SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  40
Télécharger pour lire hors ligne
หน่วยที่ 2
กฎของโอห์มและหน่วยวัดปริมาณทางไฟฟ้ า
สาระการเรียนรู้
2.1 กฎของโอห์ม
2.2 การนากฎของโอห์มไปใช้
2.3 หน่วยวัดปริมาณทางไฟฟ้ า
2.4 กำลังไฟฟ้ำ
2.5 พลังงานไฟฟ้ า
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง กระแสไฟฟ้ า แรงดันไฟฟ้ า และความ
ต้านทานไฟฟ้ าได้อย่างถูกต้อง
2. เขียนกฎของโอห์มและนาไปใช้งานได้อย่างถูกต้อง
3. บอกหน่วยวัดแรงดันไฟฟ้ า กระแสไฟฟ้ า ความต้านทานไฟฟ้ า ได้อย่าง
ถูกต้อง
4. คานวณหาค่า กาลังไฟฟ้ า พลังงานไฟฟ้ า ได้อย่างถูกต้อง
2.1 กฎของโอห์ม
ในวงจรไฟฟ้ำใด ๆ จะประกอบด้วยส่วนสำคัญ 3 ส่วนคือ แหล่งจ่ายพลังงาน
ไฟฟ้ า กระแสไฟฟ้ า และตัวต้ำนทำนหรืออุปกรณ์ไฟฟ้ำที่จะใส่เข้ำไปในวงจรไฟฟ้ำ
นั้น ๆ เพรำะฉะนั้น ควำมสำคัญของวงจรที่จะต้องคำนึงถึงเมื่อมีกำรต่อวงจรไฟฟ้ำ
คือ ทำอย่ำงไรจึงจะไม่ให้กระแสไฟฟ้ำไหลผ่ำนเข้ำไปในวงจรมำกเกินไปซึ่งจะทำ
ให้อุปกรณ์ไฟฟ้ำชำรุดเสียหำยหรือวงจรไหม้เสียหำยได้
ยอร์จซีมอนโอห์มนักฟิสิกส์ชำวเยอรมันให้ควำมสำคัญของวงจรไฟฟ้ำ และ
สรุปเป็นกฎออกมำดังนี้ คือ
1.ในวงจรใด ๆ กระแสไฟฟ้ าที่ไหลในวงจรนั้นจะเป็นปฏิภาคโดยตรงกับแรงดันไฟฟ้ า
2. ในวงจรใด ๆ กระแสไฟฟ้าที่ไหลในวงจรนั้นจะเป็นปฏิภาคโดยกลับกับความต้านทานไฟฟ้า
เมื่อรวมควำมสัมพันธ์ทั้ง 2 เข้าด้วยกัน โดยที่ค่า k เป็นค่าคงที่ของตัวนาไฟฟ้ า จะได้สูตร
ถ้ำให้ควำมต้ำนทำนไฟฟ้ำเท่ำเดิมต่ออยู่กับวงจรใดๆ แรงดันไฟฟ้ำที่เพิ่มขึ้นจะทำให้
กระแสไฟฟ้ำเพิ่มขึ้นตำมควำมสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน เช่น แรงดันไฟฟ้ำ 20 โวลต์ ไฟฟ้ า
กระแสตรงต่ออยู่กับความต้านทานไฟฟ้ า 20 โอห์ม จะมีกระแสไฟฟ้ าไหลผ่านวงจร 1
แอมแปร์ ดังรูปที่ 2.1 (ก.)
แต่ถ้ำเปลี่ยนเป็นแรงดันไฟฟ้ำเป็น 40 โวลต์ กระแสไฟฟ้ าก็จะเพิ่มขึ้นตามทันที เป็น 2 แอมแปร์
ดังรูปที่ 2.1(ข.) หรือในทำนองเดียวกัน ถ้ำควำมต้ำนทำนไฟฟ้ำเปลี่ยนแปลงไป โดยให้
แรงดันไฟฟ้ำคงที่ จะทำให้กระแสไฟฟ้ำจะเปลี่ยนตำมไปด้วย
2.2 การนากฎของโอห์มไปใช้
ต้องกำรหำกระแสไฟฟ้ำ (I) ให้ปิด I จะได้ดังรูป
ต้องกำรหำแรงดันไฟฟ้ำ (E) ให้ปิด E จะได้ ดังรูป
ต้องกำรหำค่ำควำมต้ำนทำน (R) ให้ปิด R จะได้ ดังรูป
2.3 หน่วยวัดปริมาณทางไฟฟ้ า
2.3.1 แรงดันไฟฟ้ าและความต่างศักย์ไฟฟ้ า
เมื่อมีความต่างศักย์ไฟฟ้าเกิดขึ้นระหว่างประจุไฟฟ้าทั้งสองตัวโดยมีการต่อตัวนาไฟฟ้าถึงกัน
