SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  46
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย  ชั้นประถมศึกษาปีที่  ๑ หน่วยการเรียนรู้ที่  ๑  ใบโบก  ใบบัว จำนวน  ๑๘  ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่  ๒  อ่าน คิด เขียน เรียนดี   เวลา ๓  ชั่วโมง สอนวันที่ ............... เดือน ........................... พ . ศ ................... จากเวลา ............... ถึงเวลา .............. ชื่อครูผู้ออกแบบกิจกรรม  นายสำลี  รักสุทธี มาตรฐาน  ท๑ . ๑  ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้  และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ  แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน ตัวชี้วัด ๑ .  อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ ๒ .  ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน ๓ .  เล่าเรื่องย่อจากเรื่องที่อ่าน
มาตรฐาน ท ๒ . ๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราว ในรูปแบบต่างๆ  เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด ๑ . คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด มาตรฐาน ท ๓ . ๑  สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ  และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึกในโอกาสต่างๆ  อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์  ตัวชี้วัด ๑ . ฟังคำแนะนำ คำสั่งง่ายๆ และปฏิบัติตาม ๒ . ตอบคำถามและเล่าเรื่องที่ฟังและดู ทั้งที่เป็นความรู้และความบันเทิง ๓ . พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
มาตรฐาน ท ๔ . ๑   เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย  การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา  ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ  ตัวชี้วัด ๑ . บอกและเขียนพยัญชนะ  สระ  วรรณยุกต์ และเลขไทย ๒ . เขียนสะกดคำและบอกความหมาย ของคำ มาตรฐาน ท ๕ . ๑   เข้าใจและแสดงความคิดเห็น  วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็น คุณค่าและนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ๑ .  บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก
สาระการเรียนรู้หลัก  (  Concepts)   แผนฯที่ ๒  “ อ่าน คิด เขียน เรียนดี ”   เวลา  ๓  ชั่วโมง   ๑ . อ่านออกเสียง เรื่อง ใบโบก ใบบัว ๒ . - อ่านคล่อง ร้องเพลง - อ่านคำที่มีสระ อี ๕ .  พูดแสดงความคิดเห็น - เขียนตามคำบอก ๔ .  ฟังคำแนะนำจากครู - ฟังคำสนทนากับเพื่อน ๖ .   ทายปริศนาคำทายเกี่ยวกับช้าง ๓ .  คัดลายมือ เขียนแจกลูกสะกดคำที่มีสระ  อี อ่าน คิด เขียน เรียนดี
เป้าหมายการเรียนรู้ ๑ .  ความรู้ที่คงทน ๑ . ๑  อ่านพยัญชนะและสระที่กำหนด ๑ . ๒  อ่านและเขียนพยัญชนะอักษรกลาง  ข ห ง ม   และสระ  อี  ๑ . ๓ อ่านและเขียนคำที่ประสมสระ  อี  ๑ . ๔  อ่านและเขียนแจกลูกสะกดคำ  คำที่มีสระ อี  ๒ .  ความรู้ทักษะเฉพาะวิชา ๒ . ๑  อ่านและเขียนพยัญชนะอักษรกลาง  ข ห ง ม   และสระ  อี ๒ . ๒ อ่านและเขียนคำที่ประสมสระ  อี  ๒ . ๓  อ่านและเขียนแจกลูกสะกดคำ  คำที่มีสระ  อี  ทักษะคร่อมวิชา ๓ . ๑ เล่นปริศนาคำทาย ๓ . ๒  ร้องเพลงสระ  อี ๓ . ๓  กระบวนการทำงาน / ปฏิบัติกิจกรรม
๔ .  คุณลักษณะ ๔ . ๑ ใฝ่เรียนใฝ่รู้ ๔ . ๒  ความรับผิดชอบ  ๔ . ๓  ขยัน  ประหยัดซื่อสัตย์  มีวินัย  สุภาพ  สะอาด  สามัคคี  มีน้ำใจ และกตัญญู  ๔ . ๔  มีนิสัยรักการอ่าน     ภาระงาน / วิธีการประเมิน - ผลการเขียน - ผลการเขียน - ผลการเขียน - ผลการเขียน - การอ่านและการเขียน - การอ่านและการเขียน - การอ่านและการเขียน - การอ่านและการเขียน สอบถาม - ถามความเข้าใจพยัญชนะ , สระ - ถามความเข้าใจพยัญชนะ , สระ - ถามความเข้าใจคำที่กำหนด - ถามความเข้าใจการอ่าน , เขียน แบบทดสอบ - อ่านและเขียนพยัญชนะและสระ  - อ่านและเขียนแจกลูกสะกดคำ  คำที่มีสระ อี - อ่านและเขียนคำที่กำหนด - อ่านและเขียนแจกลูกสะกดคำ ๑ .  ความรู้ที่คงทน ๑ . ๑  อ่านพยัญชนะและสระที่กำหนด ๑ . ๒ อ่านและเขียนพยัญชนะอักษรกลาง  ข ห ง ม   และสระ  อี ๑ . ๓ อ่านและเขียนคำที่ประสมสระ  อี ๑ . ๔  อ่านและเขียนแจกลูกสะกดคำ  คำที่มีสระ  อี  ชิ้นงาน สังเกต ตอบคำถาม ทดสอบ วิธีการประเมิน เป้าหมายการเรียนรู้
ชิ้นงาน สังเกต ตอบคำถาม ทดสอบ วิธีการประเมิน เป้าหมายการเรียนรู้ - ผลการเขียน - ผลการเขียน - ผลการเขียน - ผลทาย - - การอ่านและ การเขียน - การอ่านและ การเขียน - การอ่านและ การเขียน - การทาย - การร้องเพลง - ถามความเข้าใจ อักษร , สระ อี  - ถามความเข้าใจ เกี่ยวกับคำ - ถามความเข้าใจ การแจกลูก - ถามความรู้สึก - ถามความสนใจ - อ่านและเขียน อักษรกลางและ สระ อี  - อ่านและเขียนแจก ลูกสะกดคำ  - อ่านและเขียนแจก ลูกสะกดคำ - คำทาย - ร้องเพลง ๒ .  ทักษะเฉพาะวิชา ๑ . ๒  อ่านและเขียน พยัญชนะอักษรกลาง  ข ห  ง ม   และสระ  อี ๒ . ๒ อ่านและเขียนคำที่ ประสมสระ  อี ๒ . ๓  อ่านและเขียนแจก ลูกสะกดคำ  คำที่มีสระ อี  ๓ . ทักษะคร่อมวิชา ๓ . ๑ เล่นปริศนาคำทาย ๓ . ๒  ร้องเพลงสระ  อี
- - - จำนวน หนังสือที่อ่าน ต่อวัน - พฤติกรรมการ เรียน  - การร่วมกลุ่มกับ เพื่อน - ความต่อเนื่องใน การอ่าน - ถามความสนใจใฝ่รู้ - ถามข้อคิดและสิ่งที่ ได้จากเรื่อง - ถามความพอใจใน การเรียน - ความสนใจใน หนังสือที่อ่าน - ใช้แบบประเมิน คุณลักษณะ - ใช้เกณฑ์ที่มี  Rubrics  และมี  Rating Scale - ทดสอบการอ่านโดย ใช้เกณฑ์ที่มี  Rubrics ๔ .  คุณลักษณะ ๔ . ๑ ใฝ่เรียนใฝ่รู้ ๔ . ๒  ความรับผิดชอบ  ๔ . ๓  ขยัน  ประหยัดซื่อสัตย์  มี วินัย  สุภาพ  สะอาด  สามัคคี  มี น้ำใจ และกตัญญู ๔ . ๔  มีนิสัยรักการอ่าน ชิ้นงาน สังเกต ตอบคำถาม ทดสอบ วิธีการประเมิน เป้าหมายการเรียนรู้
สื่อสร้างสรรค์เสริมการเรียนรู้ / แหล่งเรียนรู้ ๑ . หนังสือสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลาง  ชั้นประถมศึกษาปีที่  ๑  ภาษาพาที ๒ . บทเรียนที่  ๑  เรื่อง  “ ใบโบก ใบบัว ”   ๓ . แบบฝึกทักษะการอ่านคำที่มีสระ  อี  ๔ . แบบฝึกทักษะการเขียนคำที่มีสระ  อี  ๕ . แบบฝึกทักษะการอ่านและเขียนแจกลูกสะกดคำ  คำที่มี  สระ  อี  ๖ . แบบทดสอบการอ่านและเขียนอักษรกลาง  และคำที่มีสระ  อี  ๗ . ชุดคำที่ใช้สำหรับให้เขียนตามคำบอก ๘ . เครื่องเล่นแผ่นเพลง  MP3  ๙ . เพลงสระ  อี
