนับ
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
 
Lแบบธรรมเนียมทหาร
LแบบธรรมเนียมทหารLแบบธรรมเนียมทหาร
Lแบบธรรมเนียมทหาร
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทย
 
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวมประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานี
 
Astronomy VI
Astronomy VIAstronomy VI
Astronomy VI
 
มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์
 
วิทย์ ป.1
วิทย์ ป.1วิทย์ ป.1
วิทย์ ป.1
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
 
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
 
ใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการ
 

More from อำนาจ ศรีทิม

องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56อำนาจ ศรีทิม
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4 อำนาจ ศรีทิม
 
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5อำนาจ ศรีทิม
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6อำนาจ ศรีทิม
 
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบอำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้อำนาจ ศรีทิม
 
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์อำนาจ ศรีทิม
 
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ินช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ินอำนาจ ศรีทิม
 

More from อำนาจ ศรีทิม (20)

ประวัติดนตรีไทย 56
ประวัติดนตรีไทย 56ประวัติดนตรีไทย 56
ประวัติดนตรีไทย 56
 
วงดนตรีไทย ม.2 56
วงดนตรีไทย ม.2 56วงดนตรีไทย ม.2 56
วงดนตรีไทย ม.2 56
 
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
 
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
 
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
 
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
 
บทคัดย่องานวิจัย
บทคัดย่องานวิจัยบทคัดย่องานวิจัย
บทคัดย่องานวิจัย
 
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
 
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
 
ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้
 
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
 
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ินช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
 
การป้องกันอุบัติเหตุ
การป้องกันอุบัติเหตุการป้องกันอุบัติเหตุ
การป้องกันอุบัติเหตุ
 