ทั้งสองประจุทาให้ อิเล็กตรอนไหล ออกจากประจุไฟฟ้าที่เป็นลบไปสู่ประจุไฟฟ้าที่เป็นบวก การไหล
ของอิเล็กตรอนจะไหลต่อเนื่องกัน แรงที่ผลักกันให้อิเล็กตรอนไหลได้มากหรือไหลได้น้อย นั้นคือ
แรงเคลื่อนไฟฟ้า ซึ่งเกิดจากความต่างศักย์ของประจุไฟฟ้า แต่เนื่องจากศักย์ของประจุไฟฟ้าแต่ละตัววัด
เป็นโวลต์ด้วย และแรงดันไฟฟ้าก็ต้องวัดเป็นโวลต์ตาม ความต่างศักย์ระหว่างประจุไฟฟ้าทั้งสองตัว ซึ่ง
จะทาให้เกิดมี แรงดันไฟฟ้าขึ้นได้นี้ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า โวลต์เตจ (Voltage) ดังนั้นแรงดันที่ทาให้
อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ไปในตัวนาแล้วทาให้เกิดกระแสไฟฟ้าขึ้นนั้น อาจเรียกว่า –แรงเคลื่อนไฟฟ้า –
แรงดันไฟฟ้า-ความต่างศักย์ไฟฟ้า
2.3.1.1 หน่วยของแรงดันไฟฟ้ า
แรงดันไฟฟ้าเขียนแทนได้ด้วย E มีหน่วยเป็นโวลต์(Volt)ใช้ตัวย่อว่าV คือความ
ต่างศักย์ไฟฟ้าที่เกิดขึ้น 1 โวลต์ ระหว่างสองจุด เกิดขึ้นจากงานที่ใช้ไป 1 จูล (Joule)
เพื่อทาให้ปริมาณไฟฟ้าเคลื่อนที่ไประหว่างจุดทั้งสองได้ 1 คูลอมป์ หรือ แรงเคลื่อน
1 โวลต์ หมายถึง แรงเคลื่อนไฟฟ้าที่ทาให้กระแสไฟฟ้า 1 แอมแปร์ ไหลผ่านความ
ต้านทาน 1 โอห์ม
2.3.1.2 การแปลงหน่วย ของโวลต์ เปลี่ยนจากหน่วยที่เล็กกว่า และใหญ่กว่าโวลต์
ตัวอย่างที่ 2.1 จงเปลี่ยนหน่วยแรงดันไฟฟ้ า ขนาด 0.125 โวลต์(V) เป็น มิลลิโวลต์(mV)
วิธีทา จาก 1 V = 1,000 mV
0.125 V = 1,000 ×0.125 mV
= 125 mV
ตอบ แรงดันไฟฟ้ำ ขนำด 0.125 โวลต์ เท่ากับ 125 มิลลิโวลต์
ตัวอย่างที่ 2.2 จงเปลี่ยนหน่วยแรงดันไฟฟ้ า ขนาด 1,200 โวลต์(V) เป็น กิโลโวลต์(KV)
ตัวอย่างที่ 2.3 จงเปลี่ยนหน่วยแรงดันไฟฟ้า ขนาด 10 เมกะโวลต์(MV) เป็น โวลต์(V)
2.3.2 กระแสไฟฟ้ า
กำรนำเอำตัวนำไฟฟ้ำมำต่อระหว่ำงขั้วบวก และ ขั้วลบ ของแหล่งกำเนิดไฟฟ้ำ
กระแสตรง (DC) จะพบว่า อิเล็กตรอนที่อยู่ทางขั้วลบจะวิ่งผ่านตัวนาเข้าหาโปรตอนทาง
ขั้วบวกทันที การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนนี้เรียกว่า กระแสอิเล็กตรอน (Electron Current)
และในทางตรงข้ามจะเกิด กระแสของประจุบวกไหลสวนกลับกระแสอิเล็กตรอน อีกด้วย
ซึ่งเรียกกระแสนี้ว่า กระแสสมมุติ หรือ กระแสนิยม ( Conventional Current) หรือเรียกอีก
อย่างหนึ่ง ว่า กระแสไฟฟ้ า (Electric Current)
2.3.2.1 หน่วยของกระแสไฟฟ้ า
ตัวอย่างที่ 2.4 จงเปลี่ยนหน่วยกระแสไฟฟ้ า ขนาด 5,000 µA เป็น กระแสไฟฟ้ าขนาด mA
