SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  68
Télécharger pour lire hors ligne
แผนการจัดการเรียนรู
รายวิชาคณิตศาสตร5 (ค 23101)                                 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3
หนวยการเรียนรูที่ 1 เรื่อง พื้นที่ผิวและปริมาตร            จํานวน 17 ชั่วโมง
แผนการเรียนรูที่ 1 เรื่อง การหาพื้นที่ผวและปริมาตรของปริซึม
                                            ิ                เวลา 1 ชั่วโมง
ใชสอน……………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
มาตรฐานการเรียนรู/ ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ค 3.1 อธิบายและวิเคราะหรปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ
                                          ู
       ตัวชี้วด
              ั
       ม.3/1 อธิบายลักษณะและสมบัติของปริซึม พีระมิด ทรงกระบอก กรวย และทรงกลม

สาระสําคัญ
   ปริซึม คือ ทรงสามมิติที่มีฐานทั้งสองเปนรูปเหลี่ยมที่เทากันทุกประการ และฐานทั้งคูอยูใน
   ระนาบที่ขนานกัน

สาระการเรียนรู
        ปริซึม
                - ลักษณะของปริซึม

ทักษะการคิด
               -   ทักษะการใหเหตุผล

คุณลักษณะอันพึงประสงค
          1. มีวินัย
          2. ใฝเรียนรู
          3. มุงมั่นในการทํางาน
          4. มีความรับผิดชอบ

ชิ้นงาน/ภาระงาน
            1. ชิ้นงานการสรางปริซึม
            2. แบบฝกหัดเรื่องปริซึม
กิจกรรมการเรียนรู
    1. นักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน
    2. สนทนากับนักเรียนเกียวกับรูปทรงเรขาคณิตที่นักเรียนเคยเห็น พรอมทังยกตัวอยางประกอบ
                               ่                                               ้
    3. แบงกลุมนักเรียนออกเปน กลุมละ 4-5 คน นักเรียนแตละกลุมศึกษารูปทรงปริซึม ซึ่งครูได
         นํามาใหนักเรียนไดดู แลวนักเรียนแตละกลุมรวมกันสรางรูปปริซึม มากลุมละ 1 ชิ้น ตามที่ครู
         กําหนดให ไดแก
              กลุมที่ 1 ปริซึมสามเหลี่ยมดานเทา
              กลุมที่ 2 ปริซึมสามเหลี่ยมมุมฉาก
              กลุมที่ 3 ปริซึมสี่เหลี่ยมผืนผา
              กลุมที่ 4 ปริซึมสี่เหลี่ยมจัตุรัส
              กลุมที่ 5 ปริซึมแปดเหลี่ยมดานเทา
    4. นักเรียนบอกฐานของปริซึมและสวนสูงของปริซึมที่นักเรียนแตละกลุมชวยกันสรางขึ้นมา แลว
                                                                             
         นําเสนอหนาชันเรียนใหเพื่อนๆไดทราบและสรุปชวยกัน ดังนี้
                        ้
            ปริซึม คือ ทรงสามมิติที่มีฐานทั้งสองเปนรูปเหลียมที่เทากันทุกประการ และฐานทั้งคูอยูใน
                                                           ่
    ระนาบที่ขนานกัน
          การเรียกชื่อปริซึม จะเรียกตามฐานของปริซึม เชน ฐานเปนสี่เหลียมจัตุรัส เรียกวา ปริซึม
                                                                           ่
    สี่เหลี่ยมจัตุรัส ฐานเปนสามเหลี่ยม เรียกวา ปริซึมสามเหลี่ยม เปนตน

              ความสูง                                                                        ฐาน

     ฐาน                                                                           ความสูง

               ปริซึมสี่เหลี่ยมจัตุรัส              ปริซึมสามเหลี่ยมดานเทา



                                                           สวนสูง
ฐานเปนรูปแปดเหลี่ยม
                      ปริซึมแปดเหลี่ยมดานเทา
    5. ใหนกเรียนไปศึกษาฐานและความสูงของปริซึมจากที่นักเรียนรวมกันสรางขึ้น เสร็จแลวรวมกัน
              ั
       นําปญหาชวนคิดมาขบคิดกัน เมื่อไดคําตอบแลวนําเสนอหนาชั้นเรียน
    6. ใหนกเรียนทําแบบฝกหัดคณิตศาสตร เมื่อทําเสร็จแลวใหเปลี่ยนกันตรวจ แลวสงครูบันทึก
            ั
       คะแนน
สื่อและแหลงเรียนรู
        1. รูปทรงปริซึมทรงตางๆ
        2. กระดาษโปสเตอรแข็ง , กาว , กรรไกร
        3. หองสมุดโรงเรียน
        4. แหลงเรียนรูในทองถิ่น
        5. แบบฝกหัดคณิตศาสตร และปญหาชวนคิด

    การวัดและประเมินผล
   ประเด็นการ                                           ระดับคะแนน
      ประเมิน                 ๔                      ๓                   ๒                    ๑
อธิบายลักษณะ       อธิบายลักษณะและ          อธิบายลักษณะและ    อธิบายลักษณะและ     ไมสามารถอธิบาย
และสมบัติของ       สมบัติของปริซึม          สมบัติของปริซึม    สมบัติของปริซึม     ลักษณะและสมบัติของ
ปริซึม พีระมิด     พีระมิด ทรงกระบอก        พีระมิด            พีระมิด             ปริซึม พีระมิด
ทรงกระบอก          กรวย และทรงกลมได        ทรงกระบอก กรวย     ทรงกระบอก กรวย      ทรงกระบอก กรวย
กรวย และทรง        อยางถูกตอง และ         และทรงกลมได       และทรงกลมได        และทรงกลมได
กลม                อธิบายใหเพื่อน เขาใจ   ถูกตองดวยตนเอง   บางครั้ง และครู     นอกจากครูอธิบายและ
                   ได                      ดวยความแมนยํา    แนะนําและอธิบาย     แนะนําตัวอยางทุกครั้ง
                                            ถูกตอง            เพิ่มเติมบางครั้ง
          เกณฑการตัดสิน
                 คะแนน 7-8 หมายถึง ดีมาก
                 คะแนน 5-6 หมายถึง ดีมาก
                 คะแนน 3-4 หมายถึง ดีมาก
                 คะแนน 1-2 หมายถึง ดีมาก
   กิจกรรมเสนอแนะ
   ……………………………………………………………………………………………………………
   ……………………………………………………………………………………………………………
   ……………………………………………………………………………………………………………
   ……………………………………………………………………………………………………………
   ……………………………………………………………………………………………………………
   ……………………………………………………………………………………………………………
ความคิดเห็นของผูบริหาร
   ………………………………………………………………………………………………………
   ………………………………………………………………………………………………………
   ………………………………………………………………………………………………………
   ………………………………………………………………………………………………………
   ………………………………………………………………………………………………………

               (ลงชื่อ)……………………………………..
                         (นายปญญา มณีดํา)
             ตําแหนง รองผูอํานวยโรงเรียนวัดเขาวัง(แสง ชวงสุวนิช)
 บันทึกหลังการสอน
     ผลการสอน
 ………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………
    ปญหา / อุปสรรค
 ………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………
    ขอเสนอแนะ / แนวทางแกไข
 ………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………

              (ลงชื่อ)…………………………………….ผูสอน
                       (นางจันทิมา อุทาทิพย)
             ตําแหนง ครู โรงเรียนวัดเขาวัง(แสง ชวงสุวนิช)
แบบฝกหัดเรื่องทรงปริซึม
คําสั่ง   ใหนักเรียนเติมคําตอบลงในชองวางใหถูกตอง


……………..
                                                                          …………

                                                                   …………..
………………

          ทรงปริซึม…………………………                     ทรงปริซึม…………………………..




                                                      ……………………….
     …………………

                 ทรงปริซึม………………………….
…………………….                                                  ………………………




………..                                                         …………………




     ทรงปริซึม…………………………..                    ทรงปริซึม………………………………
แบบทดสอบกอนเรียน
                         หนวยที่ 1 เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3

                 คําสั่ง ใหนักเรียนเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว
1.    ปริซึมมีลักษณะดังขอใด                                           5. ปริมาตรของรูปทรงตอไปนี้ เทากับเทาไร
      ก. รูปทรงสามมิติที่มีฐานเปนรูปเหลี่ยม                                                       ก. 4x6x5 ลูกบาศกหนวย
      ข. รูปทรงสามิติที่มีฐานสองฐานอยูในระนาบที่ขนานกัน                                               1
                                                                                                   ข. x6x5 ลูกบาศกหนวย
      ค. รูปทรงสามมิติที่ฐานสองฐานเปนรูปเหลี่ยมที่เทากันทุก                                          2
                                                                                                        1
           ประการ                                                         4                        ค. x4x6 ลูกบาศกหนวย
                                                                                                        2
      ง. รูปทรงสามมิติที่มีฐานสองฐานเปนรูปเหลี่ยมที่เทากันทุก                    6             5
           ประการและฐานทั้งสองอยูในระนาบที่ขนานกัน                                                   1
2.    การเรียกชื่อปริซึมเรียกอยางไร                                                             ง. x4x6x5ลูกบาศกหนวย
                                                                                                      2
      ก. เรียกตามลักษณะของดานขาง                                     6. พีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวดานละ 16 เซนติเมตร สูง
      ข. เรียกตามลักษณะของฐาน                                               เอียง 10 เซนติเมตร พีระมิดนี้สูงเทาไร
      ค. เรียกตามลักษณะของฐานและดานขาง                                    ก. 5 เซนติเมตร                  ข. 6 เซนติเมตร
      ง. ไมมีขอถูก                                                        ค. 8 เซนติเมตร                  ง. 10 เซนติเมตร
3.    รูปในขอใดเปนลักษณะของปริซึม                                    7. พีระมิดฐานหกเหลี่ยมดานเทามุมเทามีฐานยาวดานละ 10
      ก.                                                                    เซนติเมตร สันพีระมิดยาว 13 เซนติเมตร จงหาพื้นที่ผิว
                                                                            ขางของพีระมิด
                                                                            ก. 360 ตารางเซนติเมตร ข. 300 ตารางเซนติเมตร
     ข.                                                                     ค. 260 ตารางเซนติเมตร ง. 200 ตารางเซนติเมตร
                                                                       8. พีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวดานละ 12 นิ้ว และสูงเอียง
                                                                             10 นิ้ว จงหาพื้นที่ผิวของพีระมิด
                                                                            ก. 384 ตารางนิ้ว               ข. 240 ตารางนิ้ว
     ค.                                                                     ค. 720 ตารางนิ้ว               ง. 740 ตารางนิ้ว
                                                                       9. พีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัส มีฐานยาวดานละ 10 เซนติเมตร
     ง.                                                                สันยาว 13 เซนติเมตร จงหาสูงเอียงของพีระมิด
                                                                            ก. 10 เซนติเมตร                ข. 11 เซนติเมตร
4.   จากรูป ปริซึมมีพื้นที่ผิวเทาไร                                        ค .12 เซนติเมตร                ง. 13 เซนติเมตร
                                        ก. 87 ตารางหนวย               10. พีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีดานยาวดานละ 24 เซนติเมตรมี
                                        ข. 78 ตารางหนวย                    สูงเอียง 13 เซนติเมตร จงหาสูงตรงของพีระมิด
           3                            ค. 24 ตารางหนวย                    ก. 4 เซนติเมตร                 ข. 5 เซนติเมตร
          3                             ง. 42 ตารางหนวย                    ค. 6 เซนติเมตร                 ง. 7 เซนติเมตร
                 5
11. กระปองนมสูง 4.4 เซนติเมตร เสนผานศูนยกลาง 2.1             17. จากรูป ทรงกลมมีเสนผาศูนยกลางยาว 14 นิ้ว จะมี
    เซนติเมตร บรรจุนมเต็ม กระปองมีปริมาตรเทาไร                 พื้นที่ผิวกี่ตารางนิ้ว
    ก. 15.246 ลูกบาศกเซนติเมตร                                                             ก. 600 ตารางนิ้ว
    ข. 15.326 ลูกบาศกเซนติเมตร                                                             ข. 616 ตารางนิ้ว
    ค. 15.426 ลูกบาศกเซนติเมตร                                                14 นิ้ว      ค. 1, 617 ตารางนิ้ว
    ง. 15.526 ลูกบาศกเซนติเมตร                                                              ง. 4,312 ตารางนิ้ว
12. ทรงกระบอกมีเสนผานศูนยกลาง 14 นิ้ว และ สูง 18 นิ้ว
    ถาตองการนํากระดาษมาปดรอบขาง จะตองใชกระดาษ              18. ขันตักน้ํารูปครึ่งทรงกลม มีเสนผาศูนยกลาง 10 นิ้ว เมื่อ
    อยางนอยกี่ตารางนิ้ว                                             ตักน้ําเต็มขันจะตักน้ําไดกี่ลูกบาศกนิ้ว
    ก. 700 ตารางนิ้ว              ข. 722 ตารางนิ้ว                   ก. 52.38 ลูกบาศกนิ้ว ข. 26.19 ลูกบาศกนิ้ว
    ค. 752 ตารางนิ้ว              ง. 792 ตารางนิ้ว                  ค. 22.80 ลูกบาศกนิ้ว ง. 11.00 ลูกบาศกนิ้ว
13. ทอน้ํายาว 10 เมตร รัศมีภายใน 50 เซนติเมตร ความ              19. ทองแดงรูปทรงกลมตัน 3 ลูก รัศมี 6 , 8 และ 10
    หนาของทอ 25 เซนติเมตร เนื้อวัตถุที่ใชทําทอมีกี่ลูกบาศก       นิ้วตามลําดับ เมื่อหลอมเปนลูกเดียวกันจะไดทรงกลมใหม
    เมตร ( π ≈ 3.14 )                                                มีรัศมียาวกี่นิ้ว
    ก. 9.8 ลูกบาศกเมตร ข. 8.9 ลูกบาศกเมตร                                                                      10
    ค. 3.12 ลูกบาศกเมตร ง. 3.52 ลูกบาศกเมตร                                                 8
14. กรวยกลมสูง 12 นิ้ว รัศมีฐานยาว 5 นิ้ว กรวยใบนี้สูง                    6
    เอียงกี่นิ้ว
    ก. 5 นิ้ว                      ข. 6 นิ้ว                        ก. 10 นิ้ว                 ข. 11 นิ้ว
    ค. 10 นิ้ว                     ง. 13 นิ้ว                       ค. 12 นิ้ว                 ง. 13 นิ้ว
15. กรวยกลมมีเสนผาศูนยกลางยาว 6 นิ้ว สูง 4 นิ้ว พื้น          20. ลูกฟุตบอล 3 ลูก รัศมี 3 , 4 และ 5 นิ้ว ตาม
    ที่ผิวโคงรอบกรวยมีกี่ตารางนิ้ว                                  ลําดับ พื้นที่ผิวของลูกบอลทั้งสามรวมกันมีกี่ตารางนิ้ว
    ก. 20 π                          ข. 18π                         ก. 190 ตารางนิ้ว           ข. 195 ตารางนิ้ว
    ค. 15 π                          ง. 12π                         ค. 200 ตารางนิ้ว           ง. 205 ตารางนิ้ว
16. จากรูป กรวยใบหนึ่งมีพื้นที่ผิวขาง 4,250 ตารางเซนติเมตร
    วัดรัศมีของฐานได 21 เซนติเมตร พื้นที่ผิวทั้งหมดมีกี่
    ตารางเซนติเมตร
                                    ก. 1,386 ตารางเซนติเมตร          ขอใหนักเรียนผาน
                                    ข. 7,022 ตารางเซนติเมตร          การทดสอบในครั้ง
                                    ค. 4,316 ตารางเซนติเมตร          นี้ทุก ๆ คน นะจะ
                                    ง. 5,636 ตารางเซนติเมตร
                   21 ซ.ม.
แบบบันทึกผลการจัดการเรียนรู
                    กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร (ค23101) ชวงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 / ปการศึกษา…
                    ชื่อครูผูสอนนางจันทิมา อุทาทิพย ตําแหนง ครู โรงเรียนวัดเขาวัง(แสง ชวงสุวนิช)
                    สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรีเขต 1
                                    สรุปผลการประเมินผลการจัดการเรียนรู
  หนวยที่……..เรื่อง………………………………………………………………………………………….จํานวน………ชั่วโมง
                                                               คะแนน                  ระดับผล
                                                                                      การ
                        ชื่อ - สกุล              กอนเรียน ระหวางเรียน หลังเรียน รวม ประเมิน
         เลขประจําตัว