การฝึกบุคคลท่าอาวุธ

  • 1. คู่มอการฝึ ก ื ว่ าด้ วย แบบฝึ กบุคคลท่ าอาวุธ คฝ.๗-๕ พ.ศ.๒๕๔๔ บทที๑ - กล่ าวทัวไป ๑ บทที ๒ - การฝึ กบุคคลท่ าอาวุธ ๕ - ท่ าเรียบอาวุธ ๕ - ท่ าพัก ๖ - ท่ าหันอยู่กบที ั ๑๐ - ท่ าคอนอาวุธ ๑๔ - ท่ าเฉียงอาวุธ ๑๕ - ท่ าอาวุธพร้ อม ๑๙ - ท่ าสะพายอาวุธ ๒๐ - ท่ าสะพายขวาง ๒๕ - ท่ าแบกอาวุธ ๒๘ - ท่ าเดิน ๓๑ - ท่ าเคารพ ๓๙ - ท่ าตรวจอาวุธ ๔๗ - ท่ ารวมอาวุธ ๖๘ - ท่ าติดดาบปลดดาบ ๗๔ - ท่ าถอดหมวกสวมหมวก ๗๙ - ท่ าหมอบและลุก ๘๓ บทที ๓ - การฝึ กแถวชิ ด ๘๘
  • 2. - ๑ - บทที ๑ กล่าวทัวไป ๑. กล่าวนํา ๑.๑ บุคคลพลเรือนซึงเข้ารับราชการทหารในโอกาสเริมแรกนัน ไม่ว่าจะเข้ามารับราชการใน ฐานะเข้ารับราชการตามพระราชบัญญัตรบราชการทหาร เข้ารับราชการเป็ นนักเรียนนายสิบ เข้ารับ ิั ราชการเป็ นนักเรียนนายทหาร หรือสมัครเข้ารับราชการในอัตราทหารซึงทางราชการจะต้องแต่งตัง ยศทหารให้กตาม จําเป็ นจะต้องได้รบการฝึกท่าบุคคลท่าเบืองต้นก่อนเสมอ เพือประสงค์จะฝึกให้ ็ ั บุคคล พลเรือนเหล่านีมีบุคคลิกลักษณะเป็ นทหารโดยสมบูรณ์ และให้มความรอบรูในลักษณะท่าทาง ี ้ ส่วนบุคคล ซึงมีความจําเป็ นจะต้องนําไปใช้ในการปฏิบตตนในเรืองเกียวกับวินยและแบบธรรมเนียม ั ิ ั ของทหารตลอดเวลาทีรับราชการทหาร ๑.๒ การฝึกบุคคลท่าเบืองต้น จึงถือได้ว่าเป็ นการฝึกเริมแรกทีมีความสําคัญอย่างยิงต่อการเข้า รับราชการ เนืองจากการฝึกนีจะเป็ นเครืองช่วยปูพนฐานบุคคลพลเรือนให้เปลียนลักษณะท่าทางเป็ น ื ทหารได้โดยสมบูรณ์ในโอกาสต่อไป ๒. ความมุ่งหมาย คู่มอการฝึกเล่มนีกําหนดขึนโดยมีความมุงหมายเพือให้หน่ วยทหาร หรือผูทมีหน้าทีรับผิดชอบใน ื ่ ้ ี การฝึกท่าเบืองต้นให้กบบุคคลประเภทต่าง ๆ ดังกล่าวข้างต้น ได้นําไปใช้เป็ นแบบฉบับในการฝึก ั บุคคลท่าอาวุธให้เป็ นมาตรฐานอันเดียวกัน เพือปรับลักษณะท่าทางของบุคคลพลเรือนให้เป็ นทหาร โดยสมบูรณ์ ๓. ขอบเขต คู่มอการฝึกเล่มนีจะกล่าวถึงการฝึกบุคคลท่าอาวุธ สําหรับ ปลย.เอ็ม.๑๖ และ ปลย.๑๑ ซึง ื ครอบคลุมท่าทีสําคัญ ๆ และเป็ นท่าหลัก ๆ อันได้แก่ ท่าเรียบอาวุธ, ท่าหัน, ท่าคอนอาวุธ, ท่าเฉียง อาวุธ, ท่าอาวุธพร้อม, ท่าสะพายอาวุธ, ท่าสะพายขวาง, ท่าแบกอาวุธ, ท่าเดิน, ท่าเคารพ, ท่าตรวจ อาวุธ, ท่ารวมอาวุธ, ท่าติดดาบและปลดดาบ, ท่าถอดหมวกและสวมหมวก, ท่าหมอบและลุก และ รวมถึงการฝึกแถวชิดด้วย ๔. การบรรลุผล เพือให้การฝึกบรรลุความมุงหมายดังกล่าวข้างต้น ผูบงคับบัญชาทุกระดับชัน ตลอดจนผูมหน้าที ่ ้ ั ้ ี ฝึกทุกนาย จะต้องคอยกวดขันและหมันดูแลการฝึกให้ดาเนินไปด้วยดีทสุด โดยจะต้องพยายามคิด ํ ี ค้นหาวิธฝึกและใช้อุบายในการฝึกอย่างประณีต รอบคอบ เอาใจใส่ และเมือพบข้อบกพร่องทีเกิดขึน ี จากการฝึกจะต้องจัดการแก้ไขทันที ๕. การนําไปใช้ ๕.๑ ผูฝึกจะต้องใช้ดุลพินิจในการกําหนดวิธการฝึก เพือให้เหมาะสมกับ จํานวนผูรบการฝึก ้ ี ้ั จํานวนเครืองช่วยฝึก ครูฝึกและผูช่วยครูฝึกทีมีอยู่ ทังนีเพือเป็ นการป้องกันไม่ให้ผรบการฝึกต้อง ้ ู้ ั ๑
  • 3. - ๒ - รอคอยการฝึก อันเนืองจากความจํากัดของเครืองช่วยฝึก นอกจากนันเพือให้สามารถกํากับดูแล การปฏิบตของครูฝึกและผูช่วยครูฝึกได้อย่างใกล้ชดมิให้ทาการฝึกไปในทางผิด ๆ จากทีกําหนดไว้ใน ั ิ ้ ิ ํ แบบฝึก ๕.๒ เนืองจากท่าอาวุธของ ปลย. เอ็ม.๑๖ และ ปลย.๑๑ มีท่าอาวุธทีเหมือนกันเป็ นส่วนใหญ่ และมีขอแตกต่างกันเฉพาะเป็ นบางท่าซึงมีเป็ นส่วนน้อยเท่านัน ้ จึงได้รวมคู่มอการฝึกไว้เป็ นเล่ม ื เดียวกัน ดังนันขอให้ผใช้ค่มอได้ทาความเข้าใจเสียก่อนว่าท่าใดก็ตามทีในคู่มอมิได้บ่งว่าเป็ นท่าอาวุธ ู้ ู ื ํ ื ของอาวุธใด ให้เข้าใจว่าเป็ นท่าอาวุธทีนําไปใช้ได้ทงผูทถือ ปลย. เอ็ม.๑๖ และ ปลย.๑๑ และท่าใด ั ้ ี ที คู่มอบ่งว่า “ใช้เฉพาะ” กับอาวุธใด ก็ให้นําไปใช้กบอาวุธชนิดนันเท่านัน ื ั ๖. การปรับปรุงแก้ไข หากผูใช้ค่มอเล่มนีประสงค์ทจะให้ขอเสนอแนะในการเปลียนแปลงแก้ไข หรือให้ขอคิดเห็นต่าง ๆ ้ ู ื ี ้ ้ เพือปรับปรุงคู่มอให้ดขนย่อมกระทําได้ ข้อคิดเห็นต่าง ๆ ทีเสนอจะให้เปลียนแปลงเหล่านี ควรจะ ื ี ึ บ่งหน้า ข้อ และบรรทัด ทีปรากฎในคู่มอด้วย และควรให้เหตุผลประกอบเพือให้เกิดความเข้าใจ ื อย่างชัดเจน และสามารถนํามาเป็ นข้อมูลประกอบการพิจารณาได้อย่างสมบูรณ์ ข้อคิดเห็นเหล่านี ขอให้ส่งตรงไปยังแผนกการฝึก กองวิทยาการ ศูนย์การทหารราบ ค่ายธนะรัชต์ อําเภอปราณบุร ี จังหวัดประจวบคีรขนธ์ ๗๗๑๖๐ ี ั ๗. คําแนะนําในการใช้คาบอก ํ เพือให้ผมหน้าทีในการฝึกได้มความเข้าใจ และสามารถใช้คาบอกตามทีกําหนดไว้ในคู่มอเล่มนี ู้ ี ี ํ ื เพือสังการปฏิบตท่าต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง ไม่สบสน และเป็ นไปในแนวทางเดียวกัน จึงแนะนําให้ ั ิ ั ผูใช้ค่มอได้ทราบถึงรายละเอียดเกียวกับการใช้คาบอก ดังต่อไปนี ้ ู ื ํ ๗.๑ ประเภทคําบอก คําบอกทีกําหนดไว้ในคู่มอเล่มนีแบ่งออกเป็ น ๔ ประเภท คือ ื ๗.๑.๑ คําบอกแบ่ง ๗.๑.๒ คําบอกเป็ นคํา ๆ ๗.๑.๓ คําบอกรวด ๗.๑.๔ คําบอกผสม ๗.๒ การใช้คาบอก ลักษณะทีต่างกันของคําบอกประเภทต่าง ๆ จะเป็ นเครืองบ่งให้ทราบถึง ํ ลักษณะการปฏิบตของท่านัน ๆ ั ิ แนวทางในการใช้นําเสียงเพือสังการและเขียนไว้ให้เห็นความ แตกต่างกันอย่างเด่นชัด โดยการแสดงเครืองหมายไว้ ๒
