SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
Download to read offline
บทเรี ยนเรื่ อง ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร



การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร

         โดยวิธีการคานวณ
          แทนค่าตัวแปร

   คณิ ตศาสตร์พ้ืนฐาน ค23101
ตัวชี้วด
       ั
1.อ่านและแปรความหมายของกราฟสมการเชิงเส้นสองตัวแปรได้

2. แก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร และนาไปใช้แก้ปัญหา พร้อมทั้ง
ตระหนัก ถึงความสมเหตุ สมผลของคาตอบ
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร

โดยวิธีการคานวณ มี 2 วิธี

1. การแทนค่าตัวแปรหนึ่งในรู ปอีกตัวแปรหนึ่งของอีกสมการหนึ่ง

2. การกาจัดตัวแปรใดตัวแปรหนึ่งให้หมดไป โดยสมบัติการเท่ากัน มี
 สมบัติสมมาตร สมบัติการถ่ายทอด สมบัติการบวก สมบัติการคูณ
1. การแทนค่าตัวแปรหนึ่งลงในค่าอีกตัวแปรหนึ่งของอีกสมการหนึ่ง

ขั้นที่แรก ต้องฝึ กการค่าตัวแปรหนึ่งในรู ปอีกตัวแปรหนึ่ง


 จะเลือกหาค่าตัวแปร              จะเลือกหาค่าตัวแปร y
 x ในรู ป ของ y                  ในรู ป ของ x

        โดยใช้ วิธีการแก้สมการ สมบัติการเท่ากัน


           ให้นกเรี ยนศึกษาตัวอย่างที่ 1
               ั
ตัวอย่างที่ 1) x + y = 3 และ 3x – y = 5
            จงหาค่าตัวแปรหนึ่งในรู ปอีกตัวแปรหนึ่ง
แนวคิด(1) เราต้ องเลือกสมการที่ง่ายต่ อการทา เลือกสมการ x + y = 3
         จะหาค่ า x ในรู ป ตัวแปร y
วิธีทา   จาก x + y = 3
          นา y มาลบทั้งสองข้าง
                 x = 3 –y                 (ได้ x ในรู ปของตัวแปร y )

          เพื่อที่จะนาไปแทนค่า x ในแก้ระบบสมการต่อไป
จากตัวอย่างที่ 1) x + y = 3     และ 3x – y = 5
            จงหาค่าตัวแปรหนึ่งในรู ปอีกตัวแปรหนึ่ง
แนวคิด(2) เราต้ องเลือกสมการที่ง่ายต่ อการทา เลือกสมการ x + y = 3
        จะหาค่ า y ในรู ป ตัวแปร x

วิธีทา   จาก x + y = 3
          นา x มาลบทั้งสองข้าง
                y = 3 –x                  (ได้ y ในรู ปของตัวแปร x )

          เพื่อที่จะนาไปแทนค่า y แก้ระบบสมการต่อไป
จากตัวอย่างที่ 1) x + y = 3 และ 3x – y = 5
             จงหาค่าตัวแปรหนึ่งในรู ปอีกตัวแปรหนึ่ง
แนวคิด(3) ถ้ าเราเลือกสมการแนวนี ้                เลือกสมการ 3x – y = 5
         จะหาค่ า y ในรู ป ตัวแปร x
วิธีทา จาก 3x – y = 5
           นา 3x มาลบทั้งสองข้าง
                   –y = 5 – 3x
            นา –1 หารทั้งสองข้าง
                 y = 5 – 3x
                     –1 –1
                  y = 3x – 5        (ได้ y ในรู ปของตัวแปร x ) แนวนี้ยง
                                                                      ุ่
       เพื่อที่จะนาไปแทนค่า y แก้ระบบสมการต่อไป
เปรี ยบเทียบ การหาค่าตัวแปรหนึ่ง ในรู ปอีกตัวแปรหนึ่ง
     x+y = 3
 จาก x + y = 3                   จาก x + y = 3
 หาค่า x ;                       หาค่า y ;
             x= 3–y                          y= 3–x
 เป็ น ค่า x ในรู ปของ y         เป็ น ค่า y ในรู ปของ x

การแก้ระบบสมการ
โดยการแทนค่าตัวแปรหนึ่งลงในอีกตัวแปรหนึ่งของอีกสมการหนึ่ง
ให้พิจารณาศึกษาการแก้ระบบสมการ                 โดยการแทน
      ค่าตัวแปรหนึ่งลงในอีกตัวแปรหนึ่งของอีกสมการหนึ่ง
1)    x + y = 3 และ 3x – y = 5          (แทนค่า x )
2)    x + y = 3 และ 3x – y = 5          (แทนค่า y )
3)    x + 2y = 3 และ 3x + y = –11       (แทนค่า x )
4)    x + 2y = 3 และ 3x + y = –11      (แทนค่า y )
5)    x – 3y = 1 และ 2x – 6y = 2
6)    y – 4x = – 1 และ y – 4x = 3
7)    x = 3y – 17 และ x = 18 – 4y
ตัวอย่างที่ 1) จงแก้ระบบสมการ          x + y = 3 และ 3x – y = 5
 จะแก้ระบบสมการโดยการแทนค่าตัวแปร
                                               นาโจทย์มาเขียน
                   x+y = 3        …… สมการ แยกกัน
                  3x – y = 5      ...........
                                                      เลือกสมการใดก็ได้ที่ง่าย
                                                    คือ ตัวแปรไม่มีตวเลขคูณอยู่
                                                                    ั
ข้อนี้เลือกสมการใดก็ได้ที่ง่ายคือ ตัวแปรไม่มีตวเลขคูณอยูมีท้ งสอง
                                              ั         ่ ั
           สมการแต่เราต้องตัดสิ นใจเลือก สมการที่
                  จะหา x = อะไรมี y ด้วย

                      จาก ; x + y = 3                              ทาแทนค่า
                      ได้            x = 3–y                         ต่อไป
นาค่า x     = 3–y     แทนในสมการ 
          จะได้
          3(3 – y ) – y = 5
           9-3y-y      = 5
           9-4y        = 5
              -4y      = 5-9
              -4y      = -4
                  y   = -4
                         -4
จะได้ y = 1 นาไปแทนในสมการ x       = 3–y

        เพื่อหาค่า x
                       x   = 3–1
                           = 2


ดังนั้น คาตอบของสมการคือ   (2,1)
ตัวอย่างที่ 1) จงแก้ระบบสมการ x + y = 3 และ 3x – y = 5
   แนวคิด(1) เราต้ องเลือกสมการที่ง่ายต่ อการทา เลือกสมการ x + y = 3
   วิธีทา                    x+y = 3             ……….
                            3x – y = 5           .............
  จาก จะหาค่า x;            x + y= 3         (จะหา x ในรู ปของตัวแปร y )
 นา y มาลบทั้งสองข้าง;           x = 3 – y (นาค่ า xไปแทนค่ าอีกสมการหนึ่ง)
แทนค่า x= 3–y ใน; 3(3 – y) – y = 5
                     x                           [ใช้ สมบัติ a(b+c)=ab+ac]
                       9– 3y – y   =   5      (นา–3 y บวก–y และกาจัด 9 )
นา 9 มาลบทั้งสองข้าง;      –4 y    =   5 –9    (นา5 บวก–9 และกาจัด –4 )
นา –4 มาหารทั้งสองข้าง;      y     =   –4      (–4 หารด้ วย –4 )
                                       –4
                              y    =     1    (นาค่ า y ไปแทนค่ าใน
                                              สมการใดก็ได้ เพื่อจะหาค่ า x )
แทนค่า y =1 ใน ;      x+ y = 3       (นา 1 แทน y ในสมการที่  )
                        x+1 = 3       (กาจัด 1 โดย นา 1 มาลบ )
นา 1 มาลบทั้งสองข้าง;       x = 3 – 1 ( 3 ลบด้ วย 1)
                           x = 2 (นาค่ า x และค่ า y มาเป็ นคาตอบ)
ตรวจคาตอบ นาค่า x และ y แทนค่าใน และ
            
