SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
หน้าที่ 1

             สารประกอบของคาร์ บ อน
       ในสมั ย แรก ๆ นั ก วิ ท ยาศาสตร์ แ บ่ ง สารเคมี อ อกเป็ น สาร
อินทรีย์และสารอนินทรีย์
สารอนินทรีย์เป็นสารประกอบของธาตุต่าง ๆ ส่วนสารอินทรีย์เป็น
สารประกอบคาร์บอนที่ได้จากสิ่งมีชีวิต
       ต่อมาในปี ค.ศ. 1828 ฟรีดริช เวอเลอร์ สามารถสังเคราะห์ยู
เรี ย ได้ จ ากสารอนิ น ทรี ย์ ทำา ให้ คำา จำา กั ด ความของสารอิ น ทรี ย์
เปลี่ ย นไป สารอิ น ทรี ย์ คื อ สารประกอบที่ มี ธ าตุ ค าร์ บ อนและ
ไฮโดรเจนเป็นองค์ประกอบหลัก ยกเว้นสารประกอบคาร์บอนบาง
ชนิด เช่น สารประกอบออกไซด์
คาร์ บ อเนต และไฮโดรเจนคาร์ บ อเนต วิ ช าที่ ศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ สาร
อินทรีย์เรียกว่า เคมี อ ิ น ทรี ย ์

10.1 สารประกอบไฮโดรคาร์ บ อน
        สารประกอบไฮโดรคาร์ บ อน คือ กลุ่มของสารที่มีเฉพาะ
ธาตุคาร์บอนและไฮโดรเจนเป็น
องค์ประกอบเท่ านั้น โครงสร้างของสารประกอบไฮโดรคาร์ บ อน
แบ่งออกเป็นโซ่เปิดและแบบวง
        โซ่ เ ปิ ด เป็นไฮโดรคาร์บอนที่คาร์บอนทุกอะตอมต่อกันเป็น
สาร ถ้าต่อกันเป็นสายยาวไม่มีกิ่งเรียกว่า โซ่ตรง ถ้ามีกิ่งเรียกว่า
โซ่กิ่ง
        แบบวง เป็นไฮโดรคาร์บอนที่ต่อกันเป็นวง
        10.1.1 ก า ร เ ก ิ ด ไ อ โ ซ เ ม อ ร ์ ข อ ง ส า ร ป ร ะ ก อ บ
ไฮโดรคาร์ บ อน
        สารประกอบไฮโดรคาร์บ อนบางชนิ ดมี สูต รโมเลกุ ลเหมื อน
กัน แต่มีสูตรโครงสร้ างต่างกัน หรือในสูตรโมเลกุลหนึ่ ง ๆ อาจมี
สูตรโครงสร้างได้หลายแบบ เช่น
                                                                      CH3
        สู ต รโมเลกุ ล C4H10 สู ต รโครงสร้ า ง CH3- CH2- CH2- CH3,
CH3- CH - CH3
        ปรากฏการณ์ ที่ ส ารประกอบไฮโดรคาร์ บ อนมี สู ต รโมเลกุ ล
เหมื อ นกั น แต่ สู ต รโครงสร้ า งต่ า งกั น เรี ย กว่ า ไ อ โ ซ เ ม อ ร ิ ซ ึ ม
แต่ละโครงสร้างเรียกว่า ไอ โ ซ เ ม อ ร ์ เช่น C4H10 มี 2 โครงสร้าง
หรือ 2 ไอโซเมอร์
        ไอโซเมอร์จะมีสมบัติทางกายภาพบางประการ เช่น จุดเดือด
จุดหลอมเหลว และความหนาแน่นต่างกัน โดยไอโซเมอร์มีกิ่งก้าน
มากจะมี จุ ด เดื อ ดและจุ ด หลอมเหลวตำ่า กว่ า ไอโซเมอร์ มี กิ่ ง ก้ า น
น้อยหรือไม่มีเลย
        10.1.2 ส ม บ ั ต ิ ท า ง ก า ย ภ า พ ข อ ง ส า ร ป ร ะ ก อ บ
ไฮโดรคาร์ บ อน
หน้าที่ 2

       1. สถานะ สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีมวลโมเลกุลตำ่า ๆ
หรือมี จำา นวนคาร์บ อนน้ อย ๆ มีส ถานะเป็ นก๊ าซ จำา นวนคาร์ บอน
มากขึ้นจะมีสถานะเป็นของเหลวและของแข็งตามลำาดับ เช่น
CH4 เป็นก๊าซ C5H12 เป็นของเหลว C20H22 เป็นของแข็ง
       2. การละลายนำ ้ า สารประกอบไฮโดรคาร์บอนส่วนใหญ่ไม่
ละลายนำ้า ละลายได้ในตัวทำาละลายอินทรีย์ เช่น เฮกเซน เพนเทน
เป็นต้น
       3. ค ว า ม ห น า แ น ่ น มี ความหนาแน่ น น้ อ ยกว่ า นำ้า หรื อ น้ อ ย
กว่า 1 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร
       4. จ ุ ด เ ด ื อ ด แ ล ะ จ ุ ด ห ล อ ม เ ห ล ว จะแปรผั น ตามมวล
โมเลกุลหรือแปรผันตามจำานวนคาร์บอนในกรณีไอโซเมอร์มีมวล
โมเลกุ ล เท่ า กั น ไอโซเมอร์ ที่ มี กิ่ ง ก้ า นมากกว่ า จะมี จุ ด เดื อ ดและ
จุดหลอมเหลวตำ่ากว่าไอโซเมอร์ที่ไม่มีกิ่งก้าน เช่น
      CH3
 CH3CHCH3 มีจุดเดือดจุดหลอมเหลวตำ่ากว่า CH3CH2CH2CH3
     (C4H10)                                        (C4H10)
       5. การเผ าไหม้ ข อ งส าร ปร ะกอ บไฮ โด ร คาร ์ บ อ น แบ่ง
เป็นการเผาไหม้อย่างสมบูรณ์และไม่สมบูรณ์
               5.1 ก า ร เ ผ า ไ ห ม ้ อ ย ่ า ง ส ม บ ู ร ณ ์ สารประกอบ
ไฮโดรคาร์บอนทุกชนิดเมื่อเผาไหม้จะให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
(CO2) และนำ้า (H2O) โดยมีสูตรทั่วไปดังนี้
                       C5H10 + O2    า → CO2 + H2O
                                        แสงสว่ ง
                                               
               5.2 ก า ร เ ผ า ไ ห ม ้ อ ย ่ า ง ไ ม ่ ส ม บ ู ร ณ ์ จะเกิ ด เขม่ า
ปริ ม าณเขม่ า พิ จ ารณาจากจำา นวนคาร์ บ อนเท่ า กั น จำา นวน
ไฮโดรเจนน้อย เขม่าจะมาก จำา นวนไฮโดรเจนมาก เขม่าจะน้อย
เช่น ปริมาณเขม่าของ C6H10> C6H12>C6H14
               หรื อ พิ จ ารณาจากจำา นวนไฮโดรเจนเท่ า กั น จำา นวน
คาร์บอนมาก เขม่าจะมาก จำานวนคาร์บอนน้อยเขม่าจะน้อย เช่น
ปริมาณเขม่าของ C5H10 > C4H10

10.2 ประเภทของสารประกอบไฮโดรคาร์ บ อน
       10.2.1 แอลเคน
                แ อ ล เ ค น (alkane) คื อ สาประกอบไฮโดรคาร์ บ อนที่
โ ม เ ล กุ ล มี เ ฉ พ า ะ พั น ธ ะ เ ดี่ ย ว เ ท่ า นั้ น จั ด เ ป็ น ส า ร ป ร ะ ก อ บ
ไฮโดรคาร์บอนประเภทอิ่มตัว
                จากสู ต รโมเลกุ ล CH4, C2H6 และ C3H8 สามารถสรุ ป
สูตรโมเลกุลของแอลเคนได้เป็น CnH2n+2 เมื่อ n คือจำานวนคาร์บอน

การเขี ย นสู ต รโครงสร้ า งของแอลเคน
    1. แบ บ จ ุ ด โดยเขียนจุดแทนเวเลนซ์อิเล็กตรอนของแต่ละ
อะตอม แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง การใช้ อิ เ ล็ ก ตรอนร่ ว มกั น ของแต่ ล ะคู่
อะตอมในการเกิดพันธะ
หน้าที่ 3
ข้อเสียของวิธีนี้คือ จะทำาให้สูตรโครงสร้างดูยุ่งเหยิง และใช้เนื้อที่
ในการเขียนมาก
        2. แบบเส้ น ใช้ขีดหรือเส้นสั้น ๆ แทนพันธะ
วิธีนี้ใช้เนื้อที่ในการเขียนมาก แต่แสดงพันธะเคมีได้ชัดเจน
        3. แ บ บ ร ว ม เขี ย นคาร์ บ อนอะตอมไว้ ใ นบรรทั ด เดี ย วกั น
บอกจำา นวนไฮโดรเจนด้วยตัวเลขห้องกำา กั บไว้กับคาร์บอนนั้น ๆ
เช่น
               CH3CH2CH2CH3               CH3CH2CH2CH2CH2CH3
        4. แ บ บ ผ ส ม เป็นการผสมระหว่างแบบเส้นกับ แบบรวม ใช้
ขีดแทนพันธะระหว่างคาร์บอนเท่านั้น ส่วนจำา นวนไฮโดรเจนให้
บอกจำานวนด้วยตัวห้อย เช่น
               CH3- CH2- CH3              CH3-CH2-CH2-CH2-CH3
               วิธีนี้ใช้เนื้อที่ไม่มากและมองเห็นได้ชัดเจน นิยมใช้กัน
มาก
        5. แ บ บ เ ส ้ น พ ั น ธ ะ ใช้จุดแทนคาร์บอน ใช้เส้น แทนพัน ธะ
ระหว่างคาร์บอนและจำานวนไฮโดรเจน ละไว้ในฐานที่เข้าใจ
     วิธีนี้นิยมใช้กับสารประกอบอะลิไซคลิก
     การเขียนสูตรโครงสร้างแต่ละวิธีมีข้อดีและข้อเสียต่างกัน จะ
เลือกใช้วิธีใดขึ้นอยู่กับโอกาสและความเหมาะสม การเขียนสูตร
โครงสร้ างของแอลเคนสามารถนำา ไปประยุกต์ใช้กับสารอิ นทรีย์
ชนิดอื่น ๆ ได้

      การเรี ย กชื ่ อ แอลเคน
      แบบโซ่ ต รง เรียกตามจำา นวนอะตอมของคาร์บอน โดยใช้
จำา นวนนั บ ในภาษากรี ก ระบุ จำา นวนอะตอมของคาร์ บ อนแล้ ว
ลงท้ายด้วยเสียง "เ…….น (-ane)"

    ตารางที ่ 10.2 แสดงการเรี ย กชื ่ อ แอลเคนบางชนิ ด
         จำ า นวน       ภาษากรี ก         แอล    การเรี ย ก
         คาร์ บ อน                         เคน       ชื ่ อ
               1        มี-หรือเมท-        CH4      มีเทน
               2           meth)          C2H6   (methane)
                                                    อีเทน
               3        อี-หรือเอท-       C3H8    (ethane)
               4           (eth-)         C4H10   โพรเพน
               5      โพรพ-(prop-)        C5H12  (propane)
               6        บิวท-(but-)       C26H14    บิวเทน
               7      เพนท-(pent-)        C7H16   (butane)
                                                  เพนเทน
               8       เฮกซ-(hex-)        C8H18  (pentane)
               9      เฮปท-(hept-)        C9H20    เฮกเซน
              10       ออกท-(oct-)        C10H22  (hexane)
                        โนน-(non-)                 เฮปเทน
หน้าที่ 4