กิจกรรมการเรียนรู้  ชั่วโมง ที่ ๑   เวลา  ๑  ชั่วโมง - คำกับภาพ - เพลงช้าง - หนังสือเรียน - เกมทายอักษร และสระ ๑ .  นักเรียนทักทายครู  ครูทักทายนักเรียน  ซักถามถึงการเรียนรู้ที่ผ่านมา  จากนั้นนำคำกับภาพให้นักเรียนดู  ชี้ภาพให้ดูแล้วอ่านคำใต้ภาพให้นักเรียนเข้าใจความหมายของภาพและคำ  ( ภาคผนวก )  แล้วถามนักเรียนว่าเป็นภาพอะไร ประสมสระอะไร ๒ .  นักเรียนร้องเพลงช้างพร้อมปรบมือประกอบจังหวะให้เกิดความสนุกก่อนเรียน ๓ .  นักเรียนอ่านเรื่อง  “ ใบโบก ใบบัว ”   พร้อมกัน  ๔ .  นักเรียนอาสาออกมาเล่าเรื่อง  “ ใบโบก ใบบัว ”   ให้เพื่อนฟัง  นักเรียนฝึกตั้งถามและตอบกันเอง ๕ .  นักเรียนเล่นเกมทายตัวอักษรและสระ  โดยครูหยิบบัตรอักษรขึ้นมาแล้วถามว่า  “ ตัวอักษรอะไร ”   ๑ . ฟัง ๒ .  ร้อง เล่น ๓ .  อ่าน ๔ .  พูดเล่า ๕ .  พูด ทาย ๑ .  สังเกต - การฟัง - การดู - การพูด ( แบบสังเกต ) ๒ .  สังเกต ๓ .  สังเกต - การอ่าน ๔ .  สังเกต ๕ .  สังเกต สื่อประกอบ กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นตอนการเรียนรู้ วัด / ประเมิน
- ปริศนา - บัตรคำ - ตารางสะกดคำ - แบบฝึก ๖ .  นักเรียนเล่นอ่านปริศนาคำทาย  ครูอ่านปริศนาว่า “ อะไรเอ่ย  สี่คนหาม  สามคนแห่  สองคนพัด คนหนึ่งปัดแส้ ” นักเรียนตอบตามความเข้าใจของแต่ละคน  ครูเฉลยว่า  “ ส่วนต่าง ๆ ของช้าง ” ๗ .  นักเรียนอ่านแจกลูก  คำที่มีสระ  อี  ตามครู  เช่น ก  -  อี  -  กี ,  จ  -  อี  -  จี ,  ด  -  อี  - ดี ,  ต  - อ  - ตี ,  ป  -  อี  - ปี ครูหยิบบัตรคำแต่ละคำขึ้นมาให้นักเรียนดู นักเรียนอ่านแจกลูกดัง ๆ พร้อมกัน ๘ .  ครูเขียนตารางสะกดคำบนกระดานให้นักเรียนดูแล้วอ่านสะกดคำให้นักเรียนฟัง  เช่น   ๖ .  พูด อ่าน  ๗ .  อ่าน ๘ .  เขียน ๖ .  สังเกต  ๗ .  สังเกต ๘ .  สังเกต สื่อประกอบ กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นตอน การเรียนรู้ วัด / ประเมิน ตา ตอ  -  อา า ต ตา อ่านว่า สะกดว่า สระ พยัญชนะ คำ
ชั่วโมงที่  ๒   เวลา  ๑  ชั่วโมง แบบฝึก ๙ .  นักเรียนทำแบบฝึกทักษะการอ่านแจกลูกและสะกดคำ  คำที่มีสระ อี  ตามแบบฝึกที่ครูแจกให้   อ่าน สังเกต สื่อประกอบ กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นตอน การเรียนรู้ วัด / ประเมิน เพลงสระ อี ,[object Object],[object Object],[object Object],๑ .  ฟัง สังเกตการฟัง สื่อประกอบ กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นตอน การเรียนรู้ วัด / ประเมิน
- แผ่น MP3 - บัตร พยัญชนะฯ - คำที่นำมาบอกให้เขียน   ๒ .  ครูเปิดเพลงสระ  “ อี ”   ตามแผ่น  MP3  ให้นักเรียนฟัง  นักเรียนร้องพร้อมกับแผ่น  พร้อมกับทำท่าทางประกอบจังหวะให้เกิดความสนุกแล้วสนทนาเกี่ยวกับเนื้อหาของเพลง ๓ .  นักเรียนทบวนอักษรกลางและสระ  อา  อี  โดยครูถามนำและหยิบบัตรพยัญชนะและสระให้ดูแล้วถาม  จากนั้นให้ความรู้เพิ่มเติมจนเข้าใจตรงกัน ๔ .  นักเรียนเขียนตามคำบอก  โดยครูนำคำที่ประสมสระ  อา  และ  อี  มาบอกให้นักเรียนเขียนตาม ( คำที่นำมาบอกมีในภาคผนวก )  ๒ .  ร้องเพลง ๓ .  พูด ๔ .  เขียน ๒ . สังเกต การร้องเพลง ๓ .  สังเกต การพูด ๔ . สังเกตการเขียน  สื่อประกอบ กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นตอน การเรียนรู้ วัด / ประเมิน
ชั่วโมงที่  ๓   เวลา  ๑  ชั่วโมง   - แบบฝึกการ อ่านแจกลูก - แบบฝึก การเขียน - แบบฝึก   ๑ .  ครูสาธิตการเขียนสะกดคำบนกระดาน ให้นักเรียนดู เช่น ดี  - ด  - อี  - ดี ,  ตี  - ต  -  อี  - ตี ........ นักเรียนอาสาออกมาเขียนสะกดคำลงบนกระดานให้เพื่อน ๆ ดู  ครูชี้แจงให้นักเรียนเข้าใจตรงกัน ๒ .  นักเรียนทำแบบฝึกการเขียนสะกดคำ  คำที่มี สระ อี ตามตัวอย่างที่ครูทำให้ดูเสร็จแล้วส่งครูตรวจ ๓ .  นักเรียนแบบฝึกอ่านคำ  ประโยคและเรื่องสั้นคำที่มีสระ  อี  ( ถ้าเวลาไม่พอไปอ่านเป็นการบ้าน )   ,[object Object],[object Object],[object Object],๑ .  สังเกต - การอ่าน ๒ .  ตรวจ การเขียน ๓ .  สังเกต - การอ่าน   สื่อประกอบ กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นตอน การเรียนรู้ วัด / ประเมิน
การจัดบรรยากาศห้องเรียนเชิงบวก ๑ .  จัดให้มีสื่อวีดิทัศน์ที่สามารถใช้ให้นักเรียนดูได้ทั่วถึง ๒ .  จัดแผ่น VCD. ( วีซีดี )  MP3.  ( เอ็มพี  3 )  ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้ ๓ .  จัดสถานที่เรียนให้สะอาด  เป็นระเบียบ  เรียบร้อย  และสวยงาม ๔ .  จัดบอร์ดแสดงผลงานของนักเรียน
กา ขา หู งา ขา ภาคผนวก ตา อา หา
เพลงสระ  -  อี  ( เพลงที่  ๑ ) คำร้อง  สำลี  รักสุทธี ทำนอง เพลงช้าง อี  อี  อี    สระ  อี  นั้นอยู่ข้างบน จำไว้  จำไว้ทุกคน  อย่าสับสน  อยู่ข้างบนสระ  อี อ่านเขียนสะกดให้ดี  เขียนทุกทีให้ถูกนะเออ ตอ  อี  ตี  ดอ  อี  ดี  มอ  อี  มี  ชอ  อี  ชี ตามี  ดี  ปี  มี  ดี   ผี  หนี  ชี  สี  ตี  ดี ( ซ้ำ ) คำเหล่านี้มีสระ อี หนูจำได้ดีคุณครู
เพลงสระ  -  อี  ( เพลงที่  ๒ ) คำร้อง  ทำนอง  สำลี  รักสุทธี อี  อี้  อี  อี้  อี  อี๊  อี ตามี  ตาสี  ทำ   วาที  แม่ชี  เจอผี คำเหล่านี้มีสระ  อี ( ซ้ำ )   หนู  หนู  จำไว้ให้ดี สระ  อี  นั้นอยู่ข้างบน ( ซ้ำ )
คำที่นำมาเขียนตามคำบอก   ตา อา กา งา ขา หา มา จา ตี ปี มี ดี ขี จี บี ขี มีตา งาดี ขาอา มาหา ตาดี มีงา ขากา อาปา
แบบฝึกการอ่านแจกลูกสะกดคำ คำที่มีสระ  -  อี แบบฝึกอ่านที่  ๑  จุดประสงค์  อ่านแจกลูก  จากคำที่กำหนดให้ได้ถูกต้อง คำชี้แจง  อ่านแจกลูก  คำที่มีสระ  -  อี  ตามตัวอย่าง   ม ต ด ช ป ท ผ ฝ อ ถ มี ตี ดี ชี ปี ที ผี ฝี อี ถี
แบบฝึกอ่านที่  ๒  จุดประสงค์  อ่านสะกดคำ  จากคำที่กำหนดให้ได้ถูกต้อง คำชี้แจง   อ่านสะกดคำ  คำที่มีสระ  -  อี  ตามตัวอย่าง   สี อี ชี ปี ดี มี ตี มี มอ  - อี  -  อี ม มี อ่านว่า สะกดว่า สระ พยัญชนะ คำ
แบบฝึกอ่านที่  ๓ คำชี้แจง  ดูแผนภูมิแล้วอ่านแจกลูกสะกดคำ โดยเริ่มอ่านจากพยัญชนะ ไปสระ แล้วเป็นคำ   ท - อี   ต ป ช ม ด ผ ตัวอย่าง  ตี  อ่านว่า  ตอ  อี  ตี เขียนว่า  ตี
แบบฝึกการเขียนแจกลูกสะกดคำ คำที่มีสระ  -  อี แบบฝึกที่ ๑ คำชี้แจง  ให้เขียนแจกลูก  สะกดคำ  จากคำที่กำหนดให้  ตามตัวอย่างข้างล่าง ดี ด -  อี -  ดี มี .......................................................................... ตี .......................................................................... กี .......................................................................... ปี .......................................................................... จี .......................................................................... งี .......................................................................... บี ..........................................................................