  แทนค่าใน ;        2 1
                     x+y =3
                          3 =3      จริ ง
  แทนค่าใน ;       3x – y = 5
                      (2) 1
                      6 –1 = 5
                          5 =5     จริ ง
             คาตอบ ระบบสมการนี้ คือ (2, 1)
ตัวอย่างที่ 2) จงแก้ระบบสมการ x + y = 3 และ 3x – y = 5
 จะแก้ระบบสมการโดยการแทนค่าตัวแปร
                           x + y = 3 ………. นาโจทย์มาเขียน
                                                      สมการ แยกกัน
                           3x – y = 5  .............
                                              เลือกสมการใดก็ได้ท่ีง่าย
                                          คือ ตัวแปรไม่มีตวเลขคูณอยู่
                                                          ั
 ข้อนี้เลือกสมการใดก็ได้ที่ง่ายคือ ตัวแปรไม่มีตวเลขคูณอยูมีท้ งสอง
                                               ั         ่ ั
            สมการแต่เราต้องตัดสิ นใจเลือก สมการที่
                   จะหา y = อะไรมี x ด้วย
                                                                 ทาแทนค่า
                    จาก ; x + y = 3                               ต่อไป
                    ได้             y = 3–x
ตัวอย่างที่ 2) จงแก้ระบบสมการ x + y = 3 และ 3x – y = 5
    แนวคิด(2) เราต้ องเลือกสมการที่ง่ายต่ อการทา เลือกสมการ x + y = 3
     วิธีทา                   x+y = 3             ……….
                              3x – y = 5         .............
         จาก ;               x +y = 3         (จะหา y ในรู ปของตัวแปร x )
     นา x มาลบทั้งสองข้าง;       y = 3 – x (นาค่ า y ไปแทนค่ าอีกสมการหนึ่ง)
                             y
แทนค่า y = 3 – x ใน; 3x – (3 – x) = 5 [นา -1 คูณถอดวงเล็บ(3 – x) ]
                        3x – 3 + x = 5        (นา3x บวกx และกาจัด –3 )
    ผลคูณเครื่ องหมาย าง;
  นา 3มาบวกทั้งสองข้           4x = 5+3       (นา5 บวก3 และกาจัด 4 )
    ระวังนตรงข้าม่ าง;
       เป็ การคูณที
  นา 4 มาหารทั้งสองข้           x = 8 ( 8 หารด้ วย 4 คือ4เป็ นตัวหาร)
    ตัวคูณเป็ น ลบ                     4
                                x = 2     (นาค่ า x ไปแทนค่ าใน
                                          สมการใดก็ได้ เพื่อจะหาค่ า y )
แทนค่า x = 2 ใน ;      x+ y = 3        (นา 2 แทน x ในสมการที่  )
                         2+y = 3          (กาจัด 2 โดย นา 2 มาลบ )
นา 2 มาลบทั้งสองข้าง;        y = 3 –2             ( 3 ลบด้ วย 2)
                             y= 1       (นาค่ า x และค่ า y มาเป็ นคาตอบ)
ตรวจคาตอบ นาค่า x และ y แทนค่าใน และ
แทนค่าใน ;         2 1
                     x+y =3
                          3 =3      จริ ง
แทนค่าใน ;         3x – y = 5
                      (2) 1
                      6 –1 = 5
                          5 =5     จริ ง
             คาตอบ ระบบสมการนี้ คือ (2, 1)
ข้อควรระวัง
  ในครั้งแรกถ้านาสมการที่ มาใช้หาค่าตัวแปร
  หนึ่งในรู ปอีกตัวแปรหนึ่งแล้ว
  ต้องนาค่าตัวแปรไปใช้แทนค่าในสมการที่ 

 หรื อ
  ในครั้งแรกถ้านาสมการที่  มาใช้หาค่าตัวแปรหนึ่ง
  ในรู ปอีกตัวแปรหนึ่งแล้ว
  ต้องนาค่าตัวแปรไปใช้แทนค่าในสมการที่ 

  ห้ามนาไปแทนในสมการเดิมนันเอง
                          ่
ตัวอย่างที่ 3) จงแก้ระบบสมการ     x + 2y = 3 และ 3x + y = –11
จะแก้ระบบสมการโดยการแทนค่าตัวแปร
                         x + 2y = 3 ……….              นาโจทย์มาเขียน
                         3x + y = –11 .............   สมการ แยกกัน

                            ข้อนี้เลือ ได้ที่ง่าย
                   เลือกสมการใดก็กสมการใดก็ได้ที่ง่าย
                   คืตั ตัวแปรไม่มั ีตวเลขคูอยู่ ่ ั
                 คือ อวแปรไม่มีตวเลขคูณณอยูมีท้ งสองสมการ
                                        ั
                       แต่เราต้องตัดสิ นใจเลือก สมการที่
                              จะหา x = อะไรมี y ด้วย
                          จาก ; x + 2y = 3               ทาแทนค่า
                                                           ต่อไป
                          ได้           x = 3 – 2y
ตัวอย่างที่ 3) จงแก้ระบบสมการ x + 2y = 3 และ 3x + y = –11
  แนวคิด(1) เราต้ องเลือกสมการที่ง่ายต่ อการทา เลือกสมการ x + 2y = 3
 วิธีทา                     x + 2y = 3         ……….
                            3x + y = –11       .............
      จาก ;                 x + 2y = 3 (จะหา x ในรู ปของตัวแปร y )
    นา 2y มาลบทั้งสองข้าง         x = 3 –2y (นาค่ า x แทนค่ าในอีกสมการหนึ่ง)
แทนค่า x= 3–2yใน; 3(3 – 2y)+ y = –11 [ใช้ 3คูณกับ(3–2y)ได้ 9–6y ]
                          x
                       9 – 6y + y = –11 (นา–6y บวกกับ y และกาจัด 9)
  นา 9 มาลบทั้งสองข้าง; – 5 y = –11 – 9 (นา–11 บวก– 9 และกาจัด –5)
  นา –5 มาหารทั้งสองข้าง; y = –20 (–20หารด้ วย–5 เครื่ องหมายได้ บวก)
                                 –5
                             y = 4 (นาค่ า y ไปแทนค่ าใน
                                       สมการใดก็ได้ เพื่อจะหาค่ า x )
แทนค่า y = 4 ใน ;      x + 2y = 3        (นา 4 แทน y ในสมการที่  )
                        x + 2 (4) = 3        ( 2 คูณกับ 4 )
                        x+ 8 = 3              ( กาจัด 8 )
นา 8 มาลบทั้งสองข้าง;          x = 3– 8       ( 3 บวกกับ –8 )
                           x = –5 (นาค่ า x และค่ า y มาเป็ นคาตอบ)
                 คาตอบ ระบบสมการนี้ คือ (–5, 4)
         ให้ นักเรี ยนศึกษาในแนวคิดที่ 2
         ว่ าจะต่ างกันอย่ างไร
         จะสะดวกกว่ า
         หรื อ คิดได้ เร็ วกว่ า
ตัวอย่างที่ 4) จงแก้ระบบสมการ x + 2y = 3 และ 3x + y = –11
 จะแก้ระบบสมการโดยการแทนค่าตัวแปร
                     x + 2y = 3 ……….                นาโจทย์มาเขียน
                     3x + y = –11 .............     สมการ แยกกัน