                                  เดค-(dec-)                           (heptane)
                                                                        ออกเทน
                                                                        (octane)
                                                                         โนเนน
                                                                       (nonane)
                                                                      เดคเคน
                                                                     (decane)

       ห ม ู ่ แ อ ล ค ิ ล คื อ ห มู่ อ ะ ต อ ม ที่ เ กิ ด จ า ก ก า ร ล ด จำา น ว น
ไฮโดรเจนในแอลเคนลงไป 1 อะตอม เขียนสัญลักษณ์แทนด้วย R
มีสูตรโมเลกุลทั่วไปเป็น CnH2n+1 เมื่อ n คือจำานวนคาร์บอนอะตอม
      การเรียกชื่อ เรียกชื่อเหมือนสารประกอบแอลเคนที่มีจำานวน
คาร์บอนอะตอมเท่ากัน แต่เปลี่ยนเสียงท้ายเป็น "……ล (-yl)" เช่น


              แอลเคน                แอลคิน              การเรียกชื่อ
              CH4                   CH3-          เมทิล (methyl)
              C3H3(C2H6)                 CH3CH2- หรือ C2H5- เ อ ทิ ล
(ethyl)

10.2.2 ไ ซ โ ค ล แ อ ล เ ค น
       ไ ซ โ ค ล แ อ ล เ ค น คือ แอลเคนที่ปลายทั้ง 2 ข้างของโซ่สร้าง
พันธะเคมีเชื่อมต่อกัน มีสูตรโมเลกุลทั่วไปเป็น CnH2n (เหมือนแอล
คีน)
       ปฏิกิริยาเคมีที่สำาคัญของสารประกอบคาร์บอนมี 2 ปฏิกิริยา
คือ ปฏิกิริยาการแทนที่และปฏิกิริยาการเติม
       ปฏิกิริยาเคมีของแอลเคนและไซโคลแอลเคน ถึงแม้ว่าแอล
เคนไม่มีหมู่ฟังก์ชันจึงไม่มีส่วนใดที่เกิดปฏิกิริยาเคมีได้ก็ตาม แต่
แอลเคนสามารถเกิดปฏิกิริยาได้ด้วยสภาวะที่รุนแรง เช่น ใช้แสง
เป็นต้น ปฏิกิริยาเคมีที่สำา คัญของแอลเคนคือ ปฏิกิริยาการแทนที่
ด้วยแฮโลเจน
       ปฏิ กิ ริ ย าการแทนที่ ด้ ว ยแฮโลเจน ปฏิ กิ ริ ย านี้ จ ะเกิ ด ขึ้ น ได้
ต้ อ งใช้ แ สงช่ ว ยหรื อ เกิ ด ในที่ มี แ สงสว่ า งเท่ า นั้ น โดยแฮโลเจน
อะตอมจะเข้ า ไปที่ ไ ฮโดรเจนอะตอมของแอลเคน แล้ ว เกิ ด ก๊ า ซ
ไฮโดรเจนแฮไลด์ซึ่งเป็นกรด
       CxHy + Cl2  า → CxHy-1Cl +
                             แสงสว่ ง
                                                         HCl
       แอลเคน คลอรีน                     คลอโรแอลเคน ไฮโดรเจนคลอ
ไรด์
       เมื่ อ นำา เฮกเซนรวมกั บ ก๊ า ซคลอรี น ลงในหลอดทดลองที่ มี
กระดาษลิตมัสสีนำ้าเงินอังที่ปากหลอด แล้วนำาไปตั้งในที่มีแสงสว่าง
สั ก ครู่ ห นึ่ ง จะเห็ น กระดาษลิ ต มั ส เปลี่ ย นสี จ ากสี นำ้า เงิ น เป็ น สี แ ดง
แสดงว่ามีกรดเกิดขึ้นจากปฏิกิริยานี้ ดังสมการ
       C6H14 + Cl2  า → C6H13Cl +
                              แสงสว่ ง
                                                          HCl
       เฮกเซน คลอรีน                    คลอโรแอลเคน ไฮโดรเจนคลอ
ไรด์
หน้าที่ 5
       แฮโลเจนตั ว อื่ น ๆ เช่ น โบรมี น ไอโอดี น ฟลู อ อรี น จะเกิ ด
ปฏิ กิ ริ ย าในทำา นองเดี ย วกั น แต่ ใ นทางปฏิ บั ติ นิ ย มใช้ โ บรมี น
มากกว่าเพราะโบรมีนเป็นของเหลวจับต้องได้ง่าย และโบรมีนมีสี
ส้ มแดงทำา ให้ เห็ นการเปลี่ย นแปลงได้ เมื่ อเกิด ปฏิกิริ ยาหรื อ สี ข อง
โบรมีนจะจางหายไปเมื่อเกิดปฏิกิริยา เรียกว่า เกิดการฟอกจางสี
ของโบรมีน

10.2.3 แ อ ล ค ี น
          แ อ ล ค ี น (alkene) คือ สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีพันธะ
คู่ อ ยู่ ใ น โ ม เ ล กุ ล 1 พั น ธ ะ น อ ก นั้ น เ ป็ น พั น ธ ะ เ ดี่ ย ว จั ด เ ป็ น
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดไม่อิ่มตัว ในทำานองเดียวกับแอล
เคน แต่แอลคีนมีจำานวนไฮโดรเจนน้อยกว่าแอลเคนอยู่ 2 ตัว สูตร
โมเลกุลทั่วไปของแอลคีนจึงเป็น CnH2n เมื่อ n คือจำานวนคาร์บอน
          ก า ร เ ร ี ย ก ช ื ่ อ ในทำา นองเดี ย วกั บ แอลเคนแต่ เ ปลี่ ย นเสี ย ง
ท้ายเป็น "……น(-ene)" เช่น
          C2H4 อ่านว่า อีทีน (ethene) หรือเอทิลีน (ethylene)
          C3H6 อ่านว่า โพรพีน (propene)
10.2.4 ไ ซ โ ค ล แ อ ล ค ี น
          ไ ซ โ ค ล แ อ ล ค ี น คือ แอลคี น ที่ ป ลายทั้ ง สองของโซ่ ส ร้ า ง
พั น ธะเชื่ อ มต่ อ กั น มี สู ต รโมเลกุ ล ทั่ ว ไปเป็ น CnH2n-2 (เหมื อ นแอล
ไคน์)
          ป ฏ ิ ก ิ ร ิ ย า เ ค ม ี ข อ ง แ อ ล ค ี น แ ล ะ ไ ซ โ ค ล แ อ ล ค ี น แอลคีน
และไซโคลแอลคี นมี ห มู่ ฟั ง ก์ ชัน เป็ น พั น ธะคู่ ดั งนั้ น ปฏิ กิริ ย าเคมี
ส่วนใหญ่ของแอลคีนและไซโคลแอลคีนจึงเกิดขึ้นบริเวณนี้ โดย
เป็นปฏิกิริยาแบบปฏิกิริยาการเติม
          1. ป ฏ ิ ก ิ ร ิ ย า ก า ร เ ต ิ ม ด ้ ว ย แ ฮ โ ล เ จ น แฮโลเจนจะเข้าไป
รวมหรื อ เติ ม บริ เวณพั นธะคู่ โ ดยไม่ ต้ อ งใช้ แ สงช่ ว ยและไม่ มี ก รด
เกิดขึ้น เช่น เมื่อนำาเฮกซีนมาผสมกับโบรมีนในหลอดทดลองจะได้
สารละลายสีส้มแดงเขย่าและทิ้ งไว้ 1-2 นาที สีของโบรมีนจะจาง
หายไป
                                                                  Br Br
                    CH3-(CH2-)3CH=CH2+Br2                  → CH -(CH ) -CH-CH
                                                                  3       2 3          2
          2. ป ฏ ิ ก ิ ร ิ ย า อ อ ก ซ ิ เ ด ช ั น ด ้ ว ย ส า ร ล ะ ล า ย โ พ แ ท ส เ ซ ี ย ม
เ ป อ ร ์ แ ม ง ก า เ น ต ปฏิกิริยานี้จะเป็นการเติมหมู่ OH เข้าไป 2 หมู่
ตรงบริเวณพันธะคู่ แล้วจะเกิดตะกอนสีนำ้า ตาลเข้มของแมงกานีส
(IV) ออกไซด์ (MnO2)
    เมื่อผสมไซโคลเฮกซีนกับสารละลายโพแทสเซียมเปอร์แมง
กาเนตจะได้ ส ารละลายสี ม่ ว ง เขย่ า แล้ ว ตั้ ง ทิ้ ง ไว้ 2-3 นาที จะได้
สารละลายใส แล้วมีตะกอนสีนำ้าตาลเกิดขึ้น
    3. ป ฏ ิ ก ิ ร ิ ย า พ อ ล ิ เ ม อ ร ์ ไ ร เ ซ ช ั น เป็ นปฏิกิริ ย าที่ เ กิ ด จาก
แอลคีนหลาย ๆ โมเลกุลเข้าไปรวมตัวกันเองโดยใช้ความร้อนสูง ๆ
หน้าที่ 6

                    nCH2 = CH2 → (CH2-CH2)n
                                     ∆

                        เอทิลีน              พอลิเอทิลีน
      ปฏิกิริย านี้ นำา ไปประยุ กต์ ใช้เ ตรี ยมสารพอลิ เมอร์ พลาสติ ก
เป็นต้น

10.2.5 แ อ ล ไ ค น ์
       แ อ ล ไ ค น ์ (alkyne) คื อ สารประกอบไฮโดรคาร์ บ อนที่ มี
พันธะสามอยู่ในโมเลกุล 1 พันธะ จัดเป็นไฮโดรคาร์บอนชนิดไม่
อิ่มตัว ในทำานองเดียวกับแอลเคนและแอลคีนจะพบว่าสูตรโมเลกุล
ของแอลไคน์มีจำานวนไฮโดรเจนน้อยกว่าแอลคีนอยู่ 2 อะตอม ดัง
นั้น แอลไคน์จึงมีสูตรโมเลกุลทั่วไปเป็น CnH2n-2
       ก า ร เ ร ี ย ก ช ื ่ อ ในทำา นองเดียวกับแอลเคนและแอลคีน ระบุ
จำานวนคาร์บอนอะตอมแล้วลงท้ายด้วยเสียง "ไ…..น์ (-yne)" เช่น
       C2H2 อ่านว่า อีไทน์หรืออะเซทิลีน
       C3H4 อ่านว่า โพรไพน์
       ป ฏ ิ ก ิ ร ิ ย า เ ค ม ี ข อ ง แ อ ล ไ ค น ์ ปฏิกิริยาเคมีของแอลไคน์จะ
เกิดตรงพันธะสามโดยเป็นแบบการเติมในทำานองเดียวกับแอลคีน
แต่ใช้ตัวเข้าไปรวมตัว 2 โมล
       1. ป ฏ ิ ก ิ ร ิ ย า ก า ร เ ต ิ ม ด ้ ว ย แ ฮ โ ล เ จ น จะเกิดปฏิกิริยาการ
เติมในทำานองเดียวกับแอลคีน เช่น