                                                                                      ประจํา
เลขที่




                                                                                      หนวย




                             รวม
                             คาเฉลี่ย x
                             คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( S.D.)
แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียนระหวางเรียน
          รายวิชาคณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ครูผูบันทึก นางจันทิมา อุทาทิพย
          วันที………..เดือน……………..พ.ศ……….ครั้งที่…………ปการศึกษา………………………….
               ่
                                                                      รายการประเมิน                                                                                                                         รวม     สรุปผลการประเมิน




                                                                                                                                         ความซื่อสัตยและทํางานเสร็จทันเวลา
      เลข




                                                                                 ความมีเหตุผลและเชื่อมั่นในตนเอง




                                                                                                                                                                              เขารวมกิจกรรมดวยความสนใจ
ที่   ประ            ชื่อ - นามสกุล




                                                                                                                   ความมีระเบียบรอบคอบ
      จําตัว                                                                                                                                                                                                      ผาน      ไมผาน




                                                               ความเพียรพยายาม
                                              ความสนใจใฝรู
                                             5                 5                 5                                 5                     5                                    5                             30
แบบสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในกระบวนการกลุม
         ชื่อกลุม…………………………เรื่อง………………………………………….ชั้น ม. 3 /…….

        ใหกาเครื่องหมาย ♦ ในชองที่ประเมินตามที่สังเกต

                    การวางแผน      แบงหนาที่    รับฟงความ       บรรยากาศในการ ติดตามและ            ผลการ
พฤติกรรม                           ทํางาน         คิดเห็น          ทํางาน        ปรับปรุงงาน          ประเมินการ
                                                                                                      สังเกต
รายชื่อสมาชิก     ใชได   ปรับ    ใชได   ปรับ ใชได   ปรับ     ใชได   ปรับ     ใชได   ปรับ    ผาน ไม
ในกลุม                    ปรุง             ปรุง          ปรุง              ปรุง              ปรุง           ผาน




       หมายเหตุ ครูอาจสุมสังเกตเพียงบางกลุมในการเรียนการสอนแตละครั้ง หรือสังเกตเพียงบางพฤติกรรมที่เห็นวา
       เหมาะสมหรือสําคัญ สําหรับกิจกรรมการเรียนการสอนในคาบนั้นๆ นอกจากนั้นอาจใหนักเรียนเปนผูประเมินเอง
       หรือหากครูจะเปนผูประเมินและประเมินทุกกิจกรรมและทุกกลุมก็จะเปนเรื่องที่ดี
แผนการจัดการเรียนรู
รายวิชาคณิตศาสตร 5 (ค 23101)                                              ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3
หนวยการเรียนรูที่ 1 เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว                          จํานวน 17 ชั่วโมง
 แผนการเรียนรูที่ 2 เรื่อง การหาพื้นที่ผวและปริมาตรของปริซึม
                                            ิ                              จํานวน 1 ชั่วโมง
ใชสอน…………………………
………………………………………………………………………………………………………
มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ค 2.1 เขาใจพืนฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ตองการวัด
                            ้
       ตัวชี้วด   ั
       ม.3/1 หาพื้นทีผิวของปริซึมและทรงกระบอก
                      ่
       ม.3/4. ใชการคาดคะเนเกี่ยวกับการวัดในสถานการณตางๆไดอยางเหมาะสม
มาตรฐาน ค 2.2 แกปญหาเกียวกับการวัด
                                ่
       ตัวชี้วด ั
       ม.3/1 ใชความรูเกี่ยวกับพืนที่ พื้นที่ผิวและปริมาตรในการแกปญหาใน
                                  ้
        สถานการณตางๆ
มาตรฐาน ค 3.1 อธิบายและวิเคราะหรปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ
                                          ู
       ตัวชี้วด
              ั
       ม.3/1 อธิบายลักษณะและสมบัติของปริซึม พีระมิด ทรงกระบอก กรวย และทรงกลม
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแกปญหา การใหเหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมาย
                 ทางคณิตศาสตร และการนําเสนอ การเชื่อมโยงความรูตาง ๆ ทางคณิตศาสตรและ
                                                                   
                 เชื่อมโยงคณิตศาสตรกับศาสตรอื่น ๆ และมีความคิดริเริมสรางสรรค
                                                                     ่
        ตัวชี้วด
               ั
        ม.3/1 ใชวิธีการที่หลากหลายแกปญหา
        ม.3/2 ใชความรูทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรและเทคโนโลยีในการแกปญหาใน
                                                                           
        สถานการณตางๆไดอยางเหมาะสม
        ม.3/5 เชื่อมโยงความรูตางๆในคณิตศาสตรและนความรู หลักการ กระบวนการทาง
        คณิตศาสตรไปเชื่อมโยงกับศาสตรอื่นๆ
สาระสําคัญ
     ปริซึม คือ ทรงสามมิติที่มีฐานทั้งสองเปนรูปเหลี่ยมที่เทากันทุกประการ และฐานทั้งคูอยูใน
     ระนาบที่ขนานกัน
     พื้นที่ผิวของปริซึม หาไดจาก            พืนที่ผิวขาง + 2 ( พื้นที่ฐาน )
                                                ้
     พื้นที่ผิวขางของปริซึม หาไดจาก          ความยาวรอบฐาน X ความสูง
สาระการเรียนรู
            ปริซึม
                    - พื้นที่ผิว
                    - พื้นที่ผิวขาง
ทักษะการคิด
               1. ทักษะการใหเหตุผล
               2. ทักษะการประยุกตใชความรู
               3. ทักษะการเชื่อมโยง
               4. ทักษะกระบวนการคิดแกปญหา   
คุณลักษณะอันพึงประสงค
               1. มีวินัย
               2. ใฝเรียนรู
               3. มุงมั่นในการทํางาน
               4. มีความรับผิดชอบ
ชิ้นงาน/ภาระงาน
                  1. ใบกิจกรรมที่ 1.1
                  2. แบบฝกหัดเรื่องปริซึม
กิจกรรมการเรียนรู
         1 นักเรียนและครูชวยกันทบทวนสูตรการหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตรัส รูปสี่เหลี่ยมผืนผา
                                                                              ุ
และรูปสามเหลี่ยม
         2 แบงนักเรียนออกเปนกลุมๆละ 4-5 คน ศึกษาปริซมสามเหลี่ยม ปริซึมสี่เหลี่ยมผืนผา
                                                               ึ
และปริซึมสี่เหลี่ยมจัตุรัสทีครูนํามาใหนกเรียนไดวัดความยาวของฐาน ความยาวของความสูง แลวหา
                              ่            ั
ผลบวกของพืนที่ทุกหนาของปริซึม แลวชวยกันสรุป ดังนี้
                ้

               พื้นที่ผิวของปริซึม หาไดจาก        พื้นที่ผิวขาง + 2 ( พื้นที่ฐาน )
            พื้นที่ผิวขางของปริซึม หาไดจาก      ความยาวรอบฐาน X ความสูง
ยกตัวอยางประกอบใหนกเรียนไดเขาใจ
                             ั
     ตัวอยางที่ 1 จงหาพื้นทีผิวขางของปริซึมสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีฐานยาวดานละ 5 เซนติเมตร
                                      ่
     ความสูง 10 เซนติเมตร
     วิธีทํา               จาก พื้นที่ผิวขางของปริซึม = ความยาวรอบฐาน X ความสูง
                                                       =       ( 5+5+5+5 ) X 10
                                                       =        20 X 10
                                                       =        200 ตารางเซนติเมตร ตอบ
     ตัวอยางที่ 2 จงหาพื้นที่ผิวของปริซึมสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีฐานยาวดานละ 5 เซนติเมตร ความ
สูง 10 เซนติเมตร
     วิธีทํา        จาก          พื้นที่ผิวของปริซึม     = พื้นที่ผิวขาง + 2 ( พื้นที่ฐาน )
                    เนื่องจาก พื้นที่ผิวขางของปริซึม = ความยาวรอบฐาน X ความสูง
                                                       = 20 X 10
                                                       = 200                ตารางเซนติเมตร
                     ดังนั้น พืนที่ผิวของปริซึม
                               ้                         = พื้นที่ผิวขาง + 2 ( พื้นที่ฐาน )
                                                       = 200 + 2 ( 5 X 5 )
                                                       = 200 + 50
                                                       = 250              ตารางเซนติเมตร       ตอบ
          3. นักเรียนนําใบความรูที่ 1.1 ไปแจกใหเพื่อนนักเรียนไดศึกษา เมื่อนักเรียนศึกษาใบความรูที่
1.1 จน เขาใจดีแลว แจกใบกิจกรรมที่ 1.1 ใหนกเรียนไดชวยกันทํา เมื่อทําเสร็จเรียบรอยแลวเปลี่ยน
                                                     ั           
กัน ตรวจคําตอบ เมื่อมีนักเรียนทียังทําไมเสร็จหรือทําชากวาเพื่อนภายในกลุม ใหเพื่อนที่ทําเสร็จ
                                           ่
แลวชวยอธิบายใหฟง จนเพื่อนนักเรียนคนนั้นเขาใจและใหตอบคําถาม แลวสงครูเพื่อบันทึกคะแนน
ประเมินตอไป ครูนําปญหาชวนคิดมาใหนกเรียนไดขบคิดกัน เมื่อไดคาตอบแลวนําเสนอหนาชั้นเรียน
                                               ั                          ํ
          4. ใหนกเรียนทําแบบฝกหัดในหนังสือแบบเรียนคณิตศาสตร ม.3 แลวสงตรวจในชัวโมง
                  ั                                                                          ่
ตอไป
สื่อและแหลงเรียนรู
                1. รูปทรงปริซึม
                2. ใบความรูที่ 1.1 และใบกิจกรรมที่ 1.1
                3. แหลงเรียนรูในทองถิ่น
                4. หนังสือเรียนคณิตศาสตร
การวัดและประเมินผล