                 เลือกสมการใดก็ไเด้อกสมการใดก็ได้ที่ง่าย
                              ข้อนี้ ลืที่ง่าย
                      คือ ตัว มีตวเลขคู ว อยู่
                                 ั         ั      ่ ั
               คือ ตัวแปรไม่แปรไม่มีตณเลขคูณอยูมีท้ งสองสมการ
                         แต่เราต้องตัดสิ นใจเลือก สมการที่
                                จะหา y = อะไรมี x ด้วย

                      จาก ; 3x + y = – 11                ทาแทนค่า
                       ได้          y = – 11 – 3x          ต่อไป
ตัวอย่างที่ 4) จงแก้ระบบสมการ x + 2y = 3 และ 3x + y = –11
    แนวคิด(2) เราต้ องเลือกสมการ       เลือกสมการ 3x + y = –11
     วิธีทา                 x + 2y = 3         ……….
                            3x + y = –11       .............
         จาก  ;           3x + y = –11        (จะหา y ในรู ปของตัวแปร x )
  นา 3x มาลบทั้งสองข้าง;         y = –11 – 3x (นาค่ า y แทนค่ าในอีกสมการหนึ่ง)
แทนค่าyใน; x + 2 (–11 – 3x) = 3
                         y                  [ นา 2 คูณถอดวงเล็บกับ–11 – 3x ]
                    x – 22 – 6x = 3 (นา x บวก –6x ได้ –5x และกาจัด –22)
 นา 22 บวกทั้งสองข้าง; – 5 x = 3 + 22 (นา 3 บวก 22 และกาจัด –5)
 นา –5 มาหารทั้งสองข้าง; x = 25 (25หารด้ วย–5 เครื่ องหมายได้ ลบ)
                                –5
                            x = –5     (นาค่ า x ไปแทนค่ าใน
                                       สมการใดก็ได้ เพื่อจะหาค่ า y )
แทนค่า x= –5 ใน;         3x + y = –11       (นา –5 แทน x ในสมการที่  )

                     3(–5) + y = –11            ( 3 คูณกับ –5 ได้ –15 )

                          –15 + y = –11 (ทางซ้ าย กาจัด –15 นา 15 มาบวก)

นา 15 มาบวกทั้งสองข้าง;        y = –11 + 15 (ทางขวา –11 บวกกับ 15)

                              y= 4          (นาค่ า x และค่ า y มาเป็ นคาตอบ)


                 คาตอบ ระบบสมการนี้ คือ (–5, 4)
ตรวจคาตอบ       นาค่า x = –5 และ y = 4 แทนค่าใน และ
                 
แทนค่า x และ yใน ;        – 5 + 2 y = 3 (2 คูณ 4 ได้ 8 )
                             x (4)
                            –5 + 8 = 3 ( –5 บวก 8 ได้ 3)
                                  3 = 3 จริ ง

แทนค่า x และ y ใน ;     3x + y = –11
                          (–5) 4              ( 3 คูณ –5 ได้ –15 )
                         – 15 + 4 = – 11      ( –15 บวก 4 ได้ –11 )
                             –11 = –11         จริ ง

                  คาตอบ ระบบสมการนี้ คือ (– 5, 4)
ตัวอย่างที่ 4) จงแก้ระบบสมการ x – 3y = 1 และ 2x – 6y = 2
 จะแก้ระบบสมการโดยการแทนค่าตัวแปร
                       x – 3y = 1       ……….            นาโจทย์มาเขียน
                      2x – 6y = 2       .............   สมการ แยกกัน

                       เลือกสมการใดที่ง่าย เฉพาะ
                        ข้ นี้เลือกสมการได้
                   วแปรไม่มีตว มีตว ณอยู่ณอยู่
             คือ ตัคือ ตัวแปรไม่เลขคูเลขคูมีสมการที่ เท่านั้น
                                 ั ั
                            เราต้องใช้ สมการที่
                           จะหา x = อะไรมี y ด้วย

                      จาก ; x – 3y = 1                          ทาแทนค่า
                                                                  ต่อไป
                        ได้          x = 1 + 3y
ตัวอย่างที่ 4) จงแก้ระบบสมการ x – 3y = 1 และ 2x – 6y = 2
   แนวคิด เราต้ องเลือกสมการที่ง่ายต่ อการทา เลือกสมการ x – 3y = 1
  วิธีทา                   x – 3y = 1         ……….
                         2x – 6y = 2          .............
        จาก  ;            x – 3y = 1        (จะหา x ในรู ปของตัวแปร y )
            นา 3y มาบวกทั้งสองข้าง
                                x = 3y + 1 (นาค่ า x แทนค่ าในอีกสมการหนึ่ง)
แทนค่าx= 3y+1ใน 2(3y + 1) – 6y = 2
                         x                     [ 2คูณถอดวงเล็บกับ3y+1 ]
;                       6y + 2 – 6y = 2 (นา6y บวกกับ–6y และกาจัด 2)
 นา 2 มาลบทั้งสองข้าง;           0 = 2 – 2 (ทางซ้ายของ =นา 2 ลบ 2 ได้ 0 )
                                   0 = 0          (เป็ นจริ ง)
   จากหาค่า y ;                    y = x–1
                                           3
                   คาตอบระบบสมการนี้มีมากมาย คือ (x, x–1)
                                                               3
ตัวอย่างที่ 5) จงแก้ระบบสมการ y – 4x = – 1 และ y – 4x = 3
 จะแก้ระบบสมการโดยการแทนค่าตัวแปร
                       y – 4x = –1     ……….            นาโจทย์มาเขียน
                       y – 4x = 3      .............   สมการ แยกกัน

                 เลือกสมการใดก็ไเด้อกสมการใดก็ได้ที่ง่าย
                              ข้อนี้ ลืที่ง่าย
                      คือ ตัว มีตวเลขคู ว อยู่
                                 ั         ั      ่ ั
               คือ ตัวแปรไม่แปรไม่มีตณเลขคูณอยูมีท้ งสองสมการ
                         แต่เราต้องตัดสิ นใจเลือก สมการที่
                                จะหา y = อะไรมี x ด้วย

                      จาก ; y – 4x = – 1                   ทาแทนค่า
                       ได้           y = 4x – 1              ต่อไป
ตัวอย่างที่ 5) จงแก้ระบบสมการ y – 4x = – 1 และ y – 4x = 3
   แนวคิด เราต้ องเลือกสมการที่ง่ายต่ อการทา เลือกสมการ y – 4x = –1
   วิธีทา                  y – 4x = –1         ……….
                           y – 4x = 3          .............
         จาก  ;           y – 4x = –1 (จะหา y ในรู ปของตัวแปร x )
  นา 4x มาบวกทั้งสองข้าง         y = 4x – 1 (นาค่ า y แทนค่ าในอีกสมการหนึ่ง)
แทนค่า y = 4x–1ใน      (4x – y – 4x = 3
                             1)                 [ ถอดวงเล็บ 4x – 1 ]
;
                         4x – 1 – 4x = 3          (นา 4x บวกกับ–4x ได้ 0)
                              –1     =3         (เป็ นเท็จ)
                      คาตอบระบบสมการนี้ ไม่มีคาตอบ
 เราเคยรู ้มาแล้วว่า เทียบรู ปสมการ y = mx + c ค่า m เท่ากัน เส้นตรงขนานกัน
ตัวอย่างที่ 6) จงแก้ระบบสมการ       x = 3y – 17 และ x = 18 – 4y
 จะแก้ระบบสมการโดยการแทนค่าตัวแปร
                 x = 3y – 17 …….                        นาโจทย์มาเขียน
                 x = 18 – 4y ........                   สมการ แยกกัน