                                              Br Br
               CH CH+2Br2 Br- CH-CH-Br
                     ≡              →
       นั่นคือแอลไคน์จะฟอกจางสีโบรมีนเหมือนกัน แต่ใช้ปริมาณ
ของโบรมีนมากกว่าแอลคีนที่มีจำานวนคาร์บอนอะตอมเท่ากัน
       2. ป ฏ ิ ก ิ ร ิ ย า อ อ ก ซ ิ เ ด ช ั น ด ้ ว ย ส า ร ล ะ ล า ย โ พ แ ท ส เ ซ ี ย ม
เ ป อ ร ์ แ ม ง ก า เ น ต แ อ ล ไค น์ จ ะฟ อ ก จ า ง สี ข อ ง ส า ร ล ะ ล า ย
โพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนตและเกิดตะกอนสีนำ้า ตาลของ MnO2
เหมือนกัน

10.2.6 อ ะ โ ร ม า ต ิ ก ไ ฮ โ ด ร ค า ร ์ บ อ น
      ตั ว ที่ นำา ม า ศึ ก ษ า คื อ เ บ น ซี น ซึ่ ง เ ป็ น ส า ร ป ร ะ ก อ บ
ไฮโดรคาร์ บ อนที่ มี ค าร์ บ อน 6 อะตอมต่ อ กั น เป็ น วงและมี พั น ธะคู่
สลับกับพันธะเดี่ยว ดังนั้น เบนซีนจึงมีสูตรโครงสร้างเป็นดังนี้



เบนซี น มี ส มบั ติ พิ เ ศษคื อ มี โ ครงสร้ า งเรโซแนนซ์ ทำา ให้ โ มเลกุ ล
เสถียรมาก พันธะคู่ของเบนซีนจึงแตกออกได้ยาก
     ป ฏ ิ ก ิ ร ิ ย า เ ค ม ี ข อ ง เ บ น ซ ี น ถึงแม้ว่าเบนซีนจะมีพันธะคู่อยู่
ในโมเลกุลในทำานองเดียวกับแอลคีนก็ตาม แต่จะไม่เกิดปฏิกิริยา
การเติมแบบเดียวกับแอลคีน กล่าวคือเบนซีนจะไม่ทำาปฏิกิริยากับ
หน้าที่ 7
สารละลายโบรมี น ในคาร์ บ อนเตตระคลอไรด์ แ ละสารละลาย
โพแทสเซี ย มเปอร์ แมงกาเนต เบนซี น จะเกิ ด ปฏิ กิ ริ ย าการแทนที่
ด้วยอะตอมหรือหมู่ที่ไฮโดรเจนอะตอม เช่น การแทนที่ด้วยแฮโล
เจน
     ป ฏ ิ ก ิ ร ิ ย า ก า ร แ ท น ท ี ่ ด ้ ว ย โ บ ร ม ี น โบรมี นอะตอมจะเข้ า
แทนที่ไฮโดรเจนอะตอมโดยมีโลหะไอออนเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา เกิด
เป็นโบรโมเบนซีน

10.3 สารประกอบของคาร์บอนซึ่งมีหมู่อะตอมที่แสดงสมบัติเฉพาะ
10.3.1 หมู่ฟังก์ชันหรือหมู่อะตอมที่แสดงสมบัติเฉพาะ
        หมู่ ฟั ง ก์ ชั น คื อ หมู่ ที่ แ สดงปฏิ กิ ริ ย าเคมี ข องสารประกอบ
คาร์บอนนั้น ๆ หรือปฏิกิริยาเคมีจะเกิดตรงบริเวณหมู่ฟังก์ชันของ
สารประกอบคาร์บอนนั้น ๆ
        วิ ธี พิ จ ารณาหมู่ ฟั ง ก์ ชั น ให้ ถือ ว่ า แอลเคนเป็ น สารประกอบ
คาร์บอนที่ไม่มีหมู่ฟังก์ชัน ส่วนที่แตกต่างไปจากแอลเคนให้ถือว่า
เป็นหมู่ฟังก์ชัน เช่น แอลคีนมีพันธะคู่ในโมเลกุล 1 พันธะ ที่เหลือ
เป็นพันธะเดี่ยวหมด ซึ่งพันธะเดี่ยวเหมือนแอลเคน ดังนั้น บริเวณ
พันธะคู่จึงเป็นฟังก์ชันของแอลคีน
 ต า ร า ง ท ี ่ 10.3 แ ส ด ง ต ั ว อ ย ่ า ง ห ม ู ่ ฟ ั ง ก ์ ช ั น ข อ ง ส า ร ป ร ะ ก อ บ
                                 บางชนิด
      สารประก             ตัวอย่าง   หมู่ฟังก์ชัน                          ชื่อหมู่
         อบ              สารประกอบ                                         ฟังก์ชัน
       แอลเคน           CH3-CH2-CH3                      -                    -
       แอลคีน
      แอลไคน์           CH3=CH-CH3                    C=C                     -
      แอลกอฮอ            CH3-C ≡ CH3                  C ≡C                    -
           ล์                                                             ไฮดรอกซิล
        อีเทอร์         CH3-CH2-OH                     -OH                  ออกซี
                         CH3-O-CH3                      -O-
         คีโตน          CH3-CO-CH3                       O                 คาร์บอนิล
      แอลดีไฮด์           CH3-CH2-                      -C-
                            CHO                          O                คาร์บอกซา
                                                                           ลดีไฮด์
          กรด             CH3-CH2-                    -C-H
        อินทรีย์           COOH                          O                คาร์บอกซิล
       เอสเทอร์         CH3-COOCH3                   -C-OH
         เอมีน          CH3-CH2-NH2                      O                 แอลคอกซี
                                                                           คาร์บอนิล
                          CH3-CH2-                    -C-O-                 อะมิโน
         เอไมด์            CONH2                      -NH2
                                                         O                   เอไมด์
                                                     -C-NH2

10.3.2 แ อ ล ก อ ฮ อ ล ์
หน้าที่ 8

        แ อ ล ก อ ฮ อ ล ์ (alcohol) คื อ สารประกอบไฮโดรคาร์ บ อนที่
ไฮโดรเจนอะตอมถูกแทนที่ด้วยหมู่ไฮดรอกซิล (OH) 1 อะตอม มี
สูตรทั่วไปคือ ROH เมื่อ R เป็นหมู่แอลคิล มีสูตรโมเลกุลทั่วไปเป็น
CnH2n+2O มีหมู่ฟังก์ชันเป็นหมู่ -OH
       ก า ร เ ร ี ย ก ช ื ่ อ ม ี 2 แ บ บ คื อ เรี ย กชื่ อ หมู่ แ อลคิ ล แล้ ว ตาม
ด้ ว ยคำา ว่ า "แอลกอฮอล์ " หรื อ เรี ย กชื่ อ ตามจำา นวนคาร์ บ อนแบบ
เดียวกับแอลเคนแล้วลงท้ายเป็นเสียง "……านอล" เช่น
       CH3OH อ่านว่า เมทิลแอลกอฮอล์หรือเมทานอล
       CH3CH2OH อ่านว่า เอทิลแอลกอฮอล์หรือเอทานอล
        สมบัติทางกายภา พ
       1. การละลายนำ้า แอลกอฮอล์ที่มีจำานวนคาร์บอนอะตอมน้อย
ๆ จะละลายนำ้าได้
       2. จุ ด เดื อ ด แอลกอฮอล์ จ ะมี จุ ด เดื อ ดมากขึ้ น เมื่ อ จำา นวน
คาร์บอนอะตอมมากขึ้นในทำานองเดียวกับแอลเคน แต่แอลกอฮอล์
มีจุดเดือดสูงกว่าแอลเคนที่มีจำา นวนคาร์บอนอะตอมเท่ากันเพราะ
แอลกอฮอล์มีพันธะไฮโดรเจนยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
       ป ฏ ิ ก ิ ร ิ ย า เ ค ม ี ข อ ง แ อ ล ก อ ฮ อ ล ์ เนื่องจากแอลกอฮอล์มีหมู่
ไฮดรอกซิ ล เป็ น หมู่ ฟั ง ก์ ชั น ดั ง นั้ น ปฏิ กิ ริ ย าเคมี จึ ง เกิ ด ขึ้ น ตรง
บริเวณนี้
       1. ท ำ า ป ฏ ิ ก ิ ร ิ ย า ก ั บ โ ล ห ะ โ ซ เ ด ี ย ม จะได้ก๊าซไฮโดรเจน
โดยโลหะโซเดี ยมจะเข้าไปแทนที่ ไฮโดรเจนอะตอมของหมู่ OH
เช่น
                           2CH3CH2OH + 2Na → 2CH3CH2ONa+H2
       2. ท ำ า ป ฏ ิ ก ิ ร ิ ย า ก ั บ ก ร ด อ ิ น ท ร ี ย ์ จ ะ ไ ด ้ เ อ ส เ ท อ ร ์ (ดูใน
เรื่องเอสเทอร์)

10.3.3 ก ร ด อ ิ น ท ร ี ย ์
        ก ร ด อ ิ น ท ร ี ย ์ (carboxylic acid) คือ สารอินทรีย์ที่มีห มู่ คาร์
บอกซิล (COOH) เป็นหมู่
                        O
ฟังก์ชัน มีสูตรทั่วไปเป็น R - C - OH หรือ RCOOH หรือ RCO2H
และมีสูตรโมเลกุลทั่วไปเป็น
CnH2nO2 พบในผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว
      การเรี ย กชื่ อ ให้ เ รี ย กชื่ อ ตามจำา นวนคาร์ บ อนอะตอมเช่ น
เดียวกับแอลเคน แต่เปลี่ยนเสียงท้ายเป็น "…….าโนอิก" เช่น
      HCOOH อ่ านว่ า เมทาโนอิ ก (ชื่ อ สามั ญ : กรดฟอร์ มิ ก หรื อ
กรดมด)
      CH3COOH อ่านว่า เอทาโนอิก (ชื่อสามัญ : กรดแอซีติกหรือ
กรดนำ้าส้ม)
        สมบัติทางกายภา พ
หน้าที่ 9

         1. ก า ร ล ะ ล า ย น ำ ้ า ส่วนใหญ่ละลายนำ้าได้
         2. จุ ด เ ด ื อ ด จุดเดือดจะสูงขึ้นเมื่อจำานวนคาร์บอนมากขึ้นใน
ทำา นองเดี ย วกั บ แอลเคนและแอลกอฮอล์ แ ต่ จุ ด เดื อ ดของกรด
อินทรีย์สูงกว่าแอลกอฮอล์ที่มีจำา นวนคาร์บอนเท่ านั้น เพราะกรด
อิ น ทรี ย์ มี แ รงยึ ด เหนี่ ย วระหว่ า งโมเลกุ ล เป็ น พั น ธะไฮโดรเจน
จำานวนมากกว่าแอลกอฮอล์
         ป ฏ ิ ก ิ ร ิ ย า เ ค ม ี ข อ ง ก ร ด อ ิ น ท ร ย ์ กรดอินทรีย์มีหมู่ฟังก์ชัน
เป็น COOH ปฏิกิริยาเคมีจะเกิดขึ้นบริเวณนี้
         1. แ ส ด ง ค ว า ม เ ป ็ น ก ร ด เมื่อนำาสารละลายของกรดอินทรีย์
มาทดสอบด้วยกระดาษลิตมัสจะเปลี่ยนสีจากสีนำ้าเงินเป็นสีแดง
                                     RCOOH → RCOOH- + H+
         2. ท ำ า ป ฏ ิ ก ิ ร ิ ย า ก ั บ โ ล ห ะ โ ซ เ ด ี ย ม จะให้ก๊าซไฮโดรเจน
ในทำานองเดียวกับแอลกอฮอล์
                                                                          1
                                     R-COOH + Na → RCOONa + 2 H2
         3. ท ำ า ป ฏ ิ ก ิ ร ิ ย า ก ั บ เ บ ส จะได้เกลือกับนำ้า
                                     R - COOH + NaOH → RCOONa + H2O
         4. ท ำ า ป ฏ ิ ก ิ ร ิ ย า ก ั บ ส า ร ล ะ ล า ย โ ซ เ ด ี ย ม ไ ฮ โ ด ร เ จ น
ค า ร ์ บ อ เ น ต จะให้เกลือและก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์
                                     RCOOH + NaHCO3 → RCOONa + H2O
+ CO2
         5. ใ ช ้ เ ต ร ี ย ม เ อ ส เ ท อ ร ์ (ดูในเรื่องเอสเทอร์)