ท อี   ต ป ช ม ด ผ แบบฝึกที่  ๒  คำชี้แจง   ให้เขียนประสมพยัญชนะและสระเป็นคำ แล้วแจกลูก  สะกดคำ  ให้ถูกต้อง   ตัวอย่าง ถี  ถ -  อี  -  ถี ........................................................................................ ........................................................................................
แบบฝึกอ่านคำ  และประโยคมีสระ  อี อ่านคำที่มีสระ  -  ี ทีวี ดีดี  รีรี  ตีคี  มีดี  มีสี  ชีวี  มีผี  กีวี  ทีดี  ดีปลี  มีฝี  อารี  ฝาชี  มีนา  อีกา  นารี  ทาสี  กีฬา  นาที  พาที  ลีลา ตาดี  นาดี  มียา  สูสี  ดูดี  ชะนี  ตาสี  ชีวา  คาวี อ่านประโยคที่มีสระ  -  ี ตาสี  มี  นา  ดี วาที  พา  นารี  ดู  อีกา
เรื่องสั้นที่มีสระ  -  ี เรื่องที่ ๑  ตาดี  มี  สี    ตาดี  มี สี  ตาดี  มี   สี ดี  ดี ตาดี  มี  ทีวี  ตาดี  มี  ทีวีสี  ดี  ดี
เรื่องที่  ๒  ชี  มี  ยาดี ตาสี  มา หา  วาที ตาสี พา วาที   มา  หา  ชี   ชี มี ยา ดี ดี ตาสี  และ  วาที  มา  หา  ยาดี  จาก  ชี
เรื่องที่  ๓  ตามี  ทา  สี  อีกา ตามี   ทาสี ฝาชี ตาดี   ทาสี  ทีวี   อีกา   ตี  สี ตามี ตามี   ทา สี  อีกา
เรื่องที่  ๔  ตาสี  มี  ยา  ดี คำชี้แจง  อ่านเรื่องแล้ววาดภาพประกอบตามจินตนาการของนักเรียน ตาสี   มี ยา ดี ชี  หา  ยา  ตา  สี ชี  มา  หา  ยา  ตา  สี ตาสี  ทา  ยา  ชี   ชี  มี  ยา  ดี  ดี  ที่  ทีวี ผลงานของนักเรียน ผลงานนักเรียน
แบบทดสอบหลังเรียน ชื่อ ........................................................... เลขที่ ...................................... ชั้นประถมศึกษาปีที่  ๑ วันที่ ......................... เดือน ............................................. พ . ศ ...................................................... คำชี้แจง   ๑ .  เลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว  แล้วกากบาท  (   )  ลงในช่องกระดาษคำตอบ  ข้อสอบมีทั้งหมด  ๕   ข้อ ๕  คะแนน  เวลา  ๑๐   ชั่วโมง ๑ .   ข้อใดอ่านแจกลูกสะกดคำถูกต้อง   ๒ .  “ สอ  -  อี  .........”  ควรเติมคำใดลงช่องว่าง ก .  มี  -  มอ  –  อี  –  มี    ก .  สา ข .  ดี  -  ดอ  –  ดี  –  ดา  ข .  สี ค .  สี  -  สี  - อี  - สี  ค .  สู
๓ .  ข้อใดอ่านออกเสียงสระ  เหมือน คำว่า  มีนา  ทั้งหมด  ก .  นาดี ข .  มีงู ค .  ตีขา ๔ .  ข้อใดมีคำที่ประสมด้วยสระ  อี  มากที่สุด ก .  ตาสี  ไป  นาดี ข .  ชี  มี  ยาดี ค .  ชี  ไป  หา  ตามี ๕ . ข้อใด  เขียนสะกดคำถูกต้อง ก .  ป  +  - อี  =   ปา ข .  สี  +  - อา   =   สู ค .  ผ  +  - อี   =   ผี
แนวการเขียนแผนจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ  GPAS แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ……… สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบย่อยอาหาร ชั้นประถมศึกษาปีที่  6   เวลา  1   ชั่วโมง ……………………………………………………………………………………………… 1. สาระสำคัญ อาหารที่เข้าสู่ร้างกายต้องผ่านกระบวนการย่อยอาหารเพื่อให้ได้สารอาหารที่มีขนาดเล็กจนสามารถลำเลียงไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้ กากอาหารที่เหลือจากกระบวนการย่อยจะถูกขับออกนอกร่างกาย 2.  เป้าหมายการเรียนรู้ ( จุดประสงค์ ) 2.1  ด้านความรู้ความคิด อธิบายการทำงานของอวัยวะในระบบย่อยอาหารแต่ละอวัยวะได้ 2.2  ด้านกระบวนการ เขียน  concept mapping  แสดงกระบวนการย่อยอาหารได้
3 . ร่องรอยการเรียนรู้ / ผลงานที่แสดงการเรียนรู้ 3.1  ข้อสรุปเรื่องหน้าที่ของอวัยวะในระบบย่อยอาหารแต่ละอวัยวะ 3.2 concept mapping  แสดงกระบวนการย่อยอาหาร 4.  การวัดผลประเมินผล 4.1  ประเมินคุณภาพของการสรุปหน้าที่ของอวัยวะในระบบย่อยอาหาร 4.2  ประเมินคุณภาพของ  concept mapping  แสดงกระบวนการย่อยอาหาร 5.  สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้ 5.1  แผนภาพแสดงระบบย่อยอาหารของคน 5.2  หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ชั้น ป .6  สสวท .  หน้า  2-5
6.   กิจกรรมการเรียนรู้ แบ่งกลุ่มนักเรียนกลุ่มละ  4-5  คน แล้วทำกิจกรรมต่อไปนี้ 6.1  นักเรียนศึกษาแผนภาพแสดงระบบย่อยอาหารของคน เพื่อตอบคำถามที่ครูเขียนบนกระดานดำ ดังนี้ -   ระบบย่อยอาหารของคนประกอบด้วยอวัยวะใดบ้าง  ( G- การรวบรวมข้อมูล ) -   เรียงลำดับอวัยวะในระบบย่อยอาหารได้อย่างไร  ( P- การจัดกระทำข้อมูล )  6.2   นักเรียนศึกษาเรื่อง ระบบย่อยอาหารจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ชั้น ป .6  ของ สสวท .  หน้า  2-5  เพื่อตอบคำถามที่ครูเขียนบนกระดานดำ ดังนี้ -   อวัยวะในระบบย่อยอาหารแต่ละอวัยวะทำหน้าที่อย่างไร  ( G- การรวบรวมข้อมูล ) 6.3  แต่ละกลุ่มออกแบบตารางบันทึกสรุปหน้าที่ของอวัยวะในระบบย่อยอาหาร แล้วเสนอหน้าชั้นเพื่อให้สมาชิกในห้องแสดงความคิดเห็นและเลือกใช้รูปแบบตารางที่เหมาะสม  ( A- การประเมินทางเลือก )
6.4   นักเรียนแต่ละคนบันทึกสรุปหน้าที่ของอวัยวะในระบบย่อยอาหารลงในตาราง  ( P- การจัดกระทำข้อมูล ) 6.5  ครูใช้คำถามเพื่อกระตุ้นการคิด ดังนี้ -   นักเรียนคิดว่าเราควรศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับระบบย่อยอาหารในเรื่องใดบ้าง  ( S-  การสร้างค่านิยมการคิด ) -   ถ้าจะศึกษาเรื่องโรคของระบบย่อยอาหารควรออกแบบตารางบันทึกอย่างไร  ( A- การเลือกทางเลือก ) 6.6   นักเรียนเขียน  concept mapping  แสดงระบบย่อยอาหาร  ( P- การจัดกระทำข้อมูล ) 6.7  นักเรียนแลกเปลี่ยนผลงาน  concept mapping   กับเพื่อนต่างกลุ่มเพื่อช่วยกันตรวจสอบความถูกต้องของผลงาน  ( P- การตรวจสอบ )
เกณฑ์การประเมิน 1.   เกณฑ์การประเมินการสรุปหน้าที่ของอวัยวะในระบบย่อยอาหาร   ระบุอวัยวะไม่ครบถ้วนและระบุหน้าที่ไม่ครบถ้วน   ระบุอวัยวะไม่ครบถ้วนหรือระบุหน้าที่ไม่ครบถ้วน   ระบุอวัยวะครบถ้วนและระบุหน้าที่ครบถ้วน   ความครบถ้วน ของเนื้อหา ต่ำ ปานกลาง สูง ระดับคุณภาพ ประเด็น
เรียงลำดับอวัยวะ ไม่ถูกต้องและระบุหน้าที่ไม่ถูกต้อง   เรียงลำดับอวัยวะ ไม่ถูกต้องและระบุหน้าที่มาถูกต้อง   เรียงลำดับอวัยวะถูกต้องและระบุหน้าที่ถูกต้อง   ความถูกต้องของเนื้อหา   ต่ำ ปานกลาง สูง ระดับคุณภาพ ประเด็น