                 เลือกสมการใดก็อนี้เท่ีง่ากสมการใดก็ได้ที่ง่าย
                                  ข้ ได้ ลือ ย
                        คือ ตัว ีตวเลขคู ตวเลขคู ่ ั
               คือ ตัวแปรไม่มแปรไม่มีณอยู่ ณอยูมีท้ งสองสมการ
                                  ั           ั
                                 สมการที่สมการที่
                                แต่เป็ น กรณี ที่ง่าย
                                ที่  มี x = 3y – 17          ทาแทนค่า
                                ที่ มี x =                  ต่อไป
                                18 – 4y จึงใช้  =
ตัวอย่างที่ 6) จงแก้ระบบสมการ  x = 3y – 17 และ x = 18 – 4y
                              x = 3y – 17 ….
                              x = 18 – 4y ......และต่างเท่ากับ
          =;          3y – 17 = 18 – 4y นา 17 มาบวกทั้งสองข้าง;
                                                  x
นา 4y มาบวกทั้งสองข้าง; 3y + 4y = 18 + 17       (บวกแต่ ละข้ างของ = )
                          7y = 35
 นา 7 มาหารทั้งสองข้าง;    y = 35 (ข้ างขวาของ = 35หารด้ วย 7 )
                                   7
                             y = 5
          แทนค่า y ใน; x = 3 (5) – 17
                              y                ( 3 คูณ 5 )
                        x = 15 – 17             (15 บวก –17 ได้ – 2 )
                        x = –2
ตรวจคาตอบ     นาค่า x = – 2 และ y = 5 แทนค่าใน และ
แทนค่าใน ;   –2 = 3 y – 17 (ทางขวา 3 คูณ 5 ได้ 15 )
                 x       (5)
                –2 = 15 – 17 (ทางขวา 15 บวก –17 ได้ –2 )
               –2 = –2         จริ ง
แทนค่าใน ;      –2 = 18 – 4y
                  x         (5) (ทางขวา –4 คูณ 5 ได้ –20 )
                – 2 = 18 – 20 (ทางขวา 18 บวก –20 ได้ –2 )
                –2 = –2        จริ ง

        คาตอบ ระบบสมการนี้ คือ (– 2, 5)
สรุ ป การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวโดยคานวณ
 1. การแทนค่าตัวแปรหนึ่งลงในตัวแปรนั้นของอีกสมการหนึ่ง
   ขั้นที่ 1) ต้องฝึ กการค่าตัวแปรหนึ่งในรู ปอีกตัวแปรหนึ่ง
           เราต้องเลือกจะหา x ในรู ปของ y
           หรื อเราต้องเลือกจะหา y ในรู ปของ x
  ขั้นที่ 2) แทนค่าตัวแปรหนึ่ง แล้วหาค่าอีกตัวแปรหนึ่ง

แทนค่าตัวแปรหนึ่งในรู ปอีกตัวแปรหนึ่ง แล้วคานวณหาค่าอีกตัวแปรหนึ่ง
  ขั้นที่ 3) นาค่าตัวแปรที่ได้ในข้อ 3 แทนค่าหาค่าอีกตัวแปรหนึ่ง
ตัวอย่างที่ 7) จงแก้ระบบสมการ 3x + 2y = –7 และ 4x – y = 9
    แนวคิด เราต้ องเลือกสมการที่ง่ายต่ อการทา เลือกสมการ 4x – y = 9
    วิธีทา                   3x + 2y = –7        ……….
                             4x – y = 9           .............
           จาก ;              4x – y = 9 (จะหา y ในรู ปของตัวแปร x )
          นา y มาบวกทั้งสองข้าง        และนา 9 มาลบทั้งสองข้าง
                              4x – 9 = y (นาค่ า y ไปแทนค่ าอีกสมการหนึ่ง)
แทนค่า y= 4x–9ใน; 3x + 2 (4x – 9) = – 7
                               y                    [ 2 คูณ 4x – 9 ถอดวงเล็บ]
                        3x + 8x – 18 = – 7 (นา3x บวก8x และกาจัด –18)
  นา 18 มาบวกทั้งสองข้าง; 11 x = –7 + 18 (นา–7 บวก18 และกาจัด 11)
  นา 11 มาหารทั้งสองข้าง;         x = 11              (11 หารด้ วย 11 )
                                           11
                                   x = 1 (นาค่ า x ไปแทนค่ าใน
                                                สมการใดก็ได้ เพื่อจะหาค่ า y )
แทนค่า x = 1 ใน;         4x – y = 9    (นา 1 แทน x ในสมการที่  )
                     4( 1) – y = 9       ( 4 คูณกับ 1 และ กาจัด –y )
 นา y มาบวกทั้งสองข้าง;      4 = 9 + y ( กาจัด 9 จึงนา 9 มาลบ)
นา 9 มาลบทั้งสองข้าง; 4 – 9 = y        (ทางซ้ าย 4 บวกกับ –9 ได้ –5 )
                            –5 = y      (นาค่ า x และค่ า y มาเป็ นคาตอบ)
                 คาตอบ ระบบสมการนี้ คือ (1,–5)
ตรวจคาตอบ       นาค่า x = 1 และ y = –5 แทนค่าใน และ
                  
 แทนค่า x และ yใน ; 3x + 2 y = –7
                           (1) (–5)

                          3 – 10 = –7
                               –7 = –7     จริ ง

แทนค่า x และ y ใน ;    4x – (–5) = 9
                         (1) y
                           4+5 = 9
                               9 = 9          จริ ง
                   คาตอบ ระบบสมการนี้ คือ (1,– 5)

More Related Content

What's hot

การแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามการแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
Chitpol Kamthep
 
เรื่อง สมการกำลังสอง.pdf
เรื่อง สมการกำลังสอง.pdfเรื่อง สมการกำลังสอง.pdf
เรื่อง สมการกำลังสอง.pdf
ssusereb21c61
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3
Prang Donal
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์
krurutsamee
 
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Destiny Nooppynuchy
 

What's hot (20)

แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
แบบฝึกทักษะเอกนาม
แบบฝึกทักษะเอกนามแบบฝึกทักษะเอกนาม
แบบฝึกทักษะเอกนาม
 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
 
ข้อสอบจำนวนจริง
ข้อสอบจำนวนจริงข้อสอบจำนวนจริง
ข้อสอบจำนวนจริง
 
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามการแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
 
เฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสเฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัส
 
การหารพหุนาม
การหารพหุนามการหารพหุนาม
การหารพหุนาม
 
work1
work1work1
work1
 
เรื่อง สมการกำลังสอง.pdf
เรื่อง สมการกำลังสอง.pdfเรื่อง สมการกำลังสอง.pdf
เรื่อง สมการกำลังสอง.pdf
 
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริงแบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3
 
ข้อสอบพหุนาม
ข้อสอบพหุนามข้อสอบพหุนาม
ข้อสอบพหุนาม
 
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึมสูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
 
การแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามการแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนาม
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์
 
ฟังก์ชันประกอบ
ฟังก์ชันประกอบฟังก์ชันประกอบ
ฟังก์ชันประกอบ
 
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการ
 

Similar to การแก้ระบบสมการ

สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
พัน พัน
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
suwanpinit
 
สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรง
สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรงสมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรง
สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรง
ทับทิม เจริญตา
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
narong2508
 
พหหุนาม
พหหุนามพหหุนาม
พหหุนาม
krookay2012
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนาม
krookay2012
 
สื่อนิเทศ
สื่อนิเทศสื่อนิเทศ
สื่อนิเทศ
pummath
 
แผนที่ 6 การเขียนกราฟของสมการฯ
แผนที่ 6 การเขียนกราฟของสมการฯแผนที่ 6 การเขียนกราฟของสมการฯ
แผนที่ 6 การเขียนกราฟของสมการฯ
ทับทิม เจริญตา
 
บทที่ 13 ระบบสมการ
บทที่ 13 ระบบสมการบทที่ 13 ระบบสมการ
บทที่ 13 ระบบสมการ
krulerdboon
 

Similar to การแก้ระบบสมการ (20)

Original sy eq-solve2
Original sy eq-solve2Original sy eq-solve2
Original sy eq-solve2
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
ระบบสมการเชิงเส้น 2
ระบบสมการเชิงเส้น 2 ระบบสมการเชิงเส้น 2
ระบบสมการเชิงเส้น 2
 
Equation
EquationEquation
Equation
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 3
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 3 การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 3
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 3
 
112
112112
112
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรง
สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรงสมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรง
สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรง
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันเอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
 
พหหุนาม
พหหุนามพหหุนาม
พหหุนาม
 
Calculus1
Calculus1Calculus1
Calculus1
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนาม
 
สื่อนิเทศ
สื่อนิเทศสื่อนิเทศ
สื่อนิเทศ
 
แผนที่ 6 การเขียนกราฟของสมการฯ
แผนที่ 6 การเขียนกราฟของสมการฯแผนที่ 6 การเขียนกราฟของสมการฯ
แผนที่ 6 การเขียนกราฟของสมการฯ
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
 
Math9
Math9Math9
Math9
 
Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3
 
บทที่ 13 ระบบสมการ
บทที่ 13 ระบบสมการบทที่ 13 ระบบสมการ
บทที่ 13 ระบบสมการ
 

More from ทับทิม เจริญตา

ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ทับทิม เจริญตา
 
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ทับทิม เจริญตา
 
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ทับทิม เจริญตา
 

More from ทับทิม เจริญตา (20)

Pro1
Pro1Pro1
Pro1
 
Ex
ExEx
Ex
 
เกมซูดุคุ
เกมซูดุคุเกมซูดุคุ
เกมซูดุคุ
 
ข้อสอบเมทริกชฺ
ข้อสอบเมทริกชฺ ข้อสอบเมทริกชฺ
ข้อสอบเมทริกชฺ
 
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
 
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนามแบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
 
แบบฝึกพหุนาม
แบบฝึกพหุนามแบบฝึกพหุนาม
แบบฝึกพหุนาม
 
การบวกลบพหุนาม
การบวกลบพหุนามการบวกลบพหุนาม
การบวกลบพหุนาม
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนาม
 
หาผลบวกและผลลบของเอกนาม
หาผลบวกและผลลบของเอกนามหาผลบวกและผลลบของเอกนาม
หาผลบวกและผลลบของเอกนาม
 
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
 
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
 
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
 
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
 
สอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
สอบ สมบัติของเลขยกกำลังสอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
สอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5 ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4 ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3 ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2 ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 