10.3.4 เ อ ส เ ท อ ร ์
       เ อ ส เ ท อ ร ์ (ester) คือ กรดอินทรีย์ที่ไฮโดรเจนอะตอมของ
หมู่ OH ถูกแทนที่ด้วยหมู่แอล
                                            O
คิ ล ส่ ว นใหญ่ มี ก ลิ่ น หอม มี สู ต รทั่ ว ไปเป็ น R - C - OR' หรื อ
RCOOR' หรือ RCO2R' มีสูตรโมเลกุลทั่วไปเป็น CnH2nO2 (เหมือน
กรดอินทรีย์) และมีหมู่แอลคอกซีคาร์บอนิลเป็นหมู่ฟังก์ชัน
      ก า ร เ ร ี ย ก ช ื ่ อ ข อ ง เ อ ส เ ท อ ร ์ เรียกชื่อหมู่แอลคิลอยู่ต่อกับ
ออกซิ เจน แล้ว เรี ยกชื่อ ส่ว นที่ เหลือ แบบเดี ย วกั บ กรดอิ น ทรี ย์ ตั ด
"ic acid" ออกแล้วเติม "-ate" เช่น
              O
          CH3-C-OCH2CH3 อ่ า นว่ า เอทิ ล เอทาโนเอต (เอทิ ล อะซี
เตต)
              O
หน้าที่ 10

        CH3-C-O(CH2)7CH3 อ่ า นว่ า ออกทิ ล เอทาโนเอต (ออก
ทิลอะซีเตต)
ความสัมพันธ์ระหว่างกรดอินทรีย์ แอลกอฮอล์ และเอสเทอร์

       1. ปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชัน คือ ปฏิกิริยาการเตรียมเอสเทอร์
จากกรดอินทรีย์กับแอลกอฮอล์ในสภาวะกรด
       2. ปฏิกิริยาไฮโดรลิซีส คือ ปฏิกิริยาระหว่างเอสเทอร์กับนำ้า
เป็ น ปฏิ กิ ริ ย าย้ อ นกลั บ ของปฏิ กิ ริ ย าเอสเทอริ ฟิ เ คชั น จะได้ ก รด
อินทรีย์และแอลกอฮอล์เป็นผลิตภัณฑ์
       3. ปฏิกิริยาสะปอนนิฟิเ คชั น เป็น ปฏิ กิริ ย าระหว่ างเอสเทอร์
กั บ เบส ให้ เ กลื อ ของกรดอิ น ทรี ย์ แ ละแอลกอฮอล์ เกลื อ ของกรด
อินทรีย์เมื่อมีจำานวนคาร์บอนอะตอมมาก ๆ จะเรียกว่า สบู่

10.3.5 แ อ ล ด ี ไ ฮ ด ์
       แ อ ล ด ี ไ ฮ ด ์ (aldehyde) คือ สารประกอบคาร์บอนิลชนิดหนึ่ง
มีสูตรทั่วไปเป็น R - C - H
                                      O
หรือ RCHO มีหมู่คาร์บอกซาลดีไฮด์ (C-H) เป็นหมู่ฟังก์ชัน
     ก า ร เ ร ี ย ก ช ื ่ อ เรียกชื่อตามจำา นวนคาร์บอนอะตอมทำา นอง
เดียวกับแอลกอฮอล์ แล้วลงท้ายด้วย "……….ล) เช่น
     CH3CHO อ่านว่า เอทานอล
     CH3CH2CH2CHO อ่านว่า บิวทานอล

10.3.6 คี โ ต น
                                                                    O
      ค ี โ ต น (ketone) เป็ น สารประกอบคาร์ บ อนิ ล ชนิ ด หนึ่ ง ที่ มี
สูตรทั่วไปเป็น R-C-R' มีหมู่
                              O
ฟังก์ชันเป็นหมุ่คาร์บอนิล (-C-)
      ก า ร เ ร ี ย ก ช ื ่ อ ใช้ห ลักการเดียวกั บการเรี ย กชื่ อ แอลดีไ ฮด์
แต่เปลี่ยนเสียงท้ายเป็น "……าโนน.
      ประโยชน์ คี โ ตนที มี ป ระโยชน์ ม าก ได้ แ ก่ แอซี โ ตน เป็ น
ของเหลวระเหยง่าย ละลายนำ้า ได้ดี ละลายสารอินทรีย์อื่น ๆ ได้ดี
เช่น เป็นตัวทำาละลายพลาสติก แลกเกอร์ และไฟเบอร์

10.3.7 เ อ ม ี น
     เ อ ม ี น (amine) คื อ สารประกอบที่ เ กิ ด จากไฮโดรเจนใน
โมเลกุลของแอมโมเนียถูกแทนที่
                                                        R"
หน้าที่ 11

ด้วยหมู่แอลคินหรือหมู่อะโรมาติก มีสูตรทั่วไป 3 แบบ คือ R-NH2,
RNHR' และ R-N-R'
       ก า ร เ ร ี ย ก ช ื ่ อ เรี ย กตามจำา นวนคาร์ บ อนอะตอมคล้ า ยกั บ
แอลเคน แต่ใช้คำาว่า "อะมิโน" นำาหน้าเช่น
       CH3CH2NH2 อ่านว่า อะมิโนอีเทน
       CH3CH2CH2CH2CH2NH2 อ่านว่า อะมิโนเพนเทน
       เอมีนมีหมู่อะมิโน (-NH2) เป็นหมู่ฟังก์ชันและมีสมบัติเป็นเบส
จึงเกิดปฏิกิริยากับกรดได้ เช่น
       CH3CH2CH2-CH2-nH2                      +            HCl        →

CH3CH2CH2CH2-NH 3 Cl-          +

                    อะมิ โ นบิ ว เทน                  กรดไฮโดรคลอริ ก
บิวทิลแอมโมเนียมคลอไรด์
       เอมี นพบในพื ช เรี ย กว่ า แอลคาลอยด์ สารแอลคาลอยด์ จ ะ
เป็ น สารผลิ ต ภั ณ ฑ์ ธ รรมชาติ พบในส่ ว นต่ า ง ๆ ของพื ช เช่ น
มอร์ฟีนพบในดอกฝิ่น

10.3.8 เ อ ไ ม ด ์
       เ อ ไ ม ด ์ (amide) คือ สารประกอบที่มีหมู่อะมิโน (-NH2) และ
หมู่คาร์บอนิล (-C-)
                                 O
เป็นองค์ประกอบ มีสูตรทั่วไปเป็น R-C-NH2 มีหมู่เอไมด์ (-C-NH2)
เป็นหมู่ฟังก์ชัน
       การเรี ย กชื่ อ เรี ย กชื่ อ ตามจำา นวนคาร์ บ อนอะตอมทำา นอง
เ ดี ย ว กั บ ส า ร อิ น ท รี ย์ ทั่ ว ไ ป แ ต่ เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ท้ า ย เ ป็ น
"……….าไมด์" เช่น
       HCONH2 อ่านว่า เมทานาไมด์
       CH3CONH2 อ่านว่า เอทานาไมด์
       CH3CH2CONH2 อ่านว่า โพรพานาไมด์
       ความสัมพันธ์ระหว่างกรดอินทรีย์ เอมีน และเอไมด์
1. เป็นปฏิกิริยาการเตรียมเอไมด์จากกรดอินทรีย์กับเอมีน และ (2)
เป็ น ปฏิ กิ ริ ย าไฮโดรลิ ซี ส ด้ ว ยสารละลายกรดหรื อ สารละลายเบส
ให้เอมีนและกรดอินทรย์
                                            O
       เอไมด์ ที่ สำา คั ญ คื อ ยู เ รี ย (NH2 - C - NH2) ยู เ รี ย มี ป ระโยชน์
มากในทางอุตสาหกรรมโดยเฉพาะการผลิตปุ๋ยยูเรีย

More Related Content

What's hot

เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1Tanchanok Pps
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีPreeyapat Lengrabam
 
เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์nn ning
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 Saipanya school
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีืkanya pinyo
 
เคมีอินทรีย์เบื้องต้น
เคมีอินทรีย์เบื้องต้นเคมีอินทรีย์เบื้องต้น
เคมีอินทรีย์เบื้องต้นDr.Woravith Chansuvarn
 
การเขียนสูตรโครงสร้าง
การเขียนสูตรโครงสร้างการเขียนสูตรโครงสร้าง
การเขียนสูตรโครงสร้างMaruko Supertinger
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
หน่วยที่ 2 ตารางธาตุ
หน่วยที่ 2 ตารางธาตุหน่วยที่ 2 ตารางธาตุ
หน่วยที่ 2 ตารางธาตุtiraphankhumduang2
 
ข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมีข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมีzweetiiz
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202พัน พัน
 
Lab การไทเทรต
Lab การไทเทรตLab การไทเทรต
Lab การไทเทรตJariya Jaiyot
 
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์Wichai Likitponrak
 
สารละลายกรดเบส
สารละลายกรดเบสสารละลายกรดเบส
สารละลายกรดเบสSupaluk Juntap
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
Biology bio16
 Biology bio16 Biology bio16
Biology bio16Bios Logos
 
01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอม01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอมkruannchem
 

What's hot (20)

เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมี
 
เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์เคมีอินทรีย์
เคมีอินทรีย์
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
เคมีอินทรีย์เบื้องต้น
เคมีอินทรีย์เบื้องต้นเคมีอินทรีย์เบื้องต้น
เคมีอินทรีย์เบื้องต้น
 
Echem 1 redox
Echem 1 redoxEchem 1 redox
Echem 1 redox
 
การเขียนสูตรโครงสร้าง
การเขียนสูตรโครงสร้างการเขียนสูตรโครงสร้าง
การเขียนสูตรโครงสร้าง
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
หน่วยที่ 2 ตารางธาตุ
หน่วยที่ 2 ตารางธาตุหน่วยที่ 2 ตารางธาตุ
หน่วยที่ 2 ตารางธาตุ
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
ข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมีข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมี
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
 
Lab การไทเทรต
Lab การไทเทรตLab การไทเทรต
Lab การไทเทรต
 
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์
 
สารละลายกรดเบส
สารละลายกรดเบสสารละลายกรดเบส
สารละลายกรดเบส
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
Biology bio16
 Biology bio16 Biology bio16
Biology bio16
 
01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอม01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอม
 