2.   เกณฑ์การประเมิน  concept mapping  แสดงระบบย่อยอาหาร เลือกใช้รูปแบบไม่ถูกต้อง เรียงลำดับไม่ถูกต้อง และระบุอวัยวะไม่ครบถ้วน   เลือกใช้รูปแบบถูกต้องแต่เรียงลำดับไม่ถูกต้องหรือระบุอวัยวะไม่ครบถ้วน   เลือกใช้รูปแบบถูกต้องระบุอวัยวะครบถ้วนและเรียงลำดับถูกต้อง   ความครบถ้วน ของเนื้อหา ต่ำ ปานกลาง สูง ระดับคุณภาพ ประเด็น
การเขียนเอกสารฉบับนี้ผู้บรรยายได้ศึกษาทฤษฏีจาก  เอกสารประกอบ  การประชุมเรื่องการพัฒนาการคิดโดยใช้กระบวนการ  GPAS   ของสำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ  พิมพ์ครั้งที่  3 :   กันยายน  2551  …………………………………………………
( ตัวอย่างแผนประกอบนวัตกรรม ) แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการแต่งบทร้อยกรอง ประกอบหนังสือประกอบการเรียนเพื่อพัฒนาการแต่งบทร้อยกรอง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย  ช่วงชั้นที่  ๒  ( ชั้นประถมศึกษาปีที่  ๖ ) บทที่  ๔  กลอนสี่  จำนวน  ๕  ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่  ๑   เรื่อง  อ่านเรื่องและตอบคำถาม  เวลา  ๑   ชั่วโมง สอนวันที่ ............ เดือน .......................... พ . ศ ................... สาระสำคัญ กลอนสี่คือกลอนที่มีลักษณะเหมือนกลอนทั่วไป  คือมีการสัมผัสคำ  ทั้งสัมผัสในและนอก  การฝึกอ่านและแต่งกลอนช่วยให้นักเรียนมีความรู้ในเรื่องการสัมผัสและทำให้เกิดความรักและเห็นคุณค่าของภาษาไทย
จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑ . ทำแบบทดสอบก่อนเรียนผ่านเกณฑ์ที่ตั้งไว้ร้อยละ  ๘๐ ( K ) ๒ . อ่านเรื่อง  “ สานตามครองกลอนสี่ ” ตั้งคำถามและตอบคำถามจากเรื่องที่อ่านได้  (P) ๓ .  มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์  (A) สาระการเรียนรู้ ๑ .  การทำแบบทดสอยก่อนเรียน ๒ .  การอ่านเรื่อง  “ สานตามครองกลอนสี่ ”  ตั้งคำถามและตอบคำถามจากเรื่องที่อ่าน  กระบวนการจัดการเรียนรู้  ( ใช้เทคนิค  Jigsaw) ๑ .  นักเรียนกล่าวคำทักทายครู  ครูทักทายนักเรียน  ครูยกกลอนสี่  “ กลอนสี่ ”  ให้นักเรียนดูและอ่านออกเสียงดัง ๆ  พร้อมกัน  เช่น   “ นักเรียนมอสาม ช่างงามน้ำใจ ไม่ว่าใครใคร น้ำใจงดงาม ช่วยเหลือกันดี ไม่มีมองข้าม งานใดก็ตาม มอสามช่วยกัน ”
นักเรียนถาม - ตอบกันเอง  จากนั้นทำแบบทดสอบก่อนเรียน  เสร็จแล้วส่งครูตรวจ ๒ .  ครูแจ้งให้นักเรียนได้ทราบถึงสิ่งต่อไปนี้ ๑ )  สิ่งที่จะเรียน  คือหนังสือประกอบการเรียน  เรื่อง  “ สานตามครองกลอนสี่ ”  เป็นความรู้เกี่ยวกับกลอนสี่และการแต่งกลอนสี่ ๒ )  ขั้นตอนการเรียน  วิธีการศึกษา  การปฏิบัติตามเทคนิคของจิกซอร์ ๓ )  รูปแบบการเรียนแบบจิกซอร์  (Jigsaw)  ที่เรียนเคยเรียนมาแล้ว  เพื่อนักเรียนจะได้เรียนวิธีการนี้อย่างต่อเนื่องไปจนจบ  จะได้เกิดทักษะ  ความชำนาญตามมา ๓ .  ครูแจ้งให้ทราบถึงการนำหลักธรรมตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการเรียนครั้งนี้  โดยเฉพาะในเรื่องเกี่ยวกับความขยัน ตั้งใจ  สนใจเรียน  และความอดทนอดกลั้น ๔ .  สมาชิกแต่ละกลุ่ม  ( กลุ่มร่วมมือเดิม )  นับเพื่อให้มีหลายเลขประจำตัว   ๑ - ๔  และเลือก หัวหน้ากลุ่ม  ๑  คน  เลขานุการกลุ่ม  ๑  คน  ตั้งชื่อกลุ่มของตนเองตามมติกลุ่มเรียกว่า  “ กลุ่มบ้าน ”  (Home  Groups)  แต่ละกลุ่มเลือกประธาน  กรรมการและเลขานุการ  แล้วมอบหมายให้สมาชิกแต่ละคนศึกษาตอนที่ต่างกัน
๕ .  ครูแบ่งเนื้อหาจากเรื่อง  “ สานตามครองกลอนสี่ ”  ที่จะต้องศึกษาออกเป็น  ๔  ตอน  ดังนี้ ตอนที่  ๑  จากหน้า  ๑ – ๖ ตอนที่  ๒  จากหน้า  ๗ – ๑๒ ตอนที่  ๓  จากหน้า  ๑๓ – ๑๘ ตอนที่  ๔  จากหน้า  ๑๖ – ๒๕ ๖ .  ครูชี้แจงการปฏิบัติกิจกรรมของสมาชิกกลุ่มบ้าน  โดยอ่าน / ศึกษาเนื้อหาด้วยการปฏิบัติ ตามขั้นตอน   ดังนี้ ๑ )  นักเรียนในกลุ่มบ้านคนที่  ๑  อ่านตอนที่  ๑ ๒ )  นักเรียนในกลุ่มบ้านคนที่  ๒  อ่านตอนที่  ๒ ๓ )  นักเรียนในกลุ่มบ้านคนที่  ๓  อ่านตอนที่  ๓ ๔ )  นักเรียนในกลุ่มบ้านคนที่  ๔  อ่านตอนที่  ๔
๗ . สมาชิกทุกคนออกจากกลุ่มบ้าน  (Home  group)  ไปอยู่กลุ่มใหม่  เรียกว่ากลุ่มผู้เชี่ยวชาญ (Expert  Group)  ซึ่งจะประกอบไปด้วยสมาชิกแต่ละคนของกลุ่ม  บ้าน  คือ กลุ่มผู้เชี่ยวชาญกลุ่มที่  ๑  จะประกอบไปด้วยสมาชิก คนที่  ๑  ของแต่ละกลุ่ม กลุ่มผู้เชี่ยวชาญกลุ่มที่  ๒  จะประกอบไปด้วยสมาชิก คนที่  ๒  ของแต่ละกลุ่ม กลุ่มผู้เชี่ยวชาญกลุ่มที่  ๓  จะประกอบไปด้วยสมาชิก คนที่  ๓  ของแต่ละกลุ่ม กลุ่มผู้เชี่ยวชาญกลุ่มที่  ๔  จะประกอบไปด้วยสมาชิก คนที่  ๔  ของแต่ละกลุ่ม ๘ . สมาชิกกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ  รับบัตรคำสั่งการปฏิบัติกิจกรรม  ปฏิบัติตามคำชี้แจงในบัตรคำสั่ง  จากนั้นร่วมกันอภิปราย  สรุปความ  แสดงความคิดเห็นในหัวข้อที่ตนรับผิดชอบ   ๙ . สมาชิกในกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ  แยกตัวกลับไปยังกลุ่มบ้าน  นำเสนอความรู้ในกิจกรรมหรือตอนที่ตนรับผิดชอบศึกษา  ให้สมาชิกในกลุ่มบ้านทั้ง  ๔  คน ฟัง  จากนั้นช่วยกันสรุปความแสดงความคิดเห็น  บอกประโยชน์หรือข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน  เลขานุการกลุ่มจดบันทึก
๑๐ .  ตัวแทนกลุ่มทุกคนจับฉลากเพื่อนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียนให้ทราบว่า  กลุ่มใดนำเสนอก่อน  เรียงตามลำดับ  ครูและนักเรียนประเมินการนำเสนอผลงาน  ครูเสนอแนะและอธิบายเพิ่มเติม  ๑๑ .  สมาชิกทุกคนทำแบบฝึกหัดตอนที่  ๑  แบบฝึกทักษะที่  ๑ - ๖  เสร็จแล้วส่งครูตรวจ ๑๒ .  ครูแนะนำให้นักเรียนทำใบกิจกรรมที่  ๑  เป็นการบ้าน ๑๓ .  นักเรียนและครูร่วมกันสรุปสิ่งที่เรียนมาทั้งหมด  ให้โอกาสนักเรียนซักถามกันเอง ครูคอยเสริมเท่าที่จำเป็น สื่อ / แหล่งการเรียนรู้ ๑ .  กลอนสี่ ๒ .  บัตรคำสั่งสำหรับสมาชิกกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ ๓ .  แบบฝึกทักษะชุดที่  ๑  แบบฝึกทักษะที่  ๑ - ๖ ๔ .  ใบกิจกรรมที่  ๑ ๕ .  หนังสือประกอบการเรียน  เรื่อง  “ สานตามครองกลอนสี่ ”
กระบวนการวัดผลและประเมินผล ๑ . วิธีการ ๑ . ๑  สังเกต   การทำกิจกรรมกลุ่ม ๑ . ๒  ตรวจ   ๑ . ๒ . ๑  ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน   ๑ . ๒ . ๒  ตรวจการทำแบบฝึกทักษะชุดที่  ๑  แบบฝึกทักษะที่  ๑ – ๖   ๑ . ๒ . ๓  ตรวจใบกิจกรรมที่  ๑ เกณฑ์การประเมิน ๑ .  แบบประเมินกิจกรรมกลุ่ม  ผ่านเกณฑ์อย่างน้อยร้อยละ  ๘๐ ๒ .  การตรวจแบบทดสอบ  ผ่านเกณฑ์อย่างน้อยร้อยละ  ๘๐ เครื่องมือประเมินผล ๑ .  แบบทดสอบก่อนเรียน ๒ .  แบบฝึกทักษะชุดที่  ๑  แบบฝึกทักษะที่  ๑ - ๖ ๓ .  ใบกิจกรรมที่  ๑