    ประเด็นการ                                            ระดับคะแนน
       ประเมิน                ๔                     ๓                    ๒                       ๑
อธิบาย              อธิบายความสัมพันธ       อธิบาย             อธิบาย                ไมสามารถอธิบาย
ความสัมพันธของ     พรอมยกตัวอยางพื้นที่   ความสัมพันธของ    ความสัมพันธของ       ความสัมพันธของพื้นที่
พื้นที่ผิวและ       ผิวและปริมาตรของ         พื้นที่ผิวและ      พื้นที่ผิวและ         ผิวและปริมาตรของ
ปริมาตรของปริซึม    ปริซึมไดอยางถูกตอง    ปริมาตรของปริซึม   ปริมาตรของปริซึม      ปริซึมไดนอกจากครู
                    และอธิบายใหเพื่อน       ไดถูกตองดวย     ไดบางครั้ง และครู    อธิบายและแนะนํา
                    เขาใจได                ตนเองดวยความ      แนะนําและอธิบาย       ตัวอยางทุกครั้ง
                                             แมนยําถูกตอง     เพิ่มเติมบางครั้ง
   เกณฑการตัดสิน
                     คะแนน 7-8 หมายถึง ดีมาก
                     คะแนน 5-6 หมายถึง ดีมาก
                     คะแนน 3-4 หมายถึง ดีมาก
                     คะแนน 1-2 หมายถึง ดีมาก
   กิจกรรมเสนอแนะ
   1 การทํากิจกรรมครูควรจะเสนอแนะ ใหนักเรียนไดรูจกและทําความคุนเคยกับรูปทรงปริซึมที่นํามา
                                                         ั
   ให ดู สังเกตฐานและความสูงของปริซึม
   2. เมื่อนักเรียนชวยกันสรางปริซึมตามที่กําหนดให เสร็จเรียบรอยแลว วัดความยาวของดานขางและ
   ความสูงของรูปทรงปริซึม
ความคิดเห็นของผูบริหาร
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………

                    (ลงชื่อ)……………………………………..
                              (นายปญญา มณีดํา)
                      ตําแหนง รองผูอํานวยการฝายวิชาการ
บันทึกหลังการสอน
       ผลการสอน
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
       ปญหา / อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
      ขอเสนอแนะ / แนวทางแกไข
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………

                     (ลงชื่อ)…………………………………….ผูสอน
                               (นางจันทิมา อุทาทิพย )
                  ตําแหนง ครู โรงเรียนวัดเขาวัง(แสง ชวงสุวนิช)
ใบความรูที่ 1.1



                                     ปริซึม



นิยาม ทรงสามมิติที่มีฐานทั้งสองเปนรูปเหลี่ยมที่เทากันทุกประการและฐานทั้งคูอยูในระนาบที่
ขนานกัน เรียกวา ปริซึม



          พื้นที่ผิว                                      พื้นที่ผิวขาง



 พื้นที่ผิวขาง + 2(พื้นที่ฐาน)                 ความยาวรอบฐาน X ความสูง




 5              10                              5            10
      5                                              5

พื้นที่ผิว = พ.ท.ผิวขาง + 2(พ.ท.ฐาน)          พ.ท.ผิวขาง = ความยาวรอบฐานXความสูง
=(ความยาวรอบฐานXความสูง)+2(พ.ท.ฐาน)                             = (5+5+5+5) X 10
= (2x10) + 2( 5x5 )                                           = 20 x 10
= 200 + 50                                                   = 200 ตารงเซนติเมตร
= 250 ตารางเซนติเมตร
ใบกิจกรรมที่ 1.1

คําสั่ง ใหนกเรียนแสดงวิธีทําหาคําตอบที่ถูกตอง
            ั
  1. ขนมเคกทรงปริซึมจัตุรัส มีความยาวฐานดานละ 20 เซนติเมตร ความสูง 8 เซนติเมตร พื้นที่
  ผิวขนมเคกกีตารางเซนติเมตร
              ่
  …………………………………………………………………………………………………………
  …………………………………………………………………………………………………………
  …………………………………………………………………………………………………………
  …………………………………………………………………………………………………………
  …………………………………………………………………………………………………………
  …………………………………………………………………………………………………………
  …………………………………………………………………………………………………………
  …………………………………………………………………………………………………………
  2. กลองทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบหนึ่งมีฐานเปนรูปสี่เหลียมจัตุรัส ยาวดานละ 30 เซนติเมตร กลองมี
                                                       ่
  ความสูง 40 เซนติเมตร พื้นที่ผิวขางของกลองเทากับเทาไร
  …………………………………………………………………………………………………………
  …………………………………………………………………………………………………………
  …………………………………………………………………………………………………………
  …………………………………………………………………………………………………………
  …………………………………………………………………………………………………………
  …………………………………………………………………………………………………………
  …………………………………………………………………………………………………………
  …………………………………………………………………………………………………………
  3. แทงเหล็กทอนหนึ่งมีฐานเปนรูปสี่เหลียมมุมฉาก วัดความยาวของฐานไดยาว 12 เซนติเมตร
                                          ่
  ความกวาง 8 เซนติเมตร แทงเหล็กสูง 50 เซนติเมตร พื้นที่ผิวภายนอกเปนเทาไร
  …………………………………………………………………………………………………………
  …………………………………………………………………………………………………………
  …………………………………………………………………………………………………………
  …………………………………………………………………………………………………………
  …………………………………………………………………………………………………………
  …………………………………………………………………………………………………………
  …………………………………………………………………………………………………………
แบบสังเกตพฤติกรรมระหวางเรียน
                       กลุมสาระการเรียนรูรายวิชาคณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3/…..
        ครูผูบันทึกนางจันทิมา อุทาทิพยวนที………..เดือน…………..พ.ศ……….ครั้งที่.........ปการศึกษา........
                                         ั ่
                                                          รายการประเมิน         รวม        สรุปผลการ
                                                                                         ประเมิน
    เลข




                                                เขารวมกิจกรรมดวยความ
                                                ความมีเหตผลและเชื่อมั่น
                                                ความมีระเบียบรอบคอบ
                                                ความซื่อสัตยและทํางาน
ที่ ประ              ชื่อ - นามสกุล
    จําตัว



                                                ความเพียรพยายาม
                                                ความสนใจใฝรู
                                                                                      ผาน      ไมผาน



                                                5    5   5 5       5    5     30
แบบสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในกระบวนการกลุม
        ชื่อกลุม…………………………เรื่อง…………………………………………….ชั้น ม. 3 /……
       ใหกาเครื่องหมาย ♦ ในชองที่ประเมินตามที่สังเกต

                 การวางแผน   แบงหนาที่   รับฟงความ   บรรยากาศใน   ติดตามและ      ผลการ
พฤติกรรม                      ทํางาน          คิดเห็น    การทํางาน   ปรับปรุงงาน ประเมินการ
                                                                                    สังเกต
รายชื่อสมาชิก   ใช   ปรับ ใช     ปรับ ใช     ปรับ ใช      ปรับ ใช     ปรับ ผาน ไม
ในกลุม         ได   ปรุง ได     ปรุง ได     ปรุง ได      ปรุง ได     ปรุง          ผาน
แผนการจัดการเรียนรู
รายวิชาคณิตศาสตร5 ( ค 23101 )                                    ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3
 หนวยการเรียนรูที่ 1 เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว               จํานวน 17 ชั่วโมง
 แผนการเรียนรูที่ 3 เรื่อง การหาพื้นทีผิวและปริมาตรของปริซึม
                                       ่                          จํานวน 1 ชั่วโมง
ใชสอน…………………………………
………………………………………………………………………………………………………
มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ค 2.1 เขาใจพืนฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ตองการวัด
                            ้
         ตัวชี้วด ั
         ม.3/1 หาพื้นทีผิวของปริซึมและทรงกระบอก
                       ่
         ม.3/2 หาปริมาตรของปริซึม ทรงกระบอก พีระมิด กรวย และทรงกลม
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแกปญหา การใหเหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมาย ทาง
คณิตศาสตร และการนําเสนอ การเชื่อมโยงความรูตางๆ ทางคณิตศาสตรและเชื่อมโยงคณิตศาสตรกับ
ศาสตรอื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสรางสรรค
       ตัวชี้วด ั
       ม.3/1 ใชวิธีการที่หลากหลายในการแกปญหา
       ม.3/2 ใชความรูทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรและเทคโนโลยีในการแกปญหาใน
       สถานการณตางๆไดอยางเหมาะสม
       ม.3/3 ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจและสรุปผลไดอยางเหมาะสม

สาระสําคัญ
   ปริซึม คือ ทรงสามมิติที่มีฐานทั้งสองเปนรูปเหลี่ยมที่เทากันทุกประการ และฐานทั้งคูอยูใน
   ระนาบที่ขนานกัน
   ปริมาตรของปริซึม เทากับ พื้นที่หนาตัด x ความสูง

สาระการเรียนรู
      ปริซึม
             - ปริมาตรของปริซึม

ทักษะการคิด
              -   ทักษะการคิดกวาง
คุณลักษณะอันพึงประสงค
            1. มีวินัย
            2. ใฝเรียนรู
            3. มุงมั่นในการทํางาน
            4. มีความรับผิดชอบ
ชิ้นงาน/ภาระงาน
            1. คํานวณหาปริมาตรของสิ่งกอสรางหรือสิ่งของที่มีลักษณะเปนปริซึม

กิจกรรมการเรียนรู
    1. นักเรียนชวยกันทบทวนสูตรการหาพื้นที่ของรูปเหลี่ยมตางๆ ซึ่งไดศึกษามาแลว
    2. แบงกลุมนักเรียนกลุมละ 4-5 คน ศึกษาปริซึมฐานรูปสี่เหลี่ยมดานเทาและปริซึมฐาน
    สี่เหลี่ยมผืนผา ที่ครูนํามาให แลววัดความยาวของดานกวาง ความยาวของดานยาว และความ
    สูง ของรูป
    3. ใหนกเรียนศึกษาใบความรูที่ 1.2 เมื่อนักเรียนศึกษาจนเขาใจดีแลว นักเรียนนําใบ
              ั
    กิจกรรมที่ 1.2 ไปแจกใหเพื่อนๆ นักเรียนชวยกันทํา เมื่อทําเสร็จแลวเลี่ยนกันตรวจคําตอบ
    ภายในกลุมของตนเอง นักเรียนที่ยังทําไมเสร็จหรือทําชากวาเพื่อนภายในกลุม ใหเพื่อนที่ทํา
    เสร็จแลวชวยอธิบายใหฟง จนเพื่อนนักเรียนคนนันเขาใจและใหตอบคําถาม แลวสงใหเพื่อน
                                                     ้
    ตรวจ พรอมกับนําผลคะแนนสงครูเพื่อที่จะเก็บบันทึกตอไป นักเรียนและครูรวมกันสรุป
    ครูยกตัวอยางใหนกเรียนไดเขาใจมากยิ่งขึน
                         ั                     ้

                ปริมาตรของปริซึม เทากับ พื้นที่หนาตัด คูณดวย ความสูง



      ตัวอยางที่ 1 จงหาปริมาตรของปริซึมสี่เหลี่ยมจัตุรสที่มีฐานยาวดานละ 5 เซนติเมตร
                                                       ั
                    ความสูง 27 เซนติเมตร
         วิธีทํา            จากปริมาตร       = พื้นที่หนาตัด X ความสูง
                             พื้นที่หนาตัด = 5 X 5 = 25 ตารางเซนติเมตร
                              ความสูง       = 27 เซนติเมตร
                     ดังนั้น ปริมาตร         = 25 X 27            ลูกบาศกเซนติเมตร
                                            = 675                ลูกบาศกเซนติเมตร ตอบ
ตัวอยางที่ 2 อางน้ําทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก มีความยาว 20 เมตร กวาง 12 เมตร
                    1) จงหาพื้นทีกนอาง
                                    ่
                    2) ถาตองการเก็บน้ําไวในอาง 1,920 ลูกบาศกเมตร ระดับน้ําจะสูงจากกนอาง
                        เทาไร
          วิธีทํา 1) พืนที่กนอาง
                            ้                   = กวาง X ยาว
                                               = 12 X 20 = 240 ตารางเมตร
                     2) จากปริมาตร              = พื้นที่ฐาน X สูง
                         ถาปริมาตร             = 1,920 ลูกบาศกเมตร
                         พื้นที่ฐาน             = 240          ตารางเมตร
                                                      1, 920
                        ดังนั้น ระดับน้ําสูง     =             =    8 เมตร            ตอบ
                                                       240
     ตัวอยางที่ 3 แกวทับกระดาษตันแทงหนึ่งเปนปริซึมที่มีฐานเปนรูปหกเหลี่ยม มีพื้นที่ 9
ตาราง เซนติเมตร แทงแกวนี้มีปริมาตร 18 ลูกบาศกเซนติเมตร จงหาวาแทงแกวนี้หนาเทาไร
       วิธีทํา      จากปริมาตร           = พื้นที่ฐาน X สูง
                      ถาปริมาตรแทงแกว = 18 ลูกบาศกเซนติเมตร
                      พื้นที่ฐาน         = 9 ลูกบาศกเซนติเมตร
                                                 18
                    ดังนั้น แทงแกวนีหนา =
                                      ้                = 2 เซนติเมตร                   ตอบ
                                                  9
   ใหนกเรียนทําปญหาชวนคิดและทําแบบฝกหัดในหนังสือแบบเรียนคณิตศาสตร แลวสงตรวจใน
       ั
       ชั่วโมงตอไป

  สื่อและแหลงเรียนรู
       1. ใบความรูที่ 1.2 และใบกิจกรรมที่ 1.2
       2. หนังสือแบบเรียนคณิตศาสตร ชั้น ม. 3
       3. ปริซึม
       4. หองสมุดและแหลงเรียนรูในทองถิ่น
                                 