Viewers also liked

สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์kaoijai
 
แอลเคน แอลคีน แอลไคน์
แอลเคน แอลคีน แอลไคน์แอลเคน แอลคีน แอลไคน์
แอลเคน แอลคีน แอลไคน์jirat266
 
256121 ch2 hc 1-alkane & cycloalkane
256121 ch2 hc 1-alkane & cycloalkane256121 ch2 hc 1-alkane & cycloalkane
256121 ch2 hc 1-alkane & cycloalkaneTongta Nakaa
 
ใบความรู้ เรื่อง แอลเคน
ใบความรู้ เรื่อง แอลเคนใบความรู้ เรื่อง แอลเคน
ใบความรู้ เรื่อง แอลเคนkkrunuch
 
ปฏิกิริยาชองแอลเคน
ปฏิกิริยาชองแอลเคนปฏิกิริยาชองแอลเคน
ปฏิกิริยาชองแอลเคนMaruko Supertinger
 
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistryเคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistryporpia
 

Viewers also liked (7)

สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์
 
แอลเคน แอลคีน แอลไคน์
แอลเคน แอลคีน แอลไคน์แอลเคน แอลคีน แอลไคน์
แอลเคน แอลคีน แอลไคน์
 
Chemistry
ChemistryChemistry
Chemistry
 
256121 ch2 hc 1-alkane & cycloalkane
256121 ch2 hc 1-alkane & cycloalkane256121 ch2 hc 1-alkane & cycloalkane
256121 ch2 hc 1-alkane & cycloalkane
 
ใบความรู้ เรื่อง แอลเคน
ใบความรู้ เรื่อง แอลเคนใบความรู้ เรื่อง แอลเคน
ใบความรู้ เรื่อง แอลเคน
 
ปฏิกิริยาชองแอลเคน
ปฏิกิริยาชองแอลเคนปฏิกิริยาชองแอลเคน
ปฏิกิริยาชองแอลเคน
 
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistryเคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
 

Similar to สารประกอบไฮโดรคาร์บอน

เคมี
เคมี เคมี
เคมี Mu PPu
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2ครูแป้ง ครูตาว
 
Acid base1
Acid base1Acid base1
Acid base1Benny BC
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสoraneehussem
 
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีPorna Saow
 
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีPorna Saow
 
แนวข้อสอบโควตา
แนวข้อสอบโควตาแนวข้อสอบโควตา
แนวข้อสอบโควตาnam_supanida
 
กรดเบส
กรดเบสกรดเบส
กรดเบสporpia
 
กรด
กรดกรด
กรดporpia
 
แอลคีนนำเสนอ
แอลคีนนำเสนอแอลคีนนำเสนอ
แอลคีนนำเสนอMaruko Supertinger
 
Alcoholcvaldehyde ketone
Alcoholcvaldehyde ketoneAlcoholcvaldehyde ketone
Alcoholcvaldehyde ketonekruaoijaipcccr
 

Similar to สารประกอบไฮโดรคาร์บอน (20)

กรด เบส 1
กรด เบส 1กรด เบส 1
กรด เบส 1
 
เคมี
เคมี เคมี
เคมี
 
Acid1
Acid1Acid1
Acid1
 
Acid1
Acid1Acid1
Acid1
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
 
Acid base1
Acid base1Acid base1
Acid base1
 
Metal
MetalMetal
Metal
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบส
 
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
 
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
 
Bond
BondBond
Bond
 
กรด เบส 2
กรด เบส 2กรด เบส 2
กรด เบส 2
 
5 chem formular
5 chem formular5 chem formular
5 chem formular
 
Chemical
ChemicalChemical
Chemical
 
แนวข้อสอบโควตา
แนวข้อสอบโควตาแนวข้อสอบโควตา
แนวข้อสอบโควตา
 
กรดเบส
กรดเบสกรดเบส
กรดเบส
 
ไอโบโมเลกุล
ไอโบโมเลกุลไอโบโมเลกุล
ไอโบโมเลกุล
 
กรด
กรดกรด
กรด
 
แอลคีนนำเสนอ
แอลคีนนำเสนอแอลคีนนำเสนอ
แอลคีนนำเสนอ
 
Alcoholcvaldehyde ketone
Alcoholcvaldehyde ketoneAlcoholcvaldehyde ketone
Alcoholcvaldehyde ketone
 