Contenu connexe

Tendances

มาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนมาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนkhemmarat
 
คม Smile ป.1_57_unit1
คม Smile ป.1_57_unit1คม Smile ป.1_57_unit1
คม Smile ป.1_57_unit1Prawly Jantakam
 
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5กชนุช คำเวียง
 
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1Teacher Sophonnawit
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1sripayom
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านKanjana Pothinam
 
ภาษาจีนง่ายนิดเดียว
ภาษาจีนง่ายนิดเดียวภาษาจีนง่ายนิดเดียว
ภาษาจีนง่ายนิดเดียวThunyalak Thumphila
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3สุภาพร สิทธิการ
 
Writing Lesson Plan
Writing Lesson PlanWriting Lesson Plan
Writing Lesson Plannam2534
 
Reading lesson plan
Reading lesson planReading lesson plan
Reading lesson planBelinda Bow
 
แผนเขียน ส่งครั้งที่ 3
แผนเขียน ส่งครั้งที่ 3แผนเขียน ส่งครั้งที่ 3
แผนเขียน ส่งครั้งที่ 3Aiwilovekao
 

Tendances (18)

มาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนมาตราแม่ กน
มาตราแม่ กน
 
คม Smile ป.1_57_unit1
คม Smile ป.1_57_unit1คม Smile ป.1_57_unit1
คม Smile ป.1_57_unit1
 
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
 
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
 
ภาษาไทย ป.4 แผน 1
ภาษาไทย ป.4  แผน 1ภาษาไทย ป.4  แผน 1
ภาษาไทย ป.4 แผน 1
 
มาตรแม่กก ป2
มาตรแม่กก ป2มาตรแม่กก ป2
มาตรแม่กก ป2
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
 
48104437 1 20120122-145528
48104437 1 20120122-14552848104437 1 20120122-145528
48104437 1 20120122-145528
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
 
ภาษาจีนง่ายนิดเดียว
ภาษาจีนง่ายนิดเดียวภาษาจีนง่ายนิดเดียว
ภาษาจีนง่ายนิดเดียว
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
 
Writing Lesson Plan
Writing Lesson PlanWriting Lesson Plan
Writing Lesson Plan
 
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
 
Reading lesson plan
Reading lesson planReading lesson plan
Reading lesson plan
 
แบบฝึกซ่อมเสริม
แบบฝึกซ่อมเสริมแบบฝึกซ่อมเสริม
แบบฝึกซ่อมเสริม
 
สไลด์สอน
สไลด์สอนสไลด์สอน
สไลด์สอน
 
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๔
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๔แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๔
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๔
 
แผนเขียน ส่งครั้งที่ 3
แผนเขียน ส่งครั้งที่ 3แผนเขียน ส่งครั้งที่ 3
แผนเขียน ส่งครั้งที่ 3
 

Similaire à แบบทดสอบ ป.1

ตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอนตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอนParichart Ampon
 
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรมวิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรมpong_4548
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรitnogkamix
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1Itnog Kamix
 
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...0894239045
 
ภาษาไทยBbl ป3ภาค1
ภาษาไทยBbl ป3ภาค1 ภาษาไทยBbl ป3ภาค1
ภาษาไทยBbl ป3ภาค1 Amm Orawanp
 
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55Yatphirun Phuangsuwan
 
1281946738 ubon
1281946738 ubon1281946738 ubon
1281946738 ubonWaree Wera
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4Sasiprapha Srisaeng
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4Itt Bandhudhara
 
4 160303102036-161109130549
4 160303102036-1611091305494 160303102036-161109130549
4 160303102036-161109130549TuochKhim
 

Similaire à แบบทดสอบ ป.1 (20)

ตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอนตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอน
 
E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่
 
E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่
 
E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่
 
E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่
 
01 หน่วย 1
01 หน่วย 101 หน่วย 1
01 หน่วย 1
 
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรมวิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
 
ภาษาไทยBbl ป3ภาค1
ภาษาไทยBbl ป3ภาค1 ภาษาไทยBbl ป3ภาค1
ภาษาไทยBbl ป3ภาค1
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
 
1281946738 ubon
1281946738 ubon1281946738 ubon
1281946738 ubon
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
 
4 160303102036-161109130549
4 160303102036-1611091305494 160303102036-161109130549
4 160303102036-161109130549
 