       5. ปญหาชวนคิด
การวัดและประเมินผล
    ประเด็นการ                                          ระดับคะแนน
       ประเมิน               ๔                      ๓                    ๒                        ๑
อธิบาย             อธิบายความสัมพันธ       อธิบาย              อธิบาย                 ไมสามารถอธิบาย
ความสัมพันธของ พรอมยกตัวอยางพื้นที่      ความสัมพันธของ     ความสัมพันธของ        ความสัมพันธของพื้นที่
พื้นที่ผิวและ      ผิวและปริมาตรของ         พื้นที่ผิวและ       พื้นที่ผิวและ          ผิวและปริมาตรของ
ปริมาตรของปริซึม ปริซึมไดอยางถูกตอง      ปริมาตรของปริซึม    ปริมาตรของปริซึม       ปริซึมไดนอกจากครู
                   และอธิบายใหเพื่อน       ไดถูกตองดวย      ไดบางครั้ง และครู     อธิบายและแนะนํา
                   เขาใจได                ตนเองดวยความ       แนะนําและอธิบาย        ตัวอยางทุกครั้ง
                                            แมนยําถูกตอง      เพิ่มเติมบางครั้ง
แสดงการคิด          ยกตัวอยางแสดงการ       แสดงการคิดคํานวณ    แสดงการหาพืนที่้       ไมสามารถหาพื้นที่ผิว
คํานวณการหา         หาคาปริมาตรและ         การหาพื้นที่ผวและ
                                                          ิ     ผิวและปริมาตรของ       และปริมาตรของปริซึม
พื้นที่ผิวและ       พื้นที่ผิวไดอยาง      ปริมาตรของปริซึม    ปริซึมที่มีฐานรูป      ได ครูตองอธิบายและ
ปริมาตรของ          ถูกตอง และอธิบายให    ไดอยางถูกตอง     เหลี่ยมตางๆ ได       แนะนํา ทุกครั้ง
ปริซึม              เพื่อนๆ เขาใจได       แมนยําไดดวย
                                                               อยาง ถูกตอง แตครู
                                            ตนเอง               แนะนําบางครั้งใน
                                                                การคิดคํานวณ
   เกณฑการตัดสิน
                    คะแนน   7-8   หมายถึง   ดีมาก
                    คะแนน   5-6   หมายถึง   ดีมาก
                    คะแนน   3-4   หมายถึง   ดีมาก
                    คะแนน   1-2   หมายถึง   ดีมาก

   กิจกรรมเสนอแนะ
   ……………………………………………………………………………………………………………
   ……………………………………………………………………………………………………………
   ……………………………………………………………………………………………………………
   ……………………………………………………………………………………………………………
ความคิดเห็นของผูบริหาร
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………

                 (ลงชื่อ)……………………………………..
                            (นายปญญา มณีดํา)
                   ตําแหนง รองผูอํานวยการฝายวิชาการ
  บันทึกหลังการสอน
      ผลการสอน
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
  ปญหา / อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
  ขอเสนอแนะ / แนวทางแกไข
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………

                    (ลงชื่อ)…………………………………….ผูสอน
                              ( นางจันทิมา อุทาทิพย)
                  ตําแหนง ครูโรงเรียนวัดเขาวัง(แสง ชวงสุวนิช)
ปญหาชวนคิด




      รูปตอไปนี้มีผิดอยู 1 แหงที่ตองการแกไขใหถูกตอง จะทํายังไงตามรูปเปนเหรียญ 6 เหรียญ
เรียงพาดขวางกันอยู แถวขวางมีสามเหรียญ แถวตั้งมีสี่เหรียญ ตองการจะใหแตละแถวมี 4 เหรียญ
จะทําอยางไร
ใบความรูที่ 1.2

                                          ปริซึม



  นิยาม ทรงสามมิติที่มีฐานทั้งสองเปนรูปเหลี่ยมที่เทากันทุกประการและฐานทั้งคูอยูในระนาบที่
                                                                              
ขนานกัน เรียกวา ปริซึม




     ปริซึมรูปสามเหลี่ยม           ปริซึมรูปสี่เหลี่ยมผืนผา         ปริซึมรูปหาเหลี่ยม

                                  ปริมาตรของปริซึม



                                 พื้นที่ฐาน x ความสูง



      จงหาปริมาตรของปริซึม                               จงหาปริมาตรของปริซึมรูปสี่เหลี่ยมจัตรัสที่
                                                                                             ุ
                                                        มีฐานยาวดานละ 5 เซนติเมตร ความสูง
                                                        27 เซนติเมตร
    4 ซม.
                   10 ซม.                        5 ซม.             27 ซม.
        4 ซม.                                        5 ซม.
ปริมาตรของปริซึม = พื้นที่ฐาน X ความสูง ปริมาตรของปริซึม = พื้นที่ฐาน Xความสูง
                = ( 4 x 4 ) x 10                         = ( 5 x 5 ) x 27
                = 160 ลูกบาศกเซนติเมตร                  = 25 x 27
                                                        = 675 ลูกบาศกเซนติเมตร
ใบกิจกรรมที่ 1.2

คําสั่ง จงแสดงวิธีทําหาคําตอบที่ถูกตอง
1. หองเรียนกวาง 4 เมตร ยาว 6 เมตร สูง 3 เมตร ปริมาตรอากาศในหองเรียนจะเปนเทาไร
      ………………………………………………………………………………………………………
      ………………………………………………………………………………………………………
      ………………………………………………………………………………………………………
      ………………………………………………………………………………………………………
      …………………………………………………………………………….......................................
      ………………………………………………………………………………………………………
      …………………………………………………………………………………………….................
2. แทงแกวแทงหนึ่งเปนปริซมสามเหลี่ยมมุมฉาก ดานประกอบมุมฉากยาว 45 เซนติเมตร และ 38
                             ึ
      เซนติเมตร แทงแกวยาว 120 เซนติเมตร จะมีปริมาตรกี่ลูกบาศกเซนติเมตร
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………........................................
……………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………................




      พยายามทําความเขาใจกอนจะลง
      มือทํา..นะครับ
      เสร็จแลวสงคุณครู
แบบสังเกตพฤติกรรมระหวางเรียน
        กลุมสาระการเรียนรูรายวิชาคณิตศาสตรพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ครูผูบันทึก นางจันทิมา อุทาทิพย
        วันที………..เดือน……………………..พ.ศ……….ครั้งที่…………ปการศึกษา………………………
             ่
                                                          รายการประเมิน            รวม       สรุปผลการ
                                                                                          ประเมิน
    เลข




                                                  ความซื่อสัตยและทํางานเสร็จ
                                                  ความมีเหตผลและเชื่อมั่นใน
ที่ ประ               ชื่อ - นามสกุล




                                                  เขารวมกิจกรรมดวยความ
                                                  ความมีระเบียบรอบคอบ
    จําตัว



                                                  ความเพียรพยายาม
                                                                                          ผาน       ไมผาน
                                                  ความสนใจใฝรู

                                                  5    5    5 5       5    5      30
แผนการจัดการเรียนรู
รายวิชาคณิตศาสตร5 (ค 23101)                                        ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3
หนวยการเรียนรูที่ 1 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว                    จํานวน 17 ชั่วโมง
แผนการเรียนรูที่ 4 เรื่อง การหาพื้นทีผิวและปริมาตรทรงกระบอก
                                                        ่           จํานวน 1 ชั่วโมง
ใชสอน...............................................
……………………………………………………………………………………………………………
มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ค 2.1 เขาใจพืนฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ตองการวัด
                                     ้
         ตัวชี้วด  ั
         ม.3/1 หาพื้นทีผิวของปริซึมและทรงกระบอก
                               ่
         ม.3/2 หาปริมาตรของปริซึม ทรงกระบอก พีระมิด กรวย และทรงกลม
มาตรฐาน ค 3.1 อธิบายและวิเคราะหรปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ
                                                      ู
         ตัวชี้วด    ั
         ม.3/1 อธิบายลักษณะและสมบัติของปริซึม พีระมิด ทรงกระบอก กรวย และทรงกลม
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแกปญหา การใหเหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมาย ทาง
คณิตศาสตร และการนําเสนอ การเชื่อมโยงความรูตางๆ ทางคณิตศาสตรและเชื่อมโยงคณิตศาสตรกับ
ศาสตรอื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสรางสรรค
        ตัวชี้วด ั
        ม.3/1 ใชวิธีการที่หลากหลายในการแกปญหา
        ม.3/2 ใชความรูทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรและเทคโนโลยีในการแกปญหาใน
                                                                               
        สถานการณตางๆไดอยางเหมาะสม
         ม.3/3 ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจและสรุปผลไดอยางเหมาะสม

สาระสําคัญ
        ทรงกระบอก คือ ทรงสามมิติที่มีฐานเปนวงกลมที่เทากันทุกประการ และอยูในระนาบที่
ขนานกัน และเมื่อตัดทรงสามมิตินี้ดวยระนาบที่ขนานกันกับฐานแลวจะไดรอบตัดเปนวงกลมที่เทากัน
ทุกประการกับฐานเสมอ
สาระการเรียนรู
       ทรงกระบอก
             - ลักษณะและสวนประกอบของทรงกระบอก
            - พื้นที่ผิวขางของทรงกระบอก
            - พื้นที่ผิวทั้งหมดของทรงกระบอก
ทักษะการคิด
                - ทักษะการคิดกวาง
คุณลักษณะอันพึงประสงค
              1. มีวินัย
              2. ใฝเรียนรู
              3. มุงมั่นในการทํางาน
              4. มีความรับผิดชอบ
กิจกรรมการเรียนรู
    1. นักเรียนหาตัวอยางลักษณะของสิ่งที่เปนทรงกระบอกใกลตัว แลวบอกมาคนละ 1-2 ชื่อ
    2. แบงนักเรียนออกเปนกลุมๆละ 4-5 คน ศึกษาอุปกรณที่ครูเตรียมมา แลวใหแตละกลุมชวยกัน
พิจารณาวาเปนทรงกระบอก หรือไมเปน แลวสงตัวแทนมาอภิปรายหนาชั้น
     3. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปลักษณะของทรงกระบอกและบอกสวนประกอบของทรงกระบอก
หัวหนากลุมแตละกลุมมารับทรงกระบอกที่ทําดวยกระดาษ แลวใหนกเรียนในกลุมชวยกันวัดสวนสูง
                                                                    ั
และเสนผานศูนยกลางของทรงกระบอก จากนั้นใหตัดดานขางของทรงกระบอกแลวคลี่ออก
    4. นักเรียนวัดความยาวของดานกวางและดานยาวของทรงกระบอกแลวคํานวณหาพืนที่        ้
    5. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปวา ความยาวของดานขางของทรงกระบอก คือ ความยาวของเสน
รอบวงกลมที่ฐาน
    6. นักเรียนหาพื้นที่ดานขาง โดยใชรัศมีทวัดไว เพื่อสรุปเปนสูตรการหาพื้นที่ ดังนี้
                                             ี่

                       สูตร พื้นที่ผิวขาง        = 2πrh
                       สูตร พื้นที่ผิวทั้งหมด     = 2πrh + 2πr2

   7. นักเรียนศึกษาใบความรูที่ 1.3 เมื่อศึกษาจนเขาใจดีแลว ใหทําใบกิจกรรมที่ 1.3 เมื่อเสร็จ
                               
   แลวใหเปลี่ยนกันตรวจภายในกลุม แลวสงผลการทํากิจกรรมใหครูเพือตรวจความถูกตองและ
                                                                   ่
   บันทึกผลตอไป
         ครูยกตัวอยางใหนกเรียนไดดูและเขาใจมากยิ่งขึ้น
                          ั
                            พื้นที่ผิวขาง = กวาง X ยาว
                                          = h X 2πr
                                          = 2πrh
รอยตัด

                                                                          2πr
                        r
                 h                                          h


                 พื้นที่ผิวทั้งหมด ประกอบดวย พื้นทีผิวขาง และพืนที่หนาตัดหัวทาย
                                                    ่            ้

                             พื้นที่ผิวขางของทรงกระบอก = 2πrh
                             พื้นที่หนาตัดหัวทาย      = 2πr2
                     ดังนั้น พื้นที่ผิวทั้งหมด      = 2πrh + 2πr2

      ตัวอยางที่ 1 ทรงกระบอกตัน มีเสนผานศูนยกลาง 6 เซนติเมตร สูง 10 เซนติเมตร จง
หา พื้นที่ผิวขางของทรงกระบอกนี้ ( π =             22
                                                        )
                                                    7
       วิธีทํา               จากพื้นที่ผิวขางของทรงกระบอก = 2πrh
                                                                     22
                                                             =2X          X 3 X 10
                                                                      7
                                                    = 188.57 ตารางเซนติเมตร
                    ดังนั้น พื้นที่ผิวขางของทรงกระบอกนี้ เทากับ 188.57 ตารางเซนติเมตร ตอบ
ตัวอยางที่ 2 ทรงกระบอกยาว 8 เซนติเมตร มีเสนผานศูนยกลางยาว 10 เซนติเมตร จงหา พื้นที่
ผิวทั้งหมดของทรงกระบอกนี้
         วิธีทํา     พื้นที่ผิวทั้งหมด              = พื้นที่ผิวขาง + พื้นที่หนาตัด
                    พื้นทีผิวขาง
                           ่                       = 2πrh
                                                                    22
                                                            = 2 X         X 5 X 8
                                                                     7
                                                            = 251.43 ตารางเซนติเมตร
                            พื้นทีหนาตัดหัวทาย
                                  ่                          = 2πr2
                                                                    22
                                                            = 2 X         X 52
                                                                     7
                                                       = 157.14 ตารางเซนติเมตร
                        ดังนั้น พื้นที่ผิวทั้งหมด = 251.43 + 157.14
                                                 = 408.57 ตารางเซนติเมตร              ตอบ
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 1
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 1
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 1
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 1
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 1
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 1
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 1
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 1
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 1
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 1
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 1
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 1
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 1
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 1
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 1
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 1
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 1
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 1
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 1
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 1
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 1
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 1
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 1
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 1
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 1
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 1
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 1
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 1
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 1
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 1
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 1
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 1
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 1
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 1
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 1
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 1
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 1