สารประกอบไฮโดรคาร์บอน

  • 1. หน้าที่ 1 สารประกอบของคาร์ บ อน ในสมั ย แรก ๆ นั ก วิ ท ยาศาสตร์ แ บ่ ง สารเคมี อ อกเป็ น สาร อินทรีย์และสารอนินทรีย์ สารอนินทรีย์เป็นสารประกอบของธาตุต่าง ๆ ส่วนสารอินทรีย์เป็น สารประกอบคาร์บอนที่ได้จากสิ่งมีชีวิต ต่อมาในปี ค.ศ. 1828 ฟรีดริช เวอเลอร์ สามารถสังเคราะห์ยู เรี ย ได้ จ ากสารอนิ น ทรี ย์ ทำา ให้ คำา จำา กั ด ความของสารอิ น ทรี ย์ เปลี่ ย นไป สารอิ น ทรี ย์ คื อ สารประกอบที่ มี ธ าตุ ค าร์ บ อนและ ไฮโดรเจนเป็นองค์ประกอบหลัก ยกเว้นสารประกอบคาร์บอนบาง ชนิด เช่น สารประกอบออกไซด์ คาร์ บ อเนต และไฮโดรเจนคาร์ บ อเนต วิ ช าที่ ศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ สาร อินทรีย์เรียกว่า เคมี อ ิ น ทรี ย ์ 10.1 สารประกอบไฮโดรคาร์ บ อน สารประกอบไฮโดรคาร์ บ อน คือ กลุ่มของสารที่มีเฉพาะ ธาตุคาร์บอนและไฮโดรเจนเป็น องค์ประกอบเท่ านั้น โครงสร้างของสารประกอบไฮโดรคาร์ บ อน แบ่งออกเป็นโซ่เปิดและแบบวง โซ่ เ ปิ ด เป็นไฮโดรคาร์บอนที่คาร์บอนทุกอะตอมต่อกันเป็น สาร ถ้าต่อกันเป็นสายยาวไม่มีกิ่งเรียกว่า โซ่ตรง ถ้ามีกิ่งเรียกว่า โซ่กิ่ง แบบวง เป็นไฮโดรคาร์บอนที่ต่อกันเป็นวง 10.1.1 ก า ร เ ก ิ ด ไ อ โ ซ เ ม อ ร ์ ข อ ง ส า ร ป ร ะ ก อ บ ไฮโดรคาร์ บ อน สารประกอบไฮโดรคาร์บ อนบางชนิ ดมี สูต รโมเลกุ ลเหมื อน กัน แต่มีสูตรโครงสร้ างต่างกัน หรือในสูตรโมเลกุลหนึ่ ง ๆ อาจมี สูตรโครงสร้างได้หลายแบบ เช่น CH3 สู ต รโมเลกุ ล C4H10 สู ต รโครงสร้ า ง CH3- CH2- CH2- CH3, CH3- CH - CH3 ปรากฏการณ์ ที่ ส ารประกอบไฮโดรคาร์ บ อนมี สู ต รโมเลกุ ล เหมื อ นกั น แต่ สู ต รโครงสร้ า งต่ า งกั น เรี ย กว่ า ไ อ โ ซ เ ม อ ร ิ ซ ึ ม แต่ละโครงสร้างเรียกว่า ไอ โ ซ เ ม อ ร ์ เช่น C4H10 มี 2 โครงสร้าง หรือ 2 ไอโซเมอร์ ไอโซเมอร์จะมีสมบัติทางกายภาพบางประการ เช่น จุดเดือด จุดหลอมเหลว และความหนาแน่นต่างกัน โดยไอโซเมอร์มีกิ่งก้าน มากจะมี จุ ด เดื อ ดและจุ ด หลอมเหลวตำ่า กว่ า ไอโซเมอร์ มี กิ่ ง ก้ า น น้อยหรือไม่มีเลย 10.1.2 ส ม บ ั ต ิ ท า ง ก า ย ภ า พ ข อ ง ส า ร ป ร ะ ก อ บ ไฮโดรคาร์ บ อน
  • 2. หน้าที่ 2 1. สถานะ สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีมวลโมเลกุลตำ่า ๆ หรือมี จำา นวนคาร์บ อนน้ อย ๆ มีส ถานะเป็ นก๊ าซ จำา นวนคาร์ บอน มากขึ้นจะมีสถานะเป็นของเหลวและของแข็งตามลำาดับ เช่น CH4 เป็นก๊าซ C5H12 เป็นของเหลว C20H22 เป็นของแข็ง 2. การละลายนำ ้ า สารประกอบไฮโดรคาร์บอนส่วนใหญ่ไม่ ละลายนำ้า ละลายได้ในตัวทำาละลายอินทรีย์ เช่น เฮกเซน เพนเทน เป็นต้น 3. ค ว า ม ห น า แ น ่ น มี ความหนาแน่ น น้ อ ยกว่ า นำ้า หรื อ น้ อ ย กว่า 1 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร 4. จ ุ ด เ ด ื อ ด แ ล ะ จ ุ ด ห ล อ ม เ ห ล ว จะแปรผั น ตามมวล โมเลกุลหรือแปรผันตามจำานวนคาร์บอนในกรณีไอโซเมอร์มีมวล โมเลกุ ล เท่ า กั น ไอโซเมอร์ ที่ มี กิ่ ง ก้ า นมากกว่ า จะมี จุ ด เดื อ ดและ จุดหลอมเหลวตำ่ากว่าไอโซเมอร์ที่ไม่มีกิ่งก้าน เช่น CH3 CH3CHCH3 มีจุดเดือดจุดหลอมเหลวตำ่ากว่า CH3CH2CH2CH3 (C4H10) (C4H10) 5. การเผ าไหม้ ข อ งส าร ปร ะกอ บไฮ โด ร คาร ์ บ อ น แบ่ง เป็นการเผาไหม้อย่างสมบูรณ์และไม่สมบูรณ์ 5.1 ก า ร เ ผ า ไ ห ม ้ อ ย ่ า ง ส ม บ ู ร ณ ์ สารประกอบ ไฮโดรคาร์บอนทุกชนิดเมื่อเผาไหม้จะให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) และนำ้า (H2O) โดยมีสูตรทั่วไปดังนี้ C5H10 + O2    า → CO2 + H2O แสงสว่ ง  5.2 ก า ร เ ผ า ไ ห ม ้ อ ย ่ า ง ไ ม ่ ส ม บ ู ร ณ ์ จะเกิ ด เขม่ า ปริ ม าณเขม่ า พิ จ ารณาจากจำา นวนคาร์ บ อนเท่ า กั น จำา นวน ไฮโดรเจนน้อย เขม่าจะมาก จำา นวนไฮโดรเจนมาก เขม่าจะน้อย เช่น ปริมาณเขม่าของ C6H10> C6H12>C6H14 หรื อ พิ จ ารณาจากจำา นวนไฮโดรเจนเท่ า กั น จำา นวน คาร์บอนมาก เขม่าจะมาก จำานวนคาร์บอนน้อยเขม่าจะน้อย เช่น ปริมาณเขม่าของ C5H10 > C4H10 10.2 ประเภทของสารประกอบไฮโดรคาร์ บ อน 10.2.1 แอลเคน แ อ ล เ ค น (alkane) คื อ สาประกอบไฮโดรคาร์ บ อนที่ โ ม เ ล กุ ล มี เ ฉ พ า ะ พั น ธ ะ เ ดี่ ย ว เ ท่ า นั้ น จั ด เ ป็ น ส า ร ป ร ะ ก อ บ ไฮโดรคาร์บอนประเภทอิ่มตัว จากสู ต รโมเลกุ ล CH4, C2H6 และ C3H8 สามารถสรุ ป สูตรโมเลกุลของแอลเคนได้เป็น CnH2n+2 เมื่อ n คือจำานวนคาร์บอน การเขี ย นสู ต รโครงสร้ า งของแอลเคน 1. แบ บ จ ุ ด โดยเขียนจุดแทนเวเลนซ์อิเล็กตรอนของแต่ละ อะตอม แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง การใช้ อิ เ ล็ ก ตรอนร่ ว มกั น ของแต่ ล ะคู่ อะตอมในการเกิดพันธะ
  • 3. หน้าที่ 3 ข้อเสียของวิธีนี้คือ จะทำาให้สูตรโครงสร้างดูยุ่งเหยิง และใช้เนื้อที่ ในการเขียนมาก 2. แบบเส้ น ใช้ขีดหรือเส้นสั้น ๆ แทนพันธะ วิธีนี้ใช้เนื้อที่ในการเขียนมาก แต่แสดงพันธะเคมีได้ชัดเจน 3. แ บ บ ร ว ม เขี ย นคาร์ บ อนอะตอมไว้ ใ นบรรทั ด เดี ย วกั น บอกจำา นวนไฮโดรเจนด้วยตัวเลขห้องกำา กั บไว้กับคาร์บอนนั้น ๆ เช่น CH3CH2CH2CH3 CH3CH2CH2CH2CH2CH3 4. แ บ บ ผ ส ม เป็นการผสมระหว่างแบบเส้นกับ แบบรวม ใช้ ขีดแทนพันธะระหว่างคาร์บอนเท่านั้น ส่วนจำา นวนไฮโดรเจนให้ บอกจำานวนด้วยตัวห้อย เช่น CH3- CH2- CH3 CH3-CH2-CH2-CH2-CH3 วิธีนี้ใช้เนื้อที่ไม่มากและมองเห็นได้ชัดเจน นิยมใช้กัน มาก 5. แ บ บ เ ส ้ น พ ั น ธ ะ ใช้จุดแทนคาร์บอน ใช้เส้น แทนพัน ธะ ระหว่างคาร์บอนและจำานวนไฮโดรเจน ละไว้ในฐานที่เข้าใจ วิธีนี้นิยมใช้กับสารประกอบอะลิไซคลิก การเขียนสูตรโครงสร้างแต่ละวิธีมีข้อดีและข้อเสียต่างกัน จะ เลือกใช้วิธีใดขึ้นอยู่กับโอกาสและความเหมาะสม การเขียนสูตร โครงสร้ างของแอลเคนสามารถนำา ไปประยุกต์ใช้กับสารอิ นทรีย์ ชนิดอื่น ๆ ได้ การเรี ย กชื ่ อ แอลเคน แบบโซ่ ต รง เรียกตามจำา นวนอะตอมของคาร์บอน โดยใช้ จำา นวนนั บ ในภาษากรี ก ระบุ จำา นวนอะตอมของคาร์ บ อนแล้ ว ลงท้ายด้วยเสียง "เ…….น (-ane)" ตารางที ่ 10.2 แสดงการเรี ย กชื ่ อ แอลเคนบางชนิ ด จำ า นวน ภาษากรี ก แอล การเรี ย ก คาร์ บ อน เคน ชื ่ อ 1 มี-หรือเมท- CH4 มีเทน 2 meth) C2H6 (methane) อีเทน 3 อี-หรือเอท- C3H8 (ethane) 4 (eth-) C4H10 โพรเพน 5 โพรพ-(prop-) C5H12 (propane) 6 บิวท-(but-) C26H14 บิวเทน 7 เพนท-(pent-) C7H16 (butane) เพนเทน 8 เฮกซ-(hex-) C8H18 (pentane) 9 เฮปท-(hept-) C9H20 เฮกเซน 10 ออกท-(oct-) C10H22 (hexane) โนน-(non-) เฮปเทน
  • 4. หน้าที่ 4 เดค-(dec-) (heptane) ออกเทน (octane) โนเนน (nonane) เดคเคน (decane) ห ม ู ่ แ อ ล ค ิ ล คื อ ห มู่ อ ะ ต อ ม ที่ เ กิ ด จ า ก ก า ร ล ด จำา น ว น ไฮโดรเจนในแอลเคนลงไป 1 อะตอม เขียนสัญลักษณ์แทนด้วย R มีสูตรโมเลกุลทั่วไปเป็น CnH2n+1 เมื่อ n คือจำานวนคาร์บอนอะตอม การเรียกชื่อ เรียกชื่อเหมือนสารประกอบแอลเคนที่มีจำานวน คาร์บอนอะตอมเท่ากัน แต่เปลี่ยนเสียงท้ายเป็น "……ล (-yl)" เช่น แอลเคน แอลคิน การเรียกชื่อ CH4 CH3- เมทิล (methyl) C3H3(C2H6) CH3CH2- หรือ C2H5- เ อ ทิ ล (ethyl) 10.2.2 ไ ซ โ ค ล แ อ ล เ ค น ไ ซ โ ค ล แ อ ล เ ค น คือ แอลเคนที่ปลายทั้ง 2 ข้างของโซ่สร้าง พันธะเคมีเชื่อมต่อกัน มีสูตรโมเลกุลทั่วไปเป็น CnH2n (เหมือนแอล คีน) ปฏิกิริยาเคมีที่สำาคัญของสารประกอบคาร์บอนมี 2 ปฏิกิริยา คือ ปฏิกิริยาการแทนที่และปฏิกิริยาการเติม ปฏิกิริยาเคมีของแอลเคนและไซโคลแอลเคน ถึงแม้ว่าแอล เคนไม่มีหมู่ฟังก์ชันจึงไม่มีส่วนใดที่เกิดปฏิกิริยาเคมีได้ก็ตาม แต่ แอลเคนสามารถเกิดปฏิกิริยาได้ด้วยสภาวะที่รุนแรง เช่น ใช้แสง เป็นต้น ปฏิกิริยาเคมีที่สำา คัญของแอลเคนคือ ปฏิกิริยาการแทนที่ ด้วยแฮโลเจน ปฏิ กิ ริ ย าการแทนที่ ด้ ว ยแฮโลเจน ปฏิ กิ ริ ย านี้ จ ะเกิ ด ขึ้ น ได้ ต้ อ งใช้ แ สงช่ ว ยหรื อ เกิ ด ในที่ มี แ สงสว่ า งเท่ า นั้ น โดยแฮโลเจน อะตอมจะเข้ า ไปที่ ไ ฮโดรเจนอะตอมของแอลเคน แล้ ว เกิ ด ก๊ า ซ ไฮโดรเจนแฮไลด์ซึ่งเป็นกรด CxHy + Cl2  า → CxHy-1Cl + แสงสว่ ง  HCl แอลเคน คลอรีน คลอโรแอลเคน ไฮโดรเจนคลอ ไรด์ เมื่ อ นำา เฮกเซนรวมกั บ ก๊ า ซคลอรี น ลงในหลอดทดลองที่ มี กระดาษลิตมัสสีนำ้าเงินอังที่ปากหลอด แล้วนำาไปตั้งในที่มีแสงสว่าง สั ก ครู่ ห นึ่ ง จะเห็ น กระดาษลิ ต มั ส เปลี่ ย นสี จ ากสี นำ้า เงิ น เป็ น สี แ ดง แสดงว่ามีกรดเกิดขึ้นจากปฏิกิริยานี้ ดังสมการ C6H14 + Cl2  า → C6H13Cl + แสงสว่ ง  HCl เฮกเซน คลอรีน คลอโรแอลเคน ไฮโดรเจนคลอ ไรด์