การแก้ระบบสมการ

  • 1. บทเรี ยนเรื่ อง ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร โดยวิธีการคานวณ แทนค่าตัวแปร คณิ ตศาสตร์พ้ืนฐาน ค23101
  • 2. ตัวชี้วด ั 1.อ่านและแปรความหมายของกราฟสมการเชิงเส้นสองตัวแปรได้ 2. แก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร และนาไปใช้แก้ปัญหา พร้อมทั้ง ตระหนัก ถึงความสมเหตุ สมผลของคาตอบ
  • 3. การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร โดยวิธีการคานวณ มี 2 วิธี 1. การแทนค่าตัวแปรหนึ่งในรู ปอีกตัวแปรหนึ่งของอีกสมการหนึ่ง 2. การกาจัดตัวแปรใดตัวแปรหนึ่งให้หมดไป โดยสมบัติการเท่ากัน มี สมบัติสมมาตร สมบัติการถ่ายทอด สมบัติการบวก สมบัติการคูณ
  • 4. 1. การแทนค่าตัวแปรหนึ่งลงในค่าอีกตัวแปรหนึ่งของอีกสมการหนึ่ง ขั้นที่แรก ต้องฝึ กการค่าตัวแปรหนึ่งในรู ปอีกตัวแปรหนึ่ง จะเลือกหาค่าตัวแปร จะเลือกหาค่าตัวแปร y x ในรู ป ของ y ในรู ป ของ x โดยใช้ วิธีการแก้สมการ สมบัติการเท่ากัน ให้นกเรี ยนศึกษาตัวอย่างที่ 1 ั
  • 5. ตัวอย่างที่ 1) x + y = 3 และ 3x – y = 5 จงหาค่าตัวแปรหนึ่งในรู ปอีกตัวแปรหนึ่ง แนวคิด(1) เราต้ องเลือกสมการที่ง่ายต่ อการทา เลือกสมการ x + y = 3 จะหาค่ า x ในรู ป ตัวแปร y วิธีทา จาก x + y = 3 นา y มาลบทั้งสองข้าง x = 3 –y (ได้ x ในรู ปของตัวแปร y ) เพื่อที่จะนาไปแทนค่า x ในแก้ระบบสมการต่อไป
  • 6. จากตัวอย่างที่ 1) x + y = 3 และ 3x – y = 5 จงหาค่าตัวแปรหนึ่งในรู ปอีกตัวแปรหนึ่ง แนวคิด(2) เราต้ องเลือกสมการที่ง่ายต่ อการทา เลือกสมการ x + y = 3 จะหาค่ า y ในรู ป ตัวแปร x วิธีทา จาก x + y = 3 นา x มาลบทั้งสองข้าง y = 3 –x (ได้ y ในรู ปของตัวแปร x ) เพื่อที่จะนาไปแทนค่า y แก้ระบบสมการต่อไป
  • 7. จากตัวอย่างที่ 1) x + y = 3 และ 3x – y = 5 จงหาค่าตัวแปรหนึ่งในรู ปอีกตัวแปรหนึ่ง แนวคิด(3) ถ้ าเราเลือกสมการแนวนี ้ เลือกสมการ 3x – y = 5 จะหาค่ า y ในรู ป ตัวแปร x วิธีทา จาก 3x – y = 5 นา 3x มาลบทั้งสองข้าง –y = 5 – 3x นา –1 หารทั้งสองข้าง y = 5 – 3x –1 –1 y = 3x – 5 (ได้ y ในรู ปของตัวแปร x ) แนวนี้ยง ุ่ เพื่อที่จะนาไปแทนค่า y แก้ระบบสมการต่อไป
  • 8. เปรี ยบเทียบ การหาค่าตัวแปรหนึ่ง ในรู ปอีกตัวแปรหนึ่ง x+y = 3 จาก x + y = 3 จาก x + y = 3 หาค่า x ; หาค่า y ; x= 3–y y= 3–x เป็ น ค่า x ในรู ปของ y เป็ น ค่า y ในรู ปของ x การแก้ระบบสมการ โดยการแทนค่าตัวแปรหนึ่งลงในอีกตัวแปรหนึ่งของอีกสมการหนึ่ง
  • 9. ให้พิจารณาศึกษาการแก้ระบบสมการ โดยการแทน ค่าตัวแปรหนึ่งลงในอีกตัวแปรหนึ่งของอีกสมการหนึ่ง 1) x + y = 3 และ 3x – y = 5 (แทนค่า x ) 2) x + y = 3 และ 3x – y = 5 (แทนค่า y ) 3) x + 2y = 3 และ 3x + y = –11 (แทนค่า x ) 4) x + 2y = 3 และ 3x + y = –11 (แทนค่า y ) 5) x – 3y = 1 และ 2x – 6y = 2 6) y – 4x = – 1 และ y – 4x = 3 7) x = 3y – 17 และ x = 18 – 4y
  • 10. ตัวอย่างที่ 1) จงแก้ระบบสมการ x + y = 3 และ 3x – y = 5 จะแก้ระบบสมการโดยการแทนค่าตัวแปร นาโจทย์มาเขียน x+y = 3 …… สมการ แยกกัน 3x – y = 5 ........... เลือกสมการใดก็ได้ที่ง่าย คือ ตัวแปรไม่มีตวเลขคูณอยู่ ั ข้อนี้เลือกสมการใดก็ได้ที่ง่ายคือ ตัวแปรไม่มีตวเลขคูณอยูมีท้ งสอง ั ่ ั สมการแต่เราต้องตัดสิ นใจเลือก สมการที่ จะหา x = อะไรมี y ด้วย จาก ; x + y = 3 ทาแทนค่า ได้ x = 3–y ต่อไป
  • 11. นาค่า x = 3–y แทนในสมการ  จะได้ 3(3 – y ) – y = 5 9-3y-y = 5 9-4y = 5 -4y = 5-9 -4y = -4 y = -4 -4
  • 12. จะได้ y = 1 นาไปแทนในสมการ x = 3–y เพื่อหาค่า x x = 3–1 = 2 ดังนั้น คาตอบของสมการคือ (2,1)
  • 13. ตัวอย่างที่ 1) จงแก้ระบบสมการ x + y = 3 และ 3x – y = 5 แนวคิด(1) เราต้ องเลือกสมการที่ง่ายต่ อการทา เลือกสมการ x + y = 3 วิธีทา x+y = 3 ………. 3x – y = 5 ............. จาก จะหาค่า x; x + y= 3 (จะหา x ในรู ปของตัวแปร y ) นา y มาลบทั้งสองข้าง; x = 3 – y (นาค่ า xไปแทนค่ าอีกสมการหนึ่ง) แทนค่า x= 3–y ใน; 3(3 – y) – y = 5 x [ใช้ สมบัติ a(b+c)=ab+ac] 9– 3y – y = 5 (นา–3 y บวก–y และกาจัด 9 ) นา 9 มาลบทั้งสองข้าง; –4 y = 5 –9 (นา5 บวก–9 และกาจัด –4 ) นา –4 มาหารทั้งสองข้าง; y = –4 (–4 หารด้ วย –4 ) –4 y = 1 (นาค่ า y ไปแทนค่ าใน สมการใดก็ได้ เพื่อจะหาค่ า x )
  • 14. แทนค่า y =1 ใน ; x+ y = 3 (นา 1 แทน y ในสมการที่  ) x+1 = 3 (กาจัด 1 โดย นา 1 มาลบ ) นา 1 มาลบทั้งสองข้าง; x = 3 – 1 ( 3 ลบด้ วย 1) x = 2 (นาค่ า x และค่ า y มาเป็ นคาตอบ) ตรวจคาตอบ นาค่า x และ y แทนค่าใน และ  แทนค่าใน ; 2 1 x+y =3 3 =3 จริ ง แทนค่าใน ; 3x – y = 5 (2) 1 6 –1 = 5 5 =5 จริ ง คาตอบ ระบบสมการนี้ คือ (2, 1)
  • 15. ตัวอย่างที่ 2) จงแก้ระบบสมการ x + y = 3 และ 3x – y = 5 จะแก้ระบบสมการโดยการแทนค่าตัวแปร x + y = 3 ………. นาโจทย์มาเขียน สมการ แยกกัน 3x – y = 5 ............. เลือกสมการใดก็ได้ท่ีง่าย คือ ตัวแปรไม่มีตวเลขคูณอยู่ ั ข้อนี้เลือกสมการใดก็ได้ที่ง่ายคือ ตัวแปรไม่มีตวเลขคูณอยูมีท้ งสอง ั ่ ั สมการแต่เราต้องตัดสิ นใจเลือก สมการที่ จะหา y = อะไรมี x ด้วย ทาแทนค่า จาก ; x + y = 3 ต่อไป ได้ y = 3–x