แบบทดสอบ ป.1

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ใบโบก ใบบัว จำนวน ๑๘ ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ อ่าน คิด เขียน เรียนดี เวลา ๓ ชั่วโมง สอนวันที่ ............... เดือน ........................... พ . ศ ................... จากเวลา ............... ถึงเวลา .............. ชื่อครูผู้ออกแบบกิจกรรม นายสำลี รักสุทธี มาตรฐาน ท๑ . ๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้ และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน ตัวชี้วัด ๑ . อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ ๒ . ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน ๓ . เล่าเรื่องย่อจากเรื่องที่อ่าน
  • 2. มาตรฐาน ท ๒ . ๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราว ในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด ๑ . คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด มาตรฐาน ท ๓ . ๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึกในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ ตัวชี้วัด ๑ . ฟังคำแนะนำ คำสั่งง่ายๆ และปฏิบัติตาม ๒ . ตอบคำถามและเล่าเรื่องที่ฟังและดู ทั้งที่เป็นความรู้และความบันเทิง ๓ . พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
  • 3. มาตรฐาน ท ๔ . ๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ ตัวชี้วัด ๑ . บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย ๒ . เขียนสะกดคำและบอกความหมาย ของคำ มาตรฐาน ท ๕ . ๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็น คุณค่าและนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ๑ . บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก
  • 4. สาระการเรียนรู้หลัก ( Concepts) แผนฯที่ ๒ “ อ่าน คิด เขียน เรียนดี ” เวลา ๓ ชั่วโมง ๑ . อ่านออกเสียง เรื่อง ใบโบก ใบบัว ๒ . - อ่านคล่อง ร้องเพลง - อ่านคำที่มีสระ อี ๕ . พูดแสดงความคิดเห็น - เขียนตามคำบอก ๔ . ฟังคำแนะนำจากครู - ฟังคำสนทนากับเพื่อน ๖ . ทายปริศนาคำทายเกี่ยวกับช้าง ๓ . คัดลายมือ เขียนแจกลูกสะกดคำที่มีสระ อี อ่าน คิด เขียน เรียนดี
  • 5. เป้าหมายการเรียนรู้ ๑ . ความรู้ที่คงทน ๑ . ๑ อ่านพยัญชนะและสระที่กำหนด ๑ . ๒ อ่านและเขียนพยัญชนะอักษรกลาง ข ห ง ม และสระ อี ๑ . ๓ อ่านและเขียนคำที่ประสมสระ อี ๑ . ๔ อ่านและเขียนแจกลูกสะกดคำ คำที่มีสระ อี ๒ . ความรู้ทักษะเฉพาะวิชา ๒ . ๑ อ่านและเขียนพยัญชนะอักษรกลาง ข ห ง ม และสระ อี ๒ . ๒ อ่านและเขียนคำที่ประสมสระ อี ๒ . ๓ อ่านและเขียนแจกลูกสะกดคำ คำที่มีสระ อี ทักษะคร่อมวิชา ๓ . ๑ เล่นปริศนาคำทาย ๓ . ๒ ร้องเพลงสระ อี ๓ . ๓ กระบวนการทำงาน / ปฏิบัติกิจกรรม
  • 6. ๔ . คุณลักษณะ ๔ . ๑ ใฝ่เรียนใฝ่รู้ ๔ . ๒ ความรับผิดชอบ ๔ . ๓ ขยัน ประหยัดซื่อสัตย์ มีวินัย สุภาพ สะอาด สามัคคี มีน้ำใจ และกตัญญู ๔ . ๔ มีนิสัยรักการอ่าน ภาระงาน / วิธีการประเมิน - ผลการเขียน - ผลการเขียน - ผลการเขียน - ผลการเขียน - การอ่านและการเขียน - การอ่านและการเขียน - การอ่านและการเขียน - การอ่านและการเขียน สอบถาม - ถามความเข้าใจพยัญชนะ , สระ - ถามความเข้าใจพยัญชนะ , สระ - ถามความเข้าใจคำที่กำหนด - ถามความเข้าใจการอ่าน , เขียน แบบทดสอบ - อ่านและเขียนพยัญชนะและสระ - อ่านและเขียนแจกลูกสะกดคำ คำที่มีสระ อี - อ่านและเขียนคำที่กำหนด - อ่านและเขียนแจกลูกสะกดคำ ๑ . ความรู้ที่คงทน ๑ . ๑ อ่านพยัญชนะและสระที่กำหนด ๑ . ๒ อ่านและเขียนพยัญชนะอักษรกลาง ข ห ง ม และสระ อี ๑ . ๓ อ่านและเขียนคำที่ประสมสระ อี ๑ . ๔ อ่านและเขียนแจกลูกสะกดคำ คำที่มีสระ อี ชิ้นงาน สังเกต ตอบคำถาม ทดสอบ วิธีการประเมิน เป้าหมายการเรียนรู้
  • 7. ชิ้นงาน สังเกต ตอบคำถาม ทดสอบ วิธีการประเมิน เป้าหมายการเรียนรู้ - ผลการเขียน - ผลการเขียน - ผลการเขียน - ผลทาย - - การอ่านและ การเขียน - การอ่านและ การเขียน - การอ่านและ การเขียน - การทาย - การร้องเพลง - ถามความเข้าใจ อักษร , สระ อี - ถามความเข้าใจ เกี่ยวกับคำ - ถามความเข้าใจ การแจกลูก - ถามความรู้สึก - ถามความสนใจ - อ่านและเขียน อักษรกลางและ สระ อี - อ่านและเขียนแจก ลูกสะกดคำ - อ่านและเขียนแจก ลูกสะกดคำ - คำทาย - ร้องเพลง ๒ . ทักษะเฉพาะวิชา ๑ . ๒ อ่านและเขียน พยัญชนะอักษรกลาง ข ห ง ม และสระ อี ๒ . ๒ อ่านและเขียนคำที่ ประสมสระ อี ๒ . ๓ อ่านและเขียนแจก ลูกสะกดคำ คำที่มีสระ อี ๓ . ทักษะคร่อมวิชา ๓ . ๑ เล่นปริศนาคำทาย ๓ . ๒ ร้องเพลงสระ อี
  • 8. - - - จำนวน หนังสือที่อ่าน ต่อวัน - พฤติกรรมการ เรียน - การร่วมกลุ่มกับ เพื่อน - ความต่อเนื่องใน การอ่าน - ถามความสนใจใฝ่รู้ - ถามข้อคิดและสิ่งที่ ได้จากเรื่อง - ถามความพอใจใน การเรียน - ความสนใจใน หนังสือที่อ่าน - ใช้แบบประเมิน คุณลักษณะ - ใช้เกณฑ์ที่มี Rubrics และมี Rating Scale - ทดสอบการอ่านโดย ใช้เกณฑ์ที่มี Rubrics ๔ . คุณลักษณะ ๔ . ๑ ใฝ่เรียนใฝ่รู้ ๔ . ๒ ความรับผิดชอบ ๔ . ๓ ขยัน ประหยัดซื่อสัตย์ มี วินัย สุภาพ สะอาด สามัคคี มี น้ำใจ และกตัญญู ๔ . ๔ มีนิสัยรักการอ่าน ชิ้นงาน สังเกต ตอบคำถาม ทดสอบ วิธีการประเมิน เป้าหมายการเรียนรู้
  • 9. สื่อสร้างสรรค์เสริมการเรียนรู้ / แหล่งเรียนรู้ ๑ . หนังสือสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลาง ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ภาษาพาที ๒ . บทเรียนที่ ๑ เรื่อง “ ใบโบก ใบบัว ” ๓ . แบบฝึกทักษะการอ่านคำที่มีสระ อี ๔ . แบบฝึกทักษะการเขียนคำที่มีสระ อี ๕ . แบบฝึกทักษะการอ่านและเขียนแจกลูกสะกดคำ คำที่มี สระ อี ๖ . แบบทดสอบการอ่านและเขียนอักษรกลาง และคำที่มีสระ อี ๗ . ชุดคำที่ใช้สำหรับให้เขียนตามคำบอก ๘ . เครื่องเล่นแผ่นเพลง MP3 ๙ . เพลงสระ อี
  • 10. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมง ที่ ๑ เวลา ๑ ชั่วโมง - คำกับภาพ - เพลงช้าง - หนังสือเรียน - เกมทายอักษร และสระ ๑ . นักเรียนทักทายครู ครูทักทายนักเรียน ซักถามถึงการเรียนรู้ที่ผ่านมา จากนั้นนำคำกับภาพให้นักเรียนดู ชี้ภาพให้ดูแล้วอ่านคำใต้ภาพให้นักเรียนเข้าใจความหมายของภาพและคำ ( ภาคผนวก ) แล้วถามนักเรียนว่าเป็นภาพอะไร ประสมสระอะไร ๒ . นักเรียนร้องเพลงช้างพร้อมปรบมือประกอบจังหวะให้เกิดความสนุกก่อนเรียน ๓ . นักเรียนอ่านเรื่อง “ ใบโบก ใบบัว ” พร้อมกัน ๔ . นักเรียนอาสาออกมาเล่าเรื่อง “ ใบโบก ใบบัว ” ให้เพื่อนฟัง นักเรียนฝึกตั้งถามและตอบกันเอง ๕ . นักเรียนเล่นเกมทายตัวอักษรและสระ โดยครูหยิบบัตรอักษรขึ้นมาแล้วถามว่า “ ตัวอักษรอะไร ” ๑ . ฟัง ๒ . ร้อง เล่น ๓ . อ่าน ๔ . พูดเล่า ๕ . พูด ทาย ๑ . สังเกต - การฟัง - การดู - การพูด ( แบบสังเกต ) ๒ . สังเกต ๓ . สังเกต - การอ่าน ๔ . สังเกต ๕ . สังเกต สื่อประกอบ กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นตอนการเรียนรู้ วัด / ประเมิน
  • 11. - ปริศนา - บัตรคำ - ตารางสะกดคำ - แบบฝึก ๖ . นักเรียนเล่นอ่านปริศนาคำทาย ครูอ่านปริศนาว่า “ อะไรเอ่ย สี่คนหาม สามคนแห่ สองคนพัด คนหนึ่งปัดแส้ ” นักเรียนตอบตามความเข้าใจของแต่ละคน ครูเฉลยว่า “ ส่วนต่าง ๆ ของช้าง ” ๗ . นักเรียนอ่านแจกลูก คำที่มีสระ อี ตามครู เช่น ก - อี - กี , จ - อี - จี , ด - อี - ดี , ต - อ - ตี , ป - อี - ปี ครูหยิบบัตรคำแต่ละคำขึ้นมาให้นักเรียนดู นักเรียนอ่านแจกลูกดัง ๆ พร้อมกัน ๘ . ครูเขียนตารางสะกดคำบนกระดานให้นักเรียนดูแล้วอ่านสะกดคำให้นักเรียนฟัง เช่น ๖ . พูด อ่าน ๗ . อ่าน ๘ . เขียน ๖ . สังเกต ๗ . สังเกต ๘ . สังเกต สื่อประกอบ กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นตอน การเรียนรู้ วัด / ประเมิน ตา ตอ - อา า ต ตา อ่านว่า สะกดว่า สระ พยัญชนะ คำ
  • 12.