Contenu connexe

Tendances

แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของปริซึม ม.3
แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของปริซึม ม.3แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของปริซึม ม.3
แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของปริซึม ม.3ยินดี ครูคณิตสงขลา
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3phachanee boonyuen
 
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3srkschool
 
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1Manas Panjai
 
แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3srkschool
 
เรขาคณิตสามมิติ
เรขาคณิตสามมิติเรขาคณิตสามมิติ
เรขาคณิตสามมิติPalm Teenakul
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3srkschool
 
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1ทับทิม เจริญตา
 
สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
สื่อที่ใช้  ชุดการสอนสื่อที่ใช้  ชุดการสอน
สื่อที่ใช้ ชุดการสอนLampang Rajabhat University
 
รายงานผลการสอนอีเลิร์นนิ่ง
รายงานผลการสอนอีเลิร์นนิ่งรายงานผลการสอนอีเลิร์นนิ่ง
รายงานผลการสอนอีเลิร์นนิ่งKamonpat Eksiri
 

Tendances (20)

แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของปริซึม ม.3
แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของปริซึม ม.3แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของปริซึม ม.3
แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของปริซึม ม.3
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
 
Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1
 
Plan 2
Plan 2Plan 2
Plan 2
 
Plan 3
Plan 3Plan 3
Plan 3
 
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1
 
แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 6 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
แผนพอเพียงสู่อาเซียนม.3
แผนพอเพียงสู่อาเซียนม.3แผนพอเพียงสู่อาเซียนม.3
แผนพอเพียงสู่อาเซียนม.3
 
เรขาคณิตสามมิติ
เรขาคณิตสามมิติเรขาคณิตสามมิติ
เรขาคณิตสามมิติ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
 
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
 
สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
สื่อที่ใช้  ชุดการสอนสื่อที่ใช้  ชุดการสอน
สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
คณิต
คณิตคณิต
คณิต
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
รายงานผลการสอนอีเลิร์นนิ่ง
รายงานผลการสอนอีเลิร์นนิ่งรายงานผลการสอนอีเลิร์นนิ่ง
รายงานผลการสอนอีเลิร์นนิ่ง
 

En vedette

แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2krurain
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1tongcuteboy
 
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3srkschool
 
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001Thidarat Termphon
 
สูตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรพื้นที่ผิวและปริมาตรสูตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรพื้นที่ผิวและปริมาตรWaterSweet Sangphet
 
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้Nan NaJa
 

En vedette (20)

แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
 
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
 
Ab02
Ab02Ab02
Ab02
 
แผนการสอนยูเนียน
แผนการสอนยูเนียนแผนการสอนยูเนียน
แผนการสอนยูเนียน
 
2 exam-plan
2 exam-plan2 exam-plan
2 exam-plan
 
สูตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรพื้นที่ผิวและปริมาตรสูตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 

Similaire à แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 1

คณิตศาสตร์ม.32
คณิตศาสตร์ม.32คณิตศาสตร์ม.32
คณิตศาสตร์ม.32krookay2012
 
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3Prapatsorn Chaihuay
 
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3PrapatsornPalmmy
 
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5ปวริศา
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรRitthinarongron School
 
รูปทรงเรขาคณิตสามมิติ
รูปทรงเรขาคณิตสามมิติรูปทรงเรขาคณิตสามมิติ
รูปทรงเรขาคณิตสามมิติSuparat Boonkum
 
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหา
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหาการเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหา
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหาkrujee
 
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)mickytanawin
 
Analytic geometry
Analytic geometryAnalytic geometry
Analytic geometrywongsrida
 
Analytic geometry2555
Analytic geometry2555Analytic geometry2555
Analytic geometry2555wongsrida
 

Similaire à แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 1 (20)

คณิตศาสตร์ม.32
คณิตศาสตร์ม.32คณิตศาสตร์ม.32
คณิตศาสตร์ม.32
 
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
 
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
 
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
 
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตรแผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
รูปทรงเรขาคณิตสามมิติ
รูปทรงเรขาคณิตสามมิติรูปทรงเรขาคณิตสามมิติ
รูปทรงเรขาคณิตสามมิติ
 
Plan 1
Plan 1Plan 1
Plan 1
 
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหา
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหาการเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหา
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหา
 
เอกสารประกอบการเรียน โลก
เอกสารประกอบการเรียน โลกเอกสารประกอบการเรียน โลก
เอกสารประกอบการเรียน โลก
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
 
ข้อสอบ Pre o net คณิตม.3
ข้อสอบ Pre o net  คณิตม.3ข้อสอบ Pre o net  คณิตม.3
ข้อสอบ Pre o net คณิตม.3
 
Profile
ProfileProfile
Profile
 
Profile
ProfileProfile
Profile
 
Profile
ProfileProfile
Profile
 
Profile
ProfileProfile
Profile
 
Profile
ProfileProfile
Profile
 
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)
 
Analytic geometry
Analytic geometryAnalytic geometry
Analytic geometry
 
Analytic geometry2555
Analytic geometry2555Analytic geometry2555
Analytic geometry2555
 

แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 1

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู รายวิชาคณิตศาสตร5 (ค 23101) ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 หนวยการเรียนรูที่ 1 เรื่อง พื้นที่ผิวและปริมาตร จํานวน 17 ชั่วโมง แผนการเรียนรูที่ 1 เรื่อง การหาพื้นที่ผวและปริมาตรของปริซึม ิ เวลา 1 ชั่วโมง ใชสอน………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. มาตรฐานการเรียนรู/ ตัวชี้วัด มาตรฐาน ค 3.1 อธิบายและวิเคราะหรปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ู ตัวชี้วด ั ม.3/1 อธิบายลักษณะและสมบัติของปริซึม พีระมิด ทรงกระบอก กรวย และทรงกลม สาระสําคัญ ปริซึม คือ ทรงสามมิติที่มีฐานทั้งสองเปนรูปเหลี่ยมที่เทากันทุกประการ และฐานทั้งคูอยูใน ระนาบที่ขนานกัน สาระการเรียนรู ปริซึม - ลักษณะของปริซึม ทักษะการคิด - ทักษะการใหเหตุผล คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. มีวินัย 2. ใฝเรียนรู 3. มุงมั่นในการทํางาน 4. มีความรับผิดชอบ ชิ้นงาน/ภาระงาน 1. ชิ้นงานการสรางปริซึม 2. แบบฝกหัดเรื่องปริซึม
  • 2. กิจกรรมการเรียนรู 1. นักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน 2. สนทนากับนักเรียนเกียวกับรูปทรงเรขาคณิตที่นักเรียนเคยเห็น พรอมทังยกตัวอยางประกอบ ่ ้ 3. แบงกลุมนักเรียนออกเปน กลุมละ 4-5 คน นักเรียนแตละกลุมศึกษารูปทรงปริซึม ซึ่งครูได นํามาใหนักเรียนไดดู แลวนักเรียนแตละกลุมรวมกันสรางรูปปริซึม มากลุมละ 1 ชิ้น ตามที่ครู กําหนดให ไดแก กลุมที่ 1 ปริซึมสามเหลี่ยมดานเทา กลุมที่ 2 ปริซึมสามเหลี่ยมมุมฉาก กลุมที่ 3 ปริซึมสี่เหลี่ยมผืนผา กลุมที่ 4 ปริซึมสี่เหลี่ยมจัตุรัส กลุมที่ 5 ปริซึมแปดเหลี่ยมดานเทา 4. นักเรียนบอกฐานของปริซึมและสวนสูงของปริซึมที่นักเรียนแตละกลุมชวยกันสรางขึ้นมา แลว  นําเสนอหนาชันเรียนใหเพื่อนๆไดทราบและสรุปชวยกัน ดังนี้ ้ ปริซึม คือ ทรงสามมิติที่มีฐานทั้งสองเปนรูปเหลียมที่เทากันทุกประการ และฐานทั้งคูอยูใน ่ ระนาบที่ขนานกัน การเรียกชื่อปริซึม จะเรียกตามฐานของปริซึม เชน ฐานเปนสี่เหลียมจัตุรัส เรียกวา ปริซึม ่ สี่เหลี่ยมจัตุรัส ฐานเปนสามเหลี่ยม เรียกวา ปริซึมสามเหลี่ยม เปนตน ความสูง ฐาน ฐาน ความสูง ปริซึมสี่เหลี่ยมจัตุรัส ปริซึมสามเหลี่ยมดานเทา สวนสูง ฐานเปนรูปแปดเหลี่ยม ปริซึมแปดเหลี่ยมดานเทา 5. ใหนกเรียนไปศึกษาฐานและความสูงของปริซึมจากที่นักเรียนรวมกันสรางขึ้น เสร็จแลวรวมกัน ั นําปญหาชวนคิดมาขบคิดกัน เมื่อไดคําตอบแลวนําเสนอหนาชั้นเรียน 6. ใหนกเรียนทําแบบฝกหัดคณิตศาสตร เมื่อทําเสร็จแลวใหเปลี่ยนกันตรวจ แลวสงครูบันทึก ั คะแนน
  • 3. สื่อและแหลงเรียนรู 1. รูปทรงปริซึมทรงตางๆ 2. กระดาษโปสเตอรแข็ง , กาว , กรรไกร 3. หองสมุดโรงเรียน 4. แหลงเรียนรูในทองถิ่น 5. แบบฝกหัดคณิตศาสตร และปญหาชวนคิด การวัดและประเมินผล ประเด็นการ ระดับคะแนน ประเมิน ๔ ๓ ๒ ๑ อธิบายลักษณะ อธิบายลักษณะและ อธิบายลักษณะและ อธิบายลักษณะและ ไมสามารถอธิบาย และสมบัติของ สมบัติของปริซึม สมบัติของปริซึม สมบัติของปริซึม ลักษณะและสมบัติของ ปริซึม พีระมิด พีระมิด ทรงกระบอก พีระมิด พีระมิด ปริซึม พีระมิด ทรงกระบอก กรวย และทรงกลมได ทรงกระบอก กรวย ทรงกระบอก กรวย ทรงกระบอก กรวย กรวย และทรง อยางถูกตอง และ และทรงกลมได และทรงกลมได และทรงกลมได กลม อธิบายใหเพื่อน เขาใจ ถูกตองดวยตนเอง บางครั้ง และครู นอกจากครูอธิบายและ ได ดวยความแมนยํา แนะนําและอธิบาย แนะนําตัวอยางทุกครั้ง ถูกตอง เพิ่มเติมบางครั้ง เกณฑการตัดสิน คะแนน 7-8 หมายถึง ดีมาก คะแนน 5-6 หมายถึง ดีมาก คะแนน 3-4 หมายถึง ดีมาก คะแนน 1-2 หมายถึง ดีมาก กิจกรรมเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………
  • 4. ความคิดเห็นของผูบริหาร ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… (ลงชื่อ)…………………………………….. (นายปญญา มณีดํา) ตําแหนง รองผูอํานวยโรงเรียนวัดเขาวัง(แสง ชวงสุวนิช) บันทึกหลังการสอน ผลการสอน ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ปญหา / อุปสรรค ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ขอเสนอแนะ / แนวทางแกไข ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… (ลงชื่อ)…………………………………….ผูสอน (นางจันทิมา อุทาทิพย) ตําแหนง ครู โรงเรียนวัดเขาวัง(แสง ชวงสุวนิช)
  • 5. แบบฝกหัดเรื่องทรงปริซึม คําสั่ง ใหนักเรียนเติมคําตอบลงในชองวางใหถูกตอง …………….. ………… ………….. ……………… ทรงปริซึม………………………… ทรงปริซึม………………………….. ………………………. ………………… ทรงปริซึม…………………………. ……………………. ……………………… ……….. ………………… ทรงปริซึม………………………….. ทรงปริซึม………………………………
  • 6. แบบทดสอบกอนเรียน หนวยที่ 1 เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 คําสั่ง ใหนักเรียนเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว 1. ปริซึมมีลักษณะดังขอใด 5. ปริมาตรของรูปทรงตอไปนี้ เทากับเทาไร ก. รูปทรงสามมิติที่มีฐานเปนรูปเหลี่ยม ก. 4x6x5 ลูกบาศกหนวย ข. รูปทรงสามิติที่มีฐานสองฐานอยูในระนาบที่ขนานกัน 1 ข. x6x5 ลูกบาศกหนวย ค. รูปทรงสามมิติที่ฐานสองฐานเปนรูปเหลี่ยมที่เทากันทุก 2 1 ประการ 4 ค. x4x6 ลูกบาศกหนวย 2 ง. รูปทรงสามมิติที่มีฐานสองฐานเปนรูปเหลี่ยมที่เทากันทุก 6 5 ประการและฐานทั้งสองอยูในระนาบที่ขนานกัน 1 2. การเรียกชื่อปริซึมเรียกอยางไร ง. x4x6x5ลูกบาศกหนวย 2 ก. เรียกตามลักษณะของดานขาง 6. พีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวดานละ 16 เซนติเมตร สูง ข. เรียกตามลักษณะของฐาน เอียง 10 เซนติเมตร พีระมิดนี้สูงเทาไร ค. เรียกตามลักษณะของฐานและดานขาง ก. 5 เซนติเมตร ข. 6 เซนติเมตร ง. ไมมีขอถูก ค. 8 เซนติเมตร ง. 10 เซนติเมตร 3. รูปในขอใดเปนลักษณะของปริซึม 7. พีระมิดฐานหกเหลี่ยมดานเทามุมเทามีฐานยาวดานละ 10 ก. เซนติเมตร สันพีระมิดยาว 13 เซนติเมตร จงหาพื้นที่ผิว ขางของพีระมิด ก. 360 ตารางเซนติเมตร ข. 300 ตารางเซนติเมตร ข. ค. 260 ตารางเซนติเมตร ง. 200 ตารางเซนติเมตร 8. พีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวดานละ 12 นิ้ว และสูงเอียง 10 นิ้ว จงหาพื้นที่ผิวของพีระมิด ก. 384 ตารางนิ้ว ข. 240 ตารางนิ้ว ค. ค. 720 ตารางนิ้ว ง. 740 ตารางนิ้ว 9. พีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัส มีฐานยาวดานละ 10 เซนติเมตร ง. สันยาว 13 เซนติเมตร จงหาสูงเอียงของพีระมิด ก. 10 เซนติเมตร ข. 11 เซนติเมตร 4. จากรูป ปริซึมมีพื้นที่ผิวเทาไร ค .12 เซนติเมตร ง. 13 เซนติเมตร ก. 87 ตารางหนวย 10. พีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีดานยาวดานละ 24 เซนติเมตรมี ข. 78 ตารางหนวย สูงเอียง 13 เซนติเมตร จงหาสูงตรงของพีระมิด 3 ค. 24 ตารางหนวย ก. 4 เซนติเมตร ข. 5 เซนติเมตร 3 ง. 42 ตารางหนวย ค. 6 เซนติเมตร ง. 7 เซนติเมตร 5
  • 7. 11. กระปองนมสูง 4.4 เซนติเมตร เสนผานศูนยกลาง 2.1 17. จากรูป ทรงกลมมีเสนผาศูนยกลางยาว 14 นิ้ว จะมี เซนติเมตร บรรจุนมเต็ม กระปองมีปริมาตรเทาไร พื้นที่ผิวกี่ตารางนิ้ว ก. 15.246 ลูกบาศกเซนติเมตร ก. 600 ตารางนิ้ว ข. 15.326 ลูกบาศกเซนติเมตร ข. 616 ตารางนิ้ว ค. 15.426 ลูกบาศกเซนติเมตร 14 นิ้ว ค. 1, 617 ตารางนิ้ว ง. 15.526 ลูกบาศกเซนติเมตร ง. 4,312 ตารางนิ้ว 12. ทรงกระบอกมีเสนผานศูนยกลาง 14 นิ้ว และ สูง 18 นิ้ว ถาตองการนํากระดาษมาปดรอบขาง จะตองใชกระดาษ 18. ขันตักน้ํารูปครึ่งทรงกลม มีเสนผาศูนยกลาง 10 นิ้ว เมื่อ อยางนอยกี่ตารางนิ้ว ตักน้ําเต็มขันจะตักน้ําไดกี่ลูกบาศกนิ้ว ก. 700 ตารางนิ้ว ข. 722 ตารางนิ้ว ก. 52.38 ลูกบาศกนิ้ว ข. 26.19 ลูกบาศกนิ้ว ค. 752 ตารางนิ้ว ง. 792 ตารางนิ้ว ค. 22.80 ลูกบาศกนิ้ว ง. 11.00 ลูกบาศกนิ้ว 13. ทอน้ํายาว 10 เมตร รัศมีภายใน 50 เซนติเมตร ความ 19. ทองแดงรูปทรงกลมตัน 3 ลูก รัศมี 6 , 8 และ 10 หนาของทอ 25 เซนติเมตร เนื้อวัตถุที่ใชทําทอมีกี่ลูกบาศก นิ้วตามลําดับ เมื่อหลอมเปนลูกเดียวกันจะไดทรงกลมใหม เมตร ( π ≈ 3.14 ) มีรัศมียาวกี่นิ้ว ก. 9.8 ลูกบาศกเมตร ข. 8.9 ลูกบาศกเมตร 10 ค. 3.12 ลูกบาศกเมตร ง. 3.52 ลูกบาศกเมตร 8 14. กรวยกลมสูง 12 นิ้ว รัศมีฐานยาว 5 นิ้ว กรวยใบนี้สูง 6 เอียงกี่นิ้ว ก. 5 นิ้ว ข. 6 นิ้ว ก. 10 นิ้ว ข. 11 นิ้ว ค. 10 นิ้ว ง. 13 นิ้ว ค. 12 นิ้ว ง. 13 นิ้ว 15. กรวยกลมมีเสนผาศูนยกลางยาว 6 นิ้ว สูง 4 นิ้ว พื้น 20. ลูกฟุตบอล 3 ลูก รัศมี 3 , 4 และ 5 นิ้ว ตาม ที่ผิวโคงรอบกรวยมีกี่ตารางนิ้ว ลําดับ พื้นที่ผิวของลูกบอลทั้งสามรวมกันมีกี่ตารางนิ้ว ก. 20 π ข. 18π ก. 190 ตารางนิ้ว ข. 195 ตารางนิ้ว ค. 15 π ง. 12π ค. 200 ตารางนิ้ว ง. 205 ตารางนิ้ว 16. จากรูป กรวยใบหนึ่งมีพื้นที่ผิวขาง 4,250 ตารางเซนติเมตร วัดรัศมีของฐานได 21 เซนติเมตร พื้นที่ผิวทั้งหมดมีกี่ ตารางเซนติเมตร ก. 1,386 ตารางเซนติเมตร ขอใหนักเรียนผาน ข. 7,022 ตารางเซนติเมตร การทดสอบในครั้ง ค. 4,316 ตารางเซนติเมตร นี้ทุก ๆ คน นะจะ ง. 5,636 ตารางเซนติเมตร 21 ซ.ม.
  • 8. แบบบันทึกผลการจัดการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร (ค23101) ชวงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 / ปการศึกษา… ชื่อครูผูสอนนางจันทิมา อุทาทิพย ตําแหนง ครู โรงเรียนวัดเขาวัง(แสง ชวงสุวนิช) สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรีเขต 1 สรุปผลการประเมินผลการจัดการเรียนรู หนวยที่……..เรื่อง………………………………………………………………………………………….จํานวน………ชั่วโมง คะแนน ระดับผล การ ชื่อ - สกุล กอนเรียน ระหวางเรียน หลังเรียน รวม ประเมิน เลขประจําตัว ประจํา เลขที่ หนวย รวม คาเฉลี่ย x คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( S.D.)
  • 9. แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียนระหวางเรียน รายวิชาคณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ครูผูบันทึก นางจันทิมา อุทาทิพย วันที………..เดือน……………..พ.ศ……….ครั้งที่…………ปการศึกษา…………………………. ่ รายการประเมิน รวม สรุปผลการประเมิน ความซื่อสัตยและทํางานเสร็จทันเวลา เลข ความมีเหตุผลและเชื่อมั่นในตนเอง เขารวมกิจกรรมดวยความสนใจ ที่ ประ ชื่อ - นามสกุล ความมีระเบียบรอบคอบ จําตัว ผาน ไมผาน ความเพียรพยายาม ความสนใจใฝรู 5 5 5 5 5 5 30
  • 10. แบบสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในกระบวนการกลุม ชื่อกลุม…………………………เรื่อง………………………………………….ชั้น ม. 3 /……. ใหกาเครื่องหมาย ♦ ในชองที่ประเมินตามที่สังเกต การวางแผน แบงหนาที่ รับฟงความ บรรยากาศในการ ติดตามและ ผลการ พฤติกรรม ทํางาน คิดเห็น ทํางาน ปรับปรุงงาน ประเมินการ สังเกต รายชื่อสมาชิก ใชได ปรับ ใชได ปรับ ใชได ปรับ ใชได ปรับ ใชได ปรับ ผาน ไม ในกลุม ปรุง ปรุง ปรุง ปรุง ปรุง ผาน หมายเหตุ ครูอาจสุมสังเกตเพียงบางกลุมในการเรียนการสอนแตละครั้ง หรือสังเกตเพียงบางพฤติกรรมที่เห็นวา เหมาะสมหรือสําคัญ สําหรับกิจกรรมการเรียนการสอนในคาบนั้นๆ นอกจากนั้นอาจใหนักเรียนเปนผูประเมินเอง หรือหากครูจะเปนผูประเมินและประเมินทุกกิจกรรมและทุกกลุมก็จะเปนเรื่องที่ดี