  • 16. ตัวอย่างที่ 2) จงแก้ระบบสมการ x + y = 3 และ 3x – y = 5 แนวคิด(2) เราต้ องเลือกสมการที่ง่ายต่ อการทา เลือกสมการ x + y = 3 วิธีทา x+y = 3 ………. 3x – y = 5 ............. จาก ; x +y = 3 (จะหา y ในรู ปของตัวแปร x ) นา x มาลบทั้งสองข้าง; y = 3 – x (นาค่ า y ไปแทนค่ าอีกสมการหนึ่ง) y แทนค่า y = 3 – x ใน; 3x – (3 – x) = 5 [นา -1 คูณถอดวงเล็บ(3 – x) ] 3x – 3 + x = 5 (นา3x บวกx และกาจัด –3 ) ผลคูณเครื่ องหมาย าง; นา 3มาบวกทั้งสองข้ 4x = 5+3 (นา5 บวก3 และกาจัด 4 ) ระวังนตรงข้าม่ าง; เป็ การคูณที นา 4 มาหารทั้งสองข้ x = 8 ( 8 หารด้ วย 4 คือ4เป็ นตัวหาร) ตัวคูณเป็ น ลบ 4 x = 2 (นาค่ า x ไปแทนค่ าใน สมการใดก็ได้ เพื่อจะหาค่ า y )
  • 17. แทนค่า x = 2 ใน ; x+ y = 3 (นา 2 แทน x ในสมการที่  ) 2+y = 3 (กาจัด 2 โดย นา 2 มาลบ ) นา 2 มาลบทั้งสองข้าง; y = 3 –2 ( 3 ลบด้ วย 2) y= 1 (นาค่ า x และค่ า y มาเป็ นคาตอบ) ตรวจคาตอบ นาค่า x และ y แทนค่าใน และ แทนค่าใน ;  2 1 x+y =3 3 =3 จริ ง แทนค่าใน ; 3x – y = 5 (2) 1 6 –1 = 5 5 =5 จริ ง คาตอบ ระบบสมการนี้ คือ (2, 1)
  • 18. ข้อควรระวัง ในครั้งแรกถ้านาสมการที่ มาใช้หาค่าตัวแปร หนึ่งในรู ปอีกตัวแปรหนึ่งแล้ว ต้องนาค่าตัวแปรไปใช้แทนค่าในสมการที่  หรื อ ในครั้งแรกถ้านาสมการที่  มาใช้หาค่าตัวแปรหนึ่ง ในรู ปอีกตัวแปรหนึ่งแล้ว ต้องนาค่าตัวแปรไปใช้แทนค่าในสมการที่  ห้ามนาไปแทนในสมการเดิมนันเอง ่
  • 19. ตัวอย่างที่ 3) จงแก้ระบบสมการ x + 2y = 3 และ 3x + y = –11 จะแก้ระบบสมการโดยการแทนค่าตัวแปร x + 2y = 3 ………. นาโจทย์มาเขียน 3x + y = –11 ............. สมการ แยกกัน ข้อนี้เลือ ได้ที่ง่าย เลือกสมการใดก็กสมการใดก็ได้ที่ง่าย คืตั ตัวแปรไม่มั ีตวเลขคูอยู่ ่ ั คือ อวแปรไม่มีตวเลขคูณณอยูมีท้ งสองสมการ ั แต่เราต้องตัดสิ นใจเลือก สมการที่ จะหา x = อะไรมี y ด้วย จาก ; x + 2y = 3 ทาแทนค่า ต่อไป ได้ x = 3 – 2y
  • 20. ตัวอย่างที่ 3) จงแก้ระบบสมการ x + 2y = 3 และ 3x + y = –11 แนวคิด(1) เราต้ องเลือกสมการที่ง่ายต่ อการทา เลือกสมการ x + 2y = 3 วิธีทา x + 2y = 3 ………. 3x + y = –11 ............. จาก ; x + 2y = 3 (จะหา x ในรู ปของตัวแปร y ) นา 2y มาลบทั้งสองข้าง x = 3 –2y (นาค่ า x แทนค่ าในอีกสมการหนึ่ง) แทนค่า x= 3–2yใน; 3(3 – 2y)+ y = –11 [ใช้ 3คูณกับ(3–2y)ได้ 9–6y ] x 9 – 6y + y = –11 (นา–6y บวกกับ y และกาจัด 9) นา 9 มาลบทั้งสองข้าง; – 5 y = –11 – 9 (นา–11 บวก– 9 และกาจัด –5) นา –5 มาหารทั้งสองข้าง; y = –20 (–20หารด้ วย–5 เครื่ องหมายได้ บวก) –5 y = 4 (นาค่ า y ไปแทนค่ าใน สมการใดก็ได้ เพื่อจะหาค่ า x )
  • 21. แทนค่า y = 4 ใน ; x + 2y = 3 (นา 4 แทน y ในสมการที่  ) x + 2 (4) = 3 ( 2 คูณกับ 4 ) x+ 8 = 3 ( กาจัด 8 ) นา 8 มาลบทั้งสองข้าง; x = 3– 8 ( 3 บวกกับ –8 ) x = –5 (นาค่ า x และค่ า y มาเป็ นคาตอบ) คาตอบ ระบบสมการนี้ คือ (–5, 4) ให้ นักเรี ยนศึกษาในแนวคิดที่ 2 ว่ าจะต่ างกันอย่ างไร จะสะดวกกว่ า หรื อ คิดได้ เร็ วกว่ า
  • 22. ตัวอย่างที่ 4) จงแก้ระบบสมการ x + 2y = 3 และ 3x + y = –11 จะแก้ระบบสมการโดยการแทนค่าตัวแปร x + 2y = 3 ………. นาโจทย์มาเขียน 3x + y = –11 ............. สมการ แยกกัน เลือกสมการใดก็ไเด้อกสมการใดก็ได้ที่ง่าย ข้อนี้ ลืที่ง่าย คือ ตัว มีตวเลขคู ว อยู่ ั ั ่ ั คือ ตัวแปรไม่แปรไม่มีตณเลขคูณอยูมีท้ งสองสมการ แต่เราต้องตัดสิ นใจเลือก สมการที่ จะหา y = อะไรมี x ด้วย จาก ; 3x + y = – 11 ทาแทนค่า ได้ y = – 11 – 3x ต่อไป
  • 23. ตัวอย่างที่ 4) จงแก้ระบบสมการ x + 2y = 3 และ 3x + y = –11 แนวคิด(2) เราต้ องเลือกสมการ เลือกสมการ 3x + y = –11 วิธีทา x + 2y = 3 ………. 3x + y = –11 ............. จาก  ; 3x + y = –11 (จะหา y ในรู ปของตัวแปร x ) นา 3x มาลบทั้งสองข้าง; y = –11 – 3x (นาค่ า y แทนค่ าในอีกสมการหนึ่ง) แทนค่าyใน; x + 2 (–11 – 3x) = 3 y [ นา 2 คูณถอดวงเล็บกับ–11 – 3x ] x – 22 – 6x = 3 (นา x บวก –6x ได้ –5x และกาจัด –22) นา 22 บวกทั้งสองข้าง; – 5 x = 3 + 22 (นา 3 บวก 22 และกาจัด –5) นา –5 มาหารทั้งสองข้าง; x = 25 (25หารด้ วย–5 เครื่ องหมายได้ ลบ) –5 x = –5 (นาค่ า x ไปแทนค่ าใน สมการใดก็ได้ เพื่อจะหาค่ า y )
  • 24. แทนค่า x= –5 ใน; 3x + y = –11 (นา –5 แทน x ในสมการที่  ) 3(–5) + y = –11 ( 3 คูณกับ –5 ได้ –15 ) –15 + y = –11 (ทางซ้ าย กาจัด –15 นา 15 มาบวก) นา 15 มาบวกทั้งสองข้าง; y = –11 + 15 (ทางขวา –11 บวกกับ 15) y= 4 (นาค่ า x และค่ า y มาเป็ นคาตอบ) คาตอบ ระบบสมการนี้ คือ (–5, 4)
  • 25. ตรวจคาตอบ นาค่า x = –5 และ y = 4 แทนค่าใน และ  แทนค่า x และ yใน ; – 5 + 2 y = 3 (2 คูณ 4 ได้ 8 ) x (4) –5 + 8 = 3 ( –5 บวก 8 ได้ 3) 3 = 3 จริ ง แทนค่า x และ y ใน ; 3x + y = –11 (–5) 4 ( 3 คูณ –5 ได้ –15 ) – 15 + 4 = – 11 ( –15 บวก 4 ได้ –11 ) –11 = –11 จริ ง คาตอบ ระบบสมการนี้ คือ (– 5, 4)