  • 13. - แผ่น MP3 - บัตร พยัญชนะฯ - คำที่นำมาบอกให้เขียน ๒ . ครูเปิดเพลงสระ “ อี ” ตามแผ่น MP3 ให้นักเรียนฟัง นักเรียนร้องพร้อมกับแผ่น พร้อมกับทำท่าทางประกอบจังหวะให้เกิดความสนุกแล้วสนทนาเกี่ยวกับเนื้อหาของเพลง ๓ . นักเรียนทบวนอักษรกลางและสระ อา อี โดยครูถามนำและหยิบบัตรพยัญชนะและสระให้ดูแล้วถาม จากนั้นให้ความรู้เพิ่มเติมจนเข้าใจตรงกัน ๔ . นักเรียนเขียนตามคำบอก โดยครูนำคำที่ประสมสระ อา และ อี มาบอกให้นักเรียนเขียนตาม ( คำที่นำมาบอกมีในภาคผนวก ) ๒ . ร้องเพลง ๓ . พูด ๔ . เขียน ๒ . สังเกต การร้องเพลง ๓ . สังเกต การพูด ๔ . สังเกตการเขียน สื่อประกอบ กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นตอน การเรียนรู้ วัด / ประเมิน
  • 14.
  • 15. การจัดบรรยากาศห้องเรียนเชิงบวก ๑ . จัดให้มีสื่อวีดิทัศน์ที่สามารถใช้ให้นักเรียนดูได้ทั่วถึง ๒ . จัดแผ่น VCD. ( วีซีดี ) MP3. ( เอ็มพี 3 ) ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้ ๓ . จัดสถานที่เรียนให้สะอาด เป็นระเบียบ เรียบร้อย และสวยงาม ๔ . จัดบอร์ดแสดงผลงานของนักเรียน
  • 16. กา ขา หู งา ขา ภาคผนวก ตา อา หา
  • 17. เพลงสระ - อี ( เพลงที่ ๑ ) คำร้อง สำลี รักสุทธี ทำนอง เพลงช้าง อี อี อี สระ อี นั้นอยู่ข้างบน จำไว้ จำไว้ทุกคน อย่าสับสน อยู่ข้างบนสระ อี อ่านเขียนสะกดให้ดี เขียนทุกทีให้ถูกนะเออ ตอ อี ตี ดอ อี ดี มอ อี มี ชอ อี ชี ตามี ดี ปี มี ดี ผี หนี ชี สี ตี ดี ( ซ้ำ ) คำเหล่านี้มีสระ อี หนูจำได้ดีคุณครู
  • 18. เพลงสระ - อี ( เพลงที่ ๒ ) คำร้อง ทำนอง สำลี รักสุทธี อี อี้ อี อี้ อี อี๊ อี ตามี ตาสี ทำ วาที แม่ชี เจอผี คำเหล่านี้มีสระ อี ( ซ้ำ ) หนู หนู จำไว้ให้ดี สระ อี นั้นอยู่ข้างบน ( ซ้ำ )
  • 19. คำที่นำมาเขียนตามคำบอก ตา อา กา งา ขา หา มา จา ตี ปี มี ดี ขี จี บี ขี มีตา งาดี ขาอา มาหา ตาดี มีงา ขากา อาปา
  • 20. แบบฝึกการอ่านแจกลูกสะกดคำ คำที่มีสระ - อี แบบฝึกอ่านที่ ๑ จุดประสงค์ อ่านแจกลูก จากคำที่กำหนดให้ได้ถูกต้อง คำชี้แจง อ่านแจกลูก คำที่มีสระ - อี ตามตัวอย่าง ม ต ด ช ป ท ผ ฝ อ ถ มี ตี ดี ชี ปี ที ผี ฝี อี ถี
  • 21. แบบฝึกอ่านที่ ๒ จุดประสงค์ อ่านสะกดคำ จากคำที่กำหนดให้ได้ถูกต้อง คำชี้แจง อ่านสะกดคำ คำที่มีสระ - อี ตามตัวอย่าง สี อี ชี ปี ดี มี ตี มี มอ - อี - อี ม มี อ่านว่า สะกดว่า สระ พยัญชนะ คำ
  • 22. แบบฝึกอ่านที่ ๓ คำชี้แจง ดูแผนภูมิแล้วอ่านแจกลูกสะกดคำ โดยเริ่มอ่านจากพยัญชนะ ไปสระ แล้วเป็นคำ ท - อี ต ป ช ม ด ผ ตัวอย่าง ตี อ่านว่า ตอ อี ตี เขียนว่า ตี
  • 23. แบบฝึกการเขียนแจกลูกสะกดคำ คำที่มีสระ - อี แบบฝึกที่ ๑ คำชี้แจง ให้เขียนแจกลูก สะกดคำ จากคำที่กำหนดให้ ตามตัวอย่างข้างล่าง ดี ด - อี - ดี มี .......................................................................... ตี .......................................................................... กี .......................................................................... ปี .......................................................................... จี .......................................................................... งี .......................................................................... บี ..........................................................................
  • 24. ท อี ต ป ช ม ด ผ แบบฝึกที่ ๒ คำชี้แจง ให้เขียนประสมพยัญชนะและสระเป็นคำ แล้วแจกลูก สะกดคำ ให้ถูกต้อง ตัวอย่าง ถี ถ - อี - ถี ........................................................................................ ........................................................................................
  • 25. แบบฝึกอ่านคำ และประโยคมีสระ อี อ่านคำที่มีสระ - ี ทีวี ดีดี รีรี ตีคี มีดี มีสี ชีวี มีผี กีวี ทีดี ดีปลี มีฝี อารี ฝาชี มีนา อีกา นารี ทาสี กีฬา นาที พาที ลีลา ตาดี นาดี มียา สูสี ดูดี ชะนี ตาสี ชีวา คาวี อ่านประโยคที่มีสระ - ี ตาสี มี นา ดี วาที พา นารี ดู อีกา
  • 26. เรื่องสั้นที่มีสระ - ี เรื่องที่ ๑ ตาดี มี สี ตาดี มี สี ตาดี มี สี ดี ดี ตาดี มี ทีวี ตาดี มี ทีวีสี ดี ดี
  • 27. เรื่องที่ ๒ ชี มี ยาดี ตาสี มา หา วาที ตาสี พา วาที มา หา ชี ชี มี ยา ดี ดี ตาสี และ วาที มา หา ยาดี จาก ชี
  • 28. เรื่องที่ ๓ ตามี ทา สี อีกา ตามี ทาสี ฝาชี ตาดี ทาสี ทีวี อีกา ตี สี ตามี ตามี ทา สี อีกา
  • 29. เรื่องที่ ๔ ตาสี มี ยา ดี คำชี้แจง อ่านเรื่องแล้ววาดภาพประกอบตามจินตนาการของนักเรียน ตาสี มี ยา ดี ชี หา ยา ตา สี ชี มา หา ยา ตา สี ตาสี ทา ยา ชี ชี มี ยา ดี ดี ที่ ทีวี ผลงานของนักเรียน ผลงานนักเรียน
  • 30. แบบทดสอบหลังเรียน ชื่อ ........................................................... เลขที่ ...................................... ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ วันที่ ......................... เดือน ............................................. พ . ศ ...................................................... คำชี้แจง ๑ . เลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว แล้วกากบาท (  ) ลงในช่องกระดาษคำตอบ ข้อสอบมีทั้งหมด ๕ ข้อ ๕ คะแนน เวลา ๑๐ ชั่วโมง ๑ . ข้อใดอ่านแจกลูกสะกดคำถูกต้อง ๒ . “ สอ - อี .........” ควรเติมคำใดลงช่องว่าง ก . มี - มอ – อี – มี ก . สา ข . ดี - ดอ – ดี – ดา ข . สี ค . สี - สี - อี - สี ค . สู
  • 31. ๓ . ข้อใดอ่านออกเสียงสระ เหมือน คำว่า มีนา ทั้งหมด ก . นาดี ข . มีงู ค . ตีขา ๔ . ข้อใดมีคำที่ประสมด้วยสระ อี มากที่สุด ก . ตาสี ไป นาดี ข . ชี มี ยาดี ค . ชี ไป หา ตามี ๕ . ข้อใด เขียนสะกดคำถูกต้อง ก . ป + - อี = ปา ข . สี + - อา = สู ค . ผ + - อี = ผี
  • 32. แนวการเขียนแผนจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ……… สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบย่อยอาหาร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เวลา 1 ชั่วโมง ……………………………………………………………………………………………… 1. สาระสำคัญ อาหารที่เข้าสู่ร้างกายต้องผ่านกระบวนการย่อยอาหารเพื่อให้ได้สารอาหารที่มีขนาดเล็กจนสามารถลำเลียงไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้ กากอาหารที่เหลือจากกระบวนการย่อยจะถูกขับออกนอกร่างกาย 2. เป้าหมายการเรียนรู้ ( จุดประสงค์ ) 2.1 ด้านความรู้ความคิด อธิบายการทำงานของอวัยวะในระบบย่อยอาหารแต่ละอวัยวะได้ 2.2 ด้านกระบวนการ เขียน concept mapping แสดงกระบวนการย่อยอาหารได้
  • 33. 3 . ร่องรอยการเรียนรู้ / ผลงานที่แสดงการเรียนรู้ 3.1 ข้อสรุปเรื่องหน้าที่ของอวัยวะในระบบย่อยอาหารแต่ละอวัยวะ 3.2 concept mapping แสดงกระบวนการย่อยอาหาร 4. การวัดผลประเมินผล 4.1 ประเมินคุณภาพของการสรุปหน้าที่ของอวัยวะในระบบย่อยอาหาร 4.2 ประเมินคุณภาพของ concept mapping แสดงกระบวนการย่อยอาหาร 5. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้ 5.1 แผนภาพแสดงระบบย่อยอาหารของคน 5.2 หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ชั้น ป .6 สสวท . หน้า 2-5
  • 34. 6. กิจกรรมการเรียนรู้ แบ่งกลุ่มนักเรียนกลุ่มละ 4-5 คน แล้วทำกิจกรรมต่อไปนี้ 6.1 นักเรียนศึกษาแผนภาพแสดงระบบย่อยอาหารของคน เพื่อตอบคำถามที่ครูเขียนบนกระดานดำ ดังนี้ - ระบบย่อยอาหารของคนประกอบด้วยอวัยวะใดบ้าง ( G- การรวบรวมข้อมูล ) - เรียงลำดับอวัยวะในระบบย่อยอาหารได้อย่างไร ( P- การจัดกระทำข้อมูล ) 6.2 นักเรียนศึกษาเรื่อง ระบบย่อยอาหารจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ชั้น ป .6 ของ สสวท . หน้า 2-5 เพื่อตอบคำถามที่ครูเขียนบนกระดานดำ ดังนี้ - อวัยวะในระบบย่อยอาหารแต่ละอวัยวะทำหน้าที่อย่างไร ( G- การรวบรวมข้อมูล ) 6.3 แต่ละกลุ่มออกแบบตารางบันทึกสรุปหน้าที่ของอวัยวะในระบบย่อยอาหาร แล้วเสนอหน้าชั้นเพื่อให้สมาชิกในห้องแสดงความคิดเห็นและเลือกใช้รูปแบบตารางที่เหมาะสม ( A- การประเมินทางเลือก )