  • 4. - ๓ - ๗.๒.๑ คําบอกแบ่ง (รูปที ๑) หัน ขวา รูปที ๑ แสดงการบอก คําบอกแบ่ง เป็ นคําบอกทีใช้เพือออกคําสังสําหรับท่าฝึกทีส่วนใหญ่ มักจะกําหนดไว้ให้ปฏิบตเป็ นจังหวะ ๆ ั ิ ได้ ( หรือจังหวะเดียว ) คําบอกแบ่งนีผูให้คาบอกจะต้องเปล่งเสียงบอกในคําแรกด้วยการลากเสียง ้ ํ ค่อนข้างยาว แล้วเว้นจังหวะไว้เล็กน้อยก่อนทีจะเปล่งเสียงบอกในคําหลัง การเปล่งเสียงบอกในคํา หลัง ต้องเน้นเสียงให้หนักแน่ นและสัน การเขียนคําบอกชนิดนีจะแสดงไว้ให้เห็นโดยใช้เครืองหมาย - คันกลางไว้ระหว่างคําบอก คําหน้า และคําหลัง ตัวอย่างเช่น “ขวา - หัน” เป็ นต้น ๗.๒.๒ คําบอกเป็ นคํา ๆ (รูปที ๒) ตาม พัก ระเบียบ รูปที ๒ แสดงการบอก คําบอกเป็ นคํา ๆ เป็ นคําบอกทีใช้เพือออกคําสังสําหรับท่าฝึกทีส่วนใหญ่แล้ว มักจะไม่กําหนดให้ปฏิบตแบ่งเป็ น ั ิ จังหวะไว้ (แต่สามารถแบ่งการปฏิบตออกเป็ นตอน ๆ ได้) และจําเป็ นต้องใช้คาบอกยืดยาวซึงอาจจะ ั ิ ํ มีหลายพยางค์กได้ จึงจําเป็ นต้องเว้นจังหวะการบอกไว้เป็ นตอน ๆ หรือ คํา ๆ คําบอกเป็ นคํา ๆ นี ็ ผูให้คาบอกจะต้องเปล่งเสียงบอกทังในคําแรกและคําหลังด้วยการวางนําหนักเสียงไว้เท่า ๆ กัน โดย ้ ํ เว้นจังหวะระหว่างคําไว้เล็กน้อย และไม่ตองลากเสียงยาวในคําแรกและเน้นหนักในคําหลังเหมือน ้ คําบอกแบ่ง การเขียนคําบอกชนิดนีจะแสดงไว้ให้เห็นโดยการใช้เครืองหมาย, คันกลางไว้ระหว่าง คําบอกคําหน้าและคําหลัง ตัวอย่างเช่น “ตามระเบียบ, พัก” เป็ นต้น ๗.๒.๓ คําบอกรวด (รูปที ๓) ถอด หมวก รูปที ๓ แสดงการบอก คําบอกรวด ๓
  • 5. - ๔ - เป็ นคําบอกทีใช้เพือออกคําสังสําหรับท่าฝึกทีส่วนใหญ่แล้ว มักจะไม่กําหนดให้แบ่งการปฏิบติ ั ไว้เป็ นจังหวะ (แต่สามารถแบ่งการฝึกออกเป็ นตอน ๆ ได้) และเป็ นคําบอกทีไม่ยดยาวหรือมีหลาย ื พยางค์ จึงไม่มความจําเป็ นต้องเว้นจังหวะการบอกไว้เป็ นตอน ๆ หรือ คํา ๆ คําบอกรวดนีไม่ว่าจะมี ี กีพยางค์กตาม ผูให้คาบอกจะต้องบอกรวดเดียวจบโดยวางนําหนักเสียงเป็ นระดับเดียวกัน การเขียน ็ ้ ํ คําบอกชนิดนีจะแสดงไว้ให้เห็นโดยเขียนเป็ นคําติดต่อกันทังหมด ไม่ใช้เครืองหมายใด ๆ ทังสิน ตัวอย่างเช่น “ถอดหมวก” หรือ “ติดดาบ” เป็ นต้น ๗.๒.๔ คําบอกผสม (รูปที ๔) ทํา ทางขวา แลขวา เป็ นคําบอกทีมีลกษณะคล้ายคําบอกเป็ นคํา ๆ จะผิดกันก็ตรงทีคําบอกในคําหลังจะเป็ นคํา ั บอกแบ่ง ดังนันคําบอกประเภทนีจึงเป็ นคําบอกทีใช้เพือออกคําสังสําหรับท่าฝึกทีส่วนใหญ่ มักจะ กําหนดให้ปฏิบตแบ่งเป็ นจังหวะ ๆ ได้ตามลักษณะของคําบอกแบ่งทีผสมอยูในคําหลังของคําบอก ั ิ ่ ผสมนีเป็ นหลัก คําบอกผสมนี ผูให้คาบอกจะต้องเปล่งเสียงในคําบอกช่วงแรกเช่นเดียวกับคําบอก ้ ํ เป็ นคํา ๆ คือ วางนําหนักเสียงไว้เท่า ๆ กัน ส่วนการเปล่งเสียงในคําช่วงหลัง ก็คงเปล่งเสียงใน ลักษณะเดียวกันกับคําบอกแบ่ง คือเปล่งเสียงบอกในคําแรกด้วยการลากเสียงค่อนข้างยาว และเว้น จังหวะไว้เล็กน้อยก่อนทีจะเปล่งเสียงบอกในคําหลังด้วยการเน้นเสียงให้หนักและสัน การเขียนคํา บอกชนิดนีจะแสดงไว้ให้เห็นโดยใช้เครืองหมาย , คันกลางไว้ระหว่างคําบอกช่วงแรกและช่วงหลัง ส่วนคําบอกในช่วงหลัง คงใช้เครืองหมายเช่นเดียวกับคําบอกแบ่ง คือ ใช้เครืองหมาย - คันกลาง ไว้ ระหว่างคําหน้าและคําหลังตัวอย่างเช่น “ทางขวา, แลขวา - ทํา” เป็ นต้น ๘. คําแนะนําในการฝึ ก ๘.๑ ฝึกปิดตอนหรือปิดจังหวะ ก่อนการฝึกเปิดตอนหรือเปิดจังหวะเพือให้งายต่อการปฏิบตและ ่ ั ิ การตรวจสอบความถูกต้อง ๘.๒ การใช้คาบอกปิดขันตอน ํ ๘.๒.๑ “จังหวะ” ใช้กบคําบอกแบ่งและคําบอกผสม ั ๘.๒.๒ “ตอน” ใช้กบคําบอกเป็ นคํา ๆ และคําบอกรวด ั ๘.๓ ก่อนการฝึกปิดขันตอนทุกครัง ผูฝึกจะต้องแจ้งให้ทหารทราบก่อนว่า จะฝึกท่าอะไร แบบ ้ ปิดตอนหรือปิดจังหวะ โดยใช้คาบอกเช่นเดียวกับเปิดตอนหรือเปิดจังหวะ เมือสินคําบอกให้ทหาร ํ ปฏิบตเฉพาะตอนทีหนึงหรือจังหวะหนึงค้างไว้ สําหรับตอนหรือจังหวะทีเหลือใช้คาบอก “ต่อไป” ั ิ ํ ทีละตอนหรือจังหวะตามลําดับ โดยทหารจะต้องปฏิบตไปทีละตอนหรือจังหวะแล้วค้างไว้จนกว่าจะสัง ั ิ ให้ปฏิบตต่อไป ั ิ ๔
  • 6. - ๕ - บทที ๒ การฝึ กบุคคลท่าอาวุธ ๘. ท่าเรียบอาวุธ (รูปที ๕) ด้านหน้า (๕ ก.) ด้านหลัง (๕ ข.) ปลย.๑๑ (๕ ค.) รูปที ๕ ท่าเรียบอาวุธ ๕