  • 5. หน้าที่ 5 แฮโลเจนตั ว อื่ น ๆ เช่ น โบรมี น ไอโอดี น ฟลู อ อรี น จะเกิ ด ปฏิ กิ ริ ย าในทำา นองเดี ย วกั น แต่ ใ นทางปฏิ บั ติ นิ ย มใช้ โ บรมี น มากกว่าเพราะโบรมีนเป็นของเหลวจับต้องได้ง่าย และโบรมีนมีสี ส้ มแดงทำา ให้ เห็ นการเปลี่ย นแปลงได้ เมื่ อเกิด ปฏิกิริ ยาหรื อ สี ข อง โบรมีนจะจางหายไปเมื่อเกิดปฏิกิริยา เรียกว่า เกิดการฟอกจางสี ของโบรมีน 10.2.3 แ อ ล ค ี น แ อ ล ค ี น (alkene) คือ สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีพันธะ คู่ อ ยู่ ใ น โ ม เ ล กุ ล 1 พั น ธ ะ น อ ก นั้ น เ ป็ น พั น ธ ะ เ ดี่ ย ว จั ด เ ป็ น สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดไม่อิ่มตัว ในทำานองเดียวกับแอล เคน แต่แอลคีนมีจำานวนไฮโดรเจนน้อยกว่าแอลเคนอยู่ 2 ตัว สูตร โมเลกุลทั่วไปของแอลคีนจึงเป็น CnH2n เมื่อ n คือจำานวนคาร์บอน ก า ร เ ร ี ย ก ช ื ่ อ ในทำา นองเดี ย วกั บ แอลเคนแต่ เ ปลี่ ย นเสี ย ง ท้ายเป็น "……น(-ene)" เช่น C2H4 อ่านว่า อีทีน (ethene) หรือเอทิลีน (ethylene) C3H6 อ่านว่า โพรพีน (propene) 10.2.4 ไ ซ โ ค ล แ อ ล ค ี น ไ ซ โ ค ล แ อ ล ค ี น คือ แอลคี น ที่ ป ลายทั้ ง สองของโซ่ ส ร้ า ง พั น ธะเชื่ อ มต่ อ กั น มี สู ต รโมเลกุ ล ทั่ ว ไปเป็ น CnH2n-2 (เหมื อ นแอล ไคน์) ป ฏ ิ ก ิ ร ิ ย า เ ค ม ี ข อ ง แ อ ล ค ี น แ ล ะ ไ ซ โ ค ล แ อ ล ค ี น แอลคีน และไซโคลแอลคี นมี ห มู่ ฟั ง ก์ ชัน เป็ น พั น ธะคู่ ดั งนั้ น ปฏิ กิริ ย าเคมี ส่วนใหญ่ของแอลคีนและไซโคลแอลคีนจึงเกิดขึ้นบริเวณนี้ โดย เป็นปฏิกิริยาแบบปฏิกิริยาการเติม 1. ป ฏ ิ ก ิ ร ิ ย า ก า ร เ ต ิ ม ด ้ ว ย แ ฮ โ ล เ จ น แฮโลเจนจะเข้าไป รวมหรื อ เติ ม บริ เวณพั นธะคู่ โ ดยไม่ ต้ อ งใช้ แ สงช่ ว ยและไม่ มี ก รด เกิดขึ้น เช่น เมื่อนำาเฮกซีนมาผสมกับโบรมีนในหลอดทดลองจะได้ สารละลายสีส้มแดงเขย่าและทิ้ งไว้ 1-2 นาที สีของโบรมีนจะจาง หายไป Br Br CH3-(CH2-)3CH=CH2+Br2 → CH -(CH ) -CH-CH 3 2 3 2 2. ป ฏ ิ ก ิ ร ิ ย า อ อ ก ซ ิ เ ด ช ั น ด ้ ว ย ส า ร ล ะ ล า ย โ พ แ ท ส เ ซ ี ย ม เ ป อ ร ์ แ ม ง ก า เ น ต ปฏิกิริยานี้จะเป็นการเติมหมู่ OH เข้าไป 2 หมู่ ตรงบริเวณพันธะคู่ แล้วจะเกิดตะกอนสีนำ้า ตาลเข้มของแมงกานีส (IV) ออกไซด์ (MnO2) เมื่อผสมไซโคลเฮกซีนกับสารละลายโพแทสเซียมเปอร์แมง กาเนตจะได้ ส ารละลายสี ม่ ว ง เขย่ า แล้ ว ตั้ ง ทิ้ ง ไว้ 2-3 นาที จะได้ สารละลายใส แล้วมีตะกอนสีนำ้าตาลเกิดขึ้น 3. ป ฏ ิ ก ิ ร ิ ย า พ อ ล ิ เ ม อ ร ์ ไ ร เ ซ ช ั น เป็ นปฏิกิริ ย าที่ เ กิ ด จาก แอลคีนหลาย ๆ โมเลกุลเข้าไปรวมตัวกันเองโดยใช้ความร้อนสูง ๆ
  • 6. หน้าที่ 6 nCH2 = CH2 → (CH2-CH2)n ∆ เอทิลีน พอลิเอทิลีน ปฏิกิริย านี้ นำา ไปประยุ กต์ ใช้เ ตรี ยมสารพอลิ เมอร์ พลาสติ ก เป็นต้น 10.2.5 แ อ ล ไ ค น ์ แ อ ล ไ ค น ์ (alkyne) คื อ สารประกอบไฮโดรคาร์ บ อนที่ มี พันธะสามอยู่ในโมเลกุล 1 พันธะ จัดเป็นไฮโดรคาร์บอนชนิดไม่ อิ่มตัว ในทำานองเดียวกับแอลเคนและแอลคีนจะพบว่าสูตรโมเลกุล ของแอลไคน์มีจำานวนไฮโดรเจนน้อยกว่าแอลคีนอยู่ 2 อะตอม ดัง นั้น แอลไคน์จึงมีสูตรโมเลกุลทั่วไปเป็น CnH2n-2 ก า ร เ ร ี ย ก ช ื ่ อ ในทำา นองเดียวกับแอลเคนและแอลคีน ระบุ จำานวนคาร์บอนอะตอมแล้วลงท้ายด้วยเสียง "ไ…..น์ (-yne)" เช่น C2H2 อ่านว่า อีไทน์หรืออะเซทิลีน C3H4 อ่านว่า โพรไพน์ ป ฏ ิ ก ิ ร ิ ย า เ ค ม ี ข อ ง แ อ ล ไ ค น ์ ปฏิกิริยาเคมีของแอลไคน์จะ เกิดตรงพันธะสามโดยเป็นแบบการเติมในทำานองเดียวกับแอลคีน แต่ใช้ตัวเข้าไปรวมตัว 2 โมล 1. ป ฏ ิ ก ิ ร ิ ย า ก า ร เ ต ิ ม ด ้ ว ย แ ฮ โ ล เ จ น จะเกิดปฏิกิริยาการ เติมในทำานองเดียวกับแอลคีน เช่น Br Br CH CH+2Br2 Br- CH-CH-Br ≡ → นั่นคือแอลไคน์จะฟอกจางสีโบรมีนเหมือนกัน แต่ใช้ปริมาณ ของโบรมีนมากกว่าแอลคีนที่มีจำานวนคาร์บอนอะตอมเท่ากัน 2. ป ฏ ิ ก ิ ร ิ ย า อ อ ก ซ ิ เ ด ช ั น ด ้ ว ย ส า ร ล ะ ล า ย โ พ แ ท ส เ ซ ี ย ม เ ป อ ร ์ แ ม ง ก า เ น ต แ อ ล ไค น์ จ ะฟ อ ก จ า ง สี ข อ ง ส า ร ล ะ ล า ย โพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนตและเกิดตะกอนสีนำ้า ตาลของ MnO2 เหมือนกัน 10.2.6 อ ะ โ ร ม า ต ิ ก ไ ฮ โ ด ร ค า ร ์ บ อ น ตั ว ที่ นำา ม า ศึ ก ษ า คื อ เ บ น ซี น ซึ่ ง เ ป็ น ส า ร ป ร ะ ก อ บ ไฮโดรคาร์ บ อนที่ มี ค าร์ บ อน 6 อะตอมต่ อ กั น เป็ น วงและมี พั น ธะคู่ สลับกับพันธะเดี่ยว ดังนั้น เบนซีนจึงมีสูตรโครงสร้างเป็นดังนี้ เบนซี น มี ส มบั ติ พิ เ ศษคื อ มี โ ครงสร้ า งเรโซแนนซ์ ทำา ให้ โ มเลกุ ล เสถียรมาก พันธะคู่ของเบนซีนจึงแตกออกได้ยาก ป ฏ ิ ก ิ ร ิ ย า เ ค ม ี ข อ ง เ บ น ซ ี น ถึงแม้ว่าเบนซีนจะมีพันธะคู่อยู่ ในโมเลกุลในทำานองเดียวกับแอลคีนก็ตาม แต่จะไม่เกิดปฏิกิริยา การเติมแบบเดียวกับแอลคีน กล่าวคือเบนซีนจะไม่ทำาปฏิกิริยากับ
  • 7. หน้าที่ 7 สารละลายโบรมี น ในคาร์ บ อนเตตระคลอไรด์ แ ละสารละลาย โพแทสเซี ย มเปอร์ แมงกาเนต เบนซี น จะเกิ ด ปฏิ กิ ริ ย าการแทนที่ ด้วยอะตอมหรือหมู่ที่ไฮโดรเจนอะตอม เช่น การแทนที่ด้วยแฮโล เจน ป ฏ ิ ก ิ ร ิ ย า ก า ร แ ท น ท ี ่ ด ้ ว ย โ บ ร ม ี น โบรมี นอะตอมจะเข้ า แทนที่ไฮโดรเจนอะตอมโดยมีโลหะไอออนเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา เกิด เป็นโบรโมเบนซีน 10.3 สารประกอบของคาร์บอนซึ่งมีหมู่อะตอมที่แสดงสมบัติเฉพาะ 10.3.1 หมู่ฟังก์ชันหรือหมู่อะตอมที่แสดงสมบัติเฉพาะ หมู่ ฟั ง ก์ ชั น คื อ หมู่ ที่ แ สดงปฏิ กิ ริ ย าเคมี ข องสารประกอบ คาร์บอนนั้น ๆ หรือปฏิกิริยาเคมีจะเกิดตรงบริเวณหมู่ฟังก์ชันของ สารประกอบคาร์บอนนั้น ๆ วิ ธี พิ จ ารณาหมู่ ฟั ง ก์ ชั น ให้ ถือ ว่ า แอลเคนเป็ น สารประกอบ คาร์บอนที่ไม่มีหมู่ฟังก์ชัน ส่วนที่แตกต่างไปจากแอลเคนให้ถือว่า เป็นหมู่ฟังก์ชัน เช่น แอลคีนมีพันธะคู่ในโมเลกุล 1 พันธะ ที่เหลือ เป็นพันธะเดี่ยวหมด ซึ่งพันธะเดี่ยวเหมือนแอลเคน ดังนั้น บริเวณ พันธะคู่จึงเป็นฟังก์ชันของแอลคีน ต า ร า ง ท ี ่ 10.3 แ ส ด ง ต ั ว อ ย ่ า ง ห ม ู ่ ฟ ั ง ก ์ ช ั น ข อ ง ส า ร ป ร ะ ก อ บ บางชนิด สารประก ตัวอย่าง หมู่ฟังก์ชัน ชื่อหมู่ อบ สารประกอบ ฟังก์ชัน แอลเคน CH3-CH2-CH3 - - แอลคีน แอลไคน์ CH3=CH-CH3 C=C - แอลกอฮอ CH3-C ≡ CH3 C ≡C - ล์ ไฮดรอกซิล อีเทอร์ CH3-CH2-OH -OH ออกซี CH3-O-CH3 -O- คีโตน CH3-CO-CH3 O คาร์บอนิล แอลดีไฮด์ CH3-CH2- -C- CHO O คาร์บอกซา ลดีไฮด์ กรด CH3-CH2- -C-H อินทรีย์ COOH O คาร์บอกซิล เอสเทอร์ CH3-COOCH3 -C-OH เอมีน CH3-CH2-NH2 O แอลคอกซี คาร์บอนิล CH3-CH2- -C-O- อะมิโน เอไมด์ CONH2 -NH2 O เอไมด์ -C-NH2 10.3.2 แ อ ล ก อ ฮ อ ล ์