  • 35. 6.4 นักเรียนแต่ละคนบันทึกสรุปหน้าที่ของอวัยวะในระบบย่อยอาหารลงในตาราง ( P- การจัดกระทำข้อมูล ) 6.5 ครูใช้คำถามเพื่อกระตุ้นการคิด ดังนี้ - นักเรียนคิดว่าเราควรศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับระบบย่อยอาหารในเรื่องใดบ้าง ( S- การสร้างค่านิยมการคิด ) - ถ้าจะศึกษาเรื่องโรคของระบบย่อยอาหารควรออกแบบตารางบันทึกอย่างไร ( A- การเลือกทางเลือก ) 6.6 นักเรียนเขียน concept mapping แสดงระบบย่อยอาหาร ( P- การจัดกระทำข้อมูล ) 6.7 นักเรียนแลกเปลี่ยนผลงาน concept mapping กับเพื่อนต่างกลุ่มเพื่อช่วยกันตรวจสอบความถูกต้องของผลงาน ( P- การตรวจสอบ )
  • 36. เกณฑ์การประเมิน 1. เกณฑ์การประเมินการสรุปหน้าที่ของอวัยวะในระบบย่อยอาหาร ระบุอวัยวะไม่ครบถ้วนและระบุหน้าที่ไม่ครบถ้วน ระบุอวัยวะไม่ครบถ้วนหรือระบุหน้าที่ไม่ครบถ้วน ระบุอวัยวะครบถ้วนและระบุหน้าที่ครบถ้วน ความครบถ้วน ของเนื้อหา ต่ำ ปานกลาง สูง ระดับคุณภาพ ประเด็น
  • 37. เรียงลำดับอวัยวะ ไม่ถูกต้องและระบุหน้าที่ไม่ถูกต้อง เรียงลำดับอวัยวะ ไม่ถูกต้องและระบุหน้าที่มาถูกต้อง เรียงลำดับอวัยวะถูกต้องและระบุหน้าที่ถูกต้อง ความถูกต้องของเนื้อหา ต่ำ ปานกลาง สูง ระดับคุณภาพ ประเด็น
  • 38. 2. เกณฑ์การประเมิน concept mapping แสดงระบบย่อยอาหาร เลือกใช้รูปแบบไม่ถูกต้อง เรียงลำดับไม่ถูกต้อง และระบุอวัยวะไม่ครบถ้วน เลือกใช้รูปแบบถูกต้องแต่เรียงลำดับไม่ถูกต้องหรือระบุอวัยวะไม่ครบถ้วน เลือกใช้รูปแบบถูกต้องระบุอวัยวะครบถ้วนและเรียงลำดับถูกต้อง ความครบถ้วน ของเนื้อหา ต่ำ ปานกลาง สูง ระดับคุณภาพ ประเด็น
  • 39. การเขียนเอกสารฉบับนี้ผู้บรรยายได้ศึกษาทฤษฏีจาก เอกสารประกอบ การประชุมเรื่องการพัฒนาการคิดโดยใช้กระบวนการ GPAS ของสำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ พิมพ์ครั้งที่ 3 : กันยายน 2551 …………………………………………………
  • 40. ( ตัวอย่างแผนประกอบนวัตกรรม ) แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการแต่งบทร้อยกรอง ประกอบหนังสือประกอบการเรียนเพื่อพัฒนาการแต่งบทร้อยกรอง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๒ ( ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ) บทที่ ๔ กลอนสี่ จำนวน ๕ ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑ เรื่อง อ่านเรื่องและตอบคำถาม เวลา ๑ ชั่วโมง สอนวันที่ ............ เดือน .......................... พ . ศ ................... สาระสำคัญ กลอนสี่คือกลอนที่มีลักษณะเหมือนกลอนทั่วไป คือมีการสัมผัสคำ ทั้งสัมผัสในและนอก การฝึกอ่านและแต่งกลอนช่วยให้นักเรียนมีความรู้ในเรื่องการสัมผัสและทำให้เกิดความรักและเห็นคุณค่าของภาษาไทย
  • 41. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑ . ทำแบบทดสอบก่อนเรียนผ่านเกณฑ์ที่ตั้งไว้ร้อยละ ๘๐ ( K ) ๒ . อ่านเรื่อง “ สานตามครองกลอนสี่ ” ตั้งคำถามและตอบคำถามจากเรื่องที่อ่านได้ (P) ๓ . มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) สาระการเรียนรู้ ๑ . การทำแบบทดสอยก่อนเรียน ๒ . การอ่านเรื่อง “ สานตามครองกลอนสี่ ” ตั้งคำถามและตอบคำถามจากเรื่องที่อ่าน กระบวนการจัดการเรียนรู้ ( ใช้เทคนิค Jigsaw) ๑ . นักเรียนกล่าวคำทักทายครู ครูทักทายนักเรียน ครูยกกลอนสี่ “ กลอนสี่ ” ให้นักเรียนดูและอ่านออกเสียงดัง ๆ พร้อมกัน เช่น “ นักเรียนมอสาม ช่างงามน้ำใจ ไม่ว่าใครใคร น้ำใจงดงาม ช่วยเหลือกันดี ไม่มีมองข้าม งานใดก็ตาม มอสามช่วยกัน ”
  • 42. นักเรียนถาม - ตอบกันเอง จากนั้นทำแบบทดสอบก่อนเรียน เสร็จแล้วส่งครูตรวจ ๒ . ครูแจ้งให้นักเรียนได้ทราบถึงสิ่งต่อไปนี้ ๑ ) สิ่งที่จะเรียน คือหนังสือประกอบการเรียน เรื่อง “ สานตามครองกลอนสี่ ” เป็นความรู้เกี่ยวกับกลอนสี่และการแต่งกลอนสี่ ๒ ) ขั้นตอนการเรียน วิธีการศึกษา การปฏิบัติตามเทคนิคของจิกซอร์ ๓ ) รูปแบบการเรียนแบบจิกซอร์ (Jigsaw) ที่เรียนเคยเรียนมาแล้ว เพื่อนักเรียนจะได้เรียนวิธีการนี้อย่างต่อเนื่องไปจนจบ จะได้เกิดทักษะ ความชำนาญตามมา ๓ . ครูแจ้งให้ทราบถึงการนำหลักธรรมตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการเรียนครั้งนี้ โดยเฉพาะในเรื่องเกี่ยวกับความขยัน ตั้งใจ สนใจเรียน และความอดทนอดกลั้น ๔ . สมาชิกแต่ละกลุ่ม ( กลุ่มร่วมมือเดิม ) นับเพื่อให้มีหลายเลขประจำตัว ๑ - ๔ และเลือก หัวหน้ากลุ่ม ๑ คน เลขานุการกลุ่ม ๑ คน ตั้งชื่อกลุ่มของตนเองตามมติกลุ่มเรียกว่า “ กลุ่มบ้าน ” (Home Groups) แต่ละกลุ่มเลือกประธาน กรรมการและเลขานุการ แล้วมอบหมายให้สมาชิกแต่ละคนศึกษาตอนที่ต่างกัน
  • 43. ๕ . ครูแบ่งเนื้อหาจากเรื่อง “ สานตามครองกลอนสี่ ” ที่จะต้องศึกษาออกเป็น ๔ ตอน ดังนี้ ตอนที่ ๑ จากหน้า ๑ – ๖ ตอนที่ ๒ จากหน้า ๗ – ๑๒ ตอนที่ ๓ จากหน้า ๑๓ – ๑๘ ตอนที่ ๔ จากหน้า ๑๖ – ๒๕ ๖ . ครูชี้แจงการปฏิบัติกิจกรรมของสมาชิกกลุ่มบ้าน โดยอ่าน / ศึกษาเนื้อหาด้วยการปฏิบัติ ตามขั้นตอน ดังนี้ ๑ ) นักเรียนในกลุ่มบ้านคนที่ ๑ อ่านตอนที่ ๑ ๒ ) นักเรียนในกลุ่มบ้านคนที่ ๒ อ่านตอนที่ ๒ ๓ ) นักเรียนในกลุ่มบ้านคนที่ ๓ อ่านตอนที่ ๓ ๔ ) นักเรียนในกลุ่มบ้านคนที่ ๔ อ่านตอนที่ ๔
  • 44. ๗ . สมาชิกทุกคนออกจากกลุ่มบ้าน (Home group) ไปอยู่กลุ่มใหม่ เรียกว่ากลุ่มผู้เชี่ยวชาญ (Expert Group) ซึ่งจะประกอบไปด้วยสมาชิกแต่ละคนของกลุ่ม บ้าน คือ กลุ่มผู้เชี่ยวชาญกลุ่มที่ ๑ จะประกอบไปด้วยสมาชิก คนที่ ๑ ของแต่ละกลุ่ม กลุ่มผู้เชี่ยวชาญกลุ่มที่ ๒ จะประกอบไปด้วยสมาชิก คนที่ ๒ ของแต่ละกลุ่ม กลุ่มผู้เชี่ยวชาญกลุ่มที่ ๓ จะประกอบไปด้วยสมาชิก คนที่ ๓ ของแต่ละกลุ่ม กลุ่มผู้เชี่ยวชาญกลุ่มที่ ๔ จะประกอบไปด้วยสมาชิก คนที่ ๔ ของแต่ละกลุ่ม ๘ . สมาชิกกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ รับบัตรคำสั่งการปฏิบัติกิจกรรม ปฏิบัติตามคำชี้แจงในบัตรคำสั่ง จากนั้นร่วมกันอภิปราย สรุปความ แสดงความคิดเห็นในหัวข้อที่ตนรับผิดชอบ ๙ . สมาชิกในกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ แยกตัวกลับไปยังกลุ่มบ้าน นำเสนอความรู้ในกิจกรรมหรือตอนที่ตนรับผิดชอบศึกษา ให้สมาชิกในกลุ่มบ้านทั้ง ๔ คน ฟัง จากนั้นช่วยกันสรุปความแสดงความคิดเห็น บอกประโยชน์หรือข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน เลขานุการกลุ่มจดบันทึก
  • 45. ๑๐ . ตัวแทนกลุ่มทุกคนจับฉลากเพื่อนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียนให้ทราบว่า กลุ่มใดนำเสนอก่อน เรียงตามลำดับ ครูและนักเรียนประเมินการนำเสนอผลงาน ครูเสนอแนะและอธิบายเพิ่มเติม ๑๑ . สมาชิกทุกคนทำแบบฝึกหัดตอนที่ ๑ แบบฝึกทักษะที่ ๑ - ๖ เสร็จแล้วส่งครูตรวจ ๑๒ . ครูแนะนำให้นักเรียนทำใบกิจกรรมที่ ๑ เป็นการบ้าน ๑๓ . นักเรียนและครูร่วมกันสรุปสิ่งที่เรียนมาทั้งหมด ให้โอกาสนักเรียนซักถามกันเอง ครูคอยเสริมเท่าที่จำเป็น สื่อ / แหล่งการเรียนรู้ ๑ . กลอนสี่ ๒ . บัตรคำสั่งสำหรับสมาชิกกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ ๓ . แบบฝึกทักษะชุดที่ ๑ แบบฝึกทักษะที่ ๑ - ๖ ๔ . ใบกิจกรรมที่ ๑ ๕ . หนังสือประกอบการเรียน เรื่อง “ สานตามครองกลอนสี่ ”
  • 46. กระบวนการวัดผลและประเมินผล ๑ . วิธีการ ๑ . ๑ สังเกต การทำกิจกรรมกลุ่ม ๑ . ๒ ตรวจ ๑ . ๒ . ๑ ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน ๑ . ๒ . ๒ ตรวจการทำแบบฝึกทักษะชุดที่ ๑ แบบฝึกทักษะที่ ๑ – ๖ ๑ . ๒ . ๓ ตรวจใบกิจกรรมที่ ๑ เกณฑ์การประเมิน ๑ . แบบประเมินกิจกรรมกลุ่ม ผ่านเกณฑ์อย่างน้อยร้อยละ ๘๐ ๒ . การตรวจแบบทดสอบ ผ่านเกณฑ์อย่างน้อยร้อยละ ๘๐ เครื่องมือประเมินผล ๑ . แบบทดสอบก่อนเรียน ๒ . แบบฝึกทักษะชุดที่ ๑ แบบฝึกทักษะที่ ๑ - ๖ ๓ . ใบกิจกรรมที่ ๑