  • 7. - ๖ - ๘.๑ คําบอก “แถว - ตรง” (เป็ นคําบอกแบ่ง) ๘.๒ การปฏิบติ ท่านีมีจงหวะเดียว ั ั ๘.๒.๑ ลักษณะของท่าเรียบอาวุธมีดงนี คือ จะต้องยืนให้สนเท้าชิดและอยูในแนวเดียวกัน ั ้ ่ ปลายเท้าทังสองแบะออกไปทางข้างเท่า ๆ กัน ปลายเท้าห่างกันประมาณ ๑ คืบ หรือให้ทามุม ํ ประมาณ ๔๕ องศา เข่าเหยียดตรงและบีบเข้าหากัน มือขวาจับปืนทางด้านสันตรงส่วนใดก็ได้ พอทีจะไม่ทาให้ไหล่ขวาเอียงเมือยืนในท่าตรง ให้สนปืนอยูระหว่างนิวหัวแม่มอกับนิวชี นิวอืนเรียงชิด ํ ั ่ ื กับนิวชีตามลําดับ (อุงมือหันลงพืน) ให้แนวปืนตังตรงแนบขาขวา ด้ามปืนหันออกไปทางข้างหน้า ้ วางพานท้ายปืนลงบนพืนให้แง่หน้าของพานท้ายวางเสมอกับปลายนิวก้อยของเท้าขวา แขนทังสอง ่ อยูขางลําตัวในลักษณะงอข้อศอกไว้จนเกิดช่องว่างห่างจากลําตัวประมาณ ๑ ฝามือ พลิกข้อศอกไป ่ ้ ข้างหน้าเล็กน้อยจนไหล่ทงสองข้างตึงและเสมอกัน นิวมือซ้ายทังห้าเหยียดตรงเรียงชิดกัน ให้ปลาย ั ่ นิวกลางแตะไว้ตรงกึงกลางขาซ้ายท่อนบนประมาณแนวตะเข็บกางเกง เปิดฝามือทางด้านนิวก้อย ออกเล็กน้อย ลําคอและใบหน้าตังตรง ไม่ยนคาง สายตามองตรงไปข้างหน้าในแนวระดับวางนําหนัก ื ตัวอยูบนเท้าทังสองข้างเท่ากันแล้วนิง ่ ๘.๒.๒ เมือได้ยนคําบอก “แถว” ในขณะอยูในท่าพักตามปกติทหารจะต้องจัดส่วนต่าง ๆ ิ ่ ของร่างกายให้ยนอยูในลักษณะของท่าเรียบอาวุธตามทีได้กล่าวไว้ในข้อ ๘.๒.๑ ข้างต้น ยกเว้นเข่า ื ่ ขวาหย่อนไว้เล็กน้อย พร้อมกับสูดลมหายใจเข้าปอดให้เต็มทีและยกอกให้ผงผาย ึ ๘.๒.๓ เมือได้ยนคําบอก “ตรง” ให้ทหารกระตุกเข่าขวาเข้ามาอย่างรวดเร็วและแข็งแรง ิ โดยพยายามรักษาไม่ให้ส่วนใด ๆ ของร่างกายมีการเคลือนไหว เข่าตึงในลักษณะบีบเข่าทังสองเข้า หากันแล้วนิง ๘.๓ คําแนะนําสําหรับผูฝึก ในการฝึกท่าเรียบอาวุธนันจําเป็ นจะต้องสอนให้ผรบการฝึกได้เรียนรู้ ้ ู้ ั ในเรืองท่าพักเสียก่อน แล้วจึงทําการฝึกทังท่าเรียบอาวุธและท่าพักควบคู่กนไป ั ๙. ท่าพัก ท่าพักแบ่งออกเป็ น ๕ ท่า คือ ท่าพักตามปกติ, ท่าพักตามระเบียบ ท่าพักตามสบาย ท่าพักแถว และท่าเลิกแถว ๙.๑ ท่าพักตามปกติ (รูปที ๖) ๙.๑.๑ คําบอก “พัก” (คําบอกรวด) ๙.๑.๒ การปฏิบติ ท่านีมีจงหวะเดียว แต่ให้ปฏิบตไปตามลําดับขันตอนดังต่อไปนี ั ั ั ิ ๙.๑.๒.๑ ในขันตอนแรกเมือได้ยนคําบอก “พัก” ให้ทหารหย่อนเข่าขวาลงเล็กน้อย ิ พยายามไม่ให้ส่วนอืน ๆ ของร่างกายเคลือนไหวอย่างกระทันหัน มือขวายังคงจับถือปืนอยูในลักษณะ ่ ของท่าเรียบอาวุธโดยไม่มการเคลือนไหวใด ๆ ทังสิน ี ๙.๑.๒.๒ สําหรับในขันตอนต่อไปนัน ท่านีอนุ ญาตให้ทหารเคลือนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกายและเปลียนเข่าพักได้ตามสมควรและเท่าทีจําเป็ น ๙.๑.๒.๓ ท่านีห้ามทหารขยับเขยือนหรือเปลียนทียืนของเท้าทังสองข้าง และห้าม พูดคุยกัน ๖
  • 8. - ๗ - ๙.๑.๒.๔ เมือได้ยนคําบอก “แถว” ให้ทหารยืดตัวขึน พร้อมกับสูดลมหายใจเข้า ิ ปอดจนเต็มที แล้วจัดทุกส่วนของร่างกายให้อยูในลักษณะของท่าเรียบอาวุธเว้นเข่าขวายังหย่อนอยู่ ่ ๙.๑.๒.๕ เมือได้ยนคําบอก “ตรง” ให้กระตุกเข่าขวากลับมาอยูในลักษณะของ ิ ่ ท่าเรียบอาวุธอย่างรวดเร็ว และแข็งแรง แล้วนิง รูปที ๖ ท่าพักตามปกติ ๗
  • 9. - ๘ - ๙.๒ ท่าพักตามระเบียบ ๙.๒.๑ สําหรับปืนเล็กยาว เอ็ม.๑๖ (รูปที ๗) ๙.๒.๑.๑ คําบอก “ตามระเบียบ, พัก” (คําบอกเป็ นคํา ๆ) ด้านหน้า (๗ ก.) ด้านขวา (๗ ข.) ด้านหลัง (๗ ค.) รูปที ๗ ท่าพักตามระเบียบสําหรับ ปลย.เอ็ม.๑๖ ๙.๒.๑.๒ การปฏิบติ ท่านีมีจงหวะเดียว แต่ให้ปฏิบตไปตามลําดับขันตอนดังต่อไปนี ั ั ั ิ ๙.๒.๑.๒.๑ เมือได้ยนคําบอก “ตามระเบียบ, พัก” ให้ทหารแยกเท้าซ้ายออกไป ิ ทางด้านซ้ายประมาณ ๓๐ ซม. หรือ ประมาณครึงก้าวอย่างแข็งแรงและผึงผาย ในขณะเดียวกันให้ใช้ มือขวาเลือนขึนมาจับลํากล้องปืนตรงประมาณเหนือศูนย์หน้า แล้วผลักปืนให้เฉียงออกไปทาง ข้างหน้าตามแนวของปลายเท้าขวา หรือ ทํามุมกับลําตัวประมาณ ๔๕ องศา แขนขวาเหยียดตึง พร้อมกับนํามือซ้ายไปวางไว้ทางด้านหลัง หันหลังมือแตะไว้ประมาณแนวใต้เข็มขัด นิวทังห้าเหยียด ตรงเรียงชิดกัน แบะข้อศอกออกไปทางข้างหน้าเล็กน้อยแต่พอสบาย ลักษณะของการยืนจะต้องให้ขา ทังสองข้างตึง นําหนักตัวอยูบนเท้าทังสองเท่ากัน ยกอกให้สง่าผ่าเผย จัดไหล่ทงสองให้เสมอกัน ่ ั ลําคอและใบหน้าตังตรง สายตามองตรงไปข้างหน้าในแนวระดับแล้วนิง ๙.๒.๑.๒.๒ เมือได้ยนคําบอก “แถว -” ให้ทหารสูดลมหายใจเข้าปอดจนเต็มที ิ ๙.๒.๑.๒.๓ เมือได้ยนคําบอก “ตรง” ให้ชกเท้าซ้ายกลับมาชิดเท้าขวาโดยให้ ิ ั ส้นเท้าทังสองชิดกันและอยูในแนวเดียวกัน ปลายเท้าทังสองแบะออกไปทางข้าง ข้างละเท่ากันห่าง ่ กันประมาณ ๑ คืบ หรือประมาณ ๔๕ องศา พร้อมกันนันให้ใช้มอขวาดึงปืนเข้ามาหาลําตัวพร้อมกับ ื เปลียนท่าการจับปืนไปเป็ นการจับปืนในท่าเรียบอาวุธ และลดมือซ้ายกลับมาอยูในลักษณะของท่า ่ เรียบอาวุธอย่างแข็งแรง แล้วนิง ๘