  • 8. หน้าที่ 8 แ อ ล ก อ ฮ อ ล ์ (alcohol) คื อ สารประกอบไฮโดรคาร์ บ อนที่ ไฮโดรเจนอะตอมถูกแทนที่ด้วยหมู่ไฮดรอกซิล (OH) 1 อะตอม มี สูตรทั่วไปคือ ROH เมื่อ R เป็นหมู่แอลคิล มีสูตรโมเลกุลทั่วไปเป็น CnH2n+2O มีหมู่ฟังก์ชันเป็นหมู่ -OH ก า ร เ ร ี ย ก ช ื ่ อ ม ี 2 แ บ บ คื อ เรี ย กชื่ อ หมู่ แ อลคิ ล แล้ ว ตาม ด้ ว ยคำา ว่ า "แอลกอฮอล์ " หรื อ เรี ย กชื่ อ ตามจำา นวนคาร์ บ อนแบบ เดียวกับแอลเคนแล้วลงท้ายเป็นเสียง "……านอล" เช่น CH3OH อ่านว่า เมทิลแอลกอฮอล์หรือเมทานอล CH3CH2OH อ่านว่า เอทิลแอลกอฮอล์หรือเอทานอล สมบัติทางกายภา พ 1. การละลายนำ้า แอลกอฮอล์ที่มีจำานวนคาร์บอนอะตอมน้อย ๆ จะละลายนำ้าได้ 2. จุ ด เดื อ ด แอลกอฮอล์ จ ะมี จุ ด เดื อ ดมากขึ้ น เมื่ อ จำา นวน คาร์บอนอะตอมมากขึ้นในทำานองเดียวกับแอลเคน แต่แอลกอฮอล์ มีจุดเดือดสูงกว่าแอลเคนที่มีจำา นวนคาร์บอนอะตอมเท่ากันเพราะ แอลกอฮอล์มีพันธะไฮโดรเจนยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล ป ฏ ิ ก ิ ร ิ ย า เ ค ม ี ข อ ง แ อ ล ก อ ฮ อ ล ์ เนื่องจากแอลกอฮอล์มีหมู่ ไฮดรอกซิ ล เป็ น หมู่ ฟั ง ก์ ชั น ดั ง นั้ น ปฏิ กิ ริ ย าเคมี จึ ง เกิ ด ขึ้ น ตรง บริเวณนี้ 1. ท ำ า ป ฏ ิ ก ิ ร ิ ย า ก ั บ โ ล ห ะ โ ซ เ ด ี ย ม จะได้ก๊าซไฮโดรเจน โดยโลหะโซเดี ยมจะเข้าไปแทนที่ ไฮโดรเจนอะตอมของหมู่ OH เช่น 2CH3CH2OH + 2Na → 2CH3CH2ONa+H2 2. ท ำ า ป ฏ ิ ก ิ ร ิ ย า ก ั บ ก ร ด อ ิ น ท ร ี ย ์ จ ะ ไ ด ้ เ อ ส เ ท อ ร ์ (ดูใน เรื่องเอสเทอร์) 10.3.3 ก ร ด อ ิ น ท ร ี ย ์ ก ร ด อ ิ น ท ร ี ย ์ (carboxylic acid) คือ สารอินทรีย์ที่มีห มู่ คาร์ บอกซิล (COOH) เป็นหมู่ O ฟังก์ชัน มีสูตรทั่วไปเป็น R - C - OH หรือ RCOOH หรือ RCO2H และมีสูตรโมเลกุลทั่วไปเป็น CnH2nO2 พบในผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว การเรี ย กชื่ อ ให้ เ รี ย กชื่ อ ตามจำา นวนคาร์ บ อนอะตอมเช่ น เดียวกับแอลเคน แต่เปลี่ยนเสียงท้ายเป็น "…….าโนอิก" เช่น HCOOH อ่ านว่ า เมทาโนอิ ก (ชื่ อ สามั ญ : กรดฟอร์ มิ ก หรื อ กรดมด) CH3COOH อ่านว่า เอทาโนอิก (ชื่อสามัญ : กรดแอซีติกหรือ กรดนำ้าส้ม) สมบัติทางกายภา พ
  • 9. หน้าที่ 9 1. ก า ร ล ะ ล า ย น ำ ้ า ส่วนใหญ่ละลายนำ้าได้ 2. จุ ด เ ด ื อ ด จุดเดือดจะสูงขึ้นเมื่อจำานวนคาร์บอนมากขึ้นใน ทำา นองเดี ย วกั บ แอลเคนและแอลกอฮอล์ แ ต่ จุ ด เดื อ ดของกรด อินทรีย์สูงกว่าแอลกอฮอล์ที่มีจำา นวนคาร์บอนเท่ านั้น เพราะกรด อิ น ทรี ย์ มี แ รงยึ ด เหนี่ ย วระหว่ า งโมเลกุ ล เป็ น พั น ธะไฮโดรเจน จำานวนมากกว่าแอลกอฮอล์ ป ฏ ิ ก ิ ร ิ ย า เ ค ม ี ข อ ง ก ร ด อ ิ น ท ร ย ์ กรดอินทรีย์มีหมู่ฟังก์ชัน เป็น COOH ปฏิกิริยาเคมีจะเกิดขึ้นบริเวณนี้ 1. แ ส ด ง ค ว า ม เ ป ็ น ก ร ด เมื่อนำาสารละลายของกรดอินทรีย์ มาทดสอบด้วยกระดาษลิตมัสจะเปลี่ยนสีจากสีนำ้าเงินเป็นสีแดง RCOOH → RCOOH- + H+ 2. ท ำ า ป ฏ ิ ก ิ ร ิ ย า ก ั บ โ ล ห ะ โ ซ เ ด ี ย ม จะให้ก๊าซไฮโดรเจน ในทำานองเดียวกับแอลกอฮอล์ 1 R-COOH + Na → RCOONa + 2 H2 3. ท ำ า ป ฏ ิ ก ิ ร ิ ย า ก ั บ เ บ ส จะได้เกลือกับนำ้า R - COOH + NaOH → RCOONa + H2O 4. ท ำ า ป ฏ ิ ก ิ ร ิ ย า ก ั บ ส า ร ล ะ ล า ย โ ซ เ ด ี ย ม ไ ฮ โ ด ร เ จ น ค า ร ์ บ อ เ น ต จะให้เกลือและก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ RCOOH + NaHCO3 → RCOONa + H2O + CO2 5. ใ ช ้ เ ต ร ี ย ม เ อ ส เ ท อ ร ์ (ดูในเรื่องเอสเทอร์) 10.3.4 เ อ ส เ ท อ ร ์ เ อ ส เ ท อ ร ์ (ester) คือ กรดอินทรีย์ที่ไฮโดรเจนอะตอมของ หมู่ OH ถูกแทนที่ด้วยหมู่แอล O คิ ล ส่ ว นใหญ่ มี ก ลิ่ น หอม มี สู ต รทั่ ว ไปเป็ น R - C - OR' หรื อ RCOOR' หรือ RCO2R' มีสูตรโมเลกุลทั่วไปเป็น CnH2nO2 (เหมือน กรดอินทรีย์) และมีหมู่แอลคอกซีคาร์บอนิลเป็นหมู่ฟังก์ชัน ก า ร เ ร ี ย ก ช ื ่ อ ข อ ง เ อ ส เ ท อ ร ์ เรียกชื่อหมู่แอลคิลอยู่ต่อกับ ออกซิ เจน แล้ว เรี ยกชื่อ ส่ว นที่ เหลือ แบบเดี ย วกั บ กรดอิ น ทรี ย์ ตั ด "ic acid" ออกแล้วเติม "-ate" เช่น O CH3-C-OCH2CH3 อ่ า นว่ า เอทิ ล เอทาโนเอต (เอทิ ล อะซี เตต) O
  • 10. หน้าที่ 10 CH3-C-O(CH2)7CH3 อ่ า นว่ า ออกทิ ล เอทาโนเอต (ออก ทิลอะซีเตต) ความสัมพันธ์ระหว่างกรดอินทรีย์ แอลกอฮอล์ และเอสเทอร์ 1. ปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชัน คือ ปฏิกิริยาการเตรียมเอสเทอร์ จากกรดอินทรีย์กับแอลกอฮอล์ในสภาวะกรด 2. ปฏิกิริยาไฮโดรลิซีส คือ ปฏิกิริยาระหว่างเอสเทอร์กับนำ้า เป็ น ปฏิ กิ ริ ย าย้ อ นกลั บ ของปฏิ กิ ริ ย าเอสเทอริ ฟิ เ คชั น จะได้ ก รด อินทรีย์และแอลกอฮอล์เป็นผลิตภัณฑ์ 3. ปฏิกิริยาสะปอนนิฟิเ คชั น เป็น ปฏิ กิริ ย าระหว่ างเอสเทอร์ กั บ เบส ให้ เ กลื อ ของกรดอิ น ทรี ย์ แ ละแอลกอฮอล์ เกลื อ ของกรด อินทรีย์เมื่อมีจำานวนคาร์บอนอะตอมมาก ๆ จะเรียกว่า สบู่ 10.3.5 แ อ ล ด ี ไ ฮ ด ์ แ อ ล ด ี ไ ฮ ด ์ (aldehyde) คือ สารประกอบคาร์บอนิลชนิดหนึ่ง มีสูตรทั่วไปเป็น R - C - H O หรือ RCHO มีหมู่คาร์บอกซาลดีไฮด์ (C-H) เป็นหมู่ฟังก์ชัน ก า ร เ ร ี ย ก ช ื ่ อ เรียกชื่อตามจำา นวนคาร์บอนอะตอมทำา นอง เดียวกับแอลกอฮอล์ แล้วลงท้ายด้วย "……….ล) เช่น CH3CHO อ่านว่า เอทานอล CH3CH2CH2CHO อ่านว่า บิวทานอล 10.3.6 คี โ ต น O ค ี โ ต น (ketone) เป็ น สารประกอบคาร์ บ อนิ ล ชนิ ด หนึ่ ง ที่ มี สูตรทั่วไปเป็น R-C-R' มีหมู่ O ฟังก์ชันเป็นหมุ่คาร์บอนิล (-C-) ก า ร เ ร ี ย ก ช ื ่ อ ใช้ห ลักการเดียวกั บการเรี ย กชื่ อ แอลดีไ ฮด์ แต่เปลี่ยนเสียงท้ายเป็น "……าโนน. ประโยชน์ คี โ ตนที มี ป ระโยชน์ ม าก ได้ แ ก่ แอซี โ ตน เป็ น ของเหลวระเหยง่าย ละลายนำ้า ได้ดี ละลายสารอินทรีย์อื่น ๆ ได้ดี เช่น เป็นตัวทำาละลายพลาสติก แลกเกอร์ และไฟเบอร์ 10.3.7 เ อ ม ี น เ อ ม ี น (amine) คื อ สารประกอบที่ เ กิ ด จากไฮโดรเจนใน โมเลกุลของแอมโมเนียถูกแทนที่ R"
  • 11. หน้าที่ 11 ด้วยหมู่แอลคินหรือหมู่อะโรมาติก มีสูตรทั่วไป 3 แบบ คือ R-NH2, RNHR' และ R-N-R' ก า ร เ ร ี ย ก ช ื ่ อ เรี ย กตามจำา นวนคาร์ บ อนอะตอมคล้ า ยกั บ แอลเคน แต่ใช้คำาว่า "อะมิโน" นำาหน้าเช่น CH3CH2NH2 อ่านว่า อะมิโนอีเทน CH3CH2CH2CH2CH2NH2 อ่านว่า อะมิโนเพนเทน เอมีนมีหมู่อะมิโน (-NH2) เป็นหมู่ฟังก์ชันและมีสมบัติเป็นเบส จึงเกิดปฏิกิริยากับกรดได้ เช่น CH3CH2CH2-CH2-nH2 + HCl → CH3CH2CH2CH2-NH 3 Cl- + อะมิ โ นบิ ว เทน กรดไฮโดรคลอริ ก บิวทิลแอมโมเนียมคลอไรด์ เอมี นพบในพื ช เรี ย กว่ า แอลคาลอยด์ สารแอลคาลอยด์ จ ะ เป็ น สารผลิ ต ภั ณ ฑ์ ธ รรมชาติ พบในส่ ว นต่ า ง ๆ ของพื ช เช่ น มอร์ฟีนพบในดอกฝิ่น 10.3.8 เ อ ไ ม ด ์ เ อ ไ ม ด ์ (amide) คือ สารประกอบที่มีหมู่อะมิโน (-NH2) และ หมู่คาร์บอนิล (-C-) O เป็นองค์ประกอบ มีสูตรทั่วไปเป็น R-C-NH2 มีหมู่เอไมด์ (-C-NH2) เป็นหมู่ฟังก์ชัน การเรี ย กชื่ อ เรี ย กชื่ อ ตามจำา นวนคาร์ บ อนอะตอมทำา นอง เ ดี ย ว กั บ ส า ร อิ น ท รี ย์ ทั่ ว ไ ป แ ต่ เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ท้ า ย เ ป็ น "……….าไมด์" เช่น HCONH2 อ่านว่า เมทานาไมด์ CH3CONH2 อ่านว่า เอทานาไมด์ CH3CH2CONH2 อ่านว่า โพรพานาไมด์ ความสัมพันธ์ระหว่างกรดอินทรีย์ เอมีน และเอไมด์ 1. เป็นปฏิกิริยาการเตรียมเอไมด์จากกรดอินทรีย์กับเอมีน และ (2) เป็ น ปฏิ กิ ริ ย าไฮโดรลิ ซี ส ด้ ว ยสารละลายกรดหรื อ สารละลายเบส ให้เอมีนและกรดอินทรย์ O เอไมด์ ที่ สำา คั ญ คื อ ยู เ รี ย (NH2 - C - NH2) ยู เ รี ย มี ป ระโยชน์ มากในทางอุตสาหกรรมโดยเฉพาะการผลิตปุ๋ยยูเรีย