  • 11. แผนการจัดการเรียนรู รายวิชาคณิตศาสตร 5 (ค 23101) ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 หนวยการเรียนรูที่ 1 เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว จํานวน 17 ชั่วโมง แผนการเรียนรูที่ 2 เรื่อง การหาพื้นที่ผวและปริมาตรของปริซึม ิ จํานวน 1 ชั่วโมง ใชสอน………………………… ……………………………………………………………………………………………………… มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด มาตรฐาน ค 2.1 เขาใจพืนฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ตองการวัด ้ ตัวชี้วด ั ม.3/1 หาพื้นทีผิวของปริซึมและทรงกระบอก ่ ม.3/4. ใชการคาดคะเนเกี่ยวกับการวัดในสถานการณตางๆไดอยางเหมาะสม มาตรฐาน ค 2.2 แกปญหาเกียวกับการวัด ่ ตัวชี้วด ั ม.3/1 ใชความรูเกี่ยวกับพืนที่ พื้นที่ผิวและปริมาตรในการแกปญหาใน ้ สถานการณตางๆ มาตรฐาน ค 3.1 อธิบายและวิเคราะหรปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ู ตัวชี้วด ั ม.3/1 อธิบายลักษณะและสมบัติของปริซึม พีระมิด ทรงกระบอก กรวย และทรงกลม มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแกปญหา การใหเหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมาย ทางคณิตศาสตร และการนําเสนอ การเชื่อมโยงความรูตาง ๆ ทางคณิตศาสตรและ  เชื่อมโยงคณิตศาสตรกับศาสตรอื่น ๆ และมีความคิดริเริมสรางสรรค ่ ตัวชี้วด ั ม.3/1 ใชวิธีการที่หลากหลายแกปญหา ม.3/2 ใชความรูทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรและเทคโนโลยีในการแกปญหาใน  สถานการณตางๆไดอยางเหมาะสม ม.3/5 เชื่อมโยงความรูตางๆในคณิตศาสตรและนความรู หลักการ กระบวนการทาง คณิตศาสตรไปเชื่อมโยงกับศาสตรอื่นๆ
  • 12. สาระสําคัญ ปริซึม คือ ทรงสามมิติที่มีฐานทั้งสองเปนรูปเหลี่ยมที่เทากันทุกประการ และฐานทั้งคูอยูใน ระนาบที่ขนานกัน พื้นที่ผิวของปริซึม หาไดจาก พืนที่ผิวขาง + 2 ( พื้นที่ฐาน ) ้ พื้นที่ผิวขางของปริซึม หาไดจาก ความยาวรอบฐาน X ความสูง สาระการเรียนรู ปริซึม - พื้นที่ผิว - พื้นที่ผิวขาง ทักษะการคิด 1. ทักษะการใหเหตุผล 2. ทักษะการประยุกตใชความรู 3. ทักษะการเชื่อมโยง 4. ทักษะกระบวนการคิดแกปญหา  คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. มีวินัย 2. ใฝเรียนรู 3. มุงมั่นในการทํางาน 4. มีความรับผิดชอบ ชิ้นงาน/ภาระงาน 1. ใบกิจกรรมที่ 1.1 2. แบบฝกหัดเรื่องปริซึม กิจกรรมการเรียนรู 1 นักเรียนและครูชวยกันทบทวนสูตรการหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตรัส รูปสี่เหลี่ยมผืนผา ุ และรูปสามเหลี่ยม 2 แบงนักเรียนออกเปนกลุมๆละ 4-5 คน ศึกษาปริซมสามเหลี่ยม ปริซึมสี่เหลี่ยมผืนผา ึ และปริซึมสี่เหลี่ยมจัตุรัสทีครูนํามาใหนกเรียนไดวัดความยาวของฐาน ความยาวของความสูง แลวหา ่ ั ผลบวกของพืนที่ทุกหนาของปริซึม แลวชวยกันสรุป ดังนี้ ้ พื้นที่ผิวของปริซึม หาไดจาก พื้นที่ผิวขาง + 2 ( พื้นที่ฐาน ) พื้นที่ผิวขางของปริซึม หาไดจาก ความยาวรอบฐาน X ความสูง
  • 13. ยกตัวอยางประกอบใหนกเรียนไดเขาใจ ั ตัวอยางที่ 1 จงหาพื้นทีผิวขางของปริซึมสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีฐานยาวดานละ 5 เซนติเมตร ่ ความสูง 10 เซนติเมตร วิธีทํา จาก พื้นที่ผิวขางของปริซึม = ความยาวรอบฐาน X ความสูง = ( 5+5+5+5 ) X 10 = 20 X 10 = 200 ตารางเซนติเมตร ตอบ ตัวอยางที่ 2 จงหาพื้นที่ผิวของปริซึมสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีฐานยาวดานละ 5 เซนติเมตร ความ สูง 10 เซนติเมตร วิธีทํา จาก พื้นที่ผิวของปริซึม = พื้นที่ผิวขาง + 2 ( พื้นที่ฐาน ) เนื่องจาก พื้นที่ผิวขางของปริซึม = ความยาวรอบฐาน X ความสูง = 20 X 10 = 200 ตารางเซนติเมตร ดังนั้น พืนที่ผิวของปริซึม ้ = พื้นที่ผิวขาง + 2 ( พื้นที่ฐาน ) = 200 + 2 ( 5 X 5 ) = 200 + 50 = 250 ตารางเซนติเมตร ตอบ 3. นักเรียนนําใบความรูที่ 1.1 ไปแจกใหเพื่อนนักเรียนไดศึกษา เมื่อนักเรียนศึกษาใบความรูที่ 1.1 จน เขาใจดีแลว แจกใบกิจกรรมที่ 1.1 ใหนกเรียนไดชวยกันทํา เมื่อทําเสร็จเรียบรอยแลวเปลี่ยน ั  กัน ตรวจคําตอบ เมื่อมีนักเรียนทียังทําไมเสร็จหรือทําชากวาเพื่อนภายในกลุม ใหเพื่อนที่ทําเสร็จ ่ แลวชวยอธิบายใหฟง จนเพื่อนนักเรียนคนนั้นเขาใจและใหตอบคําถาม แลวสงครูเพื่อบันทึกคะแนน ประเมินตอไป ครูนําปญหาชวนคิดมาใหนกเรียนไดขบคิดกัน เมื่อไดคาตอบแลวนําเสนอหนาชั้นเรียน ั ํ 4. ใหนกเรียนทําแบบฝกหัดในหนังสือแบบเรียนคณิตศาสตร ม.3 แลวสงตรวจในชัวโมง ั ่ ตอไป สื่อและแหลงเรียนรู 1. รูปทรงปริซึม 2. ใบความรูที่ 1.1 และใบกิจกรรมที่ 1.1 3. แหลงเรียนรูในทองถิ่น 4. หนังสือเรียนคณิตศาสตร
  • 14. การวัดและประเมินผล ประเด็นการ ระดับคะแนน ประเมิน ๔ ๓ ๒ ๑ อธิบาย อธิบายความสัมพันธ อธิบาย อธิบาย ไมสามารถอธิบาย ความสัมพันธของ พรอมยกตัวอยางพื้นที่ ความสัมพันธของ ความสัมพันธของ ความสัมพันธของพื้นที่ พื้นที่ผิวและ ผิวและปริมาตรของ พื้นที่ผิวและ พื้นที่ผิวและ ผิวและปริมาตรของ ปริมาตรของปริซึม ปริซึมไดอยางถูกตอง ปริมาตรของปริซึม ปริมาตรของปริซึม ปริซึมไดนอกจากครู และอธิบายใหเพื่อน ไดถูกตองดวย ไดบางครั้ง และครู อธิบายและแนะนํา เขาใจได ตนเองดวยความ แนะนําและอธิบาย ตัวอยางทุกครั้ง แมนยําถูกตอง เพิ่มเติมบางครั้ง เกณฑการตัดสิน คะแนน 7-8 หมายถึง ดีมาก คะแนน 5-6 หมายถึง ดีมาก คะแนน 3-4 หมายถึง ดีมาก คะแนน 1-2 หมายถึง ดีมาก กิจกรรมเสนอแนะ 1 การทํากิจกรรมครูควรจะเสนอแนะ ใหนักเรียนไดรูจกและทําความคุนเคยกับรูปทรงปริซึมที่นํามา ั ให ดู สังเกตฐานและความสูงของปริซึม 2. เมื่อนักเรียนชวยกันสรางปริซึมตามที่กําหนดให เสร็จเรียบรอยแลว วัดความยาวของดานขางและ ความสูงของรูปทรงปริซึม
  • 15. ความคิดเห็นของผูบริหาร …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… (ลงชื่อ)…………………………………….. (นายปญญา มณีดํา) ตําแหนง รองผูอํานวยการฝายวิชาการ บันทึกหลังการสอน ผลการสอน …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… ปญหา / อุปสรรค …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… ขอเสนอแนะ / แนวทางแกไข …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… (ลงชื่อ)…………………………………….ผูสอน (นางจันทิมา อุทาทิพย ) ตําแหนง ครู โรงเรียนวัดเขาวัง(แสง ชวงสุวนิช)
  • 16. ใบความรูที่ 1.1 ปริซึม นิยาม ทรงสามมิติที่มีฐานทั้งสองเปนรูปเหลี่ยมที่เทากันทุกประการและฐานทั้งคูอยูในระนาบที่ ขนานกัน เรียกวา ปริซึม พื้นที่ผิว พื้นที่ผิวขาง พื้นที่ผิวขาง + 2(พื้นที่ฐาน) ความยาวรอบฐาน X ความสูง 5 10 5 10 5 5 พื้นที่ผิว = พ.ท.ผิวขาง + 2(พ.ท.ฐาน) พ.ท.ผิวขาง = ความยาวรอบฐานXความสูง =(ความยาวรอบฐานXความสูง)+2(พ.ท.ฐาน) = (5+5+5+5) X 10 = (2x10) + 2( 5x5 ) = 20 x 10 = 200 + 50 = 200 ตารงเซนติเมตร = 250 ตารางเซนติเมตร
  • 17. ใบกิจกรรมที่ 1.1 คําสั่ง ใหนกเรียนแสดงวิธีทําหาคําตอบที่ถูกตอง ั 1. ขนมเคกทรงปริซึมจัตุรัส มีความยาวฐานดานละ 20 เซนติเมตร ความสูง 8 เซนติเมตร พื้นที่ ผิวขนมเคกกีตารางเซนติเมตร ่ ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… 2. กลองทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบหนึ่งมีฐานเปนรูปสี่เหลียมจัตุรัส ยาวดานละ 30 เซนติเมตร กลองมี ่ ความสูง 40 เซนติเมตร พื้นที่ผิวขางของกลองเทากับเทาไร ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… 3. แทงเหล็กทอนหนึ่งมีฐานเปนรูปสี่เหลียมมุมฉาก วัดความยาวของฐานไดยาว 12 เซนติเมตร ่ ความกวาง 8 เซนติเมตร แทงเหล็กสูง 50 เซนติเมตร พื้นที่ผิวภายนอกเปนเทาไร ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………
  • 18. แบบสังเกตพฤติกรรมระหวางเรียน กลุมสาระการเรียนรูรายวิชาคณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3/….. ครูผูบันทึกนางจันทิมา อุทาทิพยวนที………..เดือน…………..พ.ศ……….ครั้งที่.........ปการศึกษา........ ั ่ รายการประเมิน รวม สรุปผลการ ประเมิน เลข เขารวมกิจกรรมดวยความ ความมีเหตผลและเชื่อมั่น ความมีระเบียบรอบคอบ ความซื่อสัตยและทํางาน ที่ ประ ชื่อ - นามสกุล จําตัว ความเพียรพยายาม ความสนใจใฝรู ผาน ไมผาน 5 5 5 5 5 5 30
  • 19. แบบสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในกระบวนการกลุม ชื่อกลุม…………………………เรื่อง…………………………………………….ชั้น ม. 3 /…… ใหกาเครื่องหมาย ♦ ในชองที่ประเมินตามที่สังเกต การวางแผน แบงหนาที่ รับฟงความ บรรยากาศใน ติดตามและ ผลการ พฤติกรรม ทํางาน คิดเห็น การทํางาน ปรับปรุงงาน ประเมินการ สังเกต รายชื่อสมาชิก ใช ปรับ ใช ปรับ ใช ปรับ ใช ปรับ ใช ปรับ ผาน ไม ในกลุม ได ปรุง ได ปรุง ได ปรุง ได ปรุง ได ปรุง ผาน
  • 20. แผนการจัดการเรียนรู รายวิชาคณิตศาสตร5 ( ค 23101 ) ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 หนวยการเรียนรูที่ 1 เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว จํานวน 17 ชั่วโมง แผนการเรียนรูที่ 3 เรื่อง การหาพื้นทีผิวและปริมาตรของปริซึม ่ จํานวน 1 ชั่วโมง ใชสอน………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด มาตรฐาน ค 2.1 เขาใจพืนฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ตองการวัด ้ ตัวชี้วด ั ม.3/1 หาพื้นทีผิวของปริซึมและทรงกระบอก ่ ม.3/2 หาปริมาตรของปริซึม ทรงกระบอก พีระมิด กรวย และทรงกลม มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแกปญหา การใหเหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมาย ทาง คณิตศาสตร และการนําเสนอ การเชื่อมโยงความรูตางๆ ทางคณิตศาสตรและเชื่อมโยงคณิตศาสตรกับ ศาสตรอื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสรางสรรค ตัวชี้วด ั ม.3/1 ใชวิธีการที่หลากหลายในการแกปญหา ม.3/2 ใชความรูทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรและเทคโนโลยีในการแกปญหาใน สถานการณตางๆไดอยางเหมาะสม ม.3/3 ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจและสรุปผลไดอยางเหมาะสม สาระสําคัญ ปริซึม คือ ทรงสามมิติที่มีฐานทั้งสองเปนรูปเหลี่ยมที่เทากันทุกประการ และฐานทั้งคูอยูใน ระนาบที่ขนานกัน ปริมาตรของปริซึม เทากับ พื้นที่หนาตัด x ความสูง สาระการเรียนรู ปริซึม - ปริมาตรของปริซึม ทักษะการคิด - ทักษะการคิดกวาง