  • 10. - ๙ - ๙.๒.๒ สําหรับปืนเล็กยาว ๑๑ (รูปที ๘) ๙.๒.๒.๑ คําบอก “ตามระเบียบ, พัก” (คําบอกเป็ นคํา ๆ) ๙.๒.๒.๒ การปฏิบติ ท่านีมีจงหวะเดียว แต่ให้ปฏิบตไปตามลําดับขันตอนดังต่อไปนี ั ั ั ิ ๙.๒.๒.๒.๑ เมือได้ยนคําบอก “ตามระเบียบ, พัก” ให้ทหารแยกเท้าซ้าย ิ ออกไปทางด้านซ้ายประมาณ ๓๐ ซม. หรือ ประมาณครึงก้าวอย่างแข็งแรงและผึงผาย ในขณะ เดียวกันให้ใช้มอขวาจับลํากล้องปืนตรงประมาณเหนือศูนย์หน้า จับไว้ดวยปลายนิวทังห้า ให้นิวหัว ื ้ แม่มออยูทางซ้าย นิวทีเหลือทังสีเรียงชิดกันอยูทางขวาลํากล้องปืน ลํากล้องปืนวางอยูในง่ามนิว ื ่ ่ ่ หัวแม่มอกับนิวชีแล้วผลักปืนให้เฉียงออกไปทางข้างหน้าตามแนวของปลายเท้าขวา แขนขวาเหยียด ื ตึงพร้อมกับนํามือซ้ายไปวางไว้ทางด้านหลังลําตัว หันหลังมือแตะไว้ประมาณแนวเข็มขัด นิวทังห้า เรียงชิดกันและแบมือออกตามธรรมชาติ แบะข้อศอกออกไปทางข้างหน้าเล็กน้อย แต่พอสบาย ลักษณะของการยืนจะต้องให้ขาทังสองข้างตึง นําหนักตัวอยูบนเท้าทังสองข้างเท่ากัน ยกอกให้ ่ สง่าผ่าเผย จัดไหล่ทงสองข้างให้เสมอกัน ลําคอและใบหน้าตังตรงสายตามองตรงไปข้างหน้าในแนว ั ระดับแล้วนิง ด้านหน้า (๘ ก.) ด้านขวา (๘ ข.) ด้านหลัง (๘ ค.) รูปที ๘ ท่าพักตามระเบียบสําหรับ ปลย.๑๑ ๙.๒.๒.๒.๒ เมือได้ยนคําบอก ิ “แถว -” ให้ทหารสูดลมหายใจเข้าปอด จนเต็มที ๙.๒.๒.๒.๓ เมือได้ยนคําบอก “ตรง” ให้ชกเท้าซ้ายกลับมาชิดเท้าขวา ิ ั ให้สนเท้าทังสองชิดและอยูในแนวเดียวกัน ปลายเท้าทังสองแบะออกไปทางข้าง เท่า ๆ กัน ห่าง ้ ่ ประมาณ ๑ คืบ หรือประมาณ ๔๕ องศา พร้อมกันนันให้ใช้มอขวาดึงปืนเข้ามาอยูขางลําตัว มือขวา ื ่ ้ เปลียนไปจับปืนในท่าเรียบอาวุธ และลดมือซ้ายกลับมาอยูในลักษณะท่าเรียบอาวุธอย่างแข็งแรง ่ แล้วนิง ๙
  • 11. - ๑๐ - ๙.๓ ท่าพักตามสบาย ๙.๓.๑ คําบอก “ตามสบาย, พัก” (คําบอกเป็ นคํา ๆ) ๙.๓.๒ การปฏิบติ ท่านีมีจงหวะเดียว แต่ให้ปฏิบตไปตามลําดับขันตอนดังต่อไปนี ั ั ั ิ ๙.๓.๒.๑ หย่อนเข่าขวาลงเล็กน้อย โดยพยายามไม่ให้ส่วนอืนของร่างกายมีการ ไหวติงอย่างกระทันหัน เช่นเดียวกับการทําท่าพักตามปกติในขันตอนแรก ๙.๓.๒.๒ สําหรับในขันตอนต่อไปนัน อนุ ญาตให้ทหารเคลือนไหวอิรยาบถ ห้าม ิ พูดคุยกันถ้าไม่ได้รบอนุ ญาต ปืนและเท้าข้างใดข้างหนึงจะต้องอยูกบที ั ่ ั ๙.๓.๒.๓ สําหรับการพักในท่านี ห้ามทหารออกนอกแถว และถ้าไม่ได้รบอนุ ญาต ั ให้นง ทหารจะนังไม่ได้ ถ้าได้รบอนุ ญาตให้นงจะต้องนังในลักษณะทีเท้าข้างใดข้างหนึงเป็ นหลักอยู่ ั ั ั กับทีและวางปืนไว้กบหน้าตักให้ลากล้องปืนหันไปทางด้านซ้าย ั ํ ๙.๓.๒.๔ เมือได้ยนคําบอก “แถว -” ไม่ว่าทหารจะอยูในอิรยาบถใดก็ตาม ให้ ิ ่ ิ ทหารรีบกลับมายืนในท่าเรียบอาวุธ ยกเว้นเข่าขวาหย่อนเล็กน้อย พร้อมกับสูดลมหายใจเข้าปอดจน เต็มทีและยกอกให้ผงผายึ ๙.๓.๒.๕ เมือได้ยนคําบอก “ตรง” ให้ทหารกระตุกเข่าขวาเข้ามาอยูในลักษณะ ิ ่ ของท่าเรียบอาวุธอย่างรวดเร็วและแข็งแรงแล้วนิง สําหรับท่าพักแถวและท่าเลิกแถว คงยึดถือปฎิบตเช่นเดียวกับท่าพักแถวและเลิกแถวของ ั ิ บุคคลท่ามือเปล่า แต่เพิมเติมเฉพาะการถืออาวุธด้วยมือขวาเท่านัน ๑๐. ท่าหันอยู่กบที ั ท่าหันอยูกบทีแบ่งออกเป็ น ๓ ท่า คือ ท่าขวาหัน, ท่าซ้ายหัน, และท่ากลับหลังหัน ่ ั ๑๐.๑ ท่าขวาหัน (รูปที ๙) เริมจังหวะหนึง (๙/๑ ก.) สินสุดจังหวะหนึง (๙/๑ ข.) จังหวะสอง (๙/๒) รูปที ๙ ท่าขวาหัน ๑๐
  • 12. - ๑๑ - ๑๐.๑.๑ คําบอก “ขวา - หัน” (คําบอกแบ่ง) ๑๐.๑.๒ การปฏิบติ ท่านีแบ่งออกเป็ น ๒ จังหวะดังต่อไปนี ั ๑๐.๑.๒.๑ จังหวะหนึง เมือได้ยนคําบอก “ขวา - หัน” ให้ทหารใช้มอขวาทีจับถือ ิ ื ่ ปืนอยูในท่าเรียบอาวุธนัน ยกปืนสูงขึนจากพืนเล็กน้อย (ประมาณ ๑ ฝามือ) โดยจับถือปืนในท่าเดิม ่ แล้วยกปืนให้สงขึนในแนวดิง และบังคับให้ปืนแนบชิดอยูกบขาข้างขวา พยายามให้แนวปืนตังได้ฉาก ู ่ ั กับพืนดิน ข้อศอกขวางอเล็กน้อยตามธรรมชาติ ขณะเดียวกันนันให้ทหารเปิดปลายเท้าขวาให้สงขึน ู จากพืนเล็กน้อยโดยพยายามกดส้นเท้าให้ตรึงอยูกบที และเปิดส้นเท้าซ้ายให้ปลายเท้าซ้ายกดแน่ นไว้ ่ ั กับพืนเพือช่วยในการทรงตัวขณะหมุนตัว แล้วใช้ตะโพกเหวียงตัวไปทางขวาจนลําตัวหมุนไปได้ ๙๐ องศา โดยใช้สนเท้าขวาเป็ นจุดหมุน ขณะทีหมุนตัวไปนันจะต้องพยายามรักษาทรวดทรงของลําตัว ้ แขนและมือซ้ายบังคับให้อยูในลักษณะของท่าเรียบอาวุธตลอดเวลา เมือหมุนตัวไปได้ทแล้วทหารจะ ่ ี ยืนอยูในลักษณะนําหนักตัวอยูบนเท้าข้างขวา ขาซ้ายเหยียดตึงไปทางด้านหลังทางซ้าย ส้นเท้าเปิด ่ ่ และบิดออกทางด้านนอกลําตัว ๑๐.๑.๒.๒ จังหวะสอง ชักเท้าซ้ายมาชิดกับเท้าขวาเพือยืนในลักษณะของท่า เรียบอาวุธอย่างรวดเร็วและแข็งแรง ในขณะเดียวกันนันก็ให้ลดปืนให้ตําลงในแนวดิง จนกว่าพานท้าย ปืนจะวางอยูบนพืนในลักษณะของท่าเรียบอาวุธโดยสมบูรณ์ ่ ๑๐.๑.๓ คําแนะนําสําหรับผูฝึก ในการฝึกปิดจังหวะ ผูฝึกจะต้องแจ้งให้ทหารทราบก่อนว่า ้ ้ จะฝึกท่าขวาหันแบบปิดจังหวะ แล้วใช้คาบอกเช่นเดียวกับท่าขวาหันเปิดจังหวะคือ “ขวา - หัน” เมือ ํ จะให้ทหารปฏิบตในจังหวะต่อไปก็ให้ใช้คาบอก “ต่อไป” ั ิ ํ ๑๐.๒ ท่าซ้ายหัน (รูปที ๑๐) ๑๐.๒.๑ คําบอก “ซ้าย - หัน” (คําบอกแบ่ง) ๑๐.๒.๒ การปฏิบตท่านีแบ่งการปฏิบตออกเป็ น ๒ จังหวะ ดังต่อไปนี ั ิ ั ิ ๑๐.๒.๒.