  • 26. ตัวอย่างที่ 4) จงแก้ระบบสมการ x – 3y = 1 และ 2x – 6y = 2 จะแก้ระบบสมการโดยการแทนค่าตัวแปร x – 3y = 1 ………. นาโจทย์มาเขียน 2x – 6y = 2 ............. สมการ แยกกัน เลือกสมการใดที่ง่าย เฉพาะ ข้ นี้เลือกสมการได้ วแปรไม่มีตว มีตว ณอยู่ณอยู่ คือ ตัคือ ตัวแปรไม่เลขคูเลขคูมีสมการที่ เท่านั้น ั ั เราต้องใช้ สมการที่ จะหา x = อะไรมี y ด้วย จาก ; x – 3y = 1 ทาแทนค่า ต่อไป ได้ x = 1 + 3y
  • 27. ตัวอย่างที่ 4) จงแก้ระบบสมการ x – 3y = 1 และ 2x – 6y = 2 แนวคิด เราต้ องเลือกสมการที่ง่ายต่ อการทา เลือกสมการ x – 3y = 1 วิธีทา x – 3y = 1 ………. 2x – 6y = 2 ............. จาก  ; x – 3y = 1 (จะหา x ในรู ปของตัวแปร y ) นา 3y มาบวกทั้งสองข้าง x = 3y + 1 (นาค่ า x แทนค่ าในอีกสมการหนึ่ง) แทนค่าx= 3y+1ใน 2(3y + 1) – 6y = 2 x [ 2คูณถอดวงเล็บกับ3y+1 ] ; 6y + 2 – 6y = 2 (นา6y บวกกับ–6y และกาจัด 2) นา 2 มาลบทั้งสองข้าง; 0 = 2 – 2 (ทางซ้ายของ =นา 2 ลบ 2 ได้ 0 ) 0 = 0 (เป็ นจริ ง) จากหาค่า y ; y = x–1 3 คาตอบระบบสมการนี้มีมากมาย คือ (x, x–1) 3
  • 28. ตัวอย่างที่ 5) จงแก้ระบบสมการ y – 4x = – 1 และ y – 4x = 3 จะแก้ระบบสมการโดยการแทนค่าตัวแปร y – 4x = –1 ………. นาโจทย์มาเขียน y – 4x = 3 ............. สมการ แยกกัน เลือกสมการใดก็ไเด้อกสมการใดก็ได้ที่ง่าย ข้อนี้ ลืที่ง่าย คือ ตัว มีตวเลขคู ว อยู่ ั ั ่ ั คือ ตัวแปรไม่แปรไม่มีตณเลขคูณอยูมีท้ งสองสมการ แต่เราต้องตัดสิ นใจเลือก สมการที่ จะหา y = อะไรมี x ด้วย จาก ; y – 4x = – 1 ทาแทนค่า ได้ y = 4x – 1 ต่อไป
  • 29. ตัวอย่างที่ 5) จงแก้ระบบสมการ y – 4x = – 1 และ y – 4x = 3 แนวคิด เราต้ องเลือกสมการที่ง่ายต่ อการทา เลือกสมการ y – 4x = –1 วิธีทา y – 4x = –1 ………. y – 4x = 3 ............. จาก  ; y – 4x = –1 (จะหา y ในรู ปของตัวแปร x ) นา 4x มาบวกทั้งสองข้าง y = 4x – 1 (นาค่ า y แทนค่ าในอีกสมการหนึ่ง) แทนค่า y = 4x–1ใน (4x – y – 4x = 3 1) [ ถอดวงเล็บ 4x – 1 ] ; 4x – 1 – 4x = 3 (นา 4x บวกกับ–4x ได้ 0) –1 =3 (เป็ นเท็จ) คาตอบระบบสมการนี้ ไม่มีคาตอบ เราเคยรู ้มาแล้วว่า เทียบรู ปสมการ y = mx + c ค่า m เท่ากัน เส้นตรงขนานกัน
  • 30. ตัวอย่างที่ 6) จงแก้ระบบสมการ x = 3y – 17 และ x = 18 – 4y จะแก้ระบบสมการโดยการแทนค่าตัวแปร x = 3y – 17 ……. นาโจทย์มาเขียน x = 18 – 4y ........ สมการ แยกกัน เลือกสมการใดก็อนี้เท่ีง่ากสมการใดก็ได้ที่ง่าย ข้ ได้ ลือ ย คือ ตัว ีตวเลขคู ตวเลขคู ่ ั คือ ตัวแปรไม่มแปรไม่มีณอยู่ ณอยูมีท้ งสองสมการ ั ั สมการที่สมการที่ แต่เป็ น กรณี ที่ง่าย ที่  มี x = 3y – 17 ทาแทนค่า ที่ มี x = ต่อไป 18 – 4y จึงใช้  =
  • 31. ตัวอย่างที่ 6) จงแก้ระบบสมการ x = 3y – 17 และ x = 18 – 4y x = 3y – 17 …. x = 18 – 4y ......และต่างเท่ากับ =; 3y – 17 = 18 – 4y นา 17 มาบวกทั้งสองข้าง; x นา 4y มาบวกทั้งสองข้าง; 3y + 4y = 18 + 17 (บวกแต่ ละข้ างของ = ) 7y = 35 นา 7 มาหารทั้งสองข้าง; y = 35 (ข้ างขวาของ = 35หารด้ วย 7 ) 7 y = 5 แทนค่า y ใน; x = 3 (5) – 17 y ( 3 คูณ 5 ) x = 15 – 17 (15 บวก –17 ได้ – 2 ) x = –2
  • 32. ตรวจคาตอบ นาค่า x = – 2 และ y = 5 แทนค่าใน และ แทนค่าใน ; –2 = 3 y – 17 (ทางขวา 3 คูณ 5 ได้ 15 ) x (5) –2 = 15 – 17 (ทางขวา 15 บวก –17 ได้ –2 ) –2 = –2 จริ ง แทนค่าใน ; –2 = 18 – 4y x (5) (ทางขวา –4 คูณ 5 ได้ –20 ) – 2 = 18 – 20 (ทางขวา 18 บวก –20 ได้ –2 ) –2 = –2 จริ ง คาตอบ ระบบสมการนี้ คือ (– 2, 5)
  • 33. สรุ ป การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวโดยคานวณ 1. การแทนค่าตัวแปรหนึ่งลงในตัวแปรนั้นของอีกสมการหนึ่ง ขั้นที่ 1) ต้องฝึ กการค่าตัวแปรหนึ่งในรู ปอีกตัวแปรหนึ่ง เราต้องเลือกจะหา x ในรู ปของ y หรื อเราต้องเลือกจะหา y ในรู ปของ x ขั้นที่ 2) แทนค่าตัวแปรหนึ่ง แล้วหาค่าอีกตัวแปรหนึ่ง แทนค่าตัวแปรหนึ่งในรู ปอีกตัวแปรหนึ่ง แล้วคานวณหาค่าอีกตัวแปรหนึ่ง ขั้นที่ 3) นาค่าตัวแปรที่ได้ในข้อ 3 แทนค่าหาค่าอีกตัวแปรหนึ่ง
  • 34. ตัวอย่างที่ 7) จงแก้ระบบสมการ 3x + 2y = –7 และ 4x – y = 9 แนวคิด เราต้ องเลือกสมการที่ง่ายต่ อการทา เลือกสมการ 4x – y = 9 วิธีทา 3x + 2y = –7 ………. 4x – y = 9 ............. จาก ; 4x – y = 9 (จะหา y ในรู ปของตัวแปร x ) นา y มาบวกทั้งสองข้าง และนา 9 มาลบทั้งสองข้าง 4x – 9 = y (นาค่ า y ไปแทนค่ าอีกสมการหนึ่ง) แทนค่า y= 4x–9ใน; 3x + 2 (4x – 9) = – 7 y [ 2 คูณ 4x – 9 ถอดวงเล็บ] 3x + 8x – 18 = – 7 (นา3x บวก8x และกาจัด –18) นา 18 มาบวกทั้งสองข้าง; 11 x = –7 + 18 (นา–7 บวก18 และกาจัด 11) นา 11 มาหารทั้งสองข้าง; x = 11 (11 หารด้ วย 11 ) 11 x = 1 (นาค่ า x ไปแทนค่ าใน สมการใดก็ได้ เพื่อจะหาค่ า y )
  • 35. แทนค่า x = 1 ใน; 4x – y = 9 (นา 1 แทน x ในสมการที่  ) 4( 1) – y = 9 ( 4 คูณกับ 1 และ กาจัด –y ) นา y มาบวกทั้งสองข้าง; 4 = 9 + y ( กาจัด 9 จึงนา 9 มาลบ) นา 9 มาลบทั้งสองข้าง; 4 – 9 = y (ทางซ้ าย 4 บวกกับ –9 ได้ –5 ) –5 = y (นาค่ า x และค่ า y มาเป็ นคาตอบ) คาตอบ ระบบสมการนี้ คือ (1,–5)
  • 36. ตรวจคาตอบ นาค่า x = 1 และ y = –5 แทนค่าใน และ  แทนค่า x และ yใน ; 3x + 2 y = –7 (1) (–5) 3 – 10 = –7 –7 = –7 จริ ง แทนค่า x และ y ใน ; 4x – (–5) = 9 (1) y 4+5 = 9 9 = 9 จริ ง คาตอบ ระบบสมการนี้ คือ (1,– 5)