  • 21. คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. มีวินัย 2. ใฝเรียนรู 3. มุงมั่นในการทํางาน 4. มีความรับผิดชอบ ชิ้นงาน/ภาระงาน 1. คํานวณหาปริมาตรของสิ่งกอสรางหรือสิ่งของที่มีลักษณะเปนปริซึม กิจกรรมการเรียนรู 1. นักเรียนชวยกันทบทวนสูตรการหาพื้นที่ของรูปเหลี่ยมตางๆ ซึ่งไดศึกษามาแลว 2. แบงกลุมนักเรียนกลุมละ 4-5 คน ศึกษาปริซึมฐานรูปสี่เหลี่ยมดานเทาและปริซึมฐาน สี่เหลี่ยมผืนผา ที่ครูนํามาให แลววัดความยาวของดานกวาง ความยาวของดานยาว และความ สูง ของรูป 3. ใหนกเรียนศึกษาใบความรูที่ 1.2 เมื่อนักเรียนศึกษาจนเขาใจดีแลว นักเรียนนําใบ ั กิจกรรมที่ 1.2 ไปแจกใหเพื่อนๆ นักเรียนชวยกันทํา เมื่อทําเสร็จแลวเลี่ยนกันตรวจคําตอบ ภายในกลุมของตนเอง นักเรียนที่ยังทําไมเสร็จหรือทําชากวาเพื่อนภายในกลุม ใหเพื่อนที่ทํา เสร็จแลวชวยอธิบายใหฟง จนเพื่อนนักเรียนคนนันเขาใจและใหตอบคําถาม แลวสงใหเพื่อน ้ ตรวจ พรอมกับนําผลคะแนนสงครูเพื่อที่จะเก็บบันทึกตอไป นักเรียนและครูรวมกันสรุป ครูยกตัวอยางใหนกเรียนไดเขาใจมากยิ่งขึน ั ้ ปริมาตรของปริซึม เทากับ พื้นที่หนาตัด คูณดวย ความสูง ตัวอยางที่ 1 จงหาปริมาตรของปริซึมสี่เหลี่ยมจัตุรสที่มีฐานยาวดานละ 5 เซนติเมตร ั ความสูง 27 เซนติเมตร วิธีทํา จากปริมาตร = พื้นที่หนาตัด X ความสูง พื้นที่หนาตัด = 5 X 5 = 25 ตารางเซนติเมตร ความสูง = 27 เซนติเมตร ดังนั้น ปริมาตร = 25 X 27 ลูกบาศกเซนติเมตร = 675 ลูกบาศกเซนติเมตร ตอบ
  • 22. ตัวอยางที่ 2 อางน้ําทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก มีความยาว 20 เมตร กวาง 12 เมตร 1) จงหาพื้นทีกนอาง ่ 2) ถาตองการเก็บน้ําไวในอาง 1,920 ลูกบาศกเมตร ระดับน้ําจะสูงจากกนอาง เทาไร วิธีทํา 1) พืนที่กนอาง ้ = กวาง X ยาว = 12 X 20 = 240 ตารางเมตร 2) จากปริมาตร = พื้นที่ฐาน X สูง ถาปริมาตร = 1,920 ลูกบาศกเมตร พื้นที่ฐาน = 240 ตารางเมตร 1, 920 ดังนั้น ระดับน้ําสูง = = 8 เมตร ตอบ 240 ตัวอยางที่ 3 แกวทับกระดาษตันแทงหนึ่งเปนปริซึมที่มีฐานเปนรูปหกเหลี่ยม มีพื้นที่ 9 ตาราง เซนติเมตร แทงแกวนี้มีปริมาตร 18 ลูกบาศกเซนติเมตร จงหาวาแทงแกวนี้หนาเทาไร วิธีทํา จากปริมาตร = พื้นที่ฐาน X สูง ถาปริมาตรแทงแกว = 18 ลูกบาศกเซนติเมตร พื้นที่ฐาน = 9 ลูกบาศกเซนติเมตร 18 ดังนั้น แทงแกวนีหนา = ้ = 2 เซนติเมตร ตอบ 9 ใหนกเรียนทําปญหาชวนคิดและทําแบบฝกหัดในหนังสือแบบเรียนคณิตศาสตร แลวสงตรวจใน ั ชั่วโมงตอไป สื่อและแหลงเรียนรู 1. ใบความรูที่ 1.2 และใบกิจกรรมที่ 1.2 2. หนังสือแบบเรียนคณิตศาสตร ชั้น ม. 3 3. ปริซึม 4. หองสมุดและแหลงเรียนรูในทองถิ่น  5. ปญหาชวนคิด
  • 23. การวัดและประเมินผล ประเด็นการ ระดับคะแนน ประเมิน ๔ ๓ ๒ ๑ อธิบาย อธิบายความสัมพันธ อธิบาย อธิบาย ไมสามารถอธิบาย ความสัมพันธของ พรอมยกตัวอยางพื้นที่ ความสัมพันธของ ความสัมพันธของ ความสัมพันธของพื้นที่ พื้นที่ผิวและ ผิวและปริมาตรของ พื้นที่ผิวและ พื้นที่ผิวและ ผิวและปริมาตรของ ปริมาตรของปริซึม ปริซึมไดอยางถูกตอง ปริมาตรของปริซึม ปริมาตรของปริซึม ปริซึมไดนอกจากครู และอธิบายใหเพื่อน ไดถูกตองดวย ไดบางครั้ง และครู อธิบายและแนะนํา เขาใจได ตนเองดวยความ แนะนําและอธิบาย ตัวอยางทุกครั้ง แมนยําถูกตอง เพิ่มเติมบางครั้ง แสดงการคิด ยกตัวอยางแสดงการ แสดงการคิดคํานวณ แสดงการหาพืนที่้ ไมสามารถหาพื้นที่ผิว คํานวณการหา หาคาปริมาตรและ การหาพื้นที่ผวและ ิ ผิวและปริมาตรของ และปริมาตรของปริซึม พื้นที่ผิวและ พื้นที่ผิวไดอยาง ปริมาตรของปริซึม ปริซึมที่มีฐานรูป ได ครูตองอธิบายและ ปริมาตรของ ถูกตอง และอธิบายให ไดอยางถูกตอง เหลี่ยมตางๆ ได แนะนํา ทุกครั้ง ปริซึม เพื่อนๆ เขาใจได แมนยําไดดวย  อยาง ถูกตอง แตครู ตนเอง แนะนําบางครั้งใน การคิดคํานวณ เกณฑการตัดสิน คะแนน 7-8 หมายถึง ดีมาก คะแนน 5-6 หมายถึง ดีมาก คะแนน 3-4 หมายถึง ดีมาก คะแนน 1-2 หมายถึง ดีมาก กิจกรรมเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………
  • 24. ความคิดเห็นของผูบริหาร …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… (ลงชื่อ)…………………………………….. (นายปญญา มณีดํา) ตําแหนง รองผูอํานวยการฝายวิชาการ บันทึกหลังการสอน ผลการสอน …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… ปญหา / อุปสรรค …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… ขอเสนอแนะ / แนวทางแกไข …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… (ลงชื่อ)…………………………………….ผูสอน ( นางจันทิมา อุทาทิพย) ตําแหนง ครูโรงเรียนวัดเขาวัง(แสง ชวงสุวนิช)
  • 25. ปญหาชวนคิด รูปตอไปนี้มีผิดอยู 1 แหงที่ตองการแกไขใหถูกตอง จะทํายังไงตามรูปเปนเหรียญ 6 เหรียญ เรียงพาดขวางกันอยู แถวขวางมีสามเหรียญ แถวตั้งมีสี่เหรียญ ตองการจะใหแตละแถวมี 4 เหรียญ จะทําอยางไร
  • 26. ใบความรูที่ 1.2 ปริซึม นิยาม ทรงสามมิติที่มีฐานทั้งสองเปนรูปเหลี่ยมที่เทากันทุกประการและฐานทั้งคูอยูในระนาบที่  ขนานกัน เรียกวา ปริซึม ปริซึมรูปสามเหลี่ยม ปริซึมรูปสี่เหลี่ยมผืนผา ปริซึมรูปหาเหลี่ยม ปริมาตรของปริซึม พื้นที่ฐาน x ความสูง จงหาปริมาตรของปริซึม จงหาปริมาตรของปริซึมรูปสี่เหลี่ยมจัตรัสที่ ุ มีฐานยาวดานละ 5 เซนติเมตร ความสูง 27 เซนติเมตร 4 ซม. 10 ซม. 5 ซม. 27 ซม. 4 ซม. 5 ซม. ปริมาตรของปริซึม = พื้นที่ฐาน X ความสูง ปริมาตรของปริซึม = พื้นที่ฐาน Xความสูง = ( 4 x 4 ) x 10 = ( 5 x 5 ) x 27 = 160 ลูกบาศกเซนติเมตร = 25 x 27 = 675 ลูกบาศกเซนติเมตร
  • 27. ใบกิจกรรมที่ 1.2 คําสั่ง จงแสดงวิธีทําหาคําตอบที่ถูกตอง 1. หองเรียนกวาง 4 เมตร ยาว 6 เมตร สูง 3 เมตร ปริมาตรอากาศในหองเรียนจะเปนเทาไร ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………....................................... ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………................. 2. แทงแกวแทงหนึ่งเปนปริซมสามเหลี่ยมมุมฉาก ดานประกอบมุมฉากยาว 45 เซนติเมตร และ 38 ึ เซนติเมตร แทงแกวยาว 120 เซนติเมตร จะมีปริมาตรกี่ลูกบาศกเซนติเมตร …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………........................................ …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………................ พยายามทําความเขาใจกอนจะลง มือทํา..นะครับ เสร็จแลวสงคุณครู
  • 28. แบบสังเกตพฤติกรรมระหวางเรียน กลุมสาระการเรียนรูรายวิชาคณิตศาสตรพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ครูผูบันทึก นางจันทิมา อุทาทิพย วันที………..เดือน……………………..พ.ศ……….ครั้งที่…………ปการศึกษา……………………… ่ รายการประเมิน รวม สรุปผลการ ประเมิน เลข ความซื่อสัตยและทํางานเสร็จ ความมีเหตผลและเชื่อมั่นใน ที่ ประ ชื่อ - นามสกุล เขารวมกิจกรรมดวยความ ความมีระเบียบรอบคอบ จําตัว ความเพียรพยายาม ผาน ไมผาน ความสนใจใฝรู 5 5 5 5 5 5 30
  • 29. แผนการจัดการเรียนรู รายวิชาคณิตศาสตร5 (ค 23101) ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 หนวยการเรียนรูที่ 1 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว จํานวน 17 ชั่วโมง แผนการเรียนรูที่ 4 เรื่อง การหาพื้นทีผิวและปริมาตรทรงกระบอก ่ จํานวน 1 ชั่วโมง ใชสอน............................................... …………………………………………………………………………………………………………… มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด มาตรฐาน ค 2.1 เขาใจพืนฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ตองการวัด ้ ตัวชี้วด ั ม.3/1 หาพื้นทีผิวของปริซึมและทรงกระบอก ่ ม.3/2 หาปริมาตรของปริซึม ทรงกระบอก พีระมิด กรวย และทรงกลม มาตรฐาน ค 3.1 อธิบายและวิเคราะหรปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ู ตัวชี้วด ั ม.3/1 อธิบายลักษณะและสมบัติของปริซึม พีระมิด ทรงกระบอก กรวย และทรงกลม มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแกปญหา การใหเหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมาย ทาง คณิตศาสตร และการนําเสนอ การเชื่อมโยงความรูตางๆ ทางคณิตศาสตรและเชื่อมโยงคณิตศาสตรกับ ศาสตรอื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสรางสรรค ตัวชี้วด ั ม.3/1 ใชวิธีการที่หลากหลายในการแกปญหา ม.3/2 ใชความรูทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรและเทคโนโลยีในการแกปญหาใน  สถานการณตางๆไดอยางเหมาะสม ม.3/3 ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจและสรุปผลไดอยางเหมาะสม สาระสําคัญ ทรงกระบอก คือ ทรงสามมิติที่มีฐานเปนวงกลมที่เทากันทุกประการ และอยูในระนาบที่ ขนานกัน และเมื่อตัดทรงสามมิตินี้ดวยระนาบที่ขนานกันกับฐานแลวจะไดรอบตัดเปนวงกลมที่เทากัน ทุกประการกับฐานเสมอ สาระการเรียนรู ทรงกระบอก - ลักษณะและสวนประกอบของทรงกระบอก - พื้นที่ผิวขางของทรงกระบอก - พื้นที่ผิวทั้งหมดของทรงกระบอก
  • 30. ทักษะการคิด - ทักษะการคิดกวาง คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. มีวินัย 2. ใฝเรียนรู 3. มุงมั่นในการทํางาน 4. มีความรับผิดชอบ กิจกรรมการเรียนรู 1. นักเรียนหาตัวอยางลักษณะของสิ่งที่เปนทรงกระบอกใกลตัว แลวบอกมาคนละ 1-2 ชื่อ 2. แบงนักเรียนออกเปนกลุมๆละ 4-5 คน ศึกษาอุปกรณที่ครูเตรียมมา แลวใหแตละกลุมชวยกัน พิจารณาวาเปนทรงกระบอก หรือไมเปน แลวสงตัวแทนมาอภิปรายหนาชั้น 3. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปลักษณะของทรงกระบอกและบอกสวนประกอบของทรงกระบอก หัวหนากลุมแตละกลุมมารับทรงกระบอกที่ทําดวยกระดาษ แลวใหนกเรียนในกลุมชวยกันวัดสวนสูง ั และเสนผานศูนยกลางของทรงกระบอก จากนั้นใหตัดดานขางของทรงกระบอกแลวคลี่ออก 4. นักเรียนวัดความยาวของดานกวางและดานยาวของทรงกระบอกแลวคํานวณหาพืนที่ ้ 5. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปวา ความยาวของดานขางของทรงกระบอก คือ ความยาวของเสน รอบวงกลมที่ฐาน 6. นักเรียนหาพื้นที่ดานขาง โดยใชรัศมีทวัดไว เพื่อสรุปเปนสูตรการหาพื้นที่ ดังนี้ ี่ สูตร พื้นที่ผิวขาง = 2πrh สูตร พื้นที่ผิวทั้งหมด = 2πrh + 2πr2 7. นักเรียนศึกษาใบความรูที่ 1.3 เมื่อศึกษาจนเขาใจดีแลว ใหทําใบกิจกรรมที่ 1.3 เมื่อเสร็จ  แลวใหเปลี่ยนกันตรวจภายในกลุม แลวสงผลการทํากิจกรรมใหครูเพือตรวจความถูกตองและ ่ บันทึกผลตอไป ครูยกตัวอยางใหนกเรียนไดดูและเขาใจมากยิ่งขึ้น ั พื้นที่ผิวขาง = กวาง X ยาว = h X 2πr = 2πrh
  • 31. รอยตัด 2πr r h h พื้นที่ผิวทั้งหมด ประกอบดวย พื้นทีผิวขาง และพืนที่หนาตัดหัวทาย ่ ้ พื้นที่ผิวขางของทรงกระบอก = 2πrh พื้นที่หนาตัดหัวทาย = 2πr2 ดังนั้น พื้นที่ผิวทั้งหมด = 2πrh + 2πr2 ตัวอยางที่ 1 ทรงกระบอกตัน มีเสนผานศูนยกลาง 6 เซนติเมตร สูง 10 เซนติเมตร จง หา พื้นที่ผิวขางของทรงกระบอกนี้ ( π = 22 ) 7 วิธีทํา จากพื้นที่ผิวขางของทรงกระบอก = 2πrh 22 =2X X 3 X 10 7 = 188.57 ตารางเซนติเมตร ดังนั้น พื้นที่ผิวขางของทรงกระบอกนี้ เทากับ 188.57 ตารางเซนติเมตร ตอบ ตัวอยางที่ 2 ทรงกระบอกยาว 8 เซนติเมตร มีเสนผานศูนยกลางยาว 10 เซนติเมตร จงหา พื้นที่ ผิวทั้งหมดของทรงกระบอกนี้ วิธีทํา พื้นที่ผิวทั้งหมด = พื้นที่ผิวขาง + พื้นที่หนาตัด พื้นทีผิวขาง ่ = 2πrh 22 = 2 X X 5 X 8 7 = 251.43 ตารางเซนติเมตร พื้นทีหนาตัดหัวทาย ่ = 2πr2 22 = 2 X X 52 7 = 157.14 ตารางเซนติเมตร ดังนั้น พื้นที่ผิวทั้งหมด = 251.43 + 157.14 = 408.57 ตารางเซนติเมตร ตอบ