๑ จังหวะหนึง เมือได้ยนคําบอก “ซ้าย - หัน” ให้ทหารใช้มอขวาทีจับ ิ ื ่ ่ ถือปืนอยูในท่าเรียบอาวุธนัน ยกปืนสูงขึนจากพืนเล็กน้อย (ประมาณ ๑ ฝามือ) โดยให้จบปืนในท่า ั เดิมแล้วยกปืนให้สงขึนในแนวดิง และบังคับให้ปืนแนบชิดอยูกบขาข้างขวา พยายามให้ปืนตังได้ฉาก ู ่ ั กับพืนดิน ข้อศอกขวางอเล็กน้อยตามธรรมชาติ ขณะเดียวกันนันให้ทหารเปิดปลายเท้าซ้ายให้สงขึน ู จากพืนเล็กน้อยโดยพยายามกดส้นเท้าให้ตรึงอยูกบที และเปิดส้นเท้าขวาใช้ปลายเท้าขวากดแน่ นไว้ ่ ั กับพืนเพือช่วยในการทรงตัวขณะหมุนตัว แล้วใช้ตะโพกเหวียงตัวไปทางซ้ายจนลําตัวหมุนไปได้ ๙๐ องศา โดยใช้สนเท้าซ้ายเป็ นจุดหมุน ขณะทีหมุนตัวไปนันจะต้องรักษาทรวดทรงของลําตัว แขน ้ และมือซ้ายให้อยูในลักษณะท่าเรียบอาวุธอยูตลอดเวลา เมือหมุนตัวไปได้ทแล้วทหารจะยืนอยูใน ่ ่ ี ่ ลักษณะนําหนักตัวอยูบนเท้าข้างซ้าย ขาขวาเหยียดตึงไปทางด้านหลังทางขวา ส้นเท้าเปิดและบิด ่ ออกทางด้านนอกลําตัว ๑๑
  • 13. - ๑๒ - เริมจังหวะหนึง (๑๐/๑ ก.) สินสุดจังหวะหนึง (๑๐/๑ ข.) จังหวะสอง (๑๐/๒) รูปที ๑๐ ท่าซ้ายหัน ๑๐.๒.๒.๒ จังหวะสอง ชักเท้าขวามาชิดกับเท้าซ้ายเพือยืนในลักษณะของท่า เรียบอาวุธอย่างรวดเร็วและแข็งแรง ในขณะเดียวกันนันก็ให้ลดปืนให้ตําลงในแนวดิง จนกว่าพานท้าย ปืนจะวางอยูบนพืนในลักษณะของท่าเรียบอาวุธโดยสมบูรณ์ ่ ๑๐.๒.๓ คําแนะนําสําหรับผูฝึก ในการฝึกปิดจังหวะผูฝึกจะต้องแจ้งให้ทหารทราบก่อน ้ ้ ว่าจะฝึกท่าซ้ายหันแบบปิดจังหวะ แล้วใช้คาบอกเช่นเดียวกับท่าซ้ายหันเปิดจังหวะ คือ “ซ้าย - หัน” ํ เมือจะให้ทหารปฏิบตในจังหวะต่อไปก็ให้ใช้คาบอก “ต่อไป” ั ิ ํ ๑๐.๓ ท่ากลับหลังหัน (รูปที ๑๑) ๑๐.๓.๑ คําบอก “กลับหลัง - หัน” (คําบอกแบ่ง) ๑๐.๓.๒ การปฏิบติ ท่านีแบ่งการปฏิบตออกเป็ น ๒ จังหวะดังต่อไปนี ั ั ิ ๑๐.๓.๒.๑ จังหวะหนึง เมือได้ยนคําบอก “กลับหลัง - หัน” ให้ทหารใช้มอขวาที ิ ื ่ ู ่ จับถือปืนอยูในท่าเรียบอาวุธนัน ยกปืนให้สงขึนจากพืนเล็กน้อย (ประมาณ ๑ ฝามือ) ในแนวดิงโดย ให้จบปืนในท่าเดิมแล้วยกปืนให้สงขึนในแนวดิง และบังคับให้ปืนแนบชิดอยูกบขาข้างขวาพยายาม ั ู ่ ั ให้ปืนตังได้ฉากกับพืนดิน ข้อศอกขวางอเล็กน้อยตามธรรมชาติ ขณะเดียวกันนันให้ทหารเปิดปลาย เท้าขวาให้สงขึนจากพืนเล็กน้อย โดยพยายามกดส้นเท้าให้ตรึงอยูกบที และเปิดส้นเท้าซ้ายใช้ปลาย ู ่ ั เท้ากดไว้กบพืน เพือช่วยในการทรงตัวขณะหมุนตัวแล้วใช้ตะโพกเหวียงตัวไปทางขวา ั ๑๒
  • 14. - ๑๓ - เริมจังหวะหนึง (๑๑/๑ ก.) เปลียนรูป (๑๑/๑ ข.) จังหวะสอง (๑๑/๒) รูปที ๑๑ ท่ากลับหลังหัน จนได้ ๑๘๐ องศา (กลับหน้าเป็ นหลัง) ด้วยการใช้สนเท้าขวาเป็ นจุดหมุน ขณะเดียวกันนันให้เหวียง ้ เท้าซ้ายไปทางซ้ายตามจังหวะการหมุนตัว และเมือหมุนตัวไปได้ทแล้ว (๑๘๐ องศา) ให้นําปลาย ี เท้าซ้ายไปแตะพืนไว้ทางด้านหลังในทิศทางเฉียงไปข้างหลังทางซ้าย ส้นเท้าเปิด เข่าเหยียดตึง ในขณะทีหมุนตัวไปนันจะต้องพยายามรักษาทรวดทรงของลําตัว และวางมือซ้ายให้อยูในลักษณะของ ่ ท่าเรียบอาวุธตลอดเวลาด้วย เมือหมุนตัวไปได้ทแล้วนําหนักตัวอยูบนเท้าขวา ขาซ้ายเหยียดตึง ี ่ ปลายเท้าข้างซ้ายวางอยูทางด้านหลังทางซ้าย ส้นเท้าเปิดและบิดออกข้างนอกลําตัว ่ ๑๐.๓.๒.๒ จังหวะสอง ชักเท้าซ้ายมาชิดกับเท้าขวาเพือยืนในลักษณะของท่า เรียบอาวุธอย่างรวดเร็วและแข็งแรง ในขณะเดียวกันนันก็ให้ลดปืนให้ตําลงในแนวดิง จนกว่าพานท้าย ปืนจะวางอยูบนพืนในลักษณะของท่าเรียบอาวุธโดยสมบูรณ์ ่ ๑๐.๓.๓ คําแนะนําสําหรับผูฝึก ในการฝึกปิดจังหวะผูฝึกจะต้องแจ้งให้ทหารก่อนว่าจะฝึก ้ ้ ท่ากลับหลังหันแบบปิดจังหวะ แล้วใช้คาบอกเช่นเดียวกับท่ากลับหลังหันเปิดจังหวะ คือ “ กลับหลัง ํ – หัน ” เมือจะให้ทหารปฏิบตในจังหวะต่อไปก็ให้ใช้คาบอก “ ต่อไป ” ั ิ ํ สําหรับท่าหันอยูกบทีนี นอกเหนือไปจากท่าขวาหัน, ท่าซ้ายหัน, และท่ากลับหลังหันตามทีได้ ่ ั กล่าวไปแล้ว อาจจะให้ทาท่ากึงขวาหรือท่ากึงซ้ายหันอีกก็ได้ ส่วนการปฏิบตในท่าดังกล่าวนี ก็คงมี ํ ั ิ ลักษณะเช่นเดียวกันกับท่าขวาหันหรือท่าซ้ายหันนันเอง จะแตกต่างกันเฉพาะให้ทาท่าหันไปทางขวา ํ หรือทางซ้ายเพียง ๔๕ องศา เท่านัน ๑๓
  • 15. - ๑๔ - ๑๑. ท่าคอนอาวุธ ท่าคอนอาวุธแบ่งการปฏิบตออกเป็ น ๒ ท่า คือ ท่าคอนอาวุธ, และท่าเรียบอาวุธ ั ิ ๑๑.๑ ท่าคอนอาวุธ (รูปที ๑๒) ๑๑.๑.๑ คําบอก “คอน, อาวุธ” (คําบอกเป็ นคํา ๆ) ๑๑.๑.๒ การปฏิบติ เมือได้ยนคําบอก “คอน, อาวุธ” ให้ทหารใช้มอขวาทีจับถือปืนอยู่ ั ิ ื ่ ในท่าเรียบอาวุธนัน มากํารอบบริเวณใต้ศูนย์หน้าในลักษณะหันฝามือเข้าหาลําตัว พร้อมกับยกปืนให้ สูงขึนจากพืนในแนวดิงมากดแนบไว้กบตะโพกประมาณใต้เข็มขัดเล็กน้อย โดยข้อศอกขวากางออก ั ตามธรรมชาติ แล้วผลักปากลํากล้องปืนเฉียงออกไปข้างหน้า และพานท้ายปืนชีเฉียงไปทางข้างหลัง ให้แนวตัวปืนทํามุมกับลําตัว ประมาณ ๑๕ องศา ส่วนอืน ๆ ของร่างกายยังคงอยูในลักษณะท่า ่ เรียบอาวุธ ด้านหน้า (๑๒ ก.) ด้านขวา (๑๒ ข.) รูปที ๑๒ ท่าคอนอาวุธ ๑๑.๒ ท่าเรียบอาวุธ (จากท่าคอนอาวุธ) ๑๑.๒.๑ คําบอก “เรียบ, อาวุธ” (คําบอกเป็ นคํา ๆ) ๑๑.๒.๒ การปฏิบติ เมือได้ยนคําบอก “เรียบ, อาวุธ” ให้เลือนมือขวาทีกําปืนอยูในท่า ั ิ ่ คอนอาวุธค่อย ๆ ลดปืนตําลงไปในแนวดิง ในขณะเดียวกันนันก็ให้เปลียนมือจากท่ากํามือใต้ ศูนย์หน้าไปเป็ นการจับปืนในท่าเรียบอาวุธคือจับปืนทางด้านสันตรงส่วนใดก็ได้ โดยไหล่ขวาไม่เอียง ๑๔