ตัวอย่างที่ 2.5 จงเปลี่ยนหน่วยกระแสไฟฟ้ า ขนาด 12 A เป็น กระแสไฟฟ้ าขนาด mA
2.3.3 ความต้านทานไฟฟ้ า
ควำมต้ำนทำนไฟฟ้ำ หมำยถึง กำรต้ำนทำนกำรไหลของกระแสไฟฟ้ำ ซึ่งมีหน่วยวัด
เป็นโอห์มใช้สัญลักษณ์ Ω ควำมต้ำนทำนไฟฟ้ำ 1 โอห์ม คือ ความต้านทานต่อ
กระแสไฟฟ้ า 1 แอมแปร์ ที่ไหลผ่านอุปกรณ์ไฟฟ้ า แล้วทาให้เกิดกาลังไฟฟ้ า 1 วัตต์
2.3.3.1 หน่วยวัดความต้านทานไฟฟ้ าสามารถเปลี่ยนเป็นหน่วยที่ใหญ่กว่าและเล็กกว่า โอห์มได้ดังนี้
ตัวอย่างที่ 2.6 จงเปลี่ยนหน่วยความต้านทานไฟฟ้า ขนาด 500 Ω เป็น ต้านทานไฟฟ้า ขนาด kΩ
ตัวอย่างที่ 2.7 จงเปลี่ยนหน่วยความต้านทานไฟฟ้า ขนาด 1.2 MΩ เป็น ต้านทานไฟฟ้า ขนาด Ω
2.4 กาลังไฟฟ้ า (Electrical Power)
กาลังไฟฟ้า คือ อัตราการเปลี่ยนแปลงพลังงาน หรือ อัตราของการ
ทางานจากลักษณะหนึ่งไปสู่อีกลักษณะหนึ่ง โดยกาลังไฟฟ้าเขียนแทนด้วย
P และมีหน่วยเป็น Watt (W)
กาลังไฟฟ้า คือ ผลคูณของแรงดันไฟฟ้ากับกระแสไฟฟ้า
2.4.1 สูตรการหาค่ากาลังไฟฟ้ า
จำกสูตรกำลังไฟฟ้ำเรำสำมำรถหำค่ำได้E และ I ได้อีก
จำกสมกำรทั้งหมด สำมำรถเขียนควำมสัมพันธ์ของสูตรต่ำง ๆ ในรูปของวงกลมได้ดังนี้
2.4.2 การแปลงหน่วยของกาลังไฟฟ้ า
1,000 วัตต์ (W) = 1 กิโลวัตต์ (kW)
1,000 กิโลวัตต์ (kW) = 1 เมกะวัตต์ (MW)
1 กาลังม้า (Hp) = 746 วัตต์ (W)
ตัวอย่างที่ 2.8 จากวงจรรูปที่ 4.4 ต้องการทราบว่ากาลังไฟฟ้าเกิดขึ้นกับตัวต้านทานมีค่าเท่าไร
ตัวอย่างที่ 2.9 จากรูปที่ 4.5 เมื่อแรงดันไฟฟ้า 50 V ต่อเข้ากับตัวต้านทาน 1 kΩ จงหาค่า
กาลังไฟฟ้าที่เกิดขึ้นกับตัวต้านทานมีค่าเท่าไร
2.5 พลังงานไฟฟ้ า (Electrical Energy)
พลังงำนไฟฟ้ำ หมำยถึง กำลังไฟฟ้ำที่ถูกนำไปใช้ในระยะเวลำหนึ่ง ซึ่ง คือผลคูณ
ของกำลังไฟฟ้ำ เป็น วัตต์ กับเวลำที่ใช้งำน เป็น วินำที เขียนแทนด้วย W
2.5.1 สูตรและการคานวณหาค่าพลังงานไฟฟ้ า
2.5.2 หน่วยของพลังงานไฟฟ้ า
หน่วยของพลังงานไฟฟ้า อาจใช้เป็นวัตต์– วินาที หรือ กิโลวัตต์ – ชั่วโมง
แต่หน่วยของพลังงานไฟฟ้า จะนิยมใช้ยูนิต (Unit) ซึ่งใช้ในการคิดค่าไฟฟ้านั่นเอง
ตัวอย่างที่ 2.10 มอเตอร์ปั้มน้ำตัวหนึ่งใช้แรงดันไฟฟ้ำ220 V มีกระแสไฟฟ้ าไหลผ่าน 3 A
จงคานวณหา
ก.มอเตอร์ปั้มน้ำตัวนี้ใช้กำลังไฟฟ้ำเท่ำไร
ข.มอเตอร์ปั้มน้ำตัวนี้มีขนำดกี่แรงม้ำ
ค.ในหนึ่งวันใช้มอเตอร์ปั้มน้ำเป็นเวลำนำน 3 ชั่วโมง จะใช้พลังงานไฟฟ้ าเท่าไร
ง.ถ้าค่าไฟฟ้ ายูนิตละ 4 บาท จะเสียค่าไฟฟ้ าเท่าไร
สื่อหน่วยที่2
สื่อหน่วยที่2
สื่อหน่วยที่2