  • 16. - ๑๕ - และให้สนปืนอยูระหว่างนิวหัวแม่มอกับนิวชี พยายามรักษาแนวปืนให้ตงตรงในแนวดิง จากนันก็ลด ั ่ ื ั ปืนลงจนกว่าพานท้ายปืนจะวางอยูบนพืนในลักษณะของท่าเรียบอาวุธ โดยไม่กระแทกแล้วยืนอยูใน ่ ่ ท่าเรียบอาวุธ ๑๑.๓ คําแนะนําสําหรับผูฝึก ้ ๑๑.๓.๑ ในการดําเนินการฝึกผูฝึกจะต้องให้ทหารเรียนรูทงท่าคอนอาวุธและท่าเรียบอาวุธ ้ ้ ั เสียก่อนแล้วจึงจะเริมให้ทหารฝึกปฏิบติั ๑๑.๓.๒ ผูฝึกควรอธิบายเพิมเติมให้ทหารทราบว่าท่าคอนอาวุธนี เป็ นท่าทีนําไปใช้ใน ้ โอกาสทีทหารจะต้องเคลือนทีระยะใกล้ ๆ ขณะถืออาวุธปืนเล็กทังในขณะทีอยูตามลําพังและอยูใน ่ ่ แถวภายใต้การควบคุม เช่น ทหารได้ยนผูควบคุมแถวให้คาบอก “ข้างหน้า ๕ ก้าว, หน้า - เดิน” ิ ้ ํ “ก้าวทางขวา ๗ ก้าว, ทํา” หรือ “ก้าวถอยหลัง ๖ ก้าว , ทํา” เป็ นต้น ก่อนทีทหารจะปฏิบตตาม ั ิ คําสัง ทหารจะต้องทําท่าคอนอาวุธเองตามลําพังก่อนโดยไม่ตองรอคําสัง และเมือได้ปฏิบตการ ้ ั ิ เคลือนทีไปครบตามจํานวนก้าวทีผูควบคุมแถวสังแล้ว ให้ทาท่าเรียบอาวุธเองโดยไม่ตองรอคําสัง ้ ํ ้ เช่นเดียวกัน ๑๑.๓.๓ หากประสงค์จะให้แถวทหารเคลือนทีไปข้างหน้าระยะค่อนข้างไกลและประสงค์ ให้ทหารถือปืนในท่าคอนอาวุธ ก็ยอมจะกระทําได้โดยให้ผควบคุมแถวใช้คาบอกดังนี “คอน, อาวุธ” ่ ู้ ํ “หน้า - เดิน” “แถว - หยุด” “เรียบ , อาวุธ” ตามลําดับเป็ นต้น และในกรณีเช่นนีทหารจะทําท่าคอน อาวุธและท่าเรียบอาวุธเองโดยอัตโนมัตไม่ได้คงปฏิบตไปตามคําสังของผูควบคุมแถว ิ ั ิ ้ ๑๑.๓.๔ ในการฝึกควรจะได้ให้ทหารปฏิบตท่าคอนอาวุธ ทังโดยมีการสังการและไม่ตอง ั ิ ้ สังการทังสองกรณี ๑๒. ท่าเฉี ยงอาวุธ ท่าเฉียงอาวุธแบ่งการปฏิบตออกเป็ น ๒ ท่า คือ ท่าเฉียงอาวุธ และท่าเรียบอาวุธ ั ิ ๑๒.๑ ท่าเฉียงอาวุธ (รูปที ๑๓) ๑๒.๑.๑ คําบอก “เฉียง, อาวุธ” (คําบอกเป็ นคํา ๆ) ๑๒.๑.๒ การปฏิบติ ท่านีแบ่งการปฏิบตออกได้เป็ น ๒ ตอน ดังต่อไปนีคือ ั ั ิ ๑๒.๑.๒.๑ ตอนทีหนึง เมือได้ยนคําบอก “เฉียง, อาวุธ” ให้ทหารใช้มอขวาที ิ ื จับปืนอยูในท่าเรียบอาวุธนัน ยกปืนขึนเฉียงผ่านไปทางข้างหน้า พร้อมกับเปลียนท่าการจับถือปืนไป ่ เป็ นท่ากําปืนแบบท่าคอนอาวุธ ให้ดามปืนหันไปทางข้างหน้าปากลํากล้องปืนชีไปทางเบืองบน ้ ด้านซ้าย พานท้ายปืนชีไปทางเบืองล่างด้านขวา ให้ปืนไปหยุดอยูตรงข้างหน้าลําตัว บังคับให้ ่ ่ ่ ่ กระบอกปืนอยูในลักษณะทะแยงกับลําตัว และอยูห่างจากลําตัวประมาณหนึงฝามือ ลํากล้องปืนเฉียง ขึนบนอยูประมาณหน้าไหล่ซาย พานท้ายปืนอยูทางขวาของตะโพกขาขวา มือขวากําปืนสูงเสมอ ่ ้ ่ ระดับไหล่ซาย กางข้อศอกขวาออกจนแขนท่อนบนขนานกับพืนระดับ ขณะเดียวกันนันก็ให้ยกมือ ้ ซ้ายมาจับปืนในลักษณะกํารอบใต้มอขวา ประมาณกึงกลางฝาประกับลํากล้องปืน (ปลย. เอ็ม.๑๖) ื ๑๕
  • 17. - ๑๖ - ่ หรือประมาณกึงกลางรองลํากล้องปืน (ปลย.๑๑) หันฝามือไปทางด้านขวาและบีบข้อศอกซ้ายแนบชิด กับลําตัว ตอนทีหนึง (๑๓/๑) ตอนทีสอง (๑๓/๒) รูปที ๑๓ ท่าเฉี ยงอาวุธ ๑๒.๑.๒.๒ ตอนทีสอง ลดมือขวาลงไปกําคอปืนในลักษณะควําฝามือลง ่ ข้างล่างอย่างแข็งแรง และให้มอขวาอยูบริเวณระดับแนวเข็มขัดทางขวาของสะเอว ข้อศอกขวากาง ื ่ ออกเล็กน้อยประมาณให้แนวแขนขวาท่อนล่างตังฉากกับแนวตัวปืน ยืนอยูในลักษณะท่าตรงแล้วนิง ่ ๑๒.๒ ท่าเรียบอาวุธ (จากท่าเฉียงอาวุธ) ๑๒.๒.๑ คําบอก “เรียบ, อาวุธ” (คําบอกเป็ นคํา ๆ) ๑๒.๒.๒ การปฏิบติ ท่านีแบ่งการปฏิบตออกได้เป็ น ๓ ตอน ดังนี ั ั ิ ๑๒.๒.๒.๑ ตอนทีหนึง เมือได้ยนคําบอก “เรียบ, อาวุธ” ให้ทหารปล่อยมือ ิ ่ ขวาทีกําคอปืนขึนไปจับปืนในลักษณะกํารอบเหนือมือซ้ายหันฝามือไปทางด้านซ้าย กางข้อศอกขวา ออกจนแขนท่อนล่างและแขนท่อนบนขนานกับพืนระดับ ๑๒.๒.๒.๒ ตอนทีสอง ปล่อยมือซ้าย แล้วใช้มอขวานําปืนลดลงไปอยูทางขวา ื ่ ชิดข้างลําตัวทางด้านขวา ให้กระบอกปืนตังดิงได้ฉากกับพืนระดับ พร้อมกับเปลียนลักษณะการจับ ปืนไปเป็ นการจับปืนด้วยนิวหัวแม่มออยูดานใน และนิวทังสีเรียงชิดกันอยูดานนอกแบะข้อศอกขวา ื ่ ้ ่ ้ ไปทางข้างหลังจนรูสกว่าไหล่ขวาตึง ขณะทีลดปืนลงไปอยูขางลําตัวทางขวานันให้นํามือซ้ายไปจับ ้ ึ ่ ้ บริเวณปลอกลดแสง โดยให้นิวหัวแม่มออยูดานในและให้นิวทังสีซึงเรียงชิดกันอยูดานนอก ปลายนิว ื ่ ้ ่ ้ ทังสีเฉียงลงข้างล่างทางขวาเล็กน้อย แล้วนําปากกระบอกปืนวางไว้ในร่องไหล่ขวา ยกศอกซ้ายสูงขึน จนแขนท่อนล่างและท่อนบนขนานกับพืนระดับ ส่วนอืนของร่างกายอยูในลักษณะท่าตรง ่ ๑๖
  • 18. - ๑๗ - ตอนทีหนึง (๑๔/๑) ตอนทีสอง (๑๔/๒) ตอนทีสาม (๑๔/๓) รูปที ๑๔ ท่าเรียบอาวุธ (จากท่าเฉี ยงอาวุธ) ๑๒.๒.๒.๓ ตอนทีสาม ใช้มอขวาทีจับปืนอยูนน ลดปืนลงจนกว่าพานท้ายปืน ื ่ ั จะวางอยูบนพืนในลักษณะของท่าเรียบอาวุธโดยไม่กระแทก พร้อมกับปล่อยมือซ้ายแล้วสะบัดลงไป ่ อยูขางลําตัวอย่างแข็งแรงในท่าเรียบอาวุธแล้วนิง ่ ้ ๑๒.๓ คําแนะนําสําหรับผูฝึก ้ ๑๒.๓.๑ ในการฝึกปิดตอน ผูฝึกจะต้องแจ้งให้ทหารทราบก่อนว่า จะฝึกท่าเฉียงอาวุธ ้ และท่าเรียบอาวุธจากท่าเฉียงอาวุธแบบปิดตอน โดยใช้คาบอกเช่นเดียวกับเปิดตอน คือ ํ ๑๒.๓.๑.๑ ท่าเฉียงอาวุธ ใช้คาบอก “เฉียง, อาวุธ” ให้ทหารปฏิบตเฉพาะตอน ํ ั ิ ทีหนึงแล้วค้างไว้ สําหรับตอนทีสองใช้คาบอก “ต่อไป” ํ ๑๒.๓.๑.๒ ท่าเรียบอาวุธ ใช้คาบอก “เรียบ, อาวุธ” ให้ทหารปฏิบตเฉพาะตอน ํ ั ิ ทีหนึงแล้วค้างไว้ สําหรับตอนทีสองและตอนทีสาม ใช้คาบอก “ต่อไป” ทีละตอนตามลําดับ ํ ๑๒.๓.๒ การฝึกท่าเรียบอาวุธ ผูฝึกจะต้องให้ทหารเรียนรูทงท่าเฉียงอาวุธและท่าเรียบ ้ ้ ั อาวุธเสียก่อน แล้วจึงเริมฝึกปฏิบติ ั ๑๒.๓.๓ อธิบายให้ทหารทราบว่า ท่าเฉียงอาวุธนีจะนําไปใช้ในโอกาสทีทหารจะต้อง เคลือนทีในระยะไกล ขณะถืออาวุธปืนเล็กทังในขณะอยูตามลําพังและอยูในแถวภายใต้การควบคุม ่ ่ ๑๗
  • 19. - ๑๘ - ๑๓. ท่าอาวุธพร้อม ท่าอาวุธพร้อมแบ่งการปฏิบตออกเป็ น ๒ ท่า คือ ท่าอาวุธพร้อม และท่าเรียบอาวุธ ั ิ ๑๓.๑ ท่าอาวุธพร้อม (รูปที ๑๕) ตอนทีหนึง (๑๕/๑) ตอนทีสอง (๑๕/๒) ตอนทีสาม (๑๕/๓) รูปที ๑๕ ท่าอาวุธพร้อม ๑๓.๑.๑ คําบอก “พร้อม, อาวุธ” (คําบอกเป็ นคํา ๆ) ๑๓.๑.๒ การปฏิบติ ท่านีแบ่งการปฏิบตออกเป็ น ๓ ตอนดังต่อไปนี ั ั ิ ๑๓.๑.๒.๑ ตอนทีหนึง เมือได้ยนคําบอก “พร้อม, อาวุธ” ให้ทหารใช้มอขวาทีจับ ิ ื ปืนอยูนน ยกปืนขึนให้เฉียงผ่านไปทางข้างหน้า พร้อมกับเปลียนท่าการจับปืนเป็ น ท่ากําปืนแบบท่า ่ ั คอนอาวุธ ให้ดามปืนหันไปข้างหน้าแนวปืนเฉียงจากไหล่ซายมายังแนวโคนขาขวาในลักษณะ ้ ้ ่ ่ ทะแยงกับลําตัว และอยูห่างจากลําตัวประมาณหนึงฝามือ มือขวากําปืนอยูเสมอระดับไหล่ซาย ่ ้ พานท้ายปืนอยูทางขวาของตะโพกขาขวา ข้อศอกขวากางออกจนแขนท่อนล่างและท่อนบนขนานกับ ่ พืนระดับ ขณะเดียวกันให้ยกมือซ้ายขึนจับปืนในลักษณะกํารอบใต้มอขวา หรือประมาณกึงกลาง ื ฝาประกับ ลํากล้องปืน (สําหรับ ปลย.เอ็ม.๑๖) หรือประมาณกึงกลางรองลํากล้องปืน (สําหรับ ่ ปลย.๑๑) หันฝามือไปทางด้านขวาและบีบศอกซ้ายแนบชิดกับลําตัว ๑๓.๑.๒.๒ ตอนทีสอง ลดมือขวาลงไปจับกําทีด้ามปืนในลักษณะนิวหัวแม่มอ ื อยูทางด้านล่างและนิวทังสีเรียงชิดกันอยูดานบน โดยให้นิวชีเหยียดตรงทาบติดกับทางด้านขวาของ ่ ่ ้ โกร่งไก ต่อจากนันใช้มอซ้ายผลักกระบอกปืนให้เฉียงไปข้างหน้าทางขวาจนแขนเหยียดตึง มือขวาดึง ื พานท้ายปืนเข้าหาลําตัวให้พานท้ายปืนวางอยูทหน้าท้องทางขวาประมาณเหนือแนวเข็มขัด และให้ ่ ี พลิกปืนหงายไปทางขวาเล็กน้อย เพือให้ทางด้านขวาของพานท้ายปืนวางอยูบนแขนขวาท่อนล่าง ่ พยายามบีบข้อศอกขวาให้แนบชิดกับลําตัวแต่พอสบาย แนวปืนทํามุมประมาณ ๔๕ องศากับลําตัว ๑๘
  • 20. - ๑๙ - ขณะเดียวกันก็ให้แยกเท้าซ้ายออกไปทางซ้ายประมาณ ๓๐ ซม. หรือ ประมาณครึงก้าวอย่างแข็งแรง และผึงผาย ๑๓.๑.๒.๓ ตอนทีสาม ให้ปล่อยมือซ้ายจากการจับถือปืนแล้วนํามือซ้ายไปวาง ทาบไว้ทางเบืองหลังในลักษณะหันหลังมือเข้าหาลําตัวและแนบไว้ประมาณใต้แนวเข็มขัด ส่วนนิวทัง ห้าเหยียดตรงเรียงชิดกัน แบะข้อศอกซ้ายออกไปข้างหน้าเล็กน้อยแต่พอสบาย ส่วนมือขวาให้ยกปาก กระบอกปืนให้สงขึนเล็กน้อยเพือจับปืนได้อย่างมันคง การยืนต้องให้ขาทังสองข้างตึง นําหนักตัวอยู่ ู บนเท้าทังสองเท่ากัน ยกอกให้ผงผาย จัดไหล่ทงสองข้างให้เสมอกัน ลําคอและใบหน้าตังตรง สายตา ึ ั มองตรงออกไปข้างหน้าในแนวระดับแล้วนิง ๑๓.๒ ท่าเรียบอาวุธ (จากท่าอาวุธพร้อม) รูปที ๑๖ ๑๓.๒.๑ คําบอก “เรียบ, อาวุธ (คําบอกเป็ นคํา ๆ) ๑๓.๒.๒ การปฏิบติ ท่านีแบ่งการปฏิบตออกเป็ น ๔ ตอน ดังต่อไปนี ั ั ิ ๑๓.๒.๒.๑ ตอนทีหนึง เมือได้ยนคําบอก “เรียบ, อาวุธ” ให้ทหารยกมือซ้าย ิ ไปจับปืนตรงประมาณกึงกลางฝาประกับลํากล้องปืน (สําหรับ ปลย.เอ็ม.๑๖) หรือประมาณกึงกลาง รองลํากล้องปืน (สําหรับ ปลย.๑๑) แขนเหยียดตึงพร้อมกับชักเท้าซ้ายมาชิดเท้าขวาให้สนเท้าทังสอง ้ ชิดและอยูในแนวเดียวกัน ปลายเท้าทังสองข้างแบะออกไปทางข้างเท่า ๆ กัน และห่างกันประมาณ ่ หนึงคืบ ๑๓.๒.๒.๒ ตอนทีสอง ใช้มอซ้ายดึงลํากล้องปืนเข้าหาลําตัว พร้อมกับใช้มอ ื ื ขวาทีกําด้ามปืนอยูผลักพานท้ายปืนให้ห่างออกไปจากลําตัว โดยให้อยูในลักษณะทีให้กระบอกปืน ่ ่ ่ ่ วางทะแยงและอยูห่างจากลําตัวประมาณหนึงฝามือคล้ายท่าเฉียงอาวุธ มือซ้ายสูงเสมอระดับไหล่ซาย ้ ข้อศอกซ้ายและข้อศอกขวาอยูห่างลําตัวเล็กน้อย ต่อจากนันให้ปล่อยมือขวาจากการกําด้ามปืนมาจับ ่ ปืนเหนือมือซ้ายในลักษณะกําปืนประมาณใต้ศูนย์หน้า ยกข้อศอกขวาให้สงจนแขนท่อนบน และท่อน ู ล่างขนานกับพืนระดับ ตอนทีหนึง (๑๖/๑) ตอนทีสอง (๑๖/๒) ตอนทีสาม (๑๖/๓) ตอนทีสี (๑๖/๔) รูปที ๑๖ ท่าเรียบอาวุธ (จากท่าอาวุธพร้อม) ๑๙