Contenu connexe

Tendances

Touch screen(จอสัมผัส)
Touch screen(จอสัมผัส)Touch screen(จอสัมผัส)
Touch screen(จอสัมผัส)nidnattanan1027
 
06แผน เรื่อง การดล
06แผน เรื่อง การดล06แผน เรื่อง การดล
06แผน เรื่อง การดลWijitta DevilTeacher
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4Wijitta DevilTeacher
 
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืชหน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืชvarut
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560krulef1805
 
ปฏิบัติการทดลอง
ปฏิบัติการทดลอง ปฏิบัติการทดลอง
ปฏิบัติการทดลอง ืkanya pinyo
 
หน่วยที่ 1 ความปลอดภัยในงานไฟฟ้า
หน่วยที่ 1 ความปลอดภัยในงานไฟฟ้าหน่วยที่ 1 ความปลอดภัยในงานไฟฟ้า
หน่วยที่ 1 ความปลอดภัยในงานไฟฟ้าAbhichat Anukulwech
 
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1yasotornrit
 
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันเซิฟ กิ๊ฟ ติวเตอร์
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2Somporn Laothongsarn
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนรากdnavaroj
 
Chapter 3 แรง และสมดุลของแรง
Chapter 3 แรง และสมดุลของแรงChapter 3 แรง และสมดุลของแรง
Chapter 3 แรง และสมดุลของแรงPumPui Oranuch
 

Tendances (20)

ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3
 
Touch screen(จอสัมผัส)
Touch screen(จอสัมผัส)Touch screen(จอสัมผัส)
Touch screen(จอสัมผัส)
 
06แผน เรื่อง การดล
06แผน เรื่อง การดล06แผน เรื่อง การดล
06แผน เรื่อง การดล
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้าตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
 
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืชหน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
 
ปฏิบัติการทดลอง
ปฏิบัติการทดลอง ปฏิบัติการทดลอง
ปฏิบัติการทดลอง
 
หน่วยที่ 1 ความปลอดภัยในงานไฟฟ้า
หน่วยที่ 1 ความปลอดภัยในงานไฟฟ้าหน่วยที่ 1 ความปลอดภัยในงานไฟฟ้า
หน่วยที่ 1 ความปลอดภัยในงานไฟฟ้า
 
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
 
การกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่ายการกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่าย
 
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
 
แสง และการมองเห็น
แสง และการมองเห็นแสง และการมองเห็น
แสง และการมองเห็น
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนราก
 
เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)
เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)
เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)
 
Chapter 3 แรง และสมดุลของแรง
Chapter 3 แรง และสมดุลของแรงChapter 3 แรง และสมดุลของแรง
Chapter 3 แรง และสมดุลของแรง
 

En vedette

R.I.T Ugel n° 02 l.e.
R.I.T Ugel n° 02 l.e.R.I.T Ugel n° 02 l.e.
R.I.T Ugel n° 02 l.e.Renzo Luján
 
Linking our Past to our Future: Visualization and Libraries
Linking our Past to our Future: Visualization and LibrariesLinking our Past to our Future: Visualization and Libraries
Linking our Past to our Future: Visualization and Librariesbrandicopher
 
Estimasi ketidakpastian ca_o_semen
Estimasi ketidakpastian ca_o_semenEstimasi ketidakpastian ca_o_semen
Estimasi ketidakpastian ca_o_semenadwiono
 
Autumn's tech tool
Autumn's tech toolAutumn's tech tool
Autumn's tech toolpeace1111
 
Tugas pembelajaran elektronik kel9
Tugas pembelajaran elektronik kel9Tugas pembelajaran elektronik kel9
Tugas pembelajaran elektronik kel9Arsela Eko Listiono
 
Factors affecting language learning strategies usage
Factors affecting language learning strategies usageFactors affecting language learning strategies usage
Factors affecting language learning strategies usagezaa92
 
Lessonobservationformnbs
LessonobservationformnbsLessonobservationformnbs
Lessonobservationformnbsammyza
 
Mukjizat resep obat rasulullah saw
Mukjizat resep obat rasulullah sawMukjizat resep obat rasulullah saw
Mukjizat resep obat rasulullah sawrandy_rasputra
 
Recipe project cupcakes autumn
Recipe project cupcakes   autumnRecipe project cupcakes   autumn
Recipe project cupcakes autumnpeace1111
 
Ekonomia współpracy kolejny etap biznesu i społeczeństwa
Ekonomia współpracy   kolejny etap biznesu i społeczeństwaEkonomia współpracy   kolejny etap biznesu i społeczeństwa
Ekonomia współpracy kolejny etap biznesu i społeczeństwaDawid Sokolowski
 

En vedette (15)

R.I.T Ugel n° 02 l.e.
R.I.T Ugel n° 02 l.e.R.I.T Ugel n° 02 l.e.
R.I.T Ugel n° 02 l.e.
 
Linking our Past to our Future: Visualization and Libraries
Linking our Past to our Future: Visualization and LibrariesLinking our Past to our Future: Visualization and Libraries
Linking our Past to our Future: Visualization and Libraries
 
Estimasi ketidakpastian ca_o_semen
Estimasi ketidakpastian ca_o_semenEstimasi ketidakpastian ca_o_semen
Estimasi ketidakpastian ca_o_semen
 
Autumn's tech tool
Autumn's tech toolAutumn's tech tool
Autumn's tech tool
 
Tugas pembelajaran elektronik kel9
Tugas pembelajaran elektronik kel9Tugas pembelajaran elektronik kel9
Tugas pembelajaran elektronik kel9
 
Mof Ugel 02 L.E
Mof Ugel 02 L.EMof Ugel 02 L.E
Mof Ugel 02 L.E
 
Factors affecting language learning strategies usage
Factors affecting language learning strategies usageFactors affecting language learning strategies usage
Factors affecting language learning strategies usage
 
Lessonobservationformnbs
LessonobservationformnbsLessonobservationformnbs
Lessonobservationformnbs
 
Come fare un pessimo marketing
Come fare un pessimo marketingCome fare un pessimo marketing
Come fare un pessimo marketing
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
Mukjizat resep obat rasulullah saw
Mukjizat resep obat rasulullah sawMukjizat resep obat rasulullah saw
Mukjizat resep obat rasulullah saw
 
Recipe project cupcakes autumn
Recipe project cupcakes   autumnRecipe project cupcakes   autumn
Recipe project cupcakes autumn
 
Ekonomia współpracy kolejny etap biznesu i społeczeństwa
Ekonomia współpracy   kolejny etap biznesu i społeczeństwaEkonomia współpracy   kolejny etap biznesu i społeczeństwa
Ekonomia współpracy kolejny etap biznesu i społeczeństwa
 
Prepositions
PrepositionsPrepositions
Prepositions
 
Idioms
IdiomsIdioms
Idioms
 

Similaire à สื่อหน่วยที่2

ข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคkhunJang Jop Jop
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้าเรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดีเอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดีtearchersittikon
 
พลังงานไฟฟ้า เส๊ด
พลังงานไฟฟ้า เส๊ดพลังงานไฟฟ้า เส๊ด
พลังงานไฟฟ้า เส๊ดpanawan306
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมPongsakorn Poosankam
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpipopsin163
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าChapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าNapasorn Juiin
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด ณรรตธร คงเจริญ
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าwongteamjan
 
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55krupornpana55
 

Similaire à สื่อหน่วยที่2 (20)

ข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาค
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดีเอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
 
Circuit analysis test
Circuit analysis testCircuit analysis test
Circuit analysis test
 
ใบความรู้.05
ใบความรู้.05ใบความรู้.05
ใบความรู้.05
 
พลังงานไฟฟ้า เส๊ด
พลังงานไฟฟ้า เส๊ดพลังงานไฟฟ้า เส๊ด
พลังงานไฟฟ้า เส๊ด
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าChapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
 
172 130909011745-
172 130909011745-172 130909011745-
172 130909011745-
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
 
514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 
514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 

สื่อหน